แบบทดสอบ แบบทดสอบวัดความรูค้ วามเขา้ ใจเกี่ยวกบั “การจดั การเรียนร้เู ชิงรุกและการนิเทศการจัดการ เรยี นรู้เชงิ รกุ โดยใช้กระบวนการ Coaching & Mentoring\" ของ สพม. 29 (กอ่ นการอบรม Pre- test) วนั ที่รับการอบรม 25 สิงหาคม 2563 สถานที่รบั การอบรม ห้องประชุมสานกั งานเขตพนื้ ท่ี การศกึ ษามัธยมศึกษา เขต 29 การอบรมครง้ั นเี้ ป็นการรับการอบรมโดย สพม. 29 จัดให้ 4.ข้อใดไมใ่ ช่ สภาพการณ์ของศตวรรษท่ี 21 การรับฟังข่าวสาร การส่อื สารไรพ้ รหมแดน ความกา้ วหน้าของเทคโนโลยสี ารสนเทศ ความสามารถเรียนรู้ไดด้ ้วยตนเองอย่างต่อเนื่อง 5.การเรยี นรู้ท่ีตอบสนองต่อการเปลี่ยนแปลงในศตวรรษที่ 21 ผู้เรียนตอ้ งเรียนรแู้ บบแข่งขันกบั ผู้อื่น ผเู้ รยี นมผี ลสัมฤทธ์ิทางการเรียนระดับชาติสูง ใหผ้ ู้เรียนมที ักษะการเรียนรแู้ ละมใี จใฝเ่ รียนรู้ตลอดเวลา ผู้เรียนเรียนรู้จากครูผู้สอนท้งั ดา้ นความรู้ ทกั ษะและคุณลกั ษณะ 6.สมการของทักษะแห่งศตวรรษที่ 21 คือขอ้ ใด 3Rx6C 3Rx7C 3Rx8C 3Rx9C
7.การจัดการเรียนรเู้ ชิงรกุ (Active Learning) มรี ากฐานมาจากแนวคิดใด การพัฒนาพหปุ ัญญา การพฒั นาคุณลกั ษณะ การสรา้ งองคค์ วามรูใ้ หม่ การสร้างทกั ษะอาชพี 8.ข้อใดไมใ่ ช่การจดั กิจกรรมการเรียนรู้เชิงรุก(Active Learning) กจิ กรรมที่ผู้เรียนได้แขง่ ขนั กนั กบั เพ่อื น กจิ กรรมทเ่ี นน้ การนาไปใช้ประโยชนใ์ นชวี ิตจริงของผู้เรยี น กจิ กรรมท่กี ระตุ้นให้ผู้เรยี นประสบความสาเรจ็ ในการเรยี นรู้ กจิ กรรมทผ่ี ู้เรียนมปี ฏิสมั พันธร์ ะหวา่ งครูกบั ผู้เรียนและระหวา่ งผูเ้ รียนกบั ผเู้ รียน 9.บทบาทของครูในขอ้ ใดที่ไมใ่ ชก่ ารส่งเสริมการเรยี นรู้แบบ Active Learning ใชค้ าถาม กระตนุ้ การคดิ ในระหว่างกจิ กรรมการเรยี นรู้ เปน็ ผู้อานวยความสะดวกหรอื หรอื ผูใ้ ห้คาปรกึ ษาแนะนาให้ กระตุ้นให้เกิดการเรยี นรูโ้ ดยเป็นผถู้ ่ายทอดความรู้ให้แกผ่ ู้เรียน กระตุน้ สง่ เสรมิ กระบวนการกลุ่มใหด้ าเนนิ การตามชั้นตอนการเรียนรู้ 10.การเรียนร้ผู ่านกจิ กรรมใดในขอ้ ใดที่ไมจ่ ัดเปน็ Active Learning กิจกรรมทีเ่ น้นใหผ้ เู้ รียนเช่ือมน่ั ในความคดิ ของตนเอง กจิ กรรมท่ีเชื่อมโยงสภาพแวดลอ้ มใกล้ตัวปัญหาของผูเ้ รยี นและชุมชน กิจกรรมที่เปิดโอกาสใหผ้ เู้ รียนนาไปประยกุ ต์ใช้ กิจกรรมที่เน้นการมปี ฏิสมั พันธ์ระหว่างผู้เรยี นกับผู้สอนและผู้เรียนด้วยกัน
11.ข้อใดเป็นเป้าหมายสาคัญของหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพน้ื ฐาน พุทธศกั ราช 2551 (ฉบับปรับปรงุ พ.ศ. 2560) มาตรฐานการเรยี นรู้ หลกั การของหลกั สูตร ผลการเรียนรู้ทีค่ าดหวงั สาระการเรียนรู้ 8 กล่มุ สาระ 12.ขอ้ ต่อไปนี้ไม่ใช่องค์ประกอบหลกั ของหลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาข้นั พนื้ ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 (ฉบับปรบั ปรงุ พ.ศ. 2560) โครงสรา้ งเวลาเรยี น มาตรฐานการเรียนรู้ เกณฑก์ ารจบหลกั สตู ร คาอธิบายรายวชิ าพ้ืนฐาน 13.ขอ้ ใดไมใ่ ช่สมรรถนะสาคญั ของผ้เู รียนตามหลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พื้นฐาน พุทธศกั ราช 2551 (ฉบับปรับปรงุ พ.ศ. 2560) ความสามารถในการคดิ ความสามารถในการสือ่ สาร ความสามารถในการใช้ชีวิต ความสามารถในการแกป้ ญั หา
14.ขอ้ ใดไม่ใชค่ ุณลกั ษณะอนั พึงประสงคต์ ามหลักสตู รแกนกลางการศึกษาขัน้ พื้นฐาน พุทธศักราช 2551 (ฉบบั ปรบั ปรงุ พ.ศ. 2560) รกั ชาติ ศาสน์ กษัตริย์ มงุ่ มน่ั ในการเรยี น รักความเปน็ ไทย มวี ินยั 15.สาระการเรียนรู้ประกอบด้วย (K)ความรู้ (P) คณุ ธรรม จรยิ ธรรม (A)ทกั ษะ (K)ความรู้ (P) สมรรถนะ (A)คุณธรรม จริยธรรม (K)ความรู้ (P) คณุ ธรรม จริยธรรม (A)กระบวนการ (K)ความรู้ (P) ทกั ษะกระบวนการ (A)คุณลักษณะอนั พงึ ประสงค์ 16.ส่งิ ทผี่ ู้เรียนพงึ ร้แู ละปฏิบตั ิไดต้ รงกับขอ้ ใด ตวั ชวี้ ัด สมรรถนะ สาระการเรียนรู้ มาตรฐานการเรยี นรู้ 17.ขัน้ ตอนใดในกระบวนการเรียนรูต้ ามแนวคิดของบลมู ท่ีตอ้ งการให้เกดิ สูงสดุ ความเขา้ ใจ การสังเคราะห์ การประเมนิ ค่า ความรูค้ วามจา
18.. “ผ้สู อนศกึ ษาหลกั สูตรสถานศกึ ษา มาตรฐานการเรียนรู้ ตัวช้วี ัด สมรรถนะของผเู้ รยี น คณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ พจิ ารณาออกแบบการจัดการเรียนร้โู ดยเลอื กใช้สอ่ื ใหผ้ ู้เรยี นไดเ้ กิดการ พัฒนาการเรียนรู้” ข้อความขา้ งต้นนี้ตรงกับข้อใด กระบวนการออกแบบสอ่ื การเรียนรู้ การวดั และประเมินผลการเรียนรู้ การออกแบบการจัดการเรียนรู้ กระบวนการเรียนรู้ 19.ขอ้ ใดไมใ่ ชค่ วามหมายการนเิ ทศการศึกษาท่ีถกู ตอ้ ง กิจกรรมนิเทศการศึกษา หมายถึง กิจกรรมหรือการกระทา เพอ่ื แนะนา ชว่ ยเหลือ สนบั สนุน ใหส้ ภาพการเรียนการสอน ดขี ้นึ การนิเทศการศึกษา หมายถงึ การใช้รูปแบบการนิเทศอยา่ งหลากหลายตามความเหมาะสม ของผนู้ เิ ทศทจ่ี ะชี้แนะ ช่วยเหลอื ผ้รู ับการนิเทศ การนิเทศการศึกษา หมายถงึ กระบวนการทางานรว่ มกันของผนู้ ิเทศการศึกษา ครแู ละ บคุ ลากรทางการศึกษา โดยมจี ุดประสงค์เพือ่ ปรับปรุงการเรียนการสอนใหด้ ีขน้ึ การนิเทศการศกึ ษา หมายถึง หมายถึงกระบวนการปฏิบัตงิ านร่วมกนั ระหวา่ งผู้นิเทศ และ ผู้รบั การนิเทศเพ่ือปรับปรุงและเพิ่มประสทิ ธภิ าพการปฏบิ ัตงิ านของผูร้ ับการนิเทศในการพฒั นา คณุ ภาพการศกึ ษา 20.การจะดาเนนิ การนิเทศการศกึ ษาให้ไดผ้ ลเลศิ ต้องคานึงถึงสิง่ ใดมากท่ีสุด บรรยากาศและความร่วมมือในการนเิ ทศ เทคนคิ และการจัดกจิ กรรมการนิเทศ กลุ่มบุคคลและงานทีจ่ ะนเิ ทศ จุดมุ่งหมายและเป้าหมาย
21.การนิเทศการศึกษาต้องดาเนนิ การนิเทศอย่างท่ัวถงึ ต่อเน่อื งและมีคณุ ภาพ หมายถึง กระบวนการนิเทศตามขอ้ ใด การสรา้ งสื่อและพัฒนาวิธีการ การปฏบิ ัติการนเิ ทศการศึกษา การวางแผนและกาหนดทางเลือก การประเมนิ ตรวจสอบและรายงานผล 22.การนิเทศของใครทีน่ ่าจะนเิ ทศไดอ้ ย่างมีประสิทธภิ าพ ศรีผอ่ ง นเิ ทศแบบชี้แนะตามความต้องการของตน จันทร์เพ็ญนิเทศแบบคลนิ ิกอย่างเปน็ กระบวนการ 3 ครง้ั ศรราม รายงานจุดเดน่ และจดุ ด้อยของโรงเรียนแตล่ ะแหง่ ทุกเดือน ผอ่ งพรรณ ทาแผนการนิเทศเสนอต่อ คุณะกรรมการการนเิ ทศฯ(กต.ปน..เขตพ้นื ท)ี่ ทกุ ปี 23.ข้อใด ไม่ใช่ นวตั กรรมการนิเทศการสอน นเิ ทศแบบทีมวิจัยชนั้ เรยี นโรงเรียนที่ใกลก้ ัน นเิ ทศสังเกตการสอนครสู มยศใชช้ ุดฝึกอ่านคาควบกล้า ครูชวนกันประดิษฐ์ตกุ๊ ตาผักตบชวาขายสง่ ร้าน OTOP ชีแ้ นะครใู หพ้ ัฒนาความคิดสร้างสรรค์ผู้เรียนโดยใช้กระดานกระดาษทราย และไหมพรมหลาก สี
24.ขอ้ ใด ไม่ใช่ ความหมายของการนเิ ทศแบบ Coaching การชว่ ยให้บุคลากรสามารถนาความร้คู วามเขา้ ใจทม่ี ีอยู่และ/หรอื ไดร้ บั การอบรมมาไปสู่การ ปฏบิ ตั ไิ ด้ วิธีการในการพฒั นาสมรรถภาพการทางานของบคุ คลโดยเนน้ ไปทก่ี ารทางานใหไ้ ด้ตาม เปา้ หมาย ของงาน วธิ ีการเรียนรู้งานร่วมกันระหวา่ งเพ่ือนร่วมงานเพ่อื พัฒนาทักษะในการปฏิบตั งิ านได้ตาม มาตรฐาน ของงาน การสอนงานเปน็ การพัฒนาศักยภาพและทกั ษะเฉพาะในการปฏิบัติโดยผู้ท่มี ีความเชย่ี วชาญ และ ประสบการณส์ งู มกั ดาเนนิ ในแวดวงวิชาชีพตา่ งๆ โดยภายใต้บริบทและวัฒนธรรมองคก์ ร 25.ข้อใดสร้างความมน่ั ใจให้ครู ช้ีแนะ สอนงานและสงั เกตการสอนของครูสาระการเรียนรตู้ า่ งๆ ได้ดีท่สี ุด ความรู้ ความเขา้ ใจ ความเชยี่ วชาญในเรอ่ื งการนเิ ทศและทักษะมนษุ ยสมั พนั ธใ์ นการสร้าง ทมี งาน การชว่ ยครูให้ประสบความสาเรจ็ ในสิ่งท่ีเขาต้องการแมว้ า่ ไม่สอดคลอ้ งกบั สิ่งที่เราตอ้ งการ เครื่องมอื การนเิ ทศท่หี ลากหลายและครบสาระการเรียนรู้ แผนการนเิ ทศการศึกษาที่ออกแบบอยา่ งละเอยี ดรอบคอบ 26.ขัน้ ตอนสดุ ทา้ ย (Post Coaching) ของเทคนคิ การนิเทศแบบชแ้ี นะ ครผู นู้ ิเทศมีบทบาท อย่างไร สรุปผลชแ้ี นะ ยอมรบั ความสามารถของครูผู้รับการนเิ ทศและให้โอกาสครูสรุปเพ่อื ปรบั ปรุง งาน ตกลงวางแผนรว่ มกันในการกาหนดคาถามและประเด็นชแ้ี นะสอนงาน ชี้แนะรับฟัง ทา้ ทา้ ยและใหข้ อ้ มลู ย้อนกลบั สาหรับครผู ู้รับการนิเทศ ช้แี นะ บอก ซกั ถาม พิจารณาผลงานแผนการสอนของครูผรู้ ับการนเิ ทศ
27.กิจกรรมใดทต่ี อ้ งดาเนินการควบคู่กบั การนเิ ทศแบบชี้แนะ การสะท้อนคดิ การสังเกตการสอน การกาหนดเป้าหมายของการนิเทศ การเสริมแรงและให้ภาระงานครทู ่ีท้าทาย 28.ข้อใดไมเ่ กย่ี วข้องกับนเิ ทศแบบชแี้ นะ การเสริมสรา้ งองค์กรแห่งการเรียนรู้ การจดั การอย่างเป็นระบบ การเรียนรู้ผา่ นการทางาน การจดั การชน้ั เรียนท่ดี ี 29.ขอ้ ใดไม่เหมาะกบั การเป็นพเี่ ลี้ยง (Mentor) ศศินทร์ เป็นคนที่ชอบให้โอกาสเพื่อนร่วมงาน พฤตรา เป็นคนทมี่ ีประสบการณ์ในการทางาน ระดา เปน็ หวั หน้างานทีม่ ีความมน่ั ใจในตนเองสงู นาคนิ ทร์ เป็นคนทีม่ คี วามคิดสรา้ งสรรค์ในการทางาน 30.ข้อต่อไปน้ี ข้อใดเปน็ PLC การสอนและออกแบบการจัดกิจกรรมร่วมกนั ของครู กล่มุ ของครูทท่ี างานและวางเป้าหมายร่วมกันเพ่ือการเรียนร้ขู องผู้เรียน ครพู ิพัฒน์เข้ารับการอบรมการสอนแบบโคช้ แลว้ กลบั มาเป็นแกนนาในการสอนแบบโคช้ ผูบ้ รหิ ารอบรมแลว้ ให้ครูแตล่ ะคนนาความรู้ไปออกแบบการเรยี นการสอนท่ีเน้นผ้เู รยี นเป็น สาคัญ
31.ขอ้ ใดไม่ใชห่ ลักการของการพฒั นาบทเรียนรว่ มกัน(Lesson Study) การสะท้อนและอภิปรายผล การมุ่งพัฒนางานในระยะยาว การกาหนดประเดน็ ในการพฒั นา การหาประสทิ ธิภาพของการสอน 32.ขอ้ ใดไมใ่ ช่เปา้ หมายหลักของการโค้ช การแข่งขัน ผลผลิตขององคก์ ร ศกั ยภาพของบุคลากร การแบ่งปนั ประสบการณ์ร่วมกัน 33.ขอ้ ใดไม่ใชร่ ูปแบบการโค้ช (Coach) การโคช้ แบบเพ่อื นช่วยเพ่ือน (Peer Coaching) การโคซ้ เชงิ เทคนิค (Technical Coaching) การโคช้ ทางตรง (Direct Coaching การโคช้ แบบทีม (Teem Coaching) 34.ขอ้ ใดไม่ใชค่ ุณลักษณะของการโค้ช มคี วามพร้อม มีเวลา มีทศั นคตทีด่ ีต่อการแลกเปล่ยี น มีความยืดหยนุ่ ไวตอ่ ความรสู้ ึกและเป็นกลั ยาณมิตรกับทกุ คน มีพฤติกรรมการมองเชงิ บวก มีการปรับเปลี่ยนพฤตกิ รรม พดู นอ้ ยลง ฟังมากขน้ึ ไม่สงั่ การใดๆ เปน็ กระจกุ ที่จะสะทอ้ นความคิดและความจริงของการกระทาให้เป็นระบบด้วยบรรยากาศ
Search
Read the Text Version
- 1 - 9
Pages: