ก รายงานการหาประสิทธิภาพชุดการสอนออนไลน์โดยใช้กลวิธีอภิปัญญา รายวิชาฟิสิกส์เพิ่มเติม
ข รายงานการหาประสิทธิภาพชุดการสอนออนไลน์โดยใช้กลวิธีอภิปัญญา รายวิชาฟิสิกส์เพิ่มเติม ค ำรับรอง ข้าพเจ้า นายณรงค์ ทันใจ ผู้อานวยการโรงเรียนน้้าปลีกศึกษา สังกัดศึกษาส้านักงานเขตพนที่้ื้การศึกษามัธยมศึกษาอุบลราชธานีอ้านาจเจริญ ขอรับรองว่าการวิจัยในครั้งนี้ เป็นรายงานการหาประสิทธิภาพชุดการสอนออนไลน์โดยใช้กลวิธีอภิปัญญา หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง คลื่นกล รายวิชาฟิสิกส์เพิ่มเติม รหัสวิชา ว 32201 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 โรงเรียนน้้าปลีกศึกษา สังกัดส้านักงานเขตพนที่การศึกษามัธยมศึกษาื้อบลราชธานีอานาจเจริญ เป็นผลงานทางวิชาการของ นายเถลิงศักดิ์ เถาว์โท ต้าแหน่งครูช้านาญการพเศษ ุ้ิโรงเรียนน้้าปลีกศึกษา อาเภอเมือง จังหวัดอานาจเจริญ สังกัดศึกษาส้านักงานเขตพนที่การศึกษามัธยมศึกษา้้ื้อุบลราชธานีอ้านาจเจริญ ลงชื่อ (นายณรงค์ ทันใจ) ผู้อ้านวยการโรงเรียนน้้าปลีกศึกษา
ค รายงานการหาประสิทธิภาพชุดการสอนออนไลน์โดยใช้กลวิธีอภิปัญญา รายวิชาฟิสิกส์เพิ่มเติม ค ำน ำ ปัจจุบันเทคโนโลยีทางการศึกษาได้ก้าวไกลไปมากจ้าเป็นที่ครูผู้สอนต้องมีการปรับตัวอยู่เสมอเพอให้ื่ก้าวทันโลกแห่งการเปลี่ยนแปลง ทั้งนี้ก็เพอจุดมุ่งหมายหลักของการศึกษาคือการพฒนาผู้เรียน ซึ่งก็มีื่ัหลากหลายวิธีการสอน ส่วนตัวผู้วิจัยสนใจการสร้างชุดการสอน ด้วยสามารถตอบสนองกับสภาพของผู้เรียนที่มีพนฐานประสบการณ์ในกระบวนการวิทยาศาสตร์ที่แตกต่างกัน และมีทักษะในื้กระบวนการแก้โจทย์ปัญหาในรายวิชาฟิสิกส์ในเกณฑต่้าเป็นส่วนใหญ่ ผู้วิจัยจึงได้สร้างชุด์การสอนออนไลน์โดยใช้กลวิธีอภิปัญญา หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง คลื่นกล รายวิชาฟิสิกส์เพมเติม รหัสวิชา ว 32201 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 โรงเรียนน้้าปลีกศึกษา สังกัดศึกษาิ่ส้านักงานเขตพนที่การศึกษามัธยมศึกษาอบลราชธานีอานาจเจริญ หรือสามารถเข้าทางืุ้้ช่องทางออนไลน์ที่ http://gg.gg/SCI-PHY-2565 งานวิจัยฉบับนี้ได้รายงานการหาประสิทธิภาพชุดการสอนออนไลน์โดยใช้กลวิธีอภิปัญญา รายวิชาฟสิกส์เพมเติม รหัสวิชา ว 32201 หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง คลื่นกล ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 โรงเรียนน้้าปลีกิิ่ศึกษา สังกัดศึกษาส้านักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาอุบลราชธานีอ้านาจเจริญ พร้อมทั้งมีข้อเสนอแนะที่คาดว่าน่าจะเป็นประโยชน์กับผู้ที่สนใจที่จะพฒนาประสิทธิภาพชุดการสอนเพอให้เกิดประโยชน์สูงสุดกับตัวัื่ผู้เรียนอนจะน้าไปสู่ประชากรที่มีคุณภาพซึ่งเป็นแนวทางการพฒนาประเทศที่ยั่งยืน หากงานวิจัยฉบับนี้มีััข้อบกพร่องประการใด ผู้วิจัยขออภัยไว้ ณ โอกาสนี้ด้วย เถลิงศักดิ์ เถาว์โท
ง รายงานการหาประสิทธิภาพชุดการสอนออนไลน์โดยใช้กลวิธีอภิปัญญา รายวิชาฟิสิกส์เพิ่มเติม บทคัดย่อ งำนวิจัย รายงานการหาประสิทธิภาพชุดการสอนออนไลน์โดยใช้กลวิธีอภิปัญญา หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง คลื่นกล รายวิชาฟิสิกส์เพิ่มเติม รหัสวิชา ว 32201 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 โรงเรียนน้้าปลีกศึกษา สังกัดส้านักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมอุบลราชธานีอ้านาจเจริญ โดย นายเถลิงศักดิ์ เถาว์โท ปีกำรศึกษำ2565 รายงานการหาประสิทธิภาพชุดการสอนออนไลน์โดยใช้กลวิธีอภิปัญญา หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง คลื่นกล รายวิชาฟิสิกส์เพิ่มเติม รหัสวิชา ว 32201 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 โรงเรียนน้้าปลีกศึกษา สังกัดส้านักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาอุบลราชธานีอ้านาจเจริญ 1. เพื่อหาประสิทธิภาพชุดการสอนออนไลน์โดยใช้กลวิธีอภิปัญญา หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 เรื่องคลื่นกล รายวิชาฟสิกส์เพมเติม รหัสวิชา ว 32201 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 โรงเรียนน้้าปลีกศึกษา สังกัดส้านักงานเขติิ่พื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาอุบลราชธานีอ้านาจเจริญ ที่มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ 75/75 2. เพอเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนก่อนและหลังการเรียนจากชุดการสอนออนไลน์โดยใช้ ื่กลวิธีอภิปัญญา หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง คลื่นกล รายวิชาฟสิกส์เพมเติม รหัสวิชา ว 32201 ชั้นมัธยมศึกษาิิ่ปีที่ 5 โรงเรียนน้้าปลีกศึกษา สังกัดส้านักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาอุบลราชธานีอ้านาจเจริญ กลุ่มตัวอย่างในการศึกษาวิจัย ได้จากการสุ่มอย่างง่ายด้วยวิธีการจับฉลาก (Simple -Random Sampling) จากนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565 โรงเรียนน้้าปลีกศึกษา สังกัดส้านักงานเขตพนที่การศึกษามัธยมศึกษาอบลราชธานีอานาจเจริญ โดยกลุ่มตัวอย่างที่สุ่มได้จากการจับฉลาก ืุ้้คือ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5/1 จ้านวน 30 คน เครื่องมือที่ใช้ในการทดลอง คือ ชุดการสอนออนไลน์โดยใช้กลวิธีอภิปัญญา หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง คลื่นกล รายวิชาฟสิกส์เพมเติม รหัสวิชา ว 32201 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 โรงเรียนน้้าปลีกศึกษา สังกัดิิ่ส้านักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาอุบลราชธานีอ้านาจเจริญ และ เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล คือ แบบทดสอบเรื่อง คลื่นกล ระดับมัธยมศึกษาปีที่ 5 จ้านวน 30 ข้อ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าเฉลี่ย ค่าร้อยละ ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน วิเคราะห์ความแตกต่างระหว่างคะแนนก่อนเรียนและหลังเรียน โดยใช้ t-test (Dependent Sample)
จ รายงานการหาประสิทธิภาพชุดการสอนออนไลน์โดยใช้กลวิธีอภิปัญญา รายวิชาฟิสิกส์เพิ่มเติม ผลกำรศึกษำค้นคว้ำพบว่ำ 1. ชุดการสอนโดยใช้กลวิธีอภิปัญญา หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง คลื่นกล รายวิชาฟสิกส์เพมเติม รหัสิิ่วิชา ว 32201 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 โรงเรียนน้้าปลีกศึกษา สังกัดส้านักงานเขตพนที่การศึกษามัธยมศึกษาื้อบลราชธานีอานาจเจริญ ที่ครูผู้สอนสร้างขึ้นมีประสิทธิภาพ 81.43/77.67 ซึ่งสูงกว่าเกณฑ์มาตรฐานที่ตั้งไว้ ุ้75/75 2. นักเรียนที่ใช้ชุดการสอนออนไลน์โดยใช้กลวิธีอภิปัญญา หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง คลื่นกล รายวิชาฟสิกส์เพมเติม รหัสวิชา ว 32201 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 โรงเรียนน้้าปลีกศึกษา สังกัดส้านักงานเขตพนที่ิิ่ื้การศึกษามัธยมศึกษาอบลราชธานีอานาจเจริญ มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีุ้นัยส้าคัญทางสถิติที่ระดับ .01 ข้อเสนอแนะ 1. ข้อเสนอแนะในการน้าไปใช้1.1 จากผลการศึกษาแสดงให้เห็นว่า ควรน้าชุดการสอนออนไลน์โดยใช้กลวิธีอภิปัญญา หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง คลื่นกล รายวิชาฟสิกส์เพมเติม รหัสวิชา ว 32201 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ไปใช้อย่างิิ่ต่อเนื่องพร้อมทั้งเผยแพร่ขยายผลไปยังโรงเรียนต่างๆ ที่จัดการเรียนการสอนในระดับเดียวกันเพอน้าไปใช้ให้ื่กว้างขวาง เพราะเป็นสื่อประกอบการจัดประสบการณ์ที่มีประสิทธิภาพและเป็นประโยชน์กับผู้เรียน 1.2 ควรส่งเสริมให้ครูผู้สอนได้พฒนาชุดการสอนออนไลน์โดยใช้กลวิธีอภิปัญญา ในหน่วยการัเรียนรู้อื่นๆ ประกอบการจัดประสบการณ์ในกิจกรรมอื่น ให้เหมาะสมกับความแตกต่างของนักเรียน 1.3 จากรายงานการหาประสิทธิภาพชุดการสอนออนไลน์โดยใช้กลวิธีอภิปัญญา รายวิชาฟสิกส์ิเพมเติม รหัสวิชา ว 32201 หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง คลื่นกล ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 โรงเรียนน้้าปลีกศึกษา ิ่สังกัดส้านักงานเขตพนที่การศึกษามัธยมศึกษาอบลราชธานีอานาจเจริญ ในเนื้อหาที่ยากจะท้าให้ผู้เรียนท้าืุ้้คะแนนได้น้อย ดังนั้นครูผู้สอนจะต้องให้นักเรียนได้ฝึกบ่อยๆ จนเกิดความเข้าใจในเนื้อหานั้นอย่างชัดเจน 2. ข้อเสนอแนะส้าหรับการศึกษาค้นคว้าครั้งต่อไป 2.1. ควรมีการศึกษาค้นคว้าเปรียบเทียบผลการเรียนรู้ชุดการสอนออนไลน์โดยใช้กลวิธีอภิปัญญา หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง คลื่นกล รายวิชาฟิสิกส์เพิ่มเติม รหัสวิชา ว 32201 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 กับการสอนด้วยวิธีอนๆ ด้วย เช่น การสอนด้วยโครงงาน ใช้การสอนแบบทดลอง และการสอนแบบบรรยาย เป็นต้น ื่2.2. ควรมีการศึกษาค้นคว้าเพื่อพัฒนาชุดการสอนออนไลน์โดยใช้กลวิธีอภิปัญญา กับสื่อประเภทอื่น ๆ รายวิชาอื่น ๆ และระดับชั้นต่าง ๆ เพื่อพัฒนาสื่อและนวัตกรรมให้แพร่หลายมากขึ้นและเป็นประโยชน์ในการเรียนการสอนต่อไป
ฉ รายงานการหาประสิทธิภาพชุดการสอนออนไลน์โดยใช้กลวิธีอภิปัญญา รายวิชาฟิสิกส์เพิ่มเติม กิตติกรรมประกำศ รายงานการหาประสิทธิภาพชุดการสอนออนไลน์โดยใช้กลวิธีอภิปัญญา รายวิชาฟสิกส์เพมเติม ิิ่รหัสวิชา ว 32201 หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง คลื่นกล ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 โรงเรียนน้้าปลีกศึกษา สังกัดส้านักงานเขตพนที่การศึกษามัธยมศึกษาอบลราชธานีอานาจเจริญ ส้าเร็จลงได้ด้วยความกรุณาของ ืุ้้นางสาวสายฝน พูลลผล นางสาวภัทริยา โพธิ์ศรีคุณ และนางมงคล จันทราภรณ์ ที่ให้ความรู้ ค้าแนะน้า และตรวจสอบแกไข จนได้งานวิจัยเล่มนี้ออกมาโดยสมบูรณ์ ผู้วิจัยใคร่ขอกราบขอบพระคุณเป็นอย่างสูงไว้ ้ณ โอกาสนี้ด้วย ขอขอบคุณผู้บริหารสถานศึกษานายณรงค์ ทันใจ ที่ให้การสนับสนุนทุกด้าน ในการท้าวิจัยในครั้งนี้ อกทั้งนางสาวแสงสุรีย์ เกิดโภคา และนางบุญฑิตา ศรีภา ที่กรุณาตรวจสอบเนื้อหา และความีเหมาะสมของแบบวัดประเมินผล พร้อมทั้งให้ค้าแนะน้าให้ท้าการปรับปรุงแก้ไขจนแบบทดสอบออกมาสมบูรณ์ อกทั้งคุณครูโรงเรียนน้้าปลีกศึกษาทุกท่านที่คอยให้ก้าลังใจและช่วยเหลือในทุกกิจกรรม ท้าให้ีงานวิจัยออกมาสมบูรณ์ตามความตั้งใจของผู้ท้าวิจัย นอกจากนี้จะขาดเสียมิได้คือ บิดา มารดา ผู้ปลูกฝังให้มีนิสัยรักการท้างาน และสนับสนุนทั้งก้าลังใจและก้าลังทรัพย์ท้าให้งานวิจัยเล่มนี้เสร็จสมบูรณ์ได้
ช รายงานการหาประสิทธิภาพชุดการสอนออนไลน์โดยใช้กลวิธีอภิปัญญา รายวิชาฟิสิกส์เพิ่มเติม สำรบัญ หน้ำ ค ำรับรอง ข ค ำน ำ ค บทคัดย่อ ง กิตติกรรมประกำศ ฉ สำรบัญ ช สำรบัญตำรำง ฌ บทที่ 1 บทน้า ความเป็นมาและความส้าคัญ จุดประสงค์ของการวิจัย สมมติฐาน ขอบเขตของการวิจัย นิยามศัพท์ 1 1 5 5 6 6 บทที่ 2 ข้อมูลพื้นฐานของสถานศึกษา หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 และหลักสูตรสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เอกสารที่เกี่ยวกับการสอนวิทยาศาสตร์ในระดับมัธยมศกษา ึเอกสารที่เกี่ยวกับชุดการเรียนการสอน แนวคิดเกี่ยวกับกลวิธีอภิปัญญา การแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง 8 9 14 17 27 31 32 บทที่ 3 วิธีด้าเนินการศึกษาค้นคว้า ประชากรและกลุ่มตัวอย่างเครื่องมือที่ใช้ในการศึกษาค้นคว้า การสร้างเครื่องมือที่ใช้ในการศึกษาค้นคว้าการด้าเนินการศึกษาค้นคว้าและการเก็บรวบรวมข้อมูล สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล 36 36 37 37 40 41
ซ รายงานการหาประสิทธิภาพชุดการสอนออนไลน์โดยใช้กลวิธีอภิปัญญา รายวิชาฟิสิกส์เพิ่มเติม สำรบัญ(ต่อ) หน้ำ บทที่ 4 ผลการวิเคราะห์ขอมูล ้สัญลักษณ์ทใช้ในการน้าเสนอผลการวิเคราะห์ขอมูล ี่้ล้าดับขั้นตอนในการวิเคราะห์ข้อมูล ผลการวิเคราะห์ขอมูล ้45 45 45 46 บทที่ 5 อภิปรายผลและข้อเสนอแนะ ขอบเขตการศึกษา เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษาค้นคว้า สรุปผลการศึกษาค้นคว้า อภิปรายผล ข้อเสนอแนะ 49 49 49 49 50 51 บรรณำนุกรม 52 ภำคผนวก ก 57 ภำคผนวก ข 59 ภำคผนวก ค 71 ประวัติผู้รำยงำน 93
ฌ รายงานการหาประสิทธิภาพชุดการสอนออนไลน์โดยใช้กลวิธีอภิปัญญา รายวิชาฟิสิกส์เพิ่มเติม สำรบัญตำรำง ตำรำงท ี่หน้ำ 1 เปรียบเทียบผลการทดสอบระดับชาติขั้นพื้นฐานฐาน (O-NET) ช่วงชั้นที่ 4 มัธยมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนน้้าปลีกศึกษา ปีการศึกษา 2563-2564 3 2 แสดงผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาฟิสิกส์เพิ่มเติม ว 32201 ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ปีการศกษา 2564 ึ4 3 แสดงคะแนนเฉลี่ยชุดการสอนออนไลน์โดยใช้กลวิธีอภิปัญญา หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง คลื่นกล รายวิชาฟิสิกส์เพิ่มเติม รหัสวิชา ว 32201 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 โรงเรียนน้้าปลีกศึกษา สังกัดส้านักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาอุบลราชธานีอ้านาจเจริญ 46 4 แสดงคะแนนเฉลี่ยจากการท้าแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังจากการเรียน ด้วยชุดการสอนโดยใช้กลวิธีอภิปัญญา หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง คลื่นกล รายวิชาฟิสิกส์เพิ่มเติม รหัสวิชา ว 32201 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 47 5 แสดงการวิเคราะห์ความแตกต่างระหว่างคะแนนทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนก่อนเรียน และหลังเรียน 48 6 แสดงค่าดัชนีความสอดคล้องระหว่างข้อสอบกับจุดประสงค์ของแบบทดสอบท้ายชุดการเรียนการสอน ชุดที่ 1 60 7 แสดงค่าดัชนีความสอดคล้องระหว่างข้อสอบกับจุดประสงค์ของแบบทดสอบท้ายชุดการเรียนการสอน ชุดที่ 2 61 8 แสดงค่าดัชนีความสอดคล้องระหว่างข้อสอบกับจุดประสงค์ของแบบทดสอบท้ายชุดการเรียนการสอน ชุดที่ 3 62 9 แสดงค่าดัชนีความสอดคล้องระหว่างข้อสอบกับจุดประสงค์ของแบบทดสอบท้ายชุดการเรียนการสอน ชุดที่ 4 63 10 แสดงค่าดัชนีความสอดคล้องระหว่างข้อสอบกับจุดประสงค์ของแบบทดสอบท้ายชุดการเรียนการสอน ชุดที่ 5 64 11 แสดงค่าดัชนีความสอดคล้องระหว่างข้อสอบกับจุดประสงค์ของแบบทดสอบท้ายชุดการเรียนการสอน ชุดที่ 6 65
ญ รายงานการหาประสิทธิภาพชุดการสอนออนไลน์โดยใช้กลวิธีอภิปัญญา รายวิชาฟิสิกส์เพิ่มเติม สำรบัญตำรำง (ต่อ) ตำรำงท ี่หน้ำ 12 แสดงค่าดัชนีความสอดคล้องระหว่างข้อสอบกับจุดประสงค์ (IOC) ของแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน 66 13 แสดงผลการวิเคราะห์ความยากง่าย ( ) และค่าอ้านาจจ้าแนก ( ) prของแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ก่อนเรียน - หลังเรียน 69
1 รายงานการหาประสิทธิภาพชุดการสอนออนไลน์โดยใช้กลวิธีอภิปัญญา รายวิชาฟิสิกส์เพิ่มเติม บทที่ 1 บทน ำ ควำมเป็นมำและควำมส ำคัญ การจัดการศึกษาตามพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ ฉบับปรับปรุง พทธศักราช 2545 หมวด 4 ุมาตรา 22 ยึดหลักว่า ผู้เรียนทุกคนมีความสามารถเรียนรู้ และพฒนาตนเองได้และถือว่าผู้เรียนมีความส้าคัญัที่สุด กระบวนการจัดการศึกษาต้องส่งเสริมให้ผู้เรียนสามารถพฒนาตามธรรมชาติและ เต็มตามศักยภาพ เน้นัความส้าคัญทั้งความรู้ คุณธรรม กระบวนการเรียนรู้ และบูรณาการตามความเหมาะสมของแต่ละระดับการศึกษา ส่วนการจัดกระบวนการเรียนรู้นั้นให้สถานศึกษาและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องส่งเสริมและสนับสนุนให้ผู้สอนสามารถจัดบรรยากาศสภาพแวดล้อม สื่อการเรียนและอานวยความสะดวกเพอให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้้ื่และมีความรอบรู้ ทั้งนี้ผู้สอนและผู้เรียนอาจเรียนรู้ไปพร้อมกันจากสื่อการเรียนการสอนและแหล่งวิทยาการประเภทต่าง ๆ แหล่งข้อมูลและแหล่งการเรียนรู้อนๆ (คณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ,2542. : 8 - 9) ื่นอกจากนี้ มาตรา 30 ให้สถานศึกษาพฒนากระบวนการเรียนการสอนที่มีประสิทธิภาพ รวมทั้งส่งเสริมให้ัผู้สอนสามารถวิจัยเพอพฒนาการเรียนรู้ที่เหมาะสมกับผู้เรียนในแต่ละระดับการศึกษาการจะส่งเสริมและื่ัพฒนาทางด้านวิทยาศาสตร์จึงต้องอาศัยการวางรากฐานทางการศึกษาที่มีคุณภาพในหลักสูตรการศึกษาขั้นัพนฐาน พ.ศ. 2544 โดยการจัดการเรียนรู้ในแต่ละช่วงชั้นควรใช้รูปแบบวิธีการที่หลากหลาย มุ่งเน้นการจัดื้กิจกรรมที่พฒนาผู้เรียนให้มีความรู้ มีกระบวนการคิด ได้ลงมือปฏิบัติเพอสืบเสาะหาความรู้ด้วยกระบวนการัื่ทางวิทยาศาสตร์ กระบวนการแก้ปัญหา การสื่อสารและความสามารถในการตัดสินใจ น้าความรู้ไปแก้ปัญหาในชีวิตประจ้าวันและมีทักษะในการใช้เทคโนโลยี มีเจตคติ คุณธรรม จริยธรรมและค่านิยมที่เหมาะสม รวมทั้งเรียนอย่างมีความสุขด้วย (กระทรวงศึกษาธิการ 2540 : 1) วิทยาศาสตร์เป็นกลุ่มสาระการเรียนรู้หลักในโครงสร้างหลักสูตรการศึกษาขั้นพนฐาน พุทธศักราช ื้2544 หลักสูตรและการจัดการเรียนการสอน ตลอดจนการวัดผลประเมินผลการเรียนรู้มีความส้าคัญอย่างยิ่งในการวางรากฐานการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ของผู้เรียนแต่ละระดับชั้น ให้ต่อเนื่องเชื่อมโยงตั้งแต่ชั้นประถมศกษาปีึที่ 1 ถึงมัธยมศึกษาปีที่ 6 ดังนั้นจึงจ้าเป็นที่จะต้องจัดหลักสูตรแกนกลางที่มีการเรียงล้าดับความยากง่ายของเนื้อหาสาระในแต่ละระดับชั้น การเชื่อมโยงความรู้กับกระบวนการ การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่จะท้าให้ผู้เรียนพฒนาความคิด ทั้งความคิดเป็นเหตุเป็นผล คิดสร้างสรรค์ คิดวิเคราะห์วิจารณ์ มีทักษะที่ส้าคัญในการค้นคว้าัและสร้างองค์ความรู้ด้วยกระบวนการสืบเสาะหาความรู้ สามารถแก้ปัญหาอย่างเป็นระบบ สามารถตัดสินใจโดยใช้ข้อมูลหลากหลายปละประจักษ์พยานที่ตรวจสอบได้ รวมถึงมีทักษะในการใช้เทคโนโลยีในการสืบค้นข้อมูลและการจัดการ (สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 2546 : 2) ในการจัดการเรียนการสอนวิทยาศาสตร์ ได้เน้นให้ผู้เรียนได้รับการพฒนา และสร้างความเข้าใจว่า วิทยาศาสตร์เป็นทั้งความรู้และักระบวนการสืบเสาะหาความรู้ซึ่งต้องคิดลงมือปฏิบัติศึกษาค้นคว้าอย่างมีระบบด้วยกิจกรรมหลากหลาย ทั้งกิจกรรมภาคสนาม การสังเกต การส้ารวจ ตรวจสอบ การทดลอง ในห้องปฏิบัติการ การสืบค้นข้อมูลจาก
2 รายงานการหาประสิทธิภาพชุดการสอนออนไลน์โดยใช้กลวิธีอภิปัญญา รายวิชาฟิสิกส์เพิ่มเติม แหล่งข้อมูลปฐมภูมิและทุติยภูมิ การท้าโครงงานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี การศึกษาจากแหล่งเรียนรู้ในท้องถิ่นโดยค้านึงถึงวุฒิภาวะประสบการณ์เดิมสิ่งแวดล้อม และวัฒนธรรมต่างกันที่นักเรียนได้รับรู้มาแล้วก่อนเข้าสู่ห้องเรียน การเรียนรู้ของนักเรียนจะเกิดขึ้นระหว่างที่นักเรียนมีส่วนโดยตรงในการท้ากิจกรรมการเรียนเหล่านั้น จึงจะมีความสามารถในการสืบเสาะหาความรู้ แก้ปัญหาด้วยวิธีการทางวิทยาศาสตร์ ได้พฒนาักระบวนการคิดขั้นสูงพฒนาเจตคติทางวิทยาศาสตร์คุณธรรมจริยธรรม ในการใช้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ัรวมทั้งสามารถสื่อสารและท้างานร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีประสิทธิภาพ (กรมวิชาการ 2545 : 35-36) วิชาฟิสิกส์จัดว่าเป็นวิชาที่ส้าคัญที่สุดสาขาหนึ่งของวิชาวิทยาศาสตร์ที่ศึกษาเกี่ยวกับความจริงที่เกิดขึ้นในธรรมชาติ โดยมุ่งเน้นการหากฎเกณฑ์ต่าง ๆ มาอธิบายปรากฏการณ์ในธรรมชาติ ซึ่งความรู้ในวิชาฟิสิกส์ส่วนหนึ่งได้มาจากการสังเกต และการวัดโดยเครื่องมือต่าง ๆ แล้วน้ามาวิเคราะห์แปลความหมายจนถึงการสรุปเป็นหลักการ และกฎเกณฑ์ต่าง ๆ ความรู้อีกส่วนหนึ่งได้มาจากแบบจ้าลองทางความคิด ซึ่งน้าไปสู่การสร้างทฤษฎีเพออธิบายปรากฏการณ์ในธรรมชาติ วิชาฟสิกส์จึงจัดว่าเป็นวิชาพนฐานที่เกี่ยวข้องกับชีวิตประจ้าวันมากที่สุด ื่ิื้การศึกษาวิชาฟสิกส์จึงมุ่งเน้นให้เกิดความเข้าใจปรากฏการณ์ทางธรรมชาติ เพอให้สามารถด้ารงชีวิตอยู่ในิื่ธรรมชาติได้อย่างปกติสุข และเป็นรากฐานในการพฒนาความเจริญก้าวหน้าทางด้านวิทยาศาสตร์และัเทคโนโลยีต่อไป ตำรำงที่ 1 เปรียบเทียบผลการทดสอบระดับชาติขั้นพื้นฐานฐาน(O-NET) ช่วงชั้นที่ 4 มัธยมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนน้้าปลีกศึกษา ปีการศึกษา 2563-2564 กลุ่มสาระวิชา ปี กศ.มัธยมศึกษาปีที่ 6 ค่าเฉลี่ยโรงเรียน ระดับประเทศ โรงเรียน ระดับประเทศ ระหว่างปี กศ.63 ค่าเฉลียปี กศ.63 ค่าเฉลี่ยปี กศ.64 ค่าเฉลียปี กศ.64 ผลต่างค่าเฉลี่ย64 63 กับผลต่างค่าเฉลี่ยร.ร.กับประเทศภาษาไทย 42.76 44.36 47.84 46.40 5.08 1.44 สังคมศกษาึ 36.67 35.93 37.80 36.87 1.13 0.93 ภาษาอังกฤษ 24.06 29.94 21.38 25.56 -2.68 -4.18 คณิตศาสตร์ 21.32 26.04 18.42 21.28 -2.90 -2.86 วิทยาศาสตร์ 32.87 32.67 27.43 28.65 -5.44 -1.22 ค่าเฉลี่ยรวม 31.54 33.79 30.57 31.75 -0.96 -1.18 ที่มำ : กลุ่มบริหารงานวิชาการ โรงเรียนน้้าปลีกศึกษา ปีการศึกษา 2564
3 รายงานการหาประสิทธิภาพชุดการสอนออนไลน์โดยใช้กลวิธีอภิปัญญา รายวิชาฟิสิกส์เพิ่มเติม ปัจจุบันสภาพการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนวิชาฟสิกส์ในโรงเรียนมีปัญหา กล่าวคือ นักเรียนขาดิความกระตือรือร้นไม่สนใจเรียน ท้าให้ขาดความรู้ความเข้าใจในเนื้อหา หลักการ ทฤษฎี ตลอดจนขาดทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ เนื่องจากการอธิบายปรากฏการณ์ทางธรรมชาติจะเกี่ยวข้องกับองค์ประกอบหลายๆ ส่วนโดยแต่ละส่วนจะมีความสัมพนธ์กัน และเขียนอยู่ในรูปของสมการทางคณิตศาสตร์จึงท้าให้วิชาัฟสิกส์มีความซับซ้อน ท้าให้นักเรียนขาดความสนใจและเกิดความรู้สึกว่าวิชาฟสิกส์เป็นวิชาที่เข้าใจยาก มีิิทัศนคติที่ไม่ดีต่อวิชาฟิสิกส์ เกิดความท้อแท้เบื่อหน่าย ไม่อยากเรียน ส่งผลต่อผลการทดสอบ จากตารางเปรียบเทียบผลการทดสอบระดับชาติขั้นพนฐานฐาน (O-NET) ช่วงชั้นที่ 4 มัธยมศึกษาปีที่ ื้6 ซึ่งผลการทดสอบกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ปี 2564 ลดต่้าลงจากปี 2563คิดเป็น 5.44 คะแนน อกีทั้งต่้ากว่า ค่าเฉลี่ยระดับประเทศ คิดเป็น 1.22 คะแนน ผู้รายงานจึงมีความคิดจัดแนวการจัดการสอนวิชาฟสิกส์ นอกจากครูผู้สอนจะสอนให้ผู้เรียนศึกษาเพยงความรู้พนฐานของวิชาฟสิกส์แล้ว ผู้สอนต้องเน้นให้ิีื้ิผู้เรียนฝึกท้ากิจกรรมต่าง ๆ ในการเสาะแสวงหาความรู้ ไม่ว่าจะเป็นการลงมือปฏิบัติการทดลอง การแก้โจทย์ปัญหาต่าง ๆ เพอที่จะท้าให้ผู้เรียนได้เข้าใจถึงหลักการ กฎ ทฤษฎี และธรรมชาติของวิชาฟสิกส์ เพอให้เกิดื่ิื่ทักษะในกระบวนการแก้ปัญหาทางฟสิกส์หรือศาสตร์อนๆ ในวิชาวิทยาศาสตร์ พร้อมทั้งสามารถน้าหลักการิื่ทางฟสิกส์ไปประยุกต์ใช้ในเชิงปฏิบัติได้ รวมทั้งธรรมชาติของวิชาฟสิกส์เป็นวิชาที่ว่าด้วย กฎ ทฤษฎี จ้านวนิิตัวเลข สัญลักษณ์ และมีโครงสร้างที่ซับซ้อน ซึ่งประสบการณ์การฝึกทักษะในการแก้โจทย์ปัญหาในชั้นเรียนนั้นจะเป็นรากฐานส้าคัญถ่ายโอนไปสู่การพฒนาวิธีการคิด และเสริมสร้างทักษะการแก้ปัญหาโจทย์วิชาฟสิกส์ัิในชีวิตประจ้าวันให้กับผู้เรียนได้ ซึ่งสาเหตุที่ท้าให้ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาฟสิกส์ โดยเฉพาะทักษะการแก้ิโจทย์ปัญหาไม่บรรลุเป้าหมายนั้น มีสาเหตุหลายประการ คือ ปัญหาจากตัวนักเรียน เช่น นักเรียนไม่ชอบวิชาฟิสิกส์ เพราะมีตัวเลข กฎ ทฤษฎี สัญลักษณ์มาก ขาดความละเอียดรอบคอบ ดูโจทย์ผิด อ่านโจทย์ข้ามบรรทัด เขียนตัวเลขสลับที่ แปลโจทย์ปัญหาเป็นประโยคสัญลักษณ์ไม่คล่อง ไม่สนใจการเรียน ทัศนคติผิดๆ ว่าวิชาฟสิกส์เป็นวิชาที่ยาก นักเรียนเกิดการเบื่อหน่าย และปัญหาด้านการสอนครูขาดการใช้สื่อ ขาดเทคนิคการสอน ิสอนโดยยึดเนื้อหาและยึดครูเป็นศูนย์กลาง ไม่ค้านึงถึงนักเรียนและความแตกต่างระหว่างบุคคล เนื่องจากการเรียนการสอนวิชาฟสิกส์ จะเกี่ยวข้องกับการแก้โจทย์ปัญหา ซึ่งเกี่ยวข้องกับการแก้สมการทางคณิตศาสตร์ ซึ่งิผู้เรียนมักจะประสบปัญหาการวิเคราะห์โจทย์ ไม่เข้าใจความสัมพนธ์ระหว่างตัวแปรที่โจทย์ก้าหนดให้ ท้าให้ัผู้เรียนไม่สามารถแก้โจทย์ปัญหาได้ หรือผู้เรียนสามารถท่องจ้าสมการความสัมพนธ์ของตัวแปรต่างๆ ได้ แต่ัผู้เรียนไม่รู้ว่าโจทย์ปัญหาแบบใด ต้องใช้สมการใดในการแก้ปัญหา หรือไม่สามารถวิเคราะห์โจทย์ได้ ท้าให้เป็นอปสรรคอย่างยิ่งในการเรียนวิชาฟสิกส์ ซึ่งเป้าหมายสูงสุดของการเรียนวิชาฟสิกส์ในระดับมัธยมศึกษาคือ ุิิผู้เรียนสามารถแก้โจทย์ปัญหาได้ สามารถอธิบายปรากฏการณ์ทางธรรมชาติพื้นฐานที่พบในชีวิตประจ้าวัน และน้าประสบการณ์การแก้ปัญหาที่ได้เรียนรู้ไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจ้าวัน ดังนั้นในการจัดการเรียนการสอนเพื่อให้นักเรียนมีทักษะในการแก้โจทย์ปัญหาจะต้องอาศัยวิธีการสอนที่เหมาะสม เพอเป็นการสร้างความเข้าใจกระบวนการของการแก้โจทย์ปัญหา เนื่องจากการแก้โจทย์ปัญหาื่เป็นทักษะระดับสูงต้องอาศัยความรู้ ความเข้าใจ ตลอดจนทักษะทางคณิตศาสตร์หลายอย่างเข้าด้วยกัน การฝึก
4 รายงานการหาประสิทธิภาพชุดการสอนออนไลน์โดยใช้กลวิธีอภิปัญญา รายวิชาฟิสิกส์เพิ่มเติม การแก้โจทย์ปัญหาท้าได้โดยการฝึกฝนการให้กระท้าที่ซ้้า ๆ และท้าอย่างต่อเนื่อง โดยการใช้สื่อหรือชุดการสอนที่มีความหลากหลาย จะท้าให้นักเรียนเข้าใจวิธีการแก้โจทย์ปัญหาต่างๆ ได้ ชุดการสอนจึงเป็นเครื่องมือที่ใช้ฝึกทักษะในการแก้โจทย์ปัญหาที่ช่วยให้ผู้เรียนเกิดความเข้าใจเนื้อหาได้ดียิ่งขึ้น สามารถแก้ปัญหาได้ถูกต้อง จากการเรียนการสอนวิชาฟสิกส์ในปัจจุบันพบว่า ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาฟสิกส์ไม่เป็นไปตามที่ิิคาดหวังเพราะผู้เรียนจ้านวนมากมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนอยู่ในเกณฑ์ต่้า ส่วนหนึ่งเป็นผลมาจากผู้เรียนขาดความรู้ ความเข้าใจและทักษะในการแก้สมการทางคณิตศาสตร์ ซึ่งจะส่งผลต่อการเรียนรู้ในเนื้อหาวิชาฟสิกส์ ิเนื่องจากวิชาคณิตศาสตร์เป็นรากฐานส้าคัญใน การที่จะศึกษาศาสตร์ต่างๆ ที่ต้องอาศัยการคิดอย่างมีเหตุผล สามารถใช้เหตุผลในการแสดงความคิดอย่างมีระเบียบชัดเจนและรัดกุม ตำรำงที่ 2 แสดงผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาฟิสิกส์เพิ่มเติม ว 32201 ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ปีการศึกษา1/2564 ปีกำรศึกษำ 0 จ ำนวนนักเรียนที่ได้ระดับผลกำรเรียน จ ำนวนนักเรียนทั้งหมด ระดับคะแนนเฉลี่ย 1 1.5 2 2.5 3 3.5 4 2564 10 3 0 7 10 4 11 25 70 2.89 ที่มำ : กลุ่มบริหารงานวิชาการ โรงเรียนน้้าปลีกศึกษา ปีการศึกษา 2564 จากตารางแสดงให้เห็นผลการเรียนในปีการศึกษา 2564 มีผลการเรียนในระดับปานกลาง คือ 2.89 ผู้รายงานได้สอบถามผู้เรียนในวิชาฟสิกส์ ด้วยแบบประเมินปลายเปิด นักเรียนส่วนใหญ่ให้ความเห็นว่าวิชาิฟสิกส์เป็นวิชาที่ยุ่งยาก ซับซ้อน ยากแก่การท้าความเข้าใจและการค้านวณโจทย์ปัญหา ซึ่งจะส่งผลให้ผู้เรียนิเรียนไม่รู้เรื่องและเกิดความเบื่อหน่ายในการเรียนจนปิดกั้นการเรียนรู้ในที่สุด ชุดการสอนจึงเป็นนวัตกรรมทางการศึกษาอกอย่างหนึ่งผู้รายงานสนใจศึกษา และเชื่อว่าที่มีประสิทธิภาพและมีความเหมาะสมที่จะน้ามาจัดีกิจกรรมการเรียนรู้ที่มุ่งเน้นให้ผู้เรียนแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง เกิดการเรียนรู้ และสามารถน้าความรู้ไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจ้าวันได้ อีกทั้งยังช่วยส่งเสริมการศึกษารายบุคคล ผู้เรียนได้เรียนตามความสนใจ ตามเวลา และโอกาสที่อ้านวย (วาสนา ชาวหา 2525 : 140) ซึ่งสอดคล้องกับ บ้ารุง ใหญ่สูงเนิน (2536 : บทคัดย่อ) ศึกษาเรื่อง การพฒนาชุดการเรียนรู้ด้วยตนเอง เพอเสริมความรู้เกี่ยวกับการสอนทักษะกระบวนการคิดัื่วิเคราะห์ วิจารณ์ของครูประถมศึกษา พบว่าชุดการเรียนรู้ด้วยตนเองที่สร้างขึ้นมีประสิทธิภาพ 91.43/91.78 ซึ่งสูงกว่าเกณฑ์มาตรฐาน 80/80 แสดงว่า ชุดการเรียนรู้ด้วยตนเอง เพอเสริมความรู้เกี่ยวกับการสอนทักษะื่กระบวนการคิดวิเคราะห์ วิจารณ์ของครูประถม ศึกษาที่สร้างขึ้นมีประสิทธิภาพ ส่วนอารมณ์ เบสูงเนิน (2541 : บทคัดย่อ)ได้ศึกษาค้นคว้าการสร้างชุดการเรียนการสอน เรื่อง แก๊ส ของแข็ง ส้าหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 พบว่า ชุดการเรียนการสอนมีประสิทธิภาพ 85.55/90.00 ซึ่งสูงกว่าเกณฑ์มาตรฐาน 80/80 เมื่อเปรียบเทียบความแตกต่างของผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียนด้วยชุดการสอนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยส้าคัญทางสถิติที่ระดับ .01 สอดคล้องกับ จบ นิยะมะ (2541 : บทคัดย่อ) ได้ศึกษาการสร้างชุดการสอนเพอื่
5 รายงานการหาประสิทธิภาพชุดการสอนออนไลน์โดยใช้กลวิธีอภิปัญญา รายวิชาฟิสิกส์เพิ่มเติม ฝึกทักษะพนฐานในการเขียนเรียงความ ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 พบว่า ชุดการสอนที่สร้างขึ้นมีื้ประสิทธิภาพ 82.14/85.71 ซึ่งสูงกว่าเกณฑ์มาตรฐาน 80/80 และความก้าวหน้าของกลุ่มตัวอย่างหลังใช้ชุดการสอนสูงกว่าก่อนการใช้ชุดการสอนอย่างมีนัยส้าคัญทางสถิติที่ระดับ .01 นอกจากนี้ ภัลลภ อนทมาตยร์ ิ(2544 : บทคัดย่อ) ได้พัฒนาชุดการสอนวิชาวิทยาศาสตร์ เรื่อง การขนส่งและการสื่อสาร ส้าหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 พบว่า ชุดการสอนมีประสิทธิภาพ 83.66/84.49 ซึ่งสูงกว่าเกณฑ์มาตรฐาน 80/80 และผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียนด้วยชุดการสอนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยส้าคัญทางสถิติที่ระดับ .01 จากปัญหาที่กล่าวมาข้างต้น ผู้รายงานจึงได้พฒนาชุดการสอนออนไลน์โดยใช้กลวิธีอภิปัญญา หน่วยัการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง คลื่นกล รายวิชาฟสิกส์เพมเติม รหัสวิชา ว 32201 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ประกอบด้วยชุดิิ่การสอนทั้งสิ้น 6 ชุด ซึ่งประกอบด้วย ชุดที่ 1 การถ่ายโอนพลังงานของคลื่นกล ชุดที่ 2 การซ้อนทับกันของคลื่น และสมบัติการสะท้อนของคลื่น ชุดที่ 3 สมบัติการหักเหของคลื่น ชุดที่ 4 สมบัติการเลี้ยวเบนและการแทรกสอดของคลื่น ชุดที่5 การสั่นพองและคลื่นนิ่งในเส้นเชือก และชุดที่ 6 การสั่นพองและคลื่นนิ่งของเสียง ้้โดยใช้กลวิธีอภิปัญญาซึ่งเป็นการตระหนักรู้ส่วนตัวในความคิดของตนเอง และความสามารถที่จะประเมิน และควบคุมความคิด ของตนเอง ความสามารถของบุคคลในการสร้างกระบวนการรับความรู้ เก็บความรู้ คัดเลือกความรู้มาใช้แก้ปัญหา คาดคะเนผลการแก้ไขปัญหาที่อาจเป็นไปได้ และหาวิธีการแก้ปัญหาในทางอน ซึ่งจะื่ส่งผลให้นักเรียนมีสุข สนุกสนานและมีเจตคติที่ดีต่อฟสิกส์อนเนื่องจากการที่นักเรียนสามารถหาค้าตอบของิัโจทย์ปัญหาได้ง่ายยิ่งขึ้นอกทั้งยังเป็นแนวทางในการพฒนาการจัดการเรียนรู้กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ีัให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้นอีกทางหนึ่งด้วยจุดประสงค์ของกำรวิจัย 1. เพอหาประสิทธิภาพชุดการสอนออนไลน์โดยใช้กลวิธีอภิปัญญา หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 เรื่องคลื่นกล ื่รายวิชาฟสิกส์เพมเติม รหัสวิชา ว 32201 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 โรงเรียนน้้าปลีกศึกษา สังกัดส้านักงานเขติิ่พื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาอุบลราชธานีอ้านาจเจริญ ที่มีประสิทธิภาพตามเกณฑ 75/75์2. เพอเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนก่อนและหลังการเรียนจากชุดการสอนออนไลน์โดยใช้ ื่กลวิธีอภิปัญญา หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง คลื่นกล รายวิชาฟสิกส์เพมเติม รหัสวิชา ว 32201 ชั้นมัธยมศึกษาิิ่ปีที่ 5 โรงเรียนน้้าปลีกศึกษา สังกัดส้านักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมอุบลราชธานีอ้านาจเจริญสมมติฐำนของกำรศึกษำค้นคว้ำ1. ชุดการสอนออนไลน์โดยใช้กลวิธีอภิปัญญา หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง คลื่นกล รายวิชาฟสิกส์ิเพมเติม รหัสวิชา ว 32201 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 โรงเรียนน้้าปลีกศึกษา สังกัดส้านักงานเขตพนที่การศึกษาิ่ื้มัธยมศึกษาอุบลราชธานีอ้านาจเจริญ มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ 75/75 2. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 หลังการใช้ชุดการสอนโดยใช้กลวิธีอภิปัญญา สูงกว่าก่อนการใช้ชุดการสอนโดยใช้กลวิธีอภิปัญญา อย่างมีนัยส้าคัญทางสถิติที่ระดับ .01
6 รายงานการหาประสิทธิภาพชุดการสอนออนไลน์โดยใช้กลวิธีอภิปัญญา รายวิชาฟิสิกส์เพิ่มเติม ขอบเขตกำรศึกษำ 1. ประชากรที่ใช้ในการวิจัย นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565 โรงเรียนน้้าปลีกศึกษา สังกัดส้านักงานเขตพนที่การศึกษามัธยมศึกษาอบลราชธานีอานาจเจริญ จังหวัดอานาจเจริญ ืุ้้้จ้านวน 2 ห้องเรียน คือ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5/1 และชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5/2 จ้านวนทั้งสิ้น 52 คน2. กลุ่มตัวอย่างในการศึกษาวิจัย ได้จากการสุ่มอย่างง่ายด้วยวิธีการจับฉลาก (Simple Random Sampling) จากนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565 โรงเรียนน้้าปลีกศึกษา สังกัดส้านักงานเขตพนที่การศึกษามัธยมศึกษาอบลราชธานีอานาจเจริญ จังหวัดอานาจเจริญ คือ นักเรียน ชั้นืุ้้้มัธยมศึกษาปีที่ 5/1 จ้านวน 30 คน 3. ตัวแปรที่เกี่ยวข้อง 3.1 ตัวแปรอิสระ (Independent Variables) ได้แก่ ชุดการสอนออนไลน์โดยใช้กลวิธีอภิปัญญา หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง คลื่นกล รายวิชาฟิสิกส์เพิ่มเติม รหัสวิชา ว 32201 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 โรงเรียนน้้าปลีกศึกษา สังกัดส้านักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาอุบลราชธานีอ้านาจเจริญ 3.2 ตัวแปรตาม (Dependent Variables) ได้แก ผลสัมฤทธิ์ในการท้าแบบทดสอบในชุดการสอน่ออนไลน์โดยใช้กลวิธีอภิปัญญา หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง คลื่นกล รายวิชาฟสิกส์เพมเติม รหัสวิชา ว 32201 ิิ่ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 โรงเรียนน้้าปลีกศึกษาสังกัดส้านักงานเขตพนที่การศึกษามัธยมศึกษาอบลราชธานีืุ้อ้านาจเจริญ 4. ระยะเวลาที่ใช้ในการทดลอง การศึกษาครั้งนี้ท้าการศึกษาในภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565 โดยใช้เวลาท้าการศึกษาเป็นเวลา 4 สัปดาห์ ๆ ละ 3 ชั่วโมง รวมทั้งสิ้น 12 ชั่วโมง ทั้งนี้ไม่รวมกิจกรรมการปฐมนิเทศการใช้ชุดการชุดการสอนโดยใช้กลวิธีอภิปัญญาเป็นเวลา 2 ชั่วโมง5. เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ประกอบด้วย 5.1 เครื่องมือที่ใช้ในการทดลอง คือ ชุดการสอนออนไลน์โดยใช้กลวิธีอภิปัญญา หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง คลื่นกล รายวิชาฟสิกส์เพมเติม รหัสวิชา ว 32201 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 โรงเรียนน้้าปลีกศึกษา ิิ่สังกัดส้านักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาอุบลราชธานีอ้านาจเจริญ 5.2 เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล คือ แบบทดสอบเรื่อง คลื่นกล ระดับมัธยมศึกษาปีที่ 5 จ้านวน 30 ข้อ ค ำนิยำมศัพท์ 1. นักเรียน หมายถึง นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ที่ก้าลังเรียนแผนการเรียนวิทยาศาสตร์-คณิตศาสตร์ โรงเรียนน้้าปลีกศึกษา จังหวัดอ้านาจเจริญ ในภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565 1.1 นักเรียนเก่ง หมายถึง นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ของโรงเรียนน้้าปลีกศึกษา ที่มีผลการเรียนในวิชาวิทยาศาสตร์ ตั้งแต่ 3.50 4.00 –
7 รายงานการหาประสิทธิภาพชุดการสอนออนไลน์โดยใช้กลวิธีอภิปัญญา รายวิชาฟิสิกส์เพิ่มเติม 1.2 นักเรียนปานกลาง หมายถึง นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ของโรงเรียนน้้าปลีกศึกษา ที่มีผลการเรียนในวิชาวิทยาศาสตร์ ตั้งแต่ 2.00 3.49 –1.3 นักเรียนออน หมายถึง นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ของโรงเรียนน้้าปลีกศึกษา ที่มีผลการ่เรียนในวิชาวิทยาศาสตร์ ตั้งแต่ 1.00 1.99 –2. ผลการเรียนรู้ หมายถึง ความสามารถในการเรียนรู้ของนักเรียนโดยวิเคราะห์จากค่าดัชนีประสิทธิผลของชุดการสอนโดยใช้กลวิธีอภิปัญญา 3. ชุดการสอนโดยใช้กลวิธีอภิปัญญา หมายถึง ชุดการสอนออนไลน์โดยใช้กลวิธีอภิปัญญา หน่วย การเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง คลื่นกล รายวิชาฟสิกส์เพมเติม รหัสวิชา ว 32201 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ประกอบด้วยชุดิิ่การสอนทั้งสิ้น 6 ชุดดังนี้ ชุดที่ 1 การถายโอนพลังงานของคลื่นกล ่ชุดที่ 2 การซ้อนทับกันของคลื่น และสมบัติการสะท้อนของคลื่น ชุดที่ 3 สมบัติการหักเหของคลื่น ชุดที่ 4 สมบัติการเลี้ยวเบนและการแทรกสอดของคลื่น ชุดที่ 5 การสั่นพ้องและคลื่นนิ่งในเส้นเชือก ชุดที่ 6 การสั่นพ้องและคลื่นนิ่งของเสียง 4. ประสิทธิภาพของชุดการสอนหมายถึง เกณฑ์ที่ใช้ในการประเมินประสิทธิภาพของแบบฝึกการใช้ระบบเส้นแทนการใช้สูตรในการคิดค้านวณ เรื่อง การเคลื่อนที่แนวตรง ซึ่งก้าหนดไว้ 75/75 ตามความหมายดังต่อไปนี้ 75 ตัวแรก หมายถึง ค่าเฉลี่ยร้อยละ 75 ของคะแนนที่นักเรียนท้าแบบฝึกได้ 75 ตัวหลัง หมายถึง ค่าเฉลี่ยร้อยละ 75 ของคะแนนที่นักเรียนท้าได้ในการท้าแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังจากใช้แบบฝึก 5. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน หมายถึง คะแนนของนักเรียนที่ได้จากการประเมินผลทั้งกอนเรียนและหลัง่เรียน โดยใช้เครื่องมือวัดที่ผู้รายงานจัดท้าขึ้นเอง และได้ตรวจสอบคุณภาพแล้ว 6. แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน หมายถึง ข้อค้าถามที่เกี่ยวกับสาระการเรียนรู้วิชาฟสิกส์ ิเรื่อง คลื่นกล รายวิชาฟิสิกส์เพมเติม รหัสวิชา ว 32201 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 เป็นแบบปรนัยชนิดเลือกตอบ 5 ิ่ตัวเลือก จ้านวน 30 ข้อ ที่ผู้รายงานสร้างขึ้น
8 รายงานการหาประสิทธิภาพชุดการสอนออนไลน์โดยใช้กลวิธีอภิปัญญา รายวิชาฟิสิกส์เพิ่มเติม บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องในการศึกษาเอกสารงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการศึกษาประสิทธิภาพของชุดการสอนออนไลน์โดยใช้กลวิธีอภิปัญญา หน่วยการเรียนรู้ที่ เรื่อง คลื่นกล รายวิชาฟิสิกส์เพิ่มเติม รหัสวิชา ว 1 32201 ชั้นมัธยมศกษาึปีที่ ผู้วิจัยได้ค้นคว้าเอกสารงานวิจัยที่เกี่ยวข้องโดยล าดับเนื้อหาที่เป็นสาระส าคัญดังต่อไปนี้ 51. ข้อมูลพื้นฐานของสถานศึกษา 2. หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 และหลักสูตรสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ 3. เอกสารที่เกี่ยวกับการสอนวิทยาศาสตร์ในระดับมัธยมศึกษา 3.1 ความหมายของวิทยาศาสตร์3.2 กระบวนการเรียนการสอนที่ใช้ในการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี4. เอกสารที่เกี่ยวกับชุดการเรียนการสอน4.1 ความหมายของชุดการเรียนการสอน4.2 ประเภทของชุดการเรียนการสอน4.3 องค์ประกอบของชุดการเรียนการสอน4.4 ขั้นตอนการพัฒนาและหาประสิทธิภาพของชุดการเรียนการสอน4.5 ประโยชน์และความส าคัญของชุดการเรียนการสอน 4.6 ทฤษฎีที่เกี่ยวข้องกับการสร้างชุดการเรียนการสอน5. แนวคิดเกี่ยวกับกลวิธีอภิปัญญา (metacognition )5.1 ความหมายของอภิปัญญา5.2 องค์ประกอบอภิปัญญา5.3 การฝึกกลวิธีอภิปัญญา6. การแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์6.1 ความหมายของอภิปัญญา7. งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง7.1 งานวิจัยภายในประเทศ7.2 งานวิจัยภายนอกประเทศ1. ข้อมูลพื้นฐานของสถานศึกษา 1.1 ข้อมูลพื้นฐาน โรงเรียนน้ าปลีกศึกษา สังกัดส านักงานเขตพนที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 29 กระทรวงศึกษาธิการ ื้ก่อตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 12 กุมภาพนธ์ พ.ศ.ั 2522 รับนักเรียนมัธยมศึกษาปีที่ จ านวน ห้องเรียน มีจ านวน1 2 นักเรียน คน โดยคณะกรรมการสภาต าบลน้ าปลีกได้บริจาคที่ดินให้เป็นสถานที่ตั้งโรงเรียนเนื้อที่ทั้งหมด81 35 ไร่และได้สร้างอาคารเรียนชั่วคราวขนาด ห้อง จ านวน หลัง ในระยะแรก ของการบริหารโรงเรียน อาจารย์3 1ใหญ่โรงเรียนชุมชนบ้านน้ าปลีก นายนุ่ม เถาว์โท เป็นผู้รับผิดชอบและได้ส่งครูจ านวน คน มาช่วยท าการ2 สอนชั่วคราว จนกระทั่งวันที่ มิถุนายน พ.ศ.14 2522 กรมสามัญศึกษาส่งครูมาปฏิบัติราชการจ านวน คน 3 ในขณะนั้นอาคารเรียนชั่วคราวสร้างยังไม่เรียบร้อยและวัสดุอปกรณ์ยังไม่พร้อม จึงต้องอาศัยอาคารเรียนุโรงเรียนชุมชนบ้านน้ าปลีก และเมื่อวันที่ 10 สิงหาคม พ.ศ.2522 จึงได้ย้ายมาตั้งอยู่ในที่ปัจจุบัน
9 รายงานการหาประสิทธิภาพชุดการสอนออนไลน์โดยใช้กลวิธีอภิปัญญา รายวิชาฟิสิกส์เพิ่มเติม ปีการศึกษา2535 กรมสามัญศึกษา อนุมัติให้จัดตั้งโรงเรียนสาขาขึ้น ที่บ้านนายม ต าบลนายม ให้รับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ จ านวน ห้อง และได้รับบริจาคที่ดินบริเวณตลาดนัดโค – กระบือจากสภาต าบล1 1 นาหมอม้า จ านวน ไร่เศษ เป็นสถานที่ด าเนินการก่อสร้างอาคารเรียนชั่วคราว หลังและได้รับเงินบริจาค50 1จากผู้มีจิตศรัทธาสร้างห้องส้วมจ านวน หลัง จ านวน ห้อง 1 4 ปีการศึกษา 2536 โรงเรียนได้รับการอนุมัติจากกรมสามัญศึกษา ได้ด าเนินการเปิดสอนในระดับมัธยมศึกษาตอนปลายในปีการศึกษา 2554 มีแผนจัดชั้นเรียนเป็น / / – / / รวม ห้องเรียน 3 4 4 2 2 217ข้าราชการครูจ านวน คน พนักงานราชการจ านวน คน ครูอัตราจ้างจ านวน 2 คน ลูกจ้างประจ า จ านวน 301 2 คน ลูกจ้างชั่วคราวจ านวน คน นักเรียนจ านวน 1 638 คน 1.3 ข้อมูลบุคลากร ปีการศึกษา 25653.ข้อมูลครูและบุคลการ จ านวน(คน) ประเภทบุคลากรเพศระดับการศึกษาสูงสุดอายุเฉลี่ยประสบการณ์สอนเฉลี่ยชายหญิงต่ ากว่า ป ตรีป ตรี. . สูงกว่า ป ตรี. ผู้อ านวยการ1- - - 159.00 16 รองผู้อ านวยการ 1---134.00 11 ครูประจ าการ 819071041.2316พนักงานราชการ 1- ---29.008นักการภารโรง 1------อื่นๆ 2434-36.4-รวม1423371241.9312.752.หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 และหลักสูตรสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์กระทรวงศึกษาธิการ ได้มีค าสั่งให้ใช้หลักสูตรการศึกษาขั้นพนฐาน พทธศักราช ืุ้2551 ในโรงเรียนน าร่องและโรงเรียนเครือข่ายตั้งแต่ปีการศึกษา 2552 และใช้ในโรงเรียนทั่วไปในปีการศึกษา 2564 หลักสูตรการศึกษาขั้นพนฐาน พุทธศักราช ื้2551 เป็นหลักสูตรแกนกลางของประเทศที่มีมาตรฐานการเรียนรู้เป็นข้อก าหนดคุณภาพของผู้เรียนทั้งด้านความรู้ ทักษะ/กระบวนการ คุณธรรม จริยธรรม และค่านิยม (กระทรวงศึกษาธิการ. 2551 )โครงสร้างหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ประกอบด้วย1. หลักการหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 (กระทรวงศึกษาธิการ. 2551 ) ได้ก าหนดหลักการไว้ ประการ ดังนี้ 6 1.1 เป็นหลักสูตรการศึกษาเพอความเป็นเอกภาพของชาติ มีจุดหมายและมาตรฐานการเรียนรู้ ื่เป็นเป้าหมายส าหรับพฒนาเด็กและเยาวชนให้มีความรู้ ทักษะ เจตคติ และคุณธรรมบนพนฐานของความเป็นัื้ไทยควบคู่กับความเป็นสากล
10 รายงานการหาประสิทธิภาพชุดการสอนออนไลน์โดยใช้กลวิธีอภิปัญญา รายวิชาฟิสิกส์เพิ่มเติม 1.2 เป็นหลักสูตรการศึกษาเพอปวงชนที่ประชาชนทุกคนมีโอกาสได้รับการศึกษาอย่างเสมอภาคื่และมีคุณภาพ1.3 เป็นหลักสูตรการศึกษาที่สนองการกระจายอานาจให้สังคมมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษาให้สอดคล้องกับสภาพและความต้องการของท้องถิ่น1.4 เป็นหลักสูตรการศึกษาที่มีโครงสร้างยืดหยุ่นทั้งด้านสาระการเรียนรู้เวลา และการจัดการเรียนรู้1.5 เป็นหลักสูตรการศึกษาที่เน้นผู้เรียนเป็นส าคัญ1.6 เป็นหลักสูตรการศึกษาส าหรับการศึกษาในระบบ นอกระบบ และตามอธยาศัย ครอบคลุมทุกักลุ่มเป้าหมาย สามารถเทียบโอนผลการเรียนรู้ และประสบการณ์2. จุดหมายหลักสูตรการศึกษาขั้นพนฐาน พทธศักราช ืุ้2551 (กระทรวงศึกษาธิการ. 2551 ) ได้ก าหนดจุดมุ่งหมายไว้ ประการ ดังนี้ 5 2.1 มีคุณธรรม จริยธรรม และค่านิยมที่พึงประสงค์ เห็นคุณค่าของตนเอง มีวินัยและปฏิบัติตนตามหลักธรรมของพระพุทธศาสนา หรือศาสนาที่ตนนับถือ ยึดปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง2.2 มีความรู้อนเป็นสากลและมีความสามารถในการสื่อสาร การคิด การแก้ปัญหา การใช้ัเทคโนโลยี และมีทักษะชีวิต2.3 มีสุขภาพกายและสุขภาพจิตที่ดี มีสุขนิสัย และรักการออกก าลังกาย2.4 มีความรักชาติ มีจิตส านึกในความเป็นพลเมืองไทยและพลโลก ยึดมั่นในวิถีชีวิตและการปกครองตามระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข2.5 มีจิตส านึกในการอนุรักษ์วัฒนธรรมและภูมิปัญญาไทย การอนุรักษ์และพัฒนาสิ่งแวดล้อม มีจิตสาธารณะที่มุ่งท าประโยชน์และสร้างสิ่งที่ดีงามในสังคม และอยู่ร่วมกันในสังคมอย่างมีความสุข 3. สมรรถนะส าคัญของผู้เรียน หลักสูตรการศึกษาขั้นพนฐาน พทธศักราช ืุ้2551 (กระทรวงศึกษาธิการ. 2551 ) มุ่งเน้นพฒนาัผู้เรียนให้มีคุณภาพตามมาตรฐานที่ก าหนด ซึ่งจะช่วยให้ผู้เรียนเกิดสมรรถนะส าคัญ ดังนี้สมรรถนะส าคัญของผู้เรียน หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพนฐาน มุ่งให้ผู้เรียนเกิดสมรรถนะื้ส าคัญ ประการ ดังนี้53.1 ความสามารถในการสื่อสาร เป็นความสามารถในการรับและส่งสาร มีวัฒนธรรมในการใช้ภาษาถ่ายทอดความคิด ความรู้ความเข้าใจ ความรู้สึก และทัศนะของตนเองเพอแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสารและื่ประสบการณ์อนจะเป็นประโยชน์ต่อการพฒนาตนเองและสังคม รวมทั้งการเจรจาต่อรองเพอขจัดและลดััื่ปัญหาความขัดแย้งต่างๆ การเลือกรับหรือไม่รับข้อมูลข่าวสารด้วยหลักเหตุผลและความถูกต้อง ตลอดจนการเลือกใช้วิธีการสื่อสาร ที่มีประสิทธิภาพโดยค านึงถึงผลกระทบที่มีต่อตนเองและสังคม3.2 ความสามารถในการคิด เป็นความสามารถในการคิดวิเคราะห์ การคิดสังเคราะห์ การคิด อย่างสร้างสรรค์ การคิดอย่างมีวิจารณญาณ และการคิดเป็นระบบ เพอน าไปสู่การสร้างองค์ความรู้หรือสารสนเทศื่เพื่อการตัดสินใจเกี่ยวกับตนเองและสังคมได้อย่างเหมาะสม3.3 ความสามารถในการแก้ปัญหา เป็นความสามารถในการแก้ปัญหาและอปสรรคต่างๆ ที่เผชิญุได้อย่างถูกต้องเหมาะสมบนพนฐานของหลักเหตุผล คุณธรรมและข้อมูลสารสนเทศ เข้าใจความสัมพนธ์และื้ั
11 รายงานการหาประสิทธิภาพชุดการสอนออนไลน์โดยใช้กลวิธีอภิปัญญา รายวิชาฟิสิกส์เพิ่มเติม การเปลี่ยนแปลงของเหตุการณ์ต่าง ๆ ในสังคม แสวงหาความรู้ ประยุกต์ความรู้มาใช้ในการป้องกันและแก้ไขปัญหา และมีการตัดสินใจที่มีประสิทธิภาพโดยค านึงถึงผลกระทบที่เกิดขึ้นต่อตนเอง สังคมและสิ่งแวดล้อม3.4 ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต เป็นความสามารถในการน ากระบวนการต่าง ๆ ไปใช้ในการด าเนินชีวิตประจ าวัน การเรียนรู้ด้วยตนเอง การเรียนรู้อย่างต่อเนื่องการท างาน และการอยู่ร่วมกันในสังคมด้วยการสร้างเสริมความสัมพันธ์อันดีระหว่างบุคคล การจัดการปัญหาและความขัดแย้งต่าง ๆ อย่างเหมาะสม การปรับตัวให้ทันกับการเปลี่ยนแปลงของสังคมและสภาพแวดล้อม และการรู้จักหลีกเลี่ยงพฤติกรรมไม่พงประสงค์ึที่ส่งผลกระทบต่อตนเองและผู้อื่น3.5 ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี เป็นความสามารถในการเลือก และใช้ เทคโนโลยีด้านต่าง ๆ และมีทักษะกระบวนการทางเทคโนโลยี เพื่อการพัฒนาตนเองและสังคม ในด้านการเรียนรู้ การสื่อสาร การท างาน การแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์ ถูกต้อง เหมาะสม และมีคุณธรรม4. คุณลักษณะอนพึงประสงค์ัหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 (กระทรวงศึกษาธิการ. 2551 ) มุ่งพัฒนาผู้เรียนให้มีคุณลักษณะอนพงประสงค์ เพอให้สามารถอยู่ร่วมกับผู้อนในสังคมได้อย่างมีความสุข ในฐานะเป็นพลเมืองไทยัึื่ื่และพลโลก ดังนี้1. รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ 2. ซื่อสัตย์สุจริต3. มีวินัย4. ใฝ่เรียนรู้5. อยู่อย่างพอเพียง6. มุ่งมั่นในการท างาน7. รักความเป็นไทย 8. มีจิตสาธารณะนอกจากนี้ สถานศึกษาสามารถก าหนดคุณลักษณะอันพึงประสงค์เพิ่มเติมให้สอดคล้องตามบริบทและจุดเน้นของตนเอง5. มาตรฐานการเรียนรู้หลักสูตรการศึกษาขั้นพนฐาน พทธศักราช ืุ้2551 (กระทรวงศึกษาธิการ. 2551)เน้นการพฒนาัผู้เรียนให้เกิดความสมดุล ต้องค านึงถึงหลักพัฒนาการทางสมองและพหุปัญญา หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน จึงก าหนดให้ผู้เรียนเรียนรู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้ ดังนี้ 81. ภาษาไทย 2. คณิตศาสตร์3. วิทยาศาสตร์ 4. สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม5. สุขศึกษาและพลศึกษา6. ศิลปะ7. การงานอาชีพและเทคโนโลยี8. ภาษาต่างประเทศในแต่ละกลุ่มสาระการเรียนรู้ได้ก าหนดมาตรฐานการเรียนรู้เป็นเป้าหมายส าคัญของการพฒนาัคุณภาพผู้เรียน มาตรฐานการเรียนรู้ระบุสิ่งที่ผู้เรียนพงรู้ ปฏิบัติได้ มีคุณธรรมจริยธรรม และค่านิยมที่พงึึ
12 รายงานการหาประสิทธิภาพชุดการสอนออนไลน์โดยใช้กลวิธีอภิปัญญา รายวิชาฟิสิกส์เพิ่มเติม ประสงค์เมื่อจบการศึกษาขั้นพนฐาน นอกจากนั้นมาตรฐานการเรียนรู้ยังเป็นกลไกส าคัญในการขับเคลื่อนื้พฒนาการศึกษาทั้งระบบ เพราะมาตรฐานการเรียนรู้จะสะท้อนให้ทราบว่าต้องการอะไร จะสอนอย่างไร และัประเมินอย่างไร รวมทั้งเป็นเครื่องมือในการตรวจสอบเพอการประกันคุณภาพการศึกษาโดยใช้ระบบการื่ประเมินคุณภาพภายในและการประเมินคุณภาพภายนอก ซึ่งรวมถึงการทดสอบระดับเขตพนที่การศึกษา และื้การทดสอบระดับชาติ ระบบการตรวจสอบเพอประกันคุณภาพดังกล่าวเป็นสิ่งส าคัญที่ช่วยสะท้อนภาพการจัดื่การศึกษาว่าสามารถพัฒนาผู้เรียนให้มีคุณภาพตามที่มาตรฐานการเรียนรู้ก าหนดเพียงใด6. ตัวชี้วัดหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 (กระทรวงศึกษาธิการ. 2551 ) มีตัวชี้วัดระบุสิ่งที่นักเรียนพึงรู้และปฏิบัติได้ รวมทั้งคุณลักษณะของผู้เรียนในแต่ละระดับชั้นซึ่งสะท้อนถึงมาตรฐานการเรียนรู้ มีความเฉพาะเจาะจงและมีความเป็นรูปธรรม น าไปใช้ในการก าหนดเนื้อหา จัดท าหน่วยการเรียนรู้ จัดการเรียนการสอน และเป็นเกณฑ์ส าคัญส าหรับการวัดประเมินผลเพอตรวจสอบคุณภาพผู้เรียน ื่1. ตัวชี้วัดชั้นปี เป็นเป้าหมายในการพฒนาผู้เรียนแต่ละชั้นปีในระดับการศึกษาภาคบังคับ ั(ประถมศึกษาปีที่ – มัธยมศึกษาปีที่ ) 132. ตัวชี้วัดช่วงชั้น เป็นเป้าหมายในการพัฒนาผู้เรียนในระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย(มัธยมศึกษาปีที่ - ) 4 6 หลักสูตรได้มีการก าหนดรหัสก ากับมาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด เพอความเข้าใจและให้สื่อสารื่ตรงกัน ดังนี้ว ๑.๑ ป. ๑/๒ป.๑ ๒ ตัวชี้วัดชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑ ข้อที่ ๒/๑ ๑ สาระที่ ๑ มาตรฐานข้อที่ ๑. ว กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ต ๒ ๒ ม.๔ ๖/ ๓.-ม.๔ ๖ ๓ ตัวชี้วัดชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย ข้อที่ ๓ - /๒ ๓ สาระที่ ๒ มาตรฐานข้อที่ ๒. ต กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ7. สาระและมาตรฐานการเรียนรู้วิทยาศาตร์หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 (กระทรวงศึกษาธิการ. 2551 ) ก าหนดมาตรฐานการเรียนรู้กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ดังนี้ สาระที่ สิ่งมีชีวิตกับกระบวนการด ารงชีวิต1มาตรฐาน ว 1.1 เข้าใจหน่วยพนฐานของสิ่งมีชีวิต ความสัมพนธ์ของโครงสร้าง และหน้าที่ของระบบื้ัต่างๆ ของสิ่งมีชีวิตที่ท างานสัมพนธ์กัน มีกระบวนการสืบเสาะหาความรู้ สื่อสารสิ่งที่ัเรียนรู้และน าความรู้ไปใช้ในการด ารงชีวิตของตนเองและดแลสิ่งมีชีวิตูมาตรฐาน ว 1.2 เข้าใจกระบวนการและความส าคัญของการถ่ายทอดลักษณะทางพนธุกรรม ัวิวัฒนาการของสิ่งมีชีวิต ความหลากหลายทางชีวภาพ การใช้เทคโนโลยีชีวภาพที่มี
13 รายงานการหาประสิทธิภาพชุดการสอนออนไลน์โดยใช้กลวิธีอภิปัญญา รายวิชาฟิสิกส์เพิ่มเติม ผลกระทบต่อมนุษย์และสิ่งแวดล้อมมีกระบวนการสืบเสาะหาความรู้และจิตวิทยาศาสตร์ สื่อสาร สิ่งที่เรียนรู้ และน าความรู้ไปใช้ประโยชน์สาระที่ ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม2มาตรฐาน ว 2.1 เข้าใจสิ่งแวดล้อมในท้องถิ่น ความสัมพนธ์ระหว่างสิ่งแวดล้อมกับสิ่งมีชีวิตัความสัมพนธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตต่างๆ ในระบบนิเวศมีกระบวนการสืบเสาะ หาความรู้ัและจิตวิทยาศาสตร์สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้และน าความรู้ไปใช้ประโยชน์มาตรฐาน ว 2.2 เข้าใจความส าคัญของทรัพยากรธรรมชาติ การใช้ทรัพยากรธรรมชาติในระดับท้องถิ่น ประเทศ และโลกน าความรู้ไปใช้ในในการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมในท้องถิ่นอย่างยั่งยืนสาระที่ สารและสมบัติของสาร3มาตรฐาน ว 3.1 เข้าใจสมบัติของสาร ความสัมพนธ์ระหว่างสมบัติของสารกับโครงสร้างและแรงยึดัเหนี่ยวระหว่างอนุภาค มีกระบวนการสืบเสาะหาความรู้และจิตวิทยาศาสตร์สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้ น าความรู้ไปใช้ประโยชน์มาตรฐาน ว 3.2เข้าใจหลักการและธรรมชาติของการเปลี่ยนแปลงสถานะของสาร การเกิดสารละลาย การเกิดปฏิกิริยา มีกระบวนการสืบเสาะหาความรู้และจิตวิทยาศาสตร์ สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้ และน าความรู้ไปใช้ประโยชน์สาระที่ แรงและการเคลื่อนที่4มาตรฐาน ว 4.1 เข้าใจธรรมชาติของแรงแม่เหล็กไฟฟา แรงโน้มถ่วง และแรงนิวเคลียร์้มีกระบวนการสืบเสาะหาความรู้ สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้และน าความรู้ไปใช้ประโยชน์อย่างถูกต้องและมีคุณธรรม มาตรฐาน ว 4.2 เข้าใจลักษณะการเคลื่อนที่แบบต่างๆ ของวัตถุในธรรมชาติมีกระบวนการสืบเสาะหาความรู้และจิตวิทยาศาสตร์ สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้และน าความรู้ไปใช้ประโยชน์สาระที่ พลังงาน5มาตรฐาน ว 5.1 เข้าใจความสัมพนธ์ระหว่างพลังงานกับการด ารงชีวิต การเปลี่ยนรูปพลังงาน ัปฏิสัมพนธ์ระหว่างสารและพลังงาน ผลของการใช้พลังงานต่อชีวิตและสิ่งแวดล้อม ัมีกระบวน การสืบเสาะหาความรู้ สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้และน าความรู้ไปใช้ประโยชน์ สาระที่ กระบวนการเปลี่ยนแปลงของโลก6 : มาตรฐาน ว 6.1เข้าใจกระบวนการต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นบนผิวโลกและภายในโลก ความสัมพนธ์ของักระบวนการต่าง ๆ ที่มีผลต่อการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ ภูมิประเทศ และสัณฐานของโลก มีกระบวนการสืบเสาะหาความรู้และจิตวิทยาศาสตร์ สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้และน าความรู้ไปใช้ประโยชน์ สาระที่ ดาราศาสตร์และอวกาศ7 มาตรฐาน ว 7.1 เข้าใจวิวัฒนาการของระบบสุริยะ กาแล็กซีและเอกภพการปฏิสัมพนธ์ภายในระบบัสุริยะและผลต่อสิ่งมีชีวิตบนโลก มีกระบวนการสืบเสาะหาความรู้และจิตวิทยาศาสตร์ การสื่อสารสิ่งที่เรียนรู้และน าความรู้ไปใช้ประโยชน์มาตรฐาน ว 7.2 เข้าใจความส าคัญของเทคโนโลยีอวกาศที่น ามาใช้ในการส ารวจอวกาศ และทรัพยากรธรรมชาติ ด้านการเกษตรและการสื่อสาร มีกระบวนการสืบเสาะ หา
14 รายงานการหาประสิทธิภาพชุดการสอนออนไลน์โดยใช้กลวิธีอภิปัญญา รายวิชาฟิสิกส์เพิ่มเติม ความรู้และจิตวิทยาศาสตร์ สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้และน าความรู้ไปใช้ประโยชน์อย่างมีคุณธรรมต่อชีวิตและสิ่งแวดล้อมสาระที่ ธรรมชาติของวิทยาศาสตร์และเทคโนโลย8ีมาตรฐาน ว 8.1 ใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์และจิตวิทยาศาสตร์ในการสืบเสาะหาความรู้ การแก้ปัญหา รู้ว่าปรากฏการณ์ทางธรรมชาติที่เกิดขึ้นส่วนใหญ่มีรูปแบบที่แน่นอน สามารถอธิบายและตรวจสอบได้ ภายใต้ข้อมูลและเครื่องมือที่มีอยู่ในช่วงเวลานั้นๆ เข้าใจว่า วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี สังคม และสิ่งแวดล้อมมีความเกี่ยวข้องสัมพนธ์ักัน3. เอกสารที่เกี่ยวกับการสอนวิทยาศาสตร์ในระดับมัธยมศึกษา 3.1 ความหมายของวิทยาศาสตร์นักการศึกษาหลายๆ ท่านได้ให้ความหมายของวิทยาศาสตร์ไว้ ดังนี้กระทรวงศึกษาธิการ (2535) ให้ความหมายของวิทยาศาสตร์ว่า วิทยาศาสตร์ เป็นวิชาที่ว่าด้วยความจริง เรื่องราวต่างๆ ของธรรมชาติ โดยมุ่งศึกษาให้เข้าใจถึงลักษณะต้นเหตุและผลอนเกิดจากธรรมชาติและัปรากฏการณ์เหล่านั้นและน าความรู้ที่ได้จากการศึกษามาเป็นประโยชน์แก่ตนเองให้มากที่สุดสุภาสินี สุภธีระ (2535) ได้ให้ความหมายของวิทยาศาสตร์ไว้ว่า วิทยาศาสตร์ หมายถึง การค้นพบปรากฏการณ์ทางธรรมชาติ หรือตัวความรู้ทางวิทยาศาสตร์และกระบวนการแสวงหาความรู้ทางวิทยาศาสตร์ ซึ่งประกอบด้วย วิธีการทางวิทยาศาสตร์และเจตคติทางวิทยาศาสตร์ ดังนั้น ในการสอนวิทยาศาสตร์แก่เด็กจึงต้องให้ครบทั้งตัวความรู้วิทยาศาสตร์และกระบวนการเทอดชัย บัวผาย (2543) กล่าวว่า วิทยาศาสตร์ หมายถึง วิชาที่สืบค้นหาความจริงเกี่ยวกับธรรมชาติ โดยใช้กระบวนการแสวงหาความรู้ทางวิทยาศาสตร์ วิธีการทางวิทยาศาสตร์และเจตคติทางวิทยาศาสตร์ เพื่อให้ได้มาซึ่งองค์ความรู้ที่เป็นที่ยอมรับทั่วไปกล่าวโดยสรุป วิทยาศาสตร์ หมายถึง การศึกษาเรื่องราวต่างๆ ทางธรรมชาติเพื่อพสูจน์ให้เห็นจริง โดยิใช้กระบวนการแสวงหาความรู้ทางวิทยาศาสตร์ วิธีการทางวิทยาศาสตร์และเจตคติทางวิทยาศาสตร์3.2 กระบวนการเรียนการสอนที่ใช้ในการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีในการศึกษาค้นคว้าในครั้งนี้ใช้รูปแบบการเรียนการสอนแบบการเรียนร่วมมือ (Cooperative Learning) (กรมวิชาการ 2545 : 151-152) และการเรียนการสอนแบบกระบวนการสืบเสาะหาความรู้ (Inquiry Process) หรือ 5Es (กรมวิชาการ 2545 : 146-148) 3.3 วิธีสอนแบบการเรียนร่วมมือร่วมใจ การเรียนร่วมมือร่วมใจ เป็นรูปแบบการสอนที่ส่งเสริมให้ผู้เรียนร่วมมือกัน ซึ่งสามารถน ามาใช้กับการเรียนทุกวิชาและทุกระดับชั้นเรียน โดยส่งเสริมให้เกิดทักษะหรือมีพฤติกรรมที่มุ่งเน้นทางด้านกระบวนการกลุ่ม การสื่อสาร ความรับผิดชอบร่วมกัน ทักษะทางสังคม การแก้ปัญหา การคิดแบบหลากหลาย และการสร้างบรรยากาศการท างานร่วมกัน ดังนี้3.4 บทบาทของนักเรียน1. นักเรียนต้องไว้วางใจซึ่งกันและกันและพัฒนาทักษะการสื่อความหมายของตนได้ดี
15 รายงานการหาประสิทธิภาพชุดการสอนออนไลน์โดยใช้กลวิธีอภิปัญญา รายวิชาฟิสิกส์เพิ่มเติม 2. ในการเรียนกิจกรรมการเรียนแต่ละกิจกรรม สมาชิกของกลุ่มคนหนึ่งท าหน้าที่ประสานงานคนหนึ่งท าหน้าที่เลขานุการกลุ่ม ส่วนสมาชิกที่เหลือท าหน้าที่เป็นผู้ร่วมทีม สมาชิกแต่ละคนจะต้องได้รับ มอบหมายหน้าที่รับผิดชอบ ทุกคนในกลุ่มต้องเข้าใจเรื่องที่กาลังเรียน และสามารถตอบค าถามได้เหมือนกันทุกคน จะไม่มีสมาชิกคนใดของกลุ่มถูกทอดทิ้ง ผู้ประสานงานกลุ่ม ต้องกระตุ้นให้สมาชิกทุกคน มีส่วนเสริมสร้างความส าเร็จของกลุ่ม3. นักเรียนควรให้เกียรติรับฟงความคิดเห็นของเพอนสมาชิกทุกคน สมาชิกในกลุ่มอาจวิจารณ์ความัื่คิดเห็นของเพื่อนได้ แต่จะไม่วิจารณ์ตัวบุคคล และควรเป็นไปเพื่อความชัดเจนในความคิดเห็น4. นักเรียนเป็นผู้รับผิดชอบการเรียนรู้ของตนเองและเพอน ๆ ในกลุ่ม นักเรียนจะร่วมท ากิจกรรม การื่ก าหนดเป้าหมายของกลุ่ม และแลกเปลี่ยนความรู้และอปกรณ์ การให้ก าลังใจซึ่งกันและกัน และการดูแลให้ทุกุคนได้ปฏิบัติหน้าที่ตามบทบาทหน้าที่ และการช่วยกันควบคุมเวลาในการท างาน3.5 บทบาทของครู1. ก าหนดขนาดของกลุ่ม (โดยปกติประมาณ 2-6 คนต่อกลุ่ม) และลักษณะของกลุ่มซึ่งควรเป็นกลุ่มที่คละความสามารถ (มีทั้งผู้ที่เรียนเก่ง เรียนปานกลาง และเรียนอ่อน)2. ดูแลการจัดลักษณะการนั่งของสมาชิกกลุ่มให้สะดวกที่จะท างานร่วมกัน ง่ายต่อการสังเกตและติดตามความก้าวหน้าของกลุ่ม3. ชี้แจงกรอบกิจกรรมให้นักเรียนแต่ละคนเข้าใจวิธีการและกฎเกณฑ์การท างาน4. สร้างบรรยากาศที่เสริมสร้างการแลกเปลี่ยนความคิดเห็น การก าหนดหน้าที่รับผิดชอบของสมาชิกกลุ่ม5. เป็นที่ปรึกษาของทุกกลุ่มย่อยและคอยติดตามความก้าวหน้าในการเรียนรู้ของกลุ่มและสมาชิกในกลุ่ม6. ยกย่องเมื่อนักเรียนท างานร่วมกันเป็นกลุ่ม ให้รางวัล ค าชมเชย ในลักษณะกลุ่ม7. ก าหนดเวลาว่าผู้เรียนควรท างานร่วมกันแบบกลุ่มนานเพียงใดการเรียนแบบร่วมมือ ในวิชาวิทยาศาสตร์ เป็นรูปแบบการสอนที่ส าคัญและจ าเป็นในการเรียนการสอนวิทยาศาสตร์ดังนี้1. การท างานในชีวิตจริงเป็นการท างานร่วมกับผู้อื่นในห้องเรียน ผู้เรียนควรมีโอกาสได้ฝึก การท างานแบบร่วมมือกันเพื่อเป็นการเตรียมผู้เรียนให้รู้จักการท างานร่วมกับผู้อื่น2. การท างานเป็นทีม เป็นลักษณะการท างานของนักวิทยาศาสตร์ ผู้เรียนจึงควรมีประสบการณ์ในการร่วมมือท างานร่วมกับผู้อื่น3. การเรียนแบบร่วมมือ เปิดโอกาสให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมในกิจกรรมการเรียนการสอนทุกคน และต้องลงมือกันท างานเพอสมาชิกอย่างจริงจัง นับว่าเป็นการเรียนการสอนที่สนับสนุนให้ผู้เรียนเป็นศูนย์กลางของการื่เรียนรู้อีกวิธีหนึ่ง4. การเรียนแบบร่วมมือท าให้ผู้เรียนทุกคนมีโอกาสแลกเปลี่ยนความคิดเห็น และช่วยกันท าความเข้าใจกับสิ่งที่เรียน เป็นวิธีการท าให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้อย่างมีประสิทธิภาพวิธีหนึ่ง การเรียนแบบร่วมมือ อาจจัดเป็นกิจกรรมการเรียนการสอนประกอบ หรือเป็นกิจกรรมย่อยของวิธี 5. สอนแบบวิทยาศาสตร์แบบต่าง ๆ ได้เป็นอย่างดี
16 รายงานการหาประสิทธิภาพชุดการสอนออนไลน์โดยใช้กลวิธีอภิปัญญา รายวิชาฟิสิกส์เพิ่มเติม 3.6 รูปแบบการเรียนการสอนแบบสืบเสาะหาความรู้ (5Es) กระบวนการสืบเสาะหาความรู้ (Inquiry process) เป็นกระบวนการเรียนรู้ที่ให้นักเรียนค้นหาความรู้ใหม่ด้วยตนเอง โดยผ่านกระบวนการคิด และใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์เป็นเครื่องมือจิตวิทยาที่เป็นพื้นฐานของการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้ทางวิทยาศาสตร์ คือ1. การเรียนรู้วิทยาศาสตร์นั้นนักเรียนจะเรียนรู้ได้ดียิ่งขึ้นต่อเมื่อนักเรียนได้เกี่ยวข้องโดยตรงกับการค้นหาความรู้นั้น ๆ มากกว่าการบอกให้นักเรียนรู้2. การเรียนรู้จะเกิดได้ดีที่สุด เมื่อสถานการณ์แวดล้อมในการเรียนรู้นั้นยั่วยุให้นักเรียนอยากเรียนไม่ใช่บีบบังคับนักเรียน และครูต้องจัดกิจกรรมที่จะน าไปสู่ความส าเร็จในการค้นคว้าทดลอง3. วิธีการน าเสนอของครู จะต้องส่งเสริมให้นักเรียนรู้จักคด มีความคิดสร้างสรรค์ ให้โอกาสนักเรียนได้ิใช้ความคิดของตนเองได้มากที่สุดทั้งนี้กิจกรรมที่จะให้นักเรียนท าการส ารวจตรวจสอบ จะต้องเชื่อมโยงกับความรู้เดิม และนักเรียนมีความรู้และทักษะเพยงพอที่จะแสวงหาความรู้ใหม่ โดยกิจกรรมที่จัดควรเป็นกิจกรรมน าไปสู่การส ารวจีตรวจสอบ หรือแสวงหาความรู้ใหม่นักศึกษากลุ่ม BSCS (Biological Science Curriculum Study) ได้น าวิธีการสอนแบบ Inquiry มาใช้ในการพัฒนาหลักสูตรวิชาวิทยาศาสตร์ โดยเสนอขั้นตอนในการเรียนการสอนเป็น ขั้นตอน เรียกว่า การเรียน5การสอนแบบ Inquiry cycle หรือ 5Es ได้แก่ Engage Explore Explain Elaborate และEvaluate รูปแบบการเรียนการสอนแบบ Inquiry cycle (5Es) ดังนี้1. ขั้นสร้างความสนใจ (Engage) ครูมีหน้าที่จัดกิจกรรมเพอสร้างความสนใจ กระตุ้น ยั่วยุ ให้นักเรียนเกิดความอยากรู้ อยากเห็น ื่กิจกรรมที่จัดขึ้นอาจจะเป็นการทดลอง การน าเสนอข้อมูล การสาธิต ข่าว หรือสถานการณ์ เหตุการณ์ ฯลฯ ซึ่งก่อให้เกิดความคิดขัดแย้งจากสิ่งที่นักเรียนเคยรู้ กระตุ้นให้นักเรียนตั้งค าถาม ก าหนดประเด็นปัญหาที่จะศึกษา ซึ่งน าไปสู่การส ารวจตรวจสอบ2. การส ารวจและค้นหา (Explore) เมื่อนักเรียนก าหนดปัญหาที่จะส ารวจสอบได้แล้ว ครูมีหน้าที่กระตุ้นให้นักเรียนตรวจสอบปัญหาและให้นักเรียนด าเนินการส ารวจตรวจสอบ สืบค้น และรวบรวมข้อมูล โดยการวางแผน การส ารวจตรวจสอบ ลงมือปฏิบัติ เช่น การสังเกต วัด ทดลอง รวบรวมข้อมูลสารสนเทศ3. การอธิบายและลงข้อสรุป (Explain) เมื่อได้ข้อมูลจากการส ารวจตรวจสอบ สืบค้นข้อมูลแล้ว ขั้นตอนนี้ครูมีหน้าที่ส่งเสริม ให้นักเรียนน าข้อมูลมาวิเคราะห์ จัดกระท าข้อมูลในรูปตาราง กราฟ แผนภาพ ฯลฯ ให้เห็นแนวโน้มหรือความสัมพนธ์ของัข้อมูล สรุปผลและอภิปรายผลการทดลอง โดยอางองหลักการและวิชาการประกอบอย่างเป็นเหตุเป็นผล มี้ิการอางองหลักฐานชัดเจน แล้วน าเสนอผลงาน ขั้นตอนนี้เป็นขั้นตอนที่นักเรียนได้สร้างองค์ความรู้ใหม่ ครูมี้ิหน้าที่จัดกิจกรรมส่งเสริมให้นักเรียนอธิบายความคิด ด้วยตัวของนักเรียนเอง ให้นักเรียนแสดงหลักฐานเหตุผลประกอบการอธิบาย และให้นักเรียนตรวจสอบ ผลการทดลองว่าสอดคล้องกับสมมติฐานหรือไม่ อย่างไร4. การขยายความรู้ (Elaborate) เพอให้ความรู้ที่นักเรียนสร้างขึ้นเองจากการส ารวจตรวจสอบด้วยตนเองสมบูรณ์ชัดเจนและลึกซึ้งื่ยิ่งขึ้น ครูควรจัดกิจกรรมหรือสถานการณ์ให้นักเรียนมีความรู้ลึกซึ้งยิ่งขึ้น ขยายกรอบความคิด ได้กว้างยิ่งขึ้น เชื่อมโยงความรู้เดิมสู่ความรู้ใหม่ น าไปสู่การศึกษาค้นคว้าทดลองเพมขึ้น อาจจะท าได้โดยส่งเสริมให้นักเรียนตั้งิ่
17 รายงานการหาประสิทธิภาพชุดการสอนออนไลน์โดยใช้กลวิธีอภิปัญญา รายวิชาฟิสิกส์เพิ่มเติม ประเด็นเพอให้อภิปรายแสดงความคิดเห็นเพมเติมให้ชัดเจนยิ่งขึ้น ซักถามนักเรียนให้นักเรียนเกิดความชัดเจนื่ิ่หรือกระจ่างในความรู้ เชื่อมโยงความรู้ที่ได้รับกับความรู้เดิม หรือให้ค้นคว้าเพิ่มเติมในประเด็นที่นักเรียนสนใจ5. การประเมินผล (Evaluate) ส่งเสริมให้นักเรียนน าความรู้ใหม่ที่ได้ไปเชื่อมโยงกับความรู้เดิมที่เกี่ยวข้อง เพอสร้าง เป็นองค์ื่ความรู้ใหม่หรือน าไปประยุกต์ใช้ นอกจากนี้ควรเปิดโอกาสให้นักเรียนประเมินจุดเด่นและจุดด้อยในกระบวนการเสาะแสวงหาความรู้ แล้วควรเปิดโอกาสให้นักเรียนมีโอกาสตรวจสอบ ซึ่งกันและกันโดยการอภิปรายแลกเปลี่ยนความคิดเห็นที่ได้จากการวิเคราะห์ผลการส ารวจตรวจสอบ การน าความรู้หรือแบบจ าลองไปใช้อธิบายหรือประยุกต์ใช้กับเหตุการณ์หรือเรื่องอนๆ จะน าไปสู่ ข้อโต้แย้งหรือข้อจ ากัดซึ่งจะก่อให้เป็นื่ประเด็นหรือค าถาม หรือปัญหาที่จะต้องส ารวจตรวจสอบต่อไป ท าให้เกิดเป็นกระบวนการที่ต่อเนื่องกันไปเรื่อยๆ จึงเรียกว่า Inquiry Cycle ดังนั้นกระบวนการสืบเสาะหาความรู้จึงช่วยให้นักเรียนเกิดการเรียนรู้ทั้งในเนื้อหาหลักและหลักการ ทฤษฎี ตลอดจนการลงมือปฏิบัติ เพื่อให้ได้ความรู้ซึ่งจะเป็นพื้นฐานในการเรียนรู้ต่อไป4. เอกสารที่เกี่ยวข้องกับชุดการเรียนการสอนนวัตกรรมและเทคโนโลยีทางการศึกษาในรูปแบบต่าง ๆ ได้เข้ามามีบทบาทในวงการศึกษาที่จะช่วยส่งเสริมประสิทธิภาพของกระบวนการเรียนการสอนเป็นอย่างมาก เนื่องจากชุดการเรียนการสอนเป็นกระบวนการน าสื่อหลาย ๆ ชนิดมาใช้ในการเรียนการสอน และชุดการเรียนการสอนมีชื่อเรียกได้หลายชื่อ เช่น ชุดการสอน ชุดการเรียน ชุดการเรียนรู้ด้วยตนเอง บทเรียนส าเร็จรูป ฯลฯ ส าหรับในการพฒนานี้ จะเรียกว่า ัชุดการเรียนการสอน ซึ่งเป็นรูปแบบนวัตกรรมที่จะช่วยให้ผู้เรียน มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงขึ้น โดยในการศึกษาชุดการเรียนการสอนในการพัฒนาครั้งนี้ ครูผู้สอนได้ค้นคว้าเอกสารและผลงานวิจัยต่าง ๆ ดังนี้4.1 ความหมายของชุดการเรียนการสอนลัดดา ศุขปรีดี (2524 : 29) วิชัย วงษ์ใหญ่ ( 2530 :185) และชัยยงค์ พรหมวงศ์ (2538 : 117-118) ได้ให้ความหมายที่สอดคล้องกันว่า ชุดการเรียน หมายถึง ระบบการผลิตและการน าสื่อการเรียนการสอนหลายอย่างมาสัมพันธ์กัน และมีคุณค่าส่งเสริมซึ่งกันและกัน เป็นสื่อการเรียน เพื่ออธิบาย ข้อเท็จจริงของเนื้อหา และเพอก่อให้เกิดความเข้าใจลึกซึ้งหรือเรียกว่า สื่อประสม และน าสื่อการเรียนมาใช้ให้สอดคล้องกับรายวิชา ื่หน่วย หัวเรื่อง และวัตถุประสงค์ เพอช่วยให้เกิดการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมทางการเรียนเป็นไปอย่างมีื่ประสิทธิภาพ จึงอาจกล่าวได้ว่าชุดการเรียน คือการใช้ สื่อประสมที่จัดไว้อย่างเป็นระบบ เป็นเครื่องมือถ่ายทอดความรู้และประสบการณ์ให้แก่ผู้เรียน ช่วยให้ผู้เรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเป็นไปตามเป้าหมาย และเสริมสร้างคุณภาพการศึกษาให้สูงขึ้น พร้อมทั้งสนองความแตกต่างระหว่างบุคคล ภายในชุดการเรียนประกอบด้วย คู่มือครู คู่มือนักเรียน เนื้อหา กิจกรรม สื่อประสม และเครื่องมือวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ชุดการเรียนการสอนนิยมจัดไว้เป็นกล่อง หรือซอง เป็นชุด ๆ ครูสามารถน าไปใช้ได้ทันที กรมวิชาการ (2535 : 44-45) กล่าวถึง นวัตกรรมการเรียนการสอนที่ใช้การเรียนด้วยตนเอง ส่วนใหญ่เป็นนวัตกรรมที่ใช้สื่อประเภทต่าง ๆ มาช่วยในการพฒนาความรู้ ความคิดของนักเรียน ลักษณะการเรียนัอาจเรียนเป็นรายบุคคล หรือเป็นกลุ่มก็ได้ และการสอนโดยใช้ชุดการเรียนเป็นการสอนที่ครูน าสื่อการเรียนที่สอดคล้องกับเนื้อหาวิชาที่สอนแต่ละหน่วยมาใช้โดยรวบรวมไว้อย่างเป็นระบบ เพอให้นักเรียนได้ศึกษาจากื่ประสบการณ์ทั้งหมด ส่วนประกอบของชุดการเรียน มีดังนี้
18 รายงานการหาประสิทธิภาพชุดการสอนออนไลน์โดยใช้กลวิธีอภิปัญญา รายวิชาฟิสิกส์เพิ่มเติม 1. คู่มือครู มีรายละเอียดเกี่ยวกับจุดมุ่งหมายเชิงพฤติกรรม เนื้อหา ผลงานที่คาดหวังจากนักเรียน สื่อการเรียน หนังสือประกอบการค้นคว้า แนวการประเมินผล ขั้นการด าเนินการสอน2. แบบทดสอบก่อนเรียน3. เอกสารต่าง ๆ ที่ใช้ในการประกอบกิจกรรม ได้แก่ ใบกิจกรรม ซึ่งประกอบด้วย ค าสั่ง เนื้อหา กิจกรรม และแบบเฉลย 4. สื่อการเรียนการสอนที่เลือกแล้วว่าเหมาะสม5. แบบทดสอบหลังเรียนนิพนธ์ ศุขปรีดี (2535 : 74-75) และเพลินพศ ชุนนะวรรณ์ (ิ2538 : 19) ได้ให้ความหมายของชุดการเรียนว่า หมายถึง สื่อการเรียนชนิดหนึ่ง ซึ่งมีกระบวนการเบ็ดเสร็จในตัว ทั้งเนื้อหา กิจกรรม ภาพประกอบ และวิธีการเรียน เป็นการรวบรวมสื่อการเรียนการสอนส าเร็จรูปให้ผู้เรียนสามารถเรียนรู้ได้ด้วยตนเองจากชุดการเรียน เกิดความรู้ความเข้าใจในบทเรียนและเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมตามจุดประสงค์จากความหมายดังกล่าวข้างต้น สรุปได้ว่า ชุดการเรียนการสอน หมายถึง สื่อประสม ซึ่งเป็นหน่วยการเรียนส าเร็จรูปที่ผู้เรียนสามารถเรียนรู้ได้ด้วยตนเองโดยศึกษาค าชี้แจง และท ากิจกรรมตามขั้นตอน ที่ก าหนดไว้ในชุดการเรียนนั้น ท าให้ผู้เรียนเกิดความรู้ความเข้าใจในบทเรียนและบรรลุจุดประสงค์ของการเรียนชุดการเรียนนั้น และส าหรับในการพฒนาครั้งนี้ ครูผู้สอน ได้ใช้ค าว่าชุดการเรียนการสอน คือ เอกสารที่ัครูผู้สอนจัดท าขึ้น โดยให้นักเรียนได้เรียนรู้จากการศึกษากิจกรรมตามขั้นตอนที่ก าหนดไว้ในชุดการเรียนการสอนโดยเน้นให้นักเรียนได้แสวงหาความรู้และได้ลงมือปฏิบัติจริงมากที่สุดในกิจกรรมการเรียนการสอน ในกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ โดยใช้แนวคิดอภิปัญญาเข้ามาใช้ในกระบวนการเรียนรู้4.2 ประเภทของชุดการเรียนการสอนประเภทของชุดการเรียนด้วยตนเองที่ใช้กันอยู่ทั่วไปนั้น ทบวงมหาวิทยาลัย (2524 อางถึงสุระ ้สนั่นเสียง 2536 : 17) ได้แบ่งตามลักษณะของผู้ใช้เป็น ประเภท คือ3 1. ชุดการเรียนส าหรับครู เป็นคู่มือและเครื่องมือที่ให้ครูน าไปใช้เพอสอนนักเรียน หรือเรียกว่า ื่ชุดการเรียนการสอน เหมาะสมกับครูที่มีประสบการณ์น้อย ครูเป็นผู้ท ากิจกรรม และควบคุมกิจกรรมทั้งหมด นักเรียนมีส่วนร่วมกิจกรรม ภายใต้การดูแลของครู ครูผู้สอนวิชาเดียวกันควรจะได้ช่วยกันท าชุดการสอนแบบนี้2. ชุดการเรียนส าหรับนักเรียน นักเรียนต้องเรียนและท ากิจกรรมด้วยตนเอง โดยใช้เวลา และสถานที่ ที่ไหนก็ได้ ครูมีหน้าที่จัดและมอบชุดการเรียนการสอนให้นักเรียนและรับรายงานเป็นระยะ ๆ พร้อมให้ค าแนะน าและประเมินผล ชุดการเรียนแบบนี้จะช่วยครูและนักเรียนได้มาก เช่น สอนไม่ทันหลักสูตร ไม่ได้เตรียมตัวในการสอน ความแตกต่างของนักเรียน ช่วยนักเรียนที่เรียนอ่อน เรียนเก่ง เป็นต้น นักเรียนที่ได้เรียนโดยใช้ชุดการเรียนนี้ ท าให้เป็นผู้ที่มีความรับผิดชอบควบคุมตนเอง เกิดนิสัย รักการใฝ่หาความรู้เป็นการพฒนาัตนเอง3. ชุดการเรียนที่ครูและนักเรียนใช้ร่วมกัน เป็นการผสมระหว่างประเภทที่ กับ ประเภทที่ 1 2 ครูเป็นผู้ควบคุมกิจกรรมบางอย่าง ครูท าให้นักเรียนดู กิจกรรมบางอย่างนักเรียนท าคนเดียวหรือ ท าร่วมกัน บางกิจกรรมครูและนักเรียนต้องท าร่วมกัน แล้วแต่เนื้อหาในเรื่องที่ท าเป็นชุดการเรียนรู้ ชุดการเรียนประเภทนี้เหมาะส าหรับนักเรียนระดับมัธยมศึกษา และชูชีพ ออนโคกสูง (่2522: 7 ) ได้แบ่งชุดการเรียนการสอนตามความเหมาะสมกับผู้ใช้ ดังนี้3.1 ชุดการเรียนส าหรับประกอบค าบรรยาย เป็นชุดการเรียนที่ใช้ส าหรับครู3.2 ชุดการเรียนส าหรับกิจกรรมกลุ่ม มุ่งเน้นที่ตัวผู้เรียนให้ได้ประกอบกิจกรรมร่วมกัน
19 รายงานการหาประสิทธิภาพชุดการสอนออนไลน์โดยใช้กลวิธีอภิปัญญา รายวิชาฟิสิกส์เพิ่มเติม 3.3 ชุดการเรียนรายบุคคล ให้ผู้เรียนได้เรียนรู้ด้วยตนเอง ตามความสามารถของแต่ละบุคคลนอกจากนี้ วสันต์ อติศัพท์ (2524: 51) ได้จ าแนกชุดการเรียนไว้ ประเภทใหญ่ ๆ ดังนี้ 4 1. ชุดการเรียนบรรยาย เป็นชุดการเรียนที่เน้นกิจกรรมที่ก าหนดกิจกรรม และสื่อ ให้ครูใช้เพื่อประกอบการบรรยาย การเรียนการสอนก็ยังอาศัยครูเป็นศูนย์กลางอยู่ เพียงแต่มีสื่อช่วยให้การเรียนรู้ ดีขึ้น ลดการพูดของครูลง บางทีเราเรียกชุดการเรียนประเภทนี้ว่า “ชุดการเรียนส าหรับครู” 2. ชุดการเรียนส าหรับกลุ่มย่อย เป็นชุดการเรียนที่เปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้ประกอบกิจกรรมร่วมกันเองในลักษณะของกลุ่มย่อย เช่น ชุดการเรียนแบบศูนย์การเรียน ชุดการเรียนแบบนี้ นอกจาก จะให้ความรู้ในแง่ของเนื้อหาวิชาการแล้วยังได้ให้หลายสิ่งหลายอย่างในแง่คุณธรรมด้วย3. ชุดการเรียนรายบุคคล เป็นชุดการเรียนที่ให้ผู้เรียนได้เรียนด้วยตนเอง ตามล าดับกิจกรรม และสื่อที่ก าหนดไว้เป็นชุดการเรียนที่ก าลังเข้ามามีบทบาทมากในปัจจุบัน เพราะช่วยลดปัญหาหลายประการในการเรียนการสอน หรือการศึกษาเช่นการสอนเสริม การขาดแคลนบุคลากร การขาดแคลนอาคารถานที่ ฯลฯ4. ชุดการเรียนทางไกล มีลักษณะคล้ายชุดการเรียนรายบุคคล เป็นชุดการเรียนที่มุ่งให้ผู้เรียนศึกษาด้วยตนเองโดยไม่จ าเป็นต้องเข้าชั้นเรียน โดยลักษณะของสื่อมีหลายชนิด เช่น ชุดวิชาในลักษณะของสิ่งพมพ เทปบันทึกเสียง อกทั้งยังเอาสื่อมวลชนทางการศึกษาเข้าร่วมด้วย เช่น วิทยุ โทรทัศน์ เป็นต้น ิ์ีตัวอย่างชุดการเรียนทางไกลในประเทศไทย ได้แก่ ชุดวิชาของหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชจากที่ได้กล่าวมาข้างต้นจะเห็นได้ว่า ชุดการเรียนการสอนมีอยู่มากมายหลายประเภทการแบ่งชุดการเรียนนั้นแบ่งออกตามลักษณะของการใช้ว่าใช้ลักษณะใด โดยการพฒนาในครั้งนี้ ครูผู้สอนได้สร้างัขึ้นในลักษณะเป็นชุดการเรียนการสอนที่ครูและนักเรียนใช้ร่วมกัน โดยให้นักเรียนใช้กระบวนการในการแสวงหาความรู้ด้วยตนเองอย่างหลากหลาย จากการได้ลงมือปฏิบัติกิจกรรมด้วยตนเอง ครูจึงมีบทบาทเป็นเพียงผู้ให้ค าปรึกษา และเป็นผู้อ านวยความสะดวกในการปฏิบัติกิจกรรมของนักเรียน 4.3 องค์ประกอบของชุดการเรียนการสอน วิชัย วงษ์ใหญ่ ( 2530 : 186-189) ได้กล่าวถึงองค์ประกอบของชุดการเรียนว่า ประกอบด้วย สิ่งต่อไปนี้1. หัวเรื่อง คือ การแบ่งเนื้อหาเป็นหน่วย แต่ละหน่วยแบ่งเป็นหน่วยย่อยเพอให้ผู้เรียนได้เรียนรู้ื่ลึกซึ้งยิ่งขึ้น เพื่อเน้นให้เกิดความคิดรวบยอดในการเรียนรู้2. คู่มือการใช้ชุดการเรียนการสอน เป็นสิ่งจ าเป็นส าหรับผู้ใช้ชุดการเรียนการสอนจะต้องศึกษาก่อนที่จะใช้ชุดการเรียนการสอนจากคู่มือให้เข้าใจเป็นสิ่งแรก จะท าให้ชุดการเรียนการสอนเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ เพราะมีคู่มือประกอบด้วยส่วนต่าง ๆ ดังต่อไปนี้ 2.1 ค าชี้แจงเกี่ยวกับการใช้ชุดการเรียนการสอน เพื่อความสะดวกส าหรับที่จะน าชุดการเรียนชุดการเรียนการสอนไปใช้ว่าจะต้องท าอะไรบ้าง2.2 สิ่งที่ควรต้องเตรียมก่อนสอน ส่วนมากจะบอกถึงสิ่งที่มีขนาดใหญ่เกินกว่าที่บรรจุไว้ใน ชุดการเรียนการสอน หรือสิ่งที่เน่าเสีย สิ่งที่เปราะแตกง่ายหรือสิ่งที่ใช้ร่วมกับผู้อื่นซึ่งเป็นอุปกรณ์ทมีราคาแพงที่ี่โรงเรียนจัดขึ้นไว้ที่ศูนย์วัสดุอุปกรณ์ เป็นต้น 2.3 บทบาทของนักเรียนเสนอแนะว่านักเรียนควรจะส่วนมีร่วมในการเรียนอย่างไร2.4 การจัดชั้นเรียน2.5 แผนการสอนซึ่งประกอบด้วยหัวข้อต่อไปนี้
20 รายงานการหาประสิทธิภาพชุดการสอนออนไลน์โดยใช้กลวิธีอภิปัญญา รายวิชาฟิสิกส์เพิ่มเติม 2.5.1 หัวเรื่อง ก าหนดเวลาเรียน จ านวนผู้เรียน2.5.2 เนื้อหาสาระ ควรเขียนสั้น ๆ กว้าง ๆ ถ้าต้องการรายละเอยด ควรน าไปรวมไว้ในีเอกสารประกอบการเรียน2.5.3 ความคิดรวบยอดหรือหลักการเรียนรู้ ที่มุ่งเน้นจากเนื้อหาสาระ2 5.4 .จุดประสงค์การเรียน หมายถึง จุดประสงค์ทั่ว ๆ ไปและจุดประสงค์เชิงพฤติกรรม2.5.5 สื่อการเรียน กิจกรรมการเรียน การประเมินผล3. วัสดุประกอบการเรียน ได้แก่ พวกสิ่งของหรือข้อมูลต่าง ๆ ที่จะให้นักเรียนศึกษาค้นคว้า เช่น เอกสาร ต ารา บทคัดย่อ รูปภาพ แผนภูมิ วัสดุ เป็นต้น4. บัตรงาน เป็นสิ่งจ าเป็นส าหรับชุดการเรียนแบบกลุ่มหรือกิจกรรมแบบศูนย์การเรียน บัตรนี้อาจเป็นกระดาษแข็ง หรือ กระดาษออนตามขนาดที่เหมาะสมกับวัยของผู้เรียน ซึ่งประกอบด้วย ส่วนส าคัญ 3่ส่วน คือ4.1 ชื่อบัตร กลุ่ม หัวเรื่อง4.2 ค าสั่งว่าจะให้ผู้เรียนปฏิบัติอะไรบ้าง4.3 กิจกรรมที่ผู้เรียนต้องปฏิบัติตามล าดับขั้นตอนของการเรียนการสอน5. กิจกรรมส ารอง จ าเป็นส าหรับชุดการเรียนแบบกลุ่มกิจกรรม กิจกรรมส ารองนี้จะต้องเตรียมไว้ส าหรับนักเรียนบางคนหรือกลุ่มที่ท าได้เสร็จก่อนคนอน ท าให้ผู้เรียนไม่เกิดความเบื่อหน่าย หรืออาจก่อให้เกิดื่ปัญหาทางวินัยในชั้นเรียน6. ขนาดรูปแบบของชุดการเรียน ชุดการเรียนไม่ควรใหญ่หรือเล็กเกินไป ควรจัดให้มีขนาดที่พอเหมาะ เพื่อสะดวกในการเก็บรักษาและการน าไปใช้บุญชม ศรีสะอาด (2535 : 169) ได้แบ่งองค์ประกอบของชุดการเรียนออกเป็น ด้าน ดังนี้4 1. คู่มือการใช้ชุดการเรียน เป็นคู่มือที่จัดท าขึ้นเพื่อให้ผู้ใช้ชุดการเรียนศึกษาและปฏิบัติตามเพอให้ื่บรรลุผลอย่างมีประสิทธิภาพอาจประกอบด้วย แผนการสอน บทบาทผู้เรียน สิ่งที่ครูต้องเตรียมก่อนสอน เป็นต้น2. บัตรงาน เป็นบัตรค าสั่งว่าจะให้ผู้เรียนท าอะไรบ้าง โดยระบุกิจกรรมตามล าดับขั้นตอนของ การเรียน3. แบบทดสอบวัดความก้าวหน้าของผู้เรียน เป็นแบบทดสอบที่ใช้เพอตรวจสอบการเรียนรู้ ด้วยื่ชุดการเรียนแล้ว ผู้เรียนเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมตามจุดประสงค์การเรียนรู้ที่ก าหนดไว้หรือไม่4. สื่อการเรียนต่าง ๆ เป็นสื่อหลายอย่างประกอบกัน อาจเป็นสิ่งพมพ บทความ เนื้อหา เฉพาะิ์บางเรื่อง รูปภาพ แผนภูมิ สไลด์ เป็นต้นนิรมล ศตวุฒิ (2526 อางถึงใน สุระ สนั่นเสียง ้2536 :15) ได้อธิบายส่วนประกอบหลักของชุดการเรียนแบบเอกัตบุคคล (Individualized Leaning Package) คือ 1. เป้าหมายเป็นการก าหนดผลที่ต้องการขั้นสุดท้ายที่ผู้เรียนควรได้รับ เมื่อเรียนจบแล้ว การก าหนดเป้าหมายในชุดการเรียนแบบเอกัตบุคคลนี้ อาจก าหนดเป็นเป้าหมายของบทเรียนแต่ละหน่วยใหญ่ หรือเป้าหมายของวิชานั้น ส่วนในหน่วยย่อยๆ หรือในบทเรียนแต่ละเรื่องจะมีการก าหนดเฉพาะจุดประสงค์เท่านั้น2. จุดประสงค์ คือการก าหนดผลที่ต้องการเฉพาะเนื้อหาบทเรียนแต่ละตอนซึ่งเห็นได้ชัดเจนและเข้าใจตรงกันว่าผลคืออะไร จะมาด้วยวิธีใด ในระดับคุณภาพระดับใดนั้น คือก าหนดผลที่คาดหวังในรูปของจุดประสงค์เชิงพฤติกรรม (Behavioral Objective )
21 รายงานการหาประสิทธิภาพชุดการสอนออนไลน์โดยใช้กลวิธีอภิปัญญา รายวิชาฟิสิกส์เพิ่มเติม 3. แนวคิดที่ควรรู้ (Ideas to be Learned) ประกอบด้วยแนวคิดที่ส าคัญเกี่ยวกับเนื้อหาที่ผู้เรียนก าลังจะเรียนเพอช่วยในการวิเคราะห์ จัดหมวดหมู่ และแก้ปัญหาในรายละเอียดเนื้อหาบทเรียนต่อไป และเมื่อื่เรียนจบแล้วผู้เรียนก็จะได้รับแนวคิด 4. การประเมินตนเองก่อนเรียน (Pre-Assessment) เพอตรวจสอบความรู้เดิมของผู้เรียน จะได้ื่ทราบว่าตนเองมีความรู้เนื้อหาที่ก าลังจะเรียนในเรื่องใดบ้าง จะได้ตัดสินใจเริ่มเรียนในกิจกรรมใดก่อน และกิจกรรมใดบ้างที่ไม่ต้องเรียน การประเมินตนเองอาจใช้แบบทดสอบหรือหลักฐานที่ผู้เรียนได้ผ่านการเรียนมาแล้ว 5. กิจกรรมการเรียน (Learning Activity) เป็นขั้นตอนที่เสนอแนะให้ผู้เรียนปฏิบัติตามเพอให้ื่ผู้เรียนบรรลุจุดประสงค์กิจกรมการเรียนโดยเรียนไปตามล าดับขั้นตอน ผู้เรียนบางคนอาจจะไม่ท าทุกกิจกรรม หรือท ากิจกรรมล าดับหลัง ๆ เลยก็ได้ ถ้ามีความสามารถ6. การประเมินผล (Evaluation) เป็นการประเมินผลว่าผู้เรียนบรรลุจุดประสงค์หรือไม่ อาจจะใช้วิธีการให้ผู้เรียนท าแบบทดสอบหรือให้ผู้เรียนเสนอผลงานในรูปแบบใดก็ได้ตามที่ก าหนดให้สอดคล้องกับจุดประสงค์ วิชัย วงษ์ใหญ่ (2530 อ้างถึงใน พิเศษ ภัทรพงษ์ 2540 : 17) กล่าวว่า องค์ประกอบของชุดการเรียนรู้ที่ส าคัญมีดังนี้1. แนวคิดที่ส าคัญ2. จุดประสงค์การเรียน จะเป็นสิ่งที่ก าหนดการเรียนในเรื่องที่ว่า มีความคาดหวังจะให้ผู้เรียนมีความสามารถเรื่องใด3. การประเมินผลเบื้องต้น4. กิจกรรมการเรียนการสอนแบบกิจกรรมการเรียนต้องยึดจุดประสงค์เป็นหลัก5. การประเมินผลหลังเรียนกิดานันท์ มลิทอง (2531 : 85) กล่าวว่า ชุดการเรียนการสอนประกอบด้วย1. คู่มือส าหรับผู้สอนในการใช้ชุดการสอน และส าหรับผู้เรียนในการใช้ชุดการเรียน 2. ค าสั่ง เพื่อก าหนดแนวทางในการสอนหรือการเรียน3. เนื้อหาบทเรียนจัดอยู่ในรูปของสไลด์ เทปบันทึกเสียง หนังสือบทเรียน ฯลฯ4. กิจกรรมการเรียน เป็นการี่ให้ผู้เรียนท ารายงาน กิจกรรมที่ก าหนดให้หรือค้นคว้าต่อจากการเรียนไปแล้ว เพื่อให้รู้กว้างมากขึ้น 5. แบบทดสอบ เป็นแบบทดสอบเกี่ยวกับบทเรียนนั้น เพื่อการประเมินจากแนวคิดที่นักการศึกษากล่าวไว้ ครูผู้สอนได้สังเคราะห์องค์ประกอบของชุดการเรียนการสอนไว้ดังนี้1. คู่มือครูผู้สอนหรือชุดการสอน ประกอบด้วย1.1 ค าแนะน าส าหรับครู1.2 แผนการสอน1.3 แบบทดสอบ1.4 เฉลยแบบทดสอบ1.5 เฉลยใบงาน1.6 แบบประเมินผลการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ 2. คู่มือนักเรียนหรือชุดการเรียน ประกอบด้วย
22 รายงานการหาประสิทธิภาพชุดการสอนออนไลน์โดยใช้กลวิธีอภิปัญญา รายวิชาฟิสิกส์เพิ่มเติม 2.1 ค าชี้แจงส าหรับนักเรียน2.2 ใบกิจกรรม2.3 ใบงาน 2.4 แบบทดสอบ 4.4 ขั้นตอนการพัฒนาและหาประสิทธิภาพของชุดการเรียนการสอนในการสร้างและพัฒนาชุดการเรียนการสอนได้มีนักการศึกษาหลายท่านได้ก าหนดขั้นตอน ไว้ดังนี้ วิชัย วงษ์ใหญ่ (2530 : 189-193) ได้เสนอขั้นตอนการผลิตชุดการเรียน คือ1. จะต้องศึกษาเนื้อหาสาระของวิชาที่จะน ามาสร้างชุดการเรียนอย่างละเอยดว่าจะมุ่งเน้นให้เกิดีการเรียนรู้อะไรบ้างกับผู้เรียน น ามาวิเคราะห์ แล้วแบ่งเป็นหน่วยการเรียนการสอนในแต่ละหน่วยจะต้องมีหัวเรื่องรวมอยู่ อกทั้งจะต้องศึกษาพจารณาให้ละเอยดชัดเจน เพอไม่ให้เกิดความซ้ าซ้อนในหน่วยอน ๆ อนจะีิีื่ื่ัสร้างความสับสนให้กับผู้เรียนได้ การแบ่งหน่วยการเรียนการสอนของแต่ละวิชานั้นควรเรียงล าดับขั้นตอนของเนื้อหาสาระอะไรเป็นสิ่งจ าเป็นที่ผู้เรียนจะต้องเรียนรู้ก่อน2. เมื่อศึกษาเนื้อหาสาระแต่ละหน่วยการเรียนการสอนแล้ว ต้องพจารณาตัดสินใจอกครั้งหนึ่งว่า ิีจะท าชุดการเรียนแบบใด โดยค านึงถึงข้อก าหนดว่าผู้เรียนคือใคร จะให้อะไรแก่ผู้เรียน จะให้ท ากิจกรรมอย่างไร และจะท าได้ดีอย่างไร สิ่งเหล่านี้จะเป็นเกณฑ์ในการก าหนดการเรียน3. ก าหนดหน่วยการเรียนการสอนโดยประมาณเนื้อหาสาระที่เราก าหนดขึ้น จะต้องสอดคล้องกับหน่วยและหัวเรื่องโดยค านึงถึงว่าเป็นหน่วยที่น่าสนุก น่าเรียนรู้ ให้ความชื่นบานแก่ผู้เรียน หาสื่อ การเรียนได้ง่าย พยายามศึกษาวิเคราะห์ให้ละเอยดอกครั้งว่าหน่วยการเรียนการสอนนั้นมีหลักการ หรือความคิดรวบยอดีีอย่างไร และมีหัวข้อเรื่องย่อย ๆ อะไรอีกบ้างที่จะต้องศึกษา พยายามดึงเอาแก่นของหลักการเรียนรู้ออกมา 4. ก าหนดความคิดรวบยอด ความคิดรวบยอดที่เราก าหนดขึ้นมาจะต้องสอดคล้องกับหน่วยและหัวเรื่อง โดยสรุปแนวคิด สาระและหลักเกณฑ์ เพอเป็นแนวทางในการจัดกิจกรรมการเรียนให้สอดคล้องกัน ื่เพราะความคิดรวบยอดนั้นเป็นเรื่องของความเข้าใจ อนเกิดจากประสาทสัมผัสกับสิ่งแวดล้อม เพอัื่ตีความหมายออกมาเป็นพฤติกรรมทางสมองแล้วน าสิ่งใหม่ไปเชื่อมโยงเข้าด้วยกันกับประสบการณ์เดิม เกิดเป็นความคิดรวบยอดได้5. จุดประสงค์การเรียน การก าหนดจุดประสงค์การเรียนจะต้องให้สอดคล้องกับความคิด รวบยอด โดยก าหนดจุดประสงค์เชิงพฤติกรรม ซึ่งหมายถึงความสามารถของผู้เรียนที่แสดงออกมาให้เห็นได้ในภายหลังจากการเรียนการสอนบทเรียนแต่ละเรื่องจบไปแล้ว โดยผู้สอนสามารถวัดได้ จุดมุ่งหมายเชิงพฤติกรรมนี้ ถ้าผู้สอนระบุ หรือก าหนดให้ชัดเจนมากเท่าใด ก็มีทางประสบผลส าเร็จ ในการสอนมากเท่านั้น ดังนั้นจึงควรใช้เวลาในการตรวจสอบจุดประสงค์การเรียนแต่ละข้อให้ถูกต้อง และครอบคลุมเนื้อหาสาระการเรียนรู้ 6. การวิเคราะห์งาน คือการน าจุดประสงค์การเรียนรู้แต่ละข้อมาท าการวิเคราะห์งาน เพอหาื่กิจกรรมการเรียนการสอน แล้วจัดล าดับกิจกรรมการเรียนการสอนให้เหมาะสม ถูกต้อง สอดคล้องกับจุดประสงค์ที่ก าหนดไว้แต่ละข้อ7. เรียงล าดับกิจกรรมการเรียน ภายหลังจากที่เราน าจุดประสงค์การเรียนแต่ละข้อมาวิเคราะห์งาน และเรียงล าดับกิจกรรมของแต่ละข้อเพอให้เกิดการประสานกลมกลืนของการเรียนการสอน จะต้องน าื่กิจกรรมการเรียนของแต่ละข้อที่ท าการวิเคราะห์งาน และเรียงล าดับกิจกรรมไว้แล้วมาหลอมรวมเป็นกิจกรรมการเรียนขั้นที่สมบูรณ์ที่สุด เพอไม่ให้เกิดการซ้ าซ้อนในการเรียนโดยค านึงถึงพฤติกรรมพนฐานของผู้เรียน ื่ื้
23 รายงานการหาประสิทธิภาพชุดการสอนออนไลน์โดยใช้กลวิธีอภิปัญญา รายวิชาฟิสิกส์เพิ่มเติม วิธีด าเนินการให้มีการเรียนการสอนขึ้น ตลอดจนติดตามผล และประเมินผลพฤติกรรมที่ผู้เรียนแสดงออกมาเมื่อมีการเรียนการสอนแล้ว8. สื่อการสอน คือวัสดุอปกรณ์และกิจกรรมการเรียนที่ครูและนักเรียนจะต้องท า เพอเป็นุื่แนวทางในการเรียนรู้ซึ่งครูจะต้องจัดท าขึ้นและจัดหาไว้เรียบร้อย ถ้าสื่อการเรียนเป็นของใหญ่โต หรือมีคุณค่าที่จะต้องจัดเตรียมมาก่อน จะต้องเขียนบอกไว้ชัดเจนในคู่มือที่เกี่ยวกับการใช้ชุดการเรียนว่าไปจัดหา ณ ที่ใด เช่น เครื่องฉายสไลด์ เครื่องบันทึกเสียง และพวกสิ่งที่เก็บไว้ไม่ทนทาน เพราะเกิดการเน่าเสีย เช่น ใบไม้ พช ืสัตว์ เป็นต้น 9. การประเมิน คือการตรวจสอบดูว่าหลังการเรียนการสอนแล้ว ผู้เรียนได้มีการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมตามที่จุดประสงค์การเรียนก าหนดไว้หรือไม่ จะวัดได้โดยวิธีใดก็ได้ แต่ต้องวัดพฤติกรรม ที่คาดหวังเป็นส าคัญ พยายามออกแบบวัดผลให้ผู้เรียนวัดกันเองและตรวจค าตอบได้เอง10. การทดลองชุดการเรียนเพื่อหาประสิทธิภาพ การหาประสิทธิภาพชุดการเรียนเพื่อปรับปรุงให้เหมาะสม ควรน าไปทดลองกลุ่มเล็ก ๆ ดูก่อน เพอตรวจสอบหาข้อบกพร่องและการแก้ไขปรับปรุงอย่างดี แล้วื่จึงน าไปทดลองกับเด็กทั้งชั้น หรือกลุ่มใหญ่ โดยก าหนดขั้นตอนไว้ ดังนี้10.1 ชุดการเรียนนี้ต้องการความรู้ดั้งเดิมของผู้เรียนหรือไม่ 10.2 การน าเข้าสู่บทเรียนของชุดการเรียนนี้เหมาะสมหรือไม่10.3 การประกอบกิจกรรมการเรียนการสอนมีความสับสนวุ่นวายกับผู้เรียนหรือไม่ 10.4 การสรุปผลการเรียนการสอนเพอเป็นแนวทางไปสู่ความคิดรวบยอด หรือหลักการื่ส าคัญของการเรียนรู้ในหน่วยนั้น ๆ ดีหรือไม่ 10.5 การประเมินผลหลังการเรียน เพื่อตรวจสอบพฤติกรรมการเรียนรู้ที่เปลี่ยนแปลงเกิดขึ้นนั้นให้ความเชื่อมั่นได้มากน้อยแค่ไหนกับผู้เรียนชม ภูมิภาค (2524 : 103-104) ได้ก าหนดขั้นตอนไว้ ขั้นตอน คือ11 1. วิเคราะห์และก าหนดความต้องการ2. ก าหนดเป้าหมายและจุดประสงค์3. ออกแบบองค์ประกอบของระบบ4. วิเคราะห์แหล่งวิทยาการที่ต้องการ แหล่งวิทยาการที่มีอยู่และจ ากัด5. ปฏิบัติเพื่อขจัดหรือปรับปรุงข้อจ ากัด6. เลือกหรือพัฒนาวัสดุการสอน7. ออกแบบการประเมินผลการกระท าของนักเรียน ทดลองใช้แบบประเมินเพื่อปรับปรุงและน าไปใช้8. ปรับปรุงและแก้ไขทุกส่วนที่บกพร่อง และหาประสิทธิภาพ9. 10. ประเมินเพื่อสรุป 11. สร้างเป็นชุดเพื่อติดตั้ง เพื่อใช้ คณะกรรมการประถมศึกษาแห่งชาติ (2538 อ้างถึงใน บ ารุง ใหญ่สูงเนิน 2536 : 40) ได้เสนอขั้นตอนในการสร้างหลักสูตรการฝึกอบรมครูตามโครงสร้างปรับปรุงประสิทธิภาพการสอนของครูประถมศึกษาไว้ ดังนี้ ก าหนดวัตถุประสงค์1. 2. ก าหนดเนื้อหา 3. ก าหนดระยะเวลา 4. ก าหนดกิจกรรม
24 รายงานการหาประสิทธิภาพชุดการสอนออนไลน์โดยใช้กลวิธีอภิปัญญา รายวิชาฟิสิกส์เพิ่มเติม ก าหนดกระบวนการ 5. 6. ก าหนดสื่อหลักและสื่อเสริม7. ก าหนดการประเมินผลนอกจากนี้ ชัยยงค์ พรหมวงศ์ (2538 : 119) ได้เสนอขั้นตอนการผลิตชุดการสอน ตามแผนจุฬา (Chula Plan) เป็น ขั้นตอน ดังนี้10 1. ก าหนดหมวดหมู่เนื้อหาและประสบการณ์ 2. ก าหนดหน่วยการสอน 3. ก าหนดหัวเรื่อง 4. ก าหนดมโนทัศน์และหลักการ 5. ก าหนดวัตถุประสงค์ 6. ก าหนดกิจกรรมการเรียนการสอน 7. ก าหนดแบบประเมินผล 8. เลือกและวิธีผลิตสื่อการสอน 9. หาประสิทธิภาพของสื่อ10. ท าแบบทดสอบหลังเรียนจากขั้นตอนในการพฒนาชุดการเรียนการสอนที่นักการศึกษาได้กล่าวมาแล้วนั้น ผู้รายงาน ได้ท าการัสังเคราะห์เป็นขั้นตอนในการพฒนาชุดการสอนโดยใช้กลวิธีอภิปัญญา หน่วยการเรียนรู้ที่ เรื่อง คลื่นกลั1 รายวิชาฟิสิกส์เพิ่มเติม รหัสวิชา ว 32201 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ดังต่อไปนี้5 ขั้นตอนที่ การวิเคราะห์เนื้อหา1 ขั้นตอนที่ การวางแผนการสอน2 ขั้นตอนที่ การผลิตและจัดหาสื่อการสอน3 ขั้นตอนที่ การทดสอบประสิทธิภาพของชุดการเรียนการสอน4 เมื่อสร้างชุดการเรียนการสอนเสร็จ จ าเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องน าไปทดสอบหาประสิทธิภาพ เพอเป็นื่หลักประกันว่าชุดการเรียนการสอนนั้นมีประสิทธิภาพในการเรียนการสอน โดยผู้สร้างต้องก าหนดเกณฑขึ้น ชัย์ยงค์ พรหมวงศ์ และคณะ (2521 อางถึงใน สุระ สนั่นเสียง : ้21-23) ได้ก าหนดเกณฑ์ โดยยึดหลักการที่ว่า การเรียนรู้เป็นกระบวนการเพอช่วยให้เกิดการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมของผู้เรียนบรรลุจุดประสงค์การเรียน ื่ดังนั้นการก าหนดเกณฑ์ต้องค านึงถึงกระบวนการและผลลัพธ์ โดยก าหนดตัวเลขเป็นร้อยละของคะแนนเฉลี่ยมีค่าเป็น 21/E E1 Eตัวแรก หมายถึง ประสิทธิภาพของกระบวนการเรียนการสอนจากชุดการเรียนการสอน คิดจากคะแนนเฉลี่ยร้อยละจากการท าแบบฝึกหัดระหว่างเรียนโดยมีการค านวณค่าสถิติดังต่อไปนี้
25 รายงานการหาประสิทธิภาพชุดการสอนออนไลน์โดยใช้กลวิธีอภิปัญญา รายวิชาฟิสิกส์เพิ่มเติม สูตรที่ 1 1 E = 100 A N Xเมื่อ1 E หมายถึง ประสิทธิภาพของกระบวนการX หมายถึง คะแนนรวมของแบบฝึกหัดหรืองานที่ท าAหมายถึง คะแนนเต็มของแบบฝึกหัดทุกแบบฝึกหัดN หมายถึง จ านวนผู้เรียน2 Eตัวหลัง หมายถึง ประสิทธิภาพของผลลัพธ์จากชุดการเรียนการสอนคิดจากคะแนนเฉลี่ยร้อยละจากคะแนนที่นักเรียนท าได้จากการสอบหลังเรียนสูตรที่ 2 2 E = 100 B N Fเมื่อ แทน ประสิทธิภาพของชุดการเรียนการสอนที่ได้จากคะแนนเฉลี่ยการท าแบบทดสอบ2 Eวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนFแทน คะแนนรวมของนักเรียนที่ท าแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนถูก แทน จ านวนนักเรียนในกลุ่มตัวอย่างทั้งหมดN แทน คะแนนเต็มของแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์Bการก าหนดเกณฑ์ประสิทธิภาพของชุดการเรียนการสอนนิยมตั้งไว้ / ส าหรับเนื้อหาวิชา ที่เป็น90 90 ทักษะเจตคติ เพราะการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม ติดตามระยะเวลาไม่สามารถเปลี่ยนและวัดได้ทันทีที่เรียนเสร็จไปแล้ว การทดสอบหาประสิทธิภาพ อาศัยการทดลองโดยใช้สูตรดังกล่าวข้างต้นมาด าเนินการ เป็นขั้นตอน ดังนี้ 1. แบบหนึ่งต่อหนึ่ง ( ) น าชุดการเรียนการสอนไปใช้ทดลองใช้กับผู้เรียน 1:11-3 คน ซึ่งมีระดับความรู้ต่างกัน น ามาค านวณหาประสิทธิภาพ เพื่อปรับปรุงแก้ไขให้ดีขึ้น2. แบบกลุ่ม (1:10) น าชุดการเรียนการสอนที่ปรับปรุงแก้ไขแล้วไปทดลองใช้กับผู้เรียน จ านวน 6-10 คน ที่มีความรู้คละกัน น ามาค านวณหาประสิทธิภาพ เพื่อปรับปรุงแก้ไขให้ดีขึ้น3. แบบภาคสนาม (1:100) น าชุดการเรียนการสอนไปใช้ทดลองใช้กับผู้เรียน 30-100 คน น ามาค านวณหาประสิทธิภาพ เพอปรับปรุงแก้ไขให้ดีขึ้น หากการทดลองแบบภาคสนามให้ค่า และ ไม่ถึงื่1 E2 Eเกณฑ์ที่ตั้งไว้จะต้องปรับปรุงชุดการเรียนการสอนและการหาประสิทธิภาพอีก ในกรณีที่ประสิทธิภาพของชุดการเรียนการสอนที่สร้างขึ้นไม่ถึงเกณฑ์ที่ตั้งไว้เนื่องจาก มีตัวแปรที่ควบคุมไม่ได้เช่น สภาพห้องเรียน ความพร้อมของผู้เรียน บทบาทและความช านาญ ในการศึกษา ชุดการเรียนการสอน เป็นต้น อาจอนุโลมให้มีระดับความผิดพลาดให้ต่ ากว่ามาตรฐาน ที่ก าหนดไว้ประมาณ ร้อยละ 2.5-5 เกณฑ์ประสิทธิภาพของชุดการเรียนการสอนที่สร้างขึ้นไว้ ระดับ คือ3
26 รายงานการหาประสิทธิภาพชุดการสอนออนไลน์โดยใช้กลวิธีอภิปัญญา รายวิชาฟิสิกส์เพิ่มเติม 1. สูงกว่าเกณฑ์ เมื่อประสิทธิภาพของชุดการเรียนการสอนสูงกว่าเกณฑ์ที่ตั้งไว้มีค่าเกินร้อยละ 2.5ขึ้นไป เท่าเกณฑ์ เมื่อประสิทธิภาพของชุดการเรียนการสอนเท่ากับ หรือสูงกว่าเกณฑ์ที่ตั้งไว้แต่ไม่เกินร้อย2. ละ ขึ้นไป2.53. ต่ ากว่าเกณฑ์ เมื่อประสิทธิภาพของชุดการเรียนการสอนต่ ากว่าเกณฑ์ที่ตั้งไว้ แต่ไม่ต่ ากว่า ร้อยละ 2.5 ถือว่ามีประสิทธิภาพยอมรับได้ (ฉลองชัย สุรวัฒนสมบูรณ์ 2538 อ้างถึงใน สุระ สนั่นเสียง 2536 : 36) การหาประสิทธิภาพของชุดการเรียนการสอนได้ตามเกณฑ์ ที่ก าหนดไว้อย่างถูกต้องจะก่อให้เกิดประโยชน์และมีคุณค่ามากต่อผู้น าชุดการเรียนการสอนไปใช้4.5 ประโยชน์และความส าคัญของชุดการเรียนการสอนชุดการเรียนการสอน เป็นชุดที่เพิ่มความความรู้ให้กับผู้เรียนซึ่งเรียงตามล าดับขั้นตอน ในค าแนะน าของแต่ละชุด ท าให้ผู้เรียนได้รับประโยชน์โดยตรงตามความต้องการ ความสามารถของผู้เรียน ซึ่งมีนักการศึกษากล่าวไว้หลายท่าน ดังนี้วีระ ไทยพานิช ( 2529 อ้างถึง สุระ สนั่นเสียง ) กล่าวถึง ข้อดีของชุดการเรียนการสอน คือ: 25 1. เป็นการฝึกให้ผู้เรียนมีความรับผิดชอบในการเรียนรู้ไปตามล าดับ ค าแนะน าและกิจกรรมตามค าสั่ง2. เปิดโอกาสให้ผู้เรียนเลือกวัสดุการเรียน และกิจกรรมที่ปฏิบัติ3. เปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้ก้าวหน้าไปตามความสามารถของแต่ละคน4. เป็นการเรียนที่สนองต่อความแตกต่างระหว่างผู้เรียน5. มีการวัดผลตัวเองบ่อย ๆ ท าให้ผู้เรียนรู้ผลการเรียนรวดเร็วและสร้างแรงจูงใจ6. ผู้เรียนสามารถศึกษาได้ด้วยตนเอง และมีส่วนร่วมในการเรียนอย่างแท้จริง7. เป็นการเรียนรู้ด้วยการกระท าของตนเอง8. ผู้เรียนจะเรียนที่ไหน เมื่อไรก็ได้ตามความพอใจของผู้เรียน9. สามารถปรับปรุงการสื่อความหมายระหว่างผู้เรียนและครู10. ช่วยแก้ปัญหาการขาดแคลนครู และช่วยให้ผู้เรียนปลอดจากอารมณ์ของผู้สอนสันทัด ภิบาลสุข และพมพใจ ภิบาลสุข (ิ์2525 ) และลักขณา หมื่นจักร (ม ป ป อางถึงใน . . . ้บ ารุง ใหญ่สูงเนิน 2536 36 : ) ได้สรุปประโยชน์ของชุดการเรียนรู้ไว้ท านองเดียวกันว่า 1. ช่วยเร้าความสนใจของผู้เรียนต่อสิ่งที่ก าลังศึกษาอยู่ เพราะชุดการเรียนรู้จะเปิดโอกาสให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมในการเรียนมากที่สุด2. ผู้เรียนเป็นผู้กระท ากิจกรรมการเรียนด้วยตนเอง และเรียนได้ตามความสามารถ ความสนใจ และมีความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม3. เปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้แสดงความคิดเห็น ฝึกการตัดสินใจแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง4. ช่วยให้ผู้เรียนจ านวนมากได้รับความรู้แนวเดียวกัน5. ท าให้การเรียนรู้ของผู้เรียนเป็นอิสระจากอารมณ์ครู ชุดการเรียนการสอนสามารถท าให้ผู้เรียนเรียนได้ตลอด ไม่ว่าผู้สอนจะมีประสิทธิภาพหรือมีความคับข้องทางอารมณ์มากน้อยเพียงใด6. ช่วยให้การเรียนเป็นอสระจากบุคลิกภาพของครู เนื่องจากชุดการเรียนการสอนช่วยถ่ายทอดิเนื้อหาได้ ดังนั้นครูที่พูดไม่เก่งก็สามารถสอนให้มีประสิทธิภาพได้7. ช่วยให้ครูวัดผลการเรียนได้ตรงจุดมุ่งหมาย
27 รายงานการหาประสิทธิภาพชุดการสอนออนไลน์โดยใช้กลวิธีอภิปัญญา รายวิชาฟิสิกส์เพิ่มเติม 8. ช่วยลดภาระและสร้างความพร้อมและความมั่นใจให้แก่ครู เพราะชุดการเรียนการสอนผลิต ไว้เป็นหมวดหมู่ สามารถน าไปใช้ทันที9. ช่วยขจัดปัญหาการขาดแคลนครูผู้ช านาญ เพราะชุดการเรียนการสอนช่วยให้ผู้เรียนเรียนด้วยตนเอง10. ช่วยสร้างเสริมการเรียนอย่างต่อเนื่องหรือการศึกษานอกระบบ เพราะชุดการเรียนการสอนสามารถน าไปสอนผู้เรียนได้ทุกสถานที่ ทุกเวลา11. ช่วยแก้ปัญหาความแตกต่างระหว่างบุคคล เพราะชุดการเรียนการสอนสามารถท าให้ผู้เรียนเรียนตามความสามารถ ความถนัด ความสนใจ และโอกาสเอออานวยแก่ผู้เรียนซึ่งแตกต่างกัน เป็นประโยชน์ื้ส าหรับการเรียนการสอนแบบศูนย์การเรียนจากประโยชน์ของชุดการเรียนการสอนที่นักการศึกษาได้กล่าวมานั้น สรุปได้ว่า เป็นการช่วยส่งเสริมให้เกิดการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมการเรียนรู้ตามจุดประสงค์อย่างมีประสิทธิภาพและเป็นการรวมกิจกรรมต่าง ๆ เพอให้ผู้เรียนได้ศึกษาด้วยตนเอง ซึ่งเป็นการเรียนแบบยึดผู้เรียนเป็นส าคัญ ผู้เรียน มีส่วนร่วมื่ในการปฏิบัติกิจกรรมต่าง ๆ ตามความสนใจและความสามารถของแต่ละบุคคล สามารถเรียนรู้ได้ทุกเวลา ทุกสถานที่5. แนวคิดเกี่ยวกับกลวิธีอภิปัญญา (metacognition )เนื้อหาที่เกี่ยวข้องกับแนวคิดกลวิธีอภิปัญญา ประกอบด้วยเนื้อหา ส่วน ดังนี้31. ความหมายของอภิปัญญา2. องค์ประกอบขงอภิปัญญา3. การฝึกกลวิธีอภิปัญญา5.1 ความหมายของอภิปัญญาSlavin 2003, (หน้า 203) ได้กล่าวถึงนักเรียนจะคิดถึงกลวิธีส าหรับประเมินความเข้าใจของตนเองไตร่ตรองถึงเวลาที่จะต้องใช้ในการเรียนเรื่องอนๆ จะคัดเลือกแผนที่มีประสิทธิภาพเพอการเรียนและการแก้ไขื่ื่ปัญหา ตัวอย่างเช่น การอานหนังสอเล่มหนึ่งคุณอาจติดขัดกับย่อหน้าหนึ่งที่คุณไม่เข้าใจในการอานครั้งแรก ่่อาจอ่านอกครั้งให้ช้าลงมองหาความหมายที่อื่น เช่น ภาพ กราฟ อภิธานศัพท์ เหล่านี้ คือ ทักษะการอภิปัญญาี(metacognitive skill)จะมีการเรียนรู้ว่า ว่าคูณไม่ข้าใจหรือแก้ไขได้อย่างไรด้วยตัวเอง กลวิธีอภิปัญญาอนๆ ก็ื่คือความสามารถในการพยากรณ์สิ่งที่เกิดขึ้นหรือบอกว่าสิ่งนั้นสมเหตุสมผลหรือไม่Wilson 2001( อางใน นิยม ไชยวงศ์้,2547,หน้า ) ได้ก าหนดความหมายของอภิปัญญาไว้ว่า 12หมายถึง การตระหนักรู้ส่านตัวในความคิดของตัวเอง และความสามารถที่จะประเมินและควบคุมความคิดของตนเองส่าน Lin 2001,(หน้า )ได้ก าหนดนิยามอภิปัญญาว่า หมายถึง ความเข้าใจและการควบคุมความคิด12ของตนเอง และสมมติฐานรวมทั้งข้อสรุปเกี่ยวกับกิจกรรมที่ต้องท า ทั้งนี้ยังรวมไปถึง การรู้ตนเองของเด็กในความรู้ความสามารถส่วนตัวความช านาญและความสนใจ Hrbrey 2001,(หน้า ) เรียกว่า “knowing what 16we knoew” อีกด้วยFlavell 1997( อางใน มัตติกา กันทะเตียน้,2548, หน้า ) ได้อธิบายความหมายเกี่ยวกับอภิ13ปัญญาไว้ว่า เป็นความรู้หรือกิจกรรมทางปัญญาที่มีต่อวัตถุประสงค์บางอย่างหรือหมายถึงการควบคุมกิจกรรมทางความคิด เป็นการที่บุคคลได้รู้จักถึงกระบวนการคิดของตนเองหรือสิ่งอื่นๆ ที่เกิดจากกระบวนการคิด มัตตา กันทะเตียน (2548, หน้า ) สรุปไว้ว่า อภิปัญญา หมายถึง ความสามารถในการก ากับ13และควบคุมกระบวนการคิดของตนเองในการท ากิจกรรมทางการคิดใดๆ อย่างมีจุดม่งหมาย สอดคล้องกับศุภ
28 รายงานการหาประสิทธิภาพชุดการสอนออนไลน์โดยใช้กลวิธีอภิปัญญา รายวิชาฟิสิกส์เพิ่มเติม ลักษณ์ สินธนา (2545 หน้า ) ซึ่งได้ให้ความหมายกับอภิปัญญาว่า หมายถึง ความสามารถในการรู้, 11ความคิดของตนเอง เกี่ยวกับกระบวนการคิดที่เกิดขึ้นภายในสมอง ในขณะท างานที่ต้องใช้ความคิดมีหน้าที่ก ากับควบคุมการท างานเพอให้เกิดความมั่นใจว่างานที่ท านั้นสัมฤทธิ์ผล มีองค์ประกอบที่ส าคัญของสองกลุ่มื่ใหญ่ๆ คือ ความรู้เกี่ยวกับอภิปัญญาและประสบการณ์ในอภิปัญญา ส่วนอษณีย์ โพธิสุข (ุ2544,หน้า ) 37กล่าวถึงความหมายของอภิปัญญาว่า หมายถึง ความรู้เกี่ยวกับแนวโน้มของตน ความรู้เกี่ยวกับกระบวนการและแก้ไขตลอดจนการควบคุมที่ส้มพนธ์กับกระบวนการและกิจกรรมทางพทธิปัญญาและในท านองเดียวกันว่าัุเป็นการเรียนรู้ที่ผู้เรียนมีสติและมีความรู้เกี่ยวกับกระบวนการเรียนรู้ของตนเองพร้อมกันมี่ความสามารถและแนวโน้มที่จะควบคุมกระบานการเหล่านั้นในขณะเรียนรู้ได้ สมบัติ โพธิ์ทอง (2544, หน้า ) ได้ในความหมายของอภิปัญญาว่าเป็นความเข้าใจถึง51กระบวนการทางปัญญา ( cognitive process) กล่าวคือ ) ผู้เรียนรู้ตัวว่าตนคิดอะไรคิดอย่างไร ) ผู้เรียน12สามารถตรวจสอบความเข้าใจของตนเองได้ และ ) ผู้เรียนสามารถปรับเปลี่ยนกลวิธีการคิดให้เหมาะสมได้ อภิ3ปัญญาต่างจากปัญญาหรือการคิดทั่วไป (cognition ) ตรงที่ปัญญาเป็นการคิดเชิงสรุป เปรียบเทียบหาเหตุผล แก้ปัญญา วิเคราะห์ สังเคราะห์หรือน าไปใช้ แต่อภิปัญญาเป็นการคิดที่รู้ตัวว่าคิดอะไร มีวิธีคิดอย่างไร สามารถตรวจสอบความคิดองตนได้ และสามารถปรับเปลี่ยนกลวิธีการคิดของตนเอง จากความหมายของอภิปัญญาดังกล่าว สรุปได้ว่า อภิปัญญา หมายถึง การตระหนักรู้ส่วนตัวในความคิดของเอง และความสามารถที่จะประเมินและควบคุมความคิดของตนเองความสามารถของบุคคลในการสร้างกระบวนการรับความรู้ เก็บความรู้ คัดเลือกความรู้มาใช้แก้ปัญหา คาดคะเนผลการแก้ไขปัญหาที่อาจเป็นไปได้ และหาวิธีการแก้ปัญหาในทางอื่น5.2 องค์ประกอบอภิปัญญานักเรียนศึกษาและนักจิตวิทยาการเรียนรู้หลายท่านได้ศึกษาเกียวัยอภิปัญญาและได้แบ่ง องค์ประกอบของอภิปัญญาไว้ดังนี้Flavell 1997 ( อ้างใน มัตติกา กันทะเตียน,2548, หน้า ) ได้แบ่งอภิปัญญาเป็น17องค์ประกอบดังนี้ 1. ความรู้ในอภิปัญญา (metacognition knowledge ) 1.1 องค์ประกอบส่วนตัว (peron variabole) คอความรู้ความเข้าใจในความสามารถของผู้เรียนว่าตนมีคุณสมบัติและมีความสามารถอยู่ในระดับใด 1.2 องค์ประกอบด้านงาน ( task variable ) คือ ความเข้าใจลักษณะของงานที่จะต้องการเรียนรู้ 1.3 องค์ประกอบด้านวิธีการ ( straegty variabie) คือ เทคนิคหรือวิธีการที่ผู้เรียนเลือกใช้ในการเรียนรู้งาน2. ประสบการณ์การในอภิปัญญา ( metacognition experience )2.1 การวางแผน ( planning )2.1.1 การก าหนดเป้าหมาย2.1.2 การเลือกวิธีปฏิบัติ2.1.3 การเรียงล าดับขั้นตอนการปฏิบัติงาน2.1.4 การรวบรวมจัดหมวดหมู่อุปสรรคจะเกิดขึ้นได้2.1.5 การรวบรวมแนวทางเพื่อที่จะให้บรรลุอุปสรรคที่เกิดขึ้น2.1.6 การคาดคะเนหรือท านายผลลัพธ์ไว้ล่างหน้า
29 รายงานการหาประสิทธิภาพชุดการสอนออนไลน์โดยใช้กลวิธีอภิปัญญา รายวิชาฟิสิกส์เพิ่มเติม 2.2 การตรวจสอบ 2.2.1 การก ากับจุดประสงค์ไว้ในใจ 2.2.2 การก ากับหน้าที่ 2.2.3 การรู้จุดประสงค์ย่อย 2.2.4 การเลือกวิธีปฏิบัติอย่างเหมาะสม 2.2.5 การรู้ถึงข้อผิดพลาด 2.2.6 การแก้ไขข้อผิลพลาดที่เกิดขึ้น2.3 การประเมิน2.3.1 การประเมินความส าเร็จที่เกิดขึ้นตามจุดมุ่งหมาย2.3.2 การพิจารณาผลลัพธ์ที่ได้อย่างละเอียด2.3.3 การประเมินปัญหาที่พบ2.3.4 การประเมินประสิทธิภาพของแผนการที่แก้ปัญหาได้Blakey,Elaine 1984, (หน้า 501-503) ได้อภิปัญญาเป็น องค์ประกอบดังนี้21. การตระหนักรู้ตนเอง (awareness) เป็นการตระหนักรู้ถึงทักษะ กลวิธี และเหล่งข้อมูลที่จ าเป็นต่อการท างานอย่างมีประสิทธิภาพ และรู้ว่าจะต้องท าอย่างไร เป็นเรื่องของการที่บุคคลรู้ถึงสิ่งที่ตนเองคิด และความสอดคล้องกับสถานการณ์การเรียนรู้ รวมไปถึงการแสดงออกมาโดยการอธิบายให้ผู้อนฟงได้ ื่ัสามารถสรุปใจความส าคัญของสิ่งที่เรียนรู้นั้นมีวิธีจ าสิ่งนั้นได้ง่าย ตลอดจนการท าแบบทดสอบ การวางขอบข่าย และการจดบันทึกความสามารถในกระบวนการสะท้อนความคิดของตนเอง ออกมาในขณะที่อาน่เรื่องราวหรือแนวคิดแก้ปัญหา เป็นทักษะที่จะท าให้บุคคลท างานอย่างมีแบบแผน เพราะจะท าให้รู้ว่าในงานนั้นๆ ไม่ว่าจะเป็นด้านการอ่าน และการแก้ปัญหา หรืองานอื่นใดที่ต้องอาศัยการเรียนรู้ว่า จะต้องประกอบด้วยสิ่งใดบ้างที่จะท าให้การท างานนั้นมีประสิทธิภาพยิ่งมากขึ้น2. การก ากับควบคุมตนเอง (selfregulation) เป็นการเรียนรู้ว่าจะท างานนั้นอย่างและเมื่อไร เพอให้สามารถปฏิบัติงานได้ส าเร็จเป็นกลวิธีในการก ากับตนเองในขณะที่ก าลังคิดแก้ปัญหา ซึ่งรวมถึงการื่พจารณาว่ามีความเข้าใจในสิ่งนั้นหรือไม่ การประเมินความพยายามในการท างาน การวางแผน และขั้นตอนิในการท างาน การท าสอบวิธีการใช้งาน การตัดใจในการใช้เวลา การใช้ความสามารถที่มีอยู่และการเปลี่ยนไปใช้กลวิธีเพื่อให้แก้ปัญหาได้Brown 1982,( อางใน จินดา คูเจริญ้,2545 หน้า ) กล่าวว่ากลวิธีอภิปัญญาเปรียบเสมือน14ศูนย์บัญชาการในการกลั่นกรองข้อมูลเพื่อให้เกิดความรู้ ซึ่งระบบปฏิบัติการเช่นนี้ประกอบด้วย1. การคาดคะเน การใช้กลวิธีผู้เรียนต้องสามารถตัดสินพฤติกรรมของตนเองล่วงหน้า เพอลงมือื่ปฏิบัติภาระงานได้ องค์ประกอบขงการคาดคะเน ได้แก่ ผู้เรียนต้องสามารถกาหนดได้ว่าตนเองมีความสามารถเพยงพอในการลงมือปฏิบัติภาระงานหรือไม่ หรือสามารถได้ว่าตนเองสามารถปฏิบัติภาระงานให้สมบูรณ์ได้ีอย่างมากเพียงใด อีกทั้งต้องสามารถบอกได้ว่าส่วนใดของงานง่ายหรือยากที่สุด เพราะเหตุใด2. การวางแผน ผู้เรียนต้องมีความสามารถในการวางแผนล่างหน้า โดยค านึงถึงแหล่งข้อมูลและเทคนิคต่างๆ ที่ใช้ในการเรียนรู้ซึ่งประกอบด้วย ผู้เรียนต้องสามารถก าหนดได้ว่ามีความจ าเป็นไม่ที่ต้องศึกษาเรื่องหนึ่งๆ อย่างละเอยดถี่ถ้วน และมากน้อยเพยงใด เพอน าความรู้ที่ได้ไปปฏิบัติภาระงานที่ได้รับมอบหมาย ีีื่อกทั้งยังต้องสามารถก าหนดได้ว่ากลวิธีใดมีประสิทธิภาพสูงสุดเพอน าไปปฏิบัติภาระงานให้ลุล่วงได้อย่างีื่ประสบผลส าเร็จ
30 รายงานการหาประสิทธิภาพชุดการสอนออนไลน์โดยใช้กลวิธีอภิปัญญา รายวิชาฟิสิกส์เพิ่มเติม 3. การตรวจสอบ กลวิธีในการตรวจสอบนี้ช่วยท าให้ผู้เรียนสามารถตระหนักถึงสภาวการณ์ของการไม่รู้ หรือรู้แจ้งของตนเองต่อเรื่องหนึ่ง ๆ4. การประเมิน เป็นการตรวจสอบผลการปฏิบัติภาระงาน และเป็นการประเมินผลของกิจกรรมที่ได้เสร็จสิ้นลง ซึ่งได้แก่ ผู้เรียนสามารถประเมินได้ว่าสิ่งที่เป็นความรู้ใหม่มีลักษณะขัดแย้งหรือสอดคล้องกับข้อมูลอนในลักษณะใดบ้าง อกทั้งต้องประเมินด้วยว่าความรู้ใหม่สอดคล้องกับความจริงหรือไม่ และตนเองื่ีสามารถประยุกต์ใช้กฎเกณฑ์หรือข้อมูลที่เรียนรู้ใหม่ได้หรือไม่และดีเพียงใด จากการก าหนดองค์ประกอบของอภิปัญญาดังกล่าว สรุปได้ว่า องค์ประกอบของอภิปัญญา ได้แก่ การตระหนักรู้ในตนเองและงาน (person and task metacognitive knowledge) การวางแผน (planning) การควบคุมการด าเนินแก้ปัญหา (monitoring) และการประเมินผล(evaluation )3. การฝึกกลวิธีอภิปัญญาVeenman,T 1994() ได้เสนอแนะว่าหลักการส าหลับการฝึกกลวิธีอภิปัญญาที่ส าคัญได้แก่1. กิจกรรมและกะบวนการ ควรได้รับการเน้นมากกว่าผลการเรียน (process principle ) 2. ผู้เรียนต้องได้รับความช่วยเหลือให้ตระหนักรู้ในกลวิธีการเรียนรู้ของตนเองทักษะการก ากับตนเอง และความสัมพนธ์ของกลวิธี และทักษะเหล่านี้กับเป้าหมายการเรียนรู้ (ัfunctionality principle ) 3. ปฏิสัมพันธ์ระหว่างพุทธิปัญญา อภิปัญญา และองค์ประกอบของการเรียนรู้ในด้านจิตพสัย ินับเป็นเรื่องส าคัญ (affective principle )4. ผู้เรียนต้องได้รับการสอนที่ตระหนักในการใช้และหน้าที่ของความรู้และทักษะ (functionality principle )5. ผู้สอนและผู้เรียนควรมุ่งไปสู่การถ่ายโอนการเรียนรู้และการแผ่ขยาย (transfer principle )6. ผู้เรียนควรได้รัยการสอนรู้จักวิธีการก ากับ การวินิจฉัย และการทบทวนหรือประเมินการเรียนรู้ของตนเอง (self-diagnosis principle ) 7. ควรออกแบบการสอนในแบบที่จะมีความสมดุลระหว่างคุณภาพและปริมาณของกิจกรรมการเรียนรู้ (activity principle ) 8. ความรับผิดชอบในการเรียนควรค่อยๆ เปลี่ยนมาเป็นของผู้เรียน (scaffolding principle )9. ส าหลับเด็กเล็ก ควรมีการเน้นความสัมพนธ์กับปกครองเพอว่าจะได้มีการเริ่มฝึกการก ากับัื่ตนเองตั้งแต่เด็ก (supervision principle )10. การร่วมมือกันและอภิปลายร่วมกันในระหว่างผู้เรียนนับเป็นสิ่งจ าเป็น (cooperation principle )สิริมาศ สิทธิ์หล่อ ( 2544, หน้า ) ได้เสนอกลวิธีการทางอภิปัญญาที่นิยมใช้กันคือ 51 1) ผังความสัมพนธ์ทางความหมาย (ัsemantic mapping 2) ) เทคนิคการเรียนแบบKWL know-want ( learned ) โดยสรุปแล้ว กลวิธีอภิปัญญานั้น เป็นกระบวนการแก้ปัญหาและกิจกรรมค้นคว้าความรู้ อนัจะสร้างโอกาสเพอพัฒนากลวิธีอภิปัญญา ดังนั้น ครูต้องเพิ่มความสนใจไปที่ความตั้งใจของนักเรียนการที่จะท าื่ให้บรรลุผลส าเร็จกับงานที่ท า ขั้นตอนการปฏิบัติเพอจุดมุ่งหมาย เพอให้เกิดความพงพอใจ จะต้องได้รับการื่ื่ึสร้างขึ้น และมีการประเมินผลโดยนักเรียนเมื่อนักเรียนได้ค้นพบแล้วว่าความเข้าใจและการถ่ายโอนกระบวนการคิดสามารถน าไปปรับปรุงการเรียนรู้ของนักเรียน
31 รายงานการหาประสิทธิภาพชุดการสอนออนไลน์โดยใช้กลวิธีอภิปัญญา รายวิชาฟิสิกส์เพิ่มเติม 6. การแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์6.1 ความหมายของปัญหาอภิปัญหา Gagne 1985, (อ้างอิง ทองหล่อ วงษ์อินทร์, 2537, หน้า 229-261 ) อภิบายว่าความสามารถในการแก้ปัญหาคณิตศาสตร์ประกอบด้วยทักษะในการคิดค านวณ และความเข้าใจในความคิดรวบยอด โดยทองหล่อ วงษ์อินทร์ ( 2537, หน้า 25-26 ) ได้สรุปความหมายของทั้ง องค์ประกอบไว้ดังนี้21. ทักษะในการคิดค านวณ ( computational skill ) ความรู้ในการนิยาม สูตร และหลักเกณฑ์ทางคณิตศาสตร์ ความสามารถในการระบุค า หรือข้อความในโจทย์ที่เกี่ยวข้องกับปัญหา และความสามารถในการจ าแนกประเภทของปัญหาคณิตศาสตร์ตามลักษณะโครงสร้างความรู้ซึ่งแบ่งเป็นโครงสร้างความรู้แบบลึกและโครงสร้างความรู้แบบผิวเผิน2. ความเข้าใจในความคิดรวบยอด ( conceptual understanding ) เป็นความรู้ในการประมาณค่าค าตอบขอปัญหา เหตุผล หรือวิธีการประมาณค่าค าตอบ การระบุหลักการส าคัญ ทางคณิตศาสตร์ที่ในมาใช้ในการแก้ไขปัญหาและความรู้ในล าดับขั้นตอนที่ใช้ในการแก้ปัญหาสมบัติ โพธิ์ทอง ( 2539, หน้า 32 ) ได้สรุปความหมายของปัญหาคณิตศาสตร์ได้ว่าเป็นสถานการณ์หรือค าถามที่เกี่ยวข้องกับปริมาณ ที่ผู้แก้ปัญหาไม่สามารถหาค าตอบได้ในทันทีแต่ต้องใช้ความรู้ ประสบการณ์และกระบวนการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ที่จะตัดสินในเลือกกลวิธีที่เหมาะสมใช้ในการแก้ปัญหา เพื่อให้ได้มาซึ่งค าตอบที่ถูกต้องสมบูรณ์จากความหมายทางการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ สรุปได้ว่า ปัญหาคณิตศาสตร์ หมายถึง ค าถามหรือสถานการณ์ที่ต้องการค าตอบที่เกี่ยวกับปริมาณ หรืออาจเป็นปัญหาที่ต้องน าความรู้หรือความเข้าใจ ประสบการณ์ทางคณิตศาสตร์ ด้านต่างๆ มาใช้ในกระบวนการในการปัญหา 6.2 กระบวนการแก้ปัญหาคณิตศาสตร์ รูปแบบกลวิธีทั่วๆ ไป ที่ได้รับการแนะน าในกาใช้แก้ปัญหาคณิตศาสตร์มีพนฐานมาจากื้แบบจ าลองของ Poya ( อ้างใน 1985, อ้างอิง ทองหล่อ วงษ์อินทร์, 2537, หน้า 261-272 ,2547 หน้า ) 26 ซึ่งประกอบด้วยการท าความเข้าใจปัญหา คัดเลือกแผนการแก้ปัญหา ด าเนินการวางแผน ตรวจสอบ ทองหล่อ วงศ์อินทร์ ( 2537, หน้า ) ได้สรุปกระบวนการเพื่อน าไปใช้แก้ปัญหา ดังนี้23 1. การท าความเข้าใจปัญหาจากโจทย์ ประกอบด้วย การบอกได้ในสิ่งที่โจทย์ก าหนดาให้ การกอบเป้าหมายของการแก้ปัญหา แยกแยะข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับการแกปัญหา รวมทั้งการระบุค ายากทปรากฏใน้ี่โจทย์ที่แยกแก่การท าความเข้าใจ 2. การสร้างตัวแทนปัญหา มีวิธีการเช่น การวาดรูป การสร้างแผนภูมิ หรือแผนภาพสัญลักษณ์ต่างๆ แทนข้อความในโจทย์ การแปรโจทย์ให้อยู่ในรูปสัญลักษณ์และการจัดระบบข้อมูลใหม่ 3. การวางแผนในการแก้ปัญหา ประกอบด้วย การระบุเงื่อนไขจากโจทย์ การแบ่งขั้นตอนในการแก้ปัญหา เลือกขั้นตอนในการท างาน จัดล าดับขั้นตอน ประมาณค่าค าตอบ ระบุว่าปัญหาเกี่ยวข้องกับการใช้สูตร กฎ หรือหลักเกณฑ์เรื่องใด 4. การลงมือแก้ปัญหา มีขั้นตอนย่อยดังนี้ คือ ด าเนินการตามแผนด้วยทักษะพืชคณิต เรขาคณิต ระบุเหตุในการค านวณ ระบุความถูกต้องในการค านวณ ใช้กฎเกณฑ์ความรู้พนฐานทางคณิตศาสตร์ในการื้ค านวณ
32 รายงานการหาประสิทธิภาพชุดการสอนออนไลน์โดยใช้กลวิธีอภิปัญญา รายวิชาฟิสิกส์เพิ่มเติม 5. การตรวจสอบการแก้ปัญหา ได้แก่ การตรวจสอบขั้นตอน ในการแก้ปัญหาทบทวนค าตอบ โดยพจารณาจากการค านวณ ตรวจสอบค าตอบว่าตรงกับสิ่งที่โจทย์ต้องการหรือไม่ รวมถึง ความถูกต้องของิค าตอบ กระบวนการแก้ปัญหาคณิตศาสตร์ ตามหลักของ Poya 1971, (อางใน ทองหล่อ ้วงศ์อินทร์,2537, หน้า 191-223 ) มี ขั้นตอน ดังต่อไปนี้ 41. การเข้าใจปัญหา ต้องท าความเข้าใจว่าสิ่งใดที่เราต้องค้นหา สิ่งใดคือข้อมูล สิ่งใดคือเงื่อนไขนั้นจะเป็นสิ่งที่น าไปสู่สิ่งที่เราต้องการค้นหาหรือไม่ จากนั้นเป็นการวาดแผนผังเพอแสดงให้เห็นถึงจุดที่ส าคัญ และื่แยกเงื่อนไขออกเป็นตอน2. การคิดวางแผนในการแก้ไขปัญหา เป็นการหาความสัมพนธ์ระหว่างข้อมูลกับสิ่งที่ต้องการัค้นหา แต่หากไม้สามารถหาพบได้อย่างทันทีทันใดต้องรู้จักพิจารณาปัญหาค้างเคียงมาประกอบการวางแผน ในการคิดวางแผนนี้ต้องพจารณาว่า เคยเห็นปัญหานั้นหรือปัญหาแบบเดียวกันนั้นมาก่อนหรือไม่ ทราบข้อมูลที่ิเกี่ยวข้องหรือทฤษฎีที่จะเป็นประโยชน์ต้องการแก้ปัญหาหรือไม่ ถ้าไม่สามารถแก้ปัญหาทั้งหมดได้ก็พยายามแก้ปัญหาบางส่วนก่อน และพิจารณาว่าปัญหานั้นเป็นปัญหาทั่วไป หรือ เป็นปัญหาที่เฉพาะเจาะจง3. การด าเนินการตามแผน ในการลงมือแก้ปัญหานั้น ต้องมมีการทบทวนขั้นตอนแต่ละขั้นตอน ดูว่าเป็นขั้นตอนที่ถูกต้องหรือไม่ สามารถทดสอบได้หรือไม่ว่าถูกต้อง4. การตรวจสอบการด าเนินการ เป็นการทบทวนผลลัพธ์จากการด าเนินการแก้ปัญหาแลพิจารณาว่าสามารถใช้วิธีการนี้ในการแก้ปัญหาอื่นๆ ได้หรือไม่ซึ่งสอดคล้อง สมบัติ โพธิ์ทอง ( 2539, หน้า 39 )ได้สรุปขั้นตอนการแก้ปัญหาคณิตศาสตร์ไว้ดังนี้1. ท าความเข้าใจปัญหา2. วางแผนในการแก้ปัญหา3. ด าเนินการตามแผนที่วางไว้4. ตรวจสอบการแก้ปัญหา จากการิเคราะห์ความรู้เกี่ยวกับกระบวนการแก้ปัญหาคณิตศาสตร์ข้างต้นสรุปได้ว่ากระบวนการแก้ปัญหาคณิตศาสตร์ประกอบด้วนขั้นตอนที่ส าคัญ ๆ คือ การศึกษาปัญหา การส ารวจข้อมูลที่จ าเป็น การวางแผนเพอแก้ปัญหา การคัดเลือกวิธีการที่น ามาแก้ปัญหา การแก้ปัญหาตามวิธีการที่เลือก และการื่ตรวจสอบผลลัพธ์ ในการวิจัยนี้ กระบวนการแก้ปัญหาที่น าไปใช้เป็นแนวทางในการวิจัยประกอบด้วยกระบวนการ ขั้นตอน คือ 41. ก าหนดเป้าหมายของการแก้ปัญหา 2. เลือกวิธีการที่ใช้ในการแก้ปัญหา 3. กระบวนการแก้ปัญหา 4. การประเมินผล7. งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง7.1 งานวิจัยภายในประเทศในการด าเนินการศึกษาค้นคว้าเกี่ยวกับการสร้างชุดการเรียนการสอน พบว่า มีผู้สนใจศึกษาค้นคว้าไว้หลายรูปแบบ ดังนี้สมบัติ โพธิ์ทอง (2539) ได้ศึกษาการพัฒนาความสามารถในการแก้โจทย์ปัญหา คณิตศาสตร์ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ ที่มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคณิตศาสตร์สูง โดยใช้เมตาคอกนิชัน กับนักเรียนชั้น6
33 รายงานการหาประสิทธิภาพชุดการสอนออนไลน์โดยใช้กลวิธีอภิปัญญา รายวิชาฟิสิกส์เพิ่มเติม ประถมศึกษาปีที่ ที่มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูง โรงเรียนอนุบาลสุพรรณบุรี จังหวัดสุพรรณบุรี 6 จ านวน คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยคือ แบบสอบถามความสามารถในการแก้โจทย์ปัญหา ผลการวิจัย30 พบว่าค่าเฉลี่ยของคะแนนความสามารถในการแก้โจทย์ปัญหาของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ ที่มีผลสัมฤทธิ์6ทางการเรียนคณิตศาสตร์สูง หลังการแก้โจทย์ปัญหาคณิตศาสตร์ก่อนได้รับการสอนอย่างมีนัยส าคัญที่ระดับ .05 อชรีภรณ์ จิวสกุล (ั2541) ได้ศึกษาพฤติกรรมการสอนของครูที่เน้นกระบวนการแก้ปัญหาและความตระหนักในเมตาคอคนิชัน ที่มีต่อความสามารถในการแก้ปัญหา ทางคณิตศาสตร์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ผลการวิจัยพบว่า นักเรียนที่ได้รับการสอนจากครูที่มีพฤติกรรมการสอนที่เน้นกระบวนการ2 แก้ปัญหาสูง มีความสามารถในการแก้ปัญหา ทางคณิตศาสตร์สูงกว่านักเรียนที่ได้รับการสอนจากครูที่มีพฤติกรรมการสอนที่เน้นกระบวนการแก้ปัญหาปานกลาง และต่ า และพบว่านักเรียนที่มีความตระหนักในเมตาคอคนิชัน มีความสามารถในการแก้ปัญหาสูงกว่านักเรียนนักเรียนที่มีความตระหนักในเมตาคอคนิชันต่ าอย่างมีนัยส าคัญที่ .05 อมรา แย้มศิริ (2535 : บทคัดย่อ) ได้พฒนาชุดการเรียนรู้ด้วยตนเอง เรื่อง หน่วยการวัดตัว ัและการสร้างแบบตัดเบื้องต้น วิชาเครื่องแต่งกายสตรีเบื้องต้น ส าหรับนักศึกษาหลักสูตรระยะสั้น วิทยาลัยสารพัดช่าง พบว่ามีประสิทธิภาพ 90.13 96.60 /และเมื่อน าไปตรวจสอบคุณภาพในกลุ่มตรวจสอบคุณภาพ 15 คน มีประสิทธิภาพ 92.87 97.20/ สูงกว่าเกณฑ์มาตรฐานทั้ง ครั้ง และผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของกลุ่ม2 ทดลอง สูงกว่ากลุ่มควบคุมอย่างมีนัยส าคัญทางสถิติที่ระดับ .05 หทัยรัตน์ อนดี (ั2544 : บทคัดย่อ) ศึกษาเรื่องการพฒนาชุดการเรียนรู้ เพอถ่ายทอดภูมิปัญญาัื่ท้องถิ่นส าหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษา ผลการวิจัยพบว่า ชุดการเรียนรู้ที่สร้างขึ้นมีประสิทธิภาพ ตามเกณฑ์ 80 80 / และนักเรียนมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับภูมิปัญญาท้องถิ่น โดยก่อนและหลังการใช้ชุดการเรียนรู้แตกต่างกันอย่างมีนัยส าคัญทางสถิติที่ระดับ .05 โดยหลังการใช้ชุดการเรียนรู้มีคะแนนสูงกว่าก่อนใช้ชุดการเรียนรู้บ ารุง ใหญ่สูงเนิน (2536 : บทคัดย่อ) ได้ศึกษาการพฒนาชุดการเรียนรู้ด้วยตนเองเพอเสริมัื่ความรู้เกี่ยวกับการสอนทักษะการคิดวิเคราะห์วิจารณ์ของครูประถมศึกษา ผลจากการศึกษาพบว่า ชุดการเรียนรู้ด้วยตนเองที่สร้างขึ้นมีประสิทธิภาพ 91.43 91.78 / ซึ่งสูงกว่าเกณฑ์มาตรฐาน / แสดงว่า ชุดการ80 80 เรียนรู้ด้วยตนเองเพื่อเสริมความรู้เกี่ยวกับการสอนทักษะการคิดวิเคราะห์วิจารณ์ของครูประถมศกษาที่สร้างขึ้นึมีประสิทธิภาพสกาวเดือน สุคนธรัก (2535 : บทคัดย่อ) ได้ศึกษาเรื่อง การพัฒนาชุดการเรียนรู้ด้วยตนเอง เพอื่กระบวนการพยาบาล ส าหรับนักศึกษาพยาบาลชั้นปีที่ หลักสูตรประกาศนียบัตรพยาบาลศาสตร์ (เทียบเท่า 1ปริญญาตรี)จากการศึกษาพบว่า ชุดการเรียนด้วยตนเองที่สร้างขึ้นมีประสิทธิภาพ 91.00 86.36/ เป็นไปตามเกณฑ์มาตรฐาน / และการทดสอบประสิทธิภาพของชุดการเรียน พบว่า คะแนนเฉลี่ยหลังเรียนด้วยชุด85 85 การเรียนมากกว่าคะแนนเฉลี่ยก่อนเรียนด้วยชุดการเรียนอย่างมีนัยส าคัญทางสถิติที่ระดับ .05
34 รายงานการหาประสิทธิภาพชุดการสอนออนไลน์โดยใช้กลวิธีอภิปัญญา รายวิชาฟิสิกส์เพิ่มเติม 7.2 งานวิจัยต่างประเทศSwanson (1990) ได้ศึกษาความรู้ด้านอภิปัญญาและความถนัดของการเรียนที่มีต่อการแก้ปัญหาของนักเรียนชั้นประถมศึกษาที่มีความถนัดทางการเรียนสูงกับนักเรียนที่มีความถนัดทางการเรียนต่ า และมีความสามารถด้านอภิปัญญาสูง กับมีความสามารถด้านอภิปัญญาต่ า โดยใช้แบบสอบถามปลายเปิด เพอวัดื่เกี่ยวกับความรู้เกี่ยวกับอภิปัญญาด้านบุคคล ด้านงาน และด้านกลวิธี การตอบใช้วิธีคิดออกเสียง ค าถามแต่ละข้อมีการให้คะแนน ระดับ ผู้ที่ได้คะแนนสูงสุดถือว่ามีความรู้เกี่ยวกับอภิปัญญาสูง และใช้ 5Cognitive Ability Test (CAT) ในการวัดความถนัดในการเรียน นอกจากนั้นมีปัญหาให้นักเรียนแก้ปัญหา ปัญหา ผลการศึกษา5 พบว่า ความรู้ด้านอภิปัญญาเป็นตัวท านายความสามารถในการแก้ปัญหาได้ดีกว่าความถนัดด้านการเรียน ผู้ที่มีความรู้ด้านอภิปัญญาสูง แต่มีความถนัดด้านการเรียนต่ า สามารถแก้ปัญหาได้ดีกว่าผู้ที่มีความถนัดด้านการเรียนสูงแต่มีความรู้ด้านอภิปัญญาต่ า และได้เสนอแนะว่าการฝึกความรู้ด้านอภิปัญญา สามารถน าไปใช้กับผู้ที่มีความสามารถด้านการเรียนต่ า เพื่อช่วยเสริมสร้างให้มีความสามารถในการแก้โจทย์ปัญหาเพิ่มขึ้นWang (1990) ศึกษาพฤติกรรมทางอภิปัญญา ในการแก้โจทย์ปัญหาคณิตศาสตร์ระหว่างนักเรียนที่มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูง กับนักเรียนที่มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนปานกลาง โดยการให้แก้โจทย์ปัญหาเป็นรายบุคคลด้วยการคิดออกเสียง พบว่ามีความแตกต่างกันเกี่ยวกับพฤติกรรมทางอภิปัญญาที่แสดงออกมาขณะแก้โจทย์ปัญหาคณิตศาสตร์ ระหว่างนักเรียนที่มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูง สูง กับนักเรียนที่มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนปานกลาง และสรุปว่าพฤติกรรมทางอภิปัญญามีความสัมพนธ์อย่างมีนัยส าคัญกับการแก้โจทย์ัปัญหาคณิตศาสตร์Veenman (1994) ศึกษาการใช้สื่อคอมพวเตอร์จ าลองสถานการณ์ โดยศึกษาเปรียบเทียบินักเรียนที่มีการสอนกลวิธีอภิปัญญา กับนักเรียนที่เรียนจากสื่อคอมพวเตอร์ที่ไม่มีการสอนกลวิธีอภิปัญญา ิพบว่า กลุ่มที่มีการสอนกลวิธีอภิปัญญามีผลการเรียนที่ดีกว่า และยังมีวิธีการท างาน (working method) ที่ดีกว่ากลุ่มที่ไม่ได้ท าการสอนด้วยกลวิธีอภิปัญญาChiquito (1994) ได้ท าการศึกษาการใช้กลวิธีอภิปัญญา ในการเรียนภาษาสเปน เปรียบเทียบกับกลุ่มที่ไม่ได้ใช้กลวิธีอภิปัญญา พบว่า กลุ่มที่ใช้กลวิธีอภิปัญญา มีผลต่อการเรียนที่ดีกว่า กลุ่มที่ไม่ได้ท าการสอนด้วยกลวิธีอภิปัญญา ชอว์ (Shaw 1978 : Abstract) ได้ใช้ชุดการเรียน ชุด ในการศึกษาผลการใช้หลักสูตรที่เน้น11 กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ที่มีต่อความสามารถในการแก้ปัญหา ซึ่งความสามารถในการแก้ปัญหา หมายถึง ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ขั้นบูรณาการได้แก่ การแปลความหมายข้อมูล การก าหนดและควบคุมตัวแปร นิยามเชิงปฏิบัติการ และทักษาการตั้งสมมุติฐาน โดยใช้กลุ่มตัวอย่างเป็นนักเรียนเกรด ของ6 มหาวิทยาลัยชุมชน ในโอกลาโฮมา เป็นเวลา สัปดาห์ กลุ่มควบคุมใช้เนื้อหาเดียวกันกับกลุ่มทดลอง แต่ไม่24 เน้นทักษะในการแก้ปัญหา พบว่าคะแนนเฉลี่ยทักษะการแก้ปัญหาของกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุมแตกต่างกันอย่างมีนัยส าคัญทางสถิติ และนักเรียนในกลุ่มทดลองมีความสามารถด้านทักษะการก าหนดและควบคุมตัวแปร ทักษะการแปลความหมายข้อมูลและนิยามเชิงปฏิบัติการดีขึ้น ยกเว้นทักษะการตั้งสมมุติฐานบราวเลย์ (Brawley 1975 : 4280-A) ได้ท าการวิจัยเกี่ยวกับประสิทธิภาพของชุดการสอนแบบสื่อประสม โดยใช้การสอนเรื่อง การบอกเวลาส าหรับเด็กเรียนช้า การทดลองใช้แบบทดสอบเรื่อง Time Appreciation Test: Stamford Achievement Test Primary Level: and a Criterion Reference , Measure มาใช้ทดลองก่อนเรียนหลังเรียน โดยผู้ทดลองสร้างชุดการสอนทั้งหมด 12 ชุด ใช้เวลาทั้งหมด 15 วัน ผลการทดลองพบว่า การใช้ชุดการสอนระหว่างกลุ่มควบคุมกับกลุ่มทดลอง กลุ่มทดลองมีคะแนนเฉลี่ยสูง
35 รายงานการหาประสิทธิภาพชุดการสอนออนไลน์โดยใช้กลวิธีอภิปัญญา รายวิชาฟิสิกส์เพิ่มเติม กว่ากลุ่มควบคุมอย่างมีนัยส าคัญทางสถิติที่ระดับ .01 และจากผลการวิเคราะห์พบว่า ผลสัมฤทธิ์ ด้านเชาว์ปัญญามีความสัมพันธ์กันอย่างมีนัยส าคัญ แต่ไม่มีความสัมพันธ์อย่างมีนัยส าคัญระหว่างเพศจากการศึกษาค้นคว้าเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับชุดการเรียนการสอน สรุปได้ว่า ชุดการเรียนการสอนช่วยส่งเสริมให้ผู้เรียนได้เรียนรู้ตามความสามารถ มีส่วนร่วมในกิจกรรม ได้ลงมือปฏิบัติจริงสามารถเรียนรู้ได้ทุกเวลา ทุกสถานที่ และเรียนรู้ทั้งรายกลุ่ม และรายบุคคล ตลอดจนผู้เรียนได้รู้จักแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง ซึ่งชุดการเรียนการสอนจะสามารถน าไปพฒนาการเรียนการสอน และช่วยให้การสอนของัครูมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น ดังนั้นผู้รายงานจึงได้พฒนาชุดการสอนโดยใช้กลวิธีอภิปัญญา หน่วยการเรียนรู้ที่ ั1 เรื่อง คลื่นกล รายวิชาฟสิกส์เพมเติม รหัสวิชา ว ิิ่32201 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ และหาประสิทธิภาพของชุด5การเรียนการสอน เพื่อเป็นแนวทางในการพัฒนาผู้เรียนต่อไป
36 รายงานการหาประสิทธิภาพชุดการสอนออนไลน์โดยใช้กลวิธีอภิปัญญา รายวิชาฟิสิกส์เพิ่มเติม บทที่ 3วิธีด าเนินการการด าเนินการครั้งนี้เป็นการรายงานผลการพฒนาชุดการสอนออนไลน์โดยใช้กลวิธีอภิปัญญา ัหน่วยการเรียนรู้ที่ เรื่อง คลื่นกล รายวิชาฟิสิกส์เพิ่มเติม รหัสวิชา ว 1 32201 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ โรงเรียนน้ า5 ปลีกศึกษา สังกัดส านักงานเขตพนที่การศึกษามัธยมศึกษาอบลราชธานีอานาจเจริญ ซึ่งมีรายละเอยดในการืุ้ีด าเนินการศึกษาค้นคว้า ดังนี้1. ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง2. เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษาค้นคว้า3. การสร้างเครื่องมือที่ใช้ในการศึกษาค้นคว้า4. การด าเนินการทดลองและเก็บรวบรวมข้อมูล5. การวิเคราะห์ข้อมูล6. สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล1. ประชากรและกลุ่มตัวอย่างประชากรประชากรที่ใช้ในการวิจัย นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ภาคเรียนที่ ปีการศึกษา 25 โรงเรียน5165น้ าปลีกศึกษา สังกัดส านักงานเขตพื้นที่การศึกษาอ านาจเจริญ จังหวัดอ านาจเจริญ จ านวน ห้องเรียน คือ ชั้น2มัธยมศึกษาปีที่ 5/1 และชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5/2 จ านวนทั้งสิ้น คน54 กลุ่มตัวอย่างกลุ่มตัวอย่างในการศึกษาวิจัย ได้จากการสุ่มอย่างง่ายด้วยวิธีการจับฉลาก (Simple Random Sampling) จากนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ภาคเรียนที่ ปีการศึกษา 25 โรงเรียนน้ าปลีกศึกษา สังกัด5165ส านักงานเขตพนที่การศึกษาอ านาจเจริญ จังหวัดอ านาจเจริญ คือ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ื้5/1 จ านวน 30คนตัวแปรที่ศึกษาตัวแปรอสระ (ิIndependent Variables) ได้แก่ ชุดการสอนออนไลน์โดยใช้กลวิธีอภิปัญญา หน่วยการเรียนรู้ที่ เรื่อง คลื่นกล รายวิชาฟิสิกส์เพิ่มเติม รหัสวิชา ว 1 32201 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ โรงเรียนน้ า5 ปลีกศึกษา สังกัดส านักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาอุบลราชธานีอ านาจเจริญตัวแปรตาม (Dependent Variables) ได้แก่ ผลสัมฤทธิ์ในการท าแบบทดสอบ ในชุดการสอนออนไลน์โดยใช้กลวิธีอภิปัญญา หน่วยการเรียนรู้ที่ เรื่อง คลื่นกล รายวิชาฟสิกส์เพมเติมรหัสวิชา ว 1 ิิ่32201 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ โรงเรียนน้ าปลีกสังกัดส านักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาอุบลราชธานีอ านาจเจริญ5 เนื้อหาที่ใช้ในการศึกษาเนื้อหาที่ใช้ศึกษาการพฒนาชุดการสอนออนไลน์โดยใช้กลวิธีอภิปัญญา ประกอบไปด้วย หน่วยัการเรียนรู้ที่ เรื่อง คลื่นกล รายวิชาฟสิกส์เพมเติม รหัสวิชา ว 1 ิิ่32201 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ประกอบด้วยชุด5การสอนทั้งสิ้น ชุดดังนี้6
37 รายงานการหาประสิทธิภาพชุดการสอนออนไลน์โดยใช้กลวิธีอภิปัญญา รายวิชาฟิสิกส์เพิ่มเติม ชุดที่ การถ่ายโอนพลังงานของคลื่นกล1 ชุดที่ การซ้อนทับกันของคลื่น และสมบัติการสะท้อนของคลื่น 2 ชุดที่ สมบัติการหักเหของคลื่น 3 ชุดที่ สมบัติการเลี้ยวเบนและการแทรกสอดของคลื่น 4 ชุดที่ การสั่นพ้องและคลื่นนิ่งในเส้นเชือก5 ชุดที่ การสั่นพ้องและคลื่นนิ่งของเสียง6 ระยะเวลาในการศึกษาการศึกษาครั้งนี้ท าการศึกษาในภาคเรียนที่ ปีการศึกษา 2565 โดยใช้เวลาท าการศึกษาเป็น1เวลา สัปดาห์ ๆ ละ ชั่วโมง รวมทั้งสิ้น ชั่วโมง ทั้งนี้ไม่รวมกิจกรรมการปฐมนิเทศการใช้ชุดการชุดการ4 312สอนโดยใช้กลวิธีอภิปัญญาเป็นเวลา ชั่วโมง2 2. เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษาค้นคว้าเครื่องมือที่ใช้ในการศึกษาค้นคว้าประกอบด้วย1. ชุดการสอนออนไลน์โดยใช้กลวิธีอภิปัญญา หน่วยการเรียนรู้ที่ เรื่อง คลื่นกล รายวิชาฟสิกส์1 ิเพมเติม รหัสวิชา ว ิ่32201 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ โรงเรียนน้ าปลีกศึกษา สังกัดส านักงานเขตพนที่การศึกษา5 ื้มัธยมศึกษาอุบลราชธานีอ านาจเจริญที่ผู้รายงานสร้างขึ้น2. แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาฟิสิกส์ หน่วยการเรียนรู้ที่ เรื่อง คลื่นกล รายวิชา1 ฟิสิกส์เพิ่มเติม รหัสวิชา ว 322013. แบบวัดความพงพอใจของนักเรียนที่มีต่อการเรียนชุดการสอนออนไลน์โดยใช้กลวิธีอภิปัญญา ึหน่วยการเรียนรู้ที่ เรื่อง คลื่นกล รายวิชาฟิสิกส์เพิ่มเติม รหัสวิชา ว 1 322013. การสร้างเครื่องมือที่ใช้ในการศึกษาค้นคว้าในการสร้างชุดการสอนออนไลน์โดยใช้กลวิธีอภิปัญญา หน่วยการเรียนรู้ที่ เรื่อง คลื่นกล1 รายวิชาฟิสิกส์เพิ่มเติม รหัสวิชา ว 32201 ได้ด าเนินการดังนี้ 1. ศึกษาเอกสาร งานวิจัย และต าราที่เกี่ยวข้องกับการสร้างชุดการสอน2. ศึกษาขอบข่ายเนื้อหาสาระในกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ตามโครงสร้างหลักสูตรการศึกษาขั้นพนฐาน พทธศักราช ืุ้2551 และหลักสูตรสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ หน่วยการเรียนรู้ที่ เรื่อง 1 คลื่นกล รายวิชาฟิสิกส์เพิ่มเติม รหัสวิชา ว 32201 3. ศึกษาแนวคิดเกี่ยวกับกลวิธีอภิปัญญา (metacognition) 3.1 ก าหนดโครงร่างเกี่ยวกับลักษณะของชุดการสอน 3.2 ก าหนดวัตถุประสงค์ และเนื้อหาให้มีความสอดคล้องกัน 3.3 ก าหนดกิจกรรมหรือสถานการณ์ให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ และเหมาะสมกับวัยของผู้เรียน 3. ในแบบฝึกมีการให้ข้อมูลป้อนกลับแก่ผู้เรียนหลังจากท ากิจกรรม44. น าชุดการสอนโดยใช้กลวิธีอภิปัญญา หน่วยการเรียนรู้ที่ เรื่อง คลื่นกล รายวิชาฟสิกส์1 ิเพมเติม รหัสวิชา ว ิ่32201 พร้อมทั้งแบบประเมินความเหมาะสมของชุดการสอนที่สร้างขึ้น ไปให้ผู้เชี่ยวชาญ จ านวน ท่าน ตรวจสอบความถูกต้องและเหมาะสมของแบบฝึก ซึ่งผู้เชี่ยวชาญมีรายนามดังต่อไปนี้3
38 รายงานการหาประสิทธิภาพชุดการสอนออนไลน์โดยใช้กลวิธีอภิปัญญา รายวิชาฟิสิกส์เพิ่มเติม 4.1 นางสาวภัทริยา โพธิ์ศรีคุณ ครูช านาญการพเศษ กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ิ(หัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์) ปฏิบัติหน้าที่สอนวิชาเคมี โรงเรียนน้ าปลีกศึกษา อ าเภอเมือง จังหวัดอ านาจเจริญ เป็นผู้เชี่ยวชาญตรวจสอบความถูกต้องด้านหลักสูตร และการสอน 4.2 นางสาวสายฝน พนผล ครูช านาญการพเศษ กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ (ฟสิกส์) ุิิปฏิบัติหน้าที่สอนวิชาฟสิกส์ โรงเรียนนายมวิทยาคาร อาเภอเมือง จังหวัดอานาจเจริญ เป็นผู้เชี่ยวชาญิตรวจสอบความถูกต้องด้านเนื้อหา 4.3 นางรัตนา รักจันทร์ ครูช านาญการพเศษ กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ปฏิบัติหน้าที่ิสอนวิชาคณิตศาสตร์ โรงเรียนหัวตะพานวิทยาคม อาเภอเมือง จังหวัดอานาจเจริญ เป็นผู้เชี่ยวชาญตรวจสอบความถูกต้องด้านการวัดผล ประเมินผล และค่าทางสถิติ 5. น าชุดการสอน มาปรับปรุงแก้ไขตามค าแนะน าของผู้เชี่ยวชาญ6. หลังจากที่ปรับปรุงแก้ไขแล้ว น าแบบฝึกไปทดลองใช้กับนักเรียนที่ไม่ใช่กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ / โรงเรียนน้ าปลีกศึกษา อาเภอเมือง จังหวัดอานาจเจริญ ปีการศึกษา 5 22565 จ านวน คน โดยแยกเป็น ส่วน ดังนี้21 2 6.1 ทดลองรายบุคคล น าชุดการสอนที่ปรับปรุงแก้ไขแล้วไปใช้ทดลองแบบรายบุคคลกับนักเรียน จ านวน 3 คน ได้มาโดยการสุ่มจับสลาก เป็นนักเรียนเก่ง คน จากนักเรียนเก่งทั้งหมด คน เป็น1 9 นักเรียนปานกลาง คน จากนักเรียนปานกลางทั้งหมด คน และเป็นนักเรียนออน คน จากนักเรียนออน1 9 ่1 ่ทั้งหมด คน เพื่อตรวจสอบความชัดเจนของค าชี้แจง และความยากง่ายของเนื้อหา แล้วน าผลที่ได้มาปรับปรุง9 แก้ไข เริ่มจากท าแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนก่อนเรียนแล้วให้นักเรียนทีละคนเรียนรู้ทีละชุดการสอน เริ่มจากชุดการสอนที่ 1 จนถึงแบบฝึกที่ เสร็จแล้วให้นักเรียนท าแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน6หลังเรียน โดยที่ผู้รายงานคอยสังเกตพฤติกรรมของผู้เรียนแต่ละคนแล้วจดบันทึกผลและข้อบกพร่องพบว่า ค าชี้แจง ความยากง่ายของเนื้อหา เหมาะสมของโจทย์ปัญหา และความเหมาะสมของเวลา แล้วเสนอต่อคณะผู้เชี่ยวชาญ น าผลที่ได้มาค านวณหาค่าประสิทธิภาพ (E / E ) 12โดยได้ก าหนดเกณฑ์ไว้ คือ 50/50 และน าข้อบกพร่องที่พบมาปรับปรุงแก้ไขด้านความยากง่ายของเนื้อหา และความเหมาะสมของโจทย์ปัญหาที่ใช้ให้มีความเหมาะสมดียิ่งขึ้น เสนอให้ผู้เชี่ยวชาญตรวจสอบความถูกต้องอกครั้ง เสร็จแล้วจึงน าไปทดลองกับกลุ่มเล็กีต่อไป 6.2 ทดลองกลุ่มย่อย น าชุดการสอนไปทดลองกับนักเรียน จ านวน คน ซึ่งไม่ใช่ คน ที่103 ใช้ทดลองขั้นทดลองรายบุคคล ได้มาโดยการสุ่มจับสลาก เป็นนักเรียนเก่ง คน จากนักเรียนเก่งทั้งหมด 3 9 คน เป็นนักเรียนปานกลาง คน จากนักเรียนปานกลางทั้งหมด คน และเป็นนักเรียนออน คน จาก49 ่3 นักเรียนออนทั้งหมด คน โดยด าเนินการเช่นเดียวกันกับขั้นตอนทดลองรายบุคคล เพอหาข้อบกพร่องของ่9 ื่แบบฝึกที่สร้างขึ้น แล้วน าผลที่ได้มาค านวณหาค่าประสิทธิภาพ (E / E ) 12โดยก าหนดเกณฑ์ไว้ คือ 60/60 น าข้อบกพร่องที่พบมาแกไขแล้วจึงน าไปใช้ภาคสนามกับกลุ่มตัวอย่าง ้7. จัดพมพเป็นฉบับสมบูรณ์ น าไปใช้กับนักเรียนกลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ิ์5 1 / โรงเรียนน้ าปลีกศึกษา อ าเภอเมือง จังหวัดอ านาจเจริญ ปีการศึกษา 2565 จ านวน คน30แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง คลื่นกล รายวิชาฟสิกส์เพมเติม รหัสวิชา ว ิิ่32201ใช้เพอวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนก่อนเรียนและหลังเรียน โดยสร้างขึ้นเป็นแบบทดสอบแบบปรนัย ชนิดื่เลือกตอบ ตัวเลือก จ านวน 0 ข้อ ซึ่งได้ด าเนินการ ดังนี้5 3
39 รายงานการหาประสิทธิภาพชุดการสอนออนไลน์โดยใช้กลวิธีอภิปัญญา รายวิชาฟิสิกส์เพิ่มเติม 1. ศึกษาคู่มือการประเมินผลการเรียนการสอน คู่มือครู หนังสือเรียนสาระการเรียนรู้พื้นฐานและเพมเติม ฟสิกส์ เล่ม ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ของสถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ิ่ิ35กระทรวงศึกษาธิการ2. ศึกษาวิธีการสร้างแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิเคราะห์แบบทดสอบจากหนังสือ ต าราและเอกสารต่าง ๆ ที่เกี่ยวกับการวัดผล ประเมินผล3. ศึกษาวิเคราะห์เนื้อหา และจุดประสงค์การเรียนรู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง คลื่นกล รายวิชาฟิสิกส์เพิ่มเติม รหัสวิชา ว 32201 เพื่อก าหนดจ านวนข้อสอบ4. สร้างแบบทดสอบตามที่ก าหนดไว้เป็นแบบทดสอบแบบปรนัย ชนิดเลือกตอบ ตัวเลือก 5 จ านวน ข้อ ให้ครอบคลุมเนื้อหาและจุดประสงค์การเรียนรู้ 605. น าแบบทดสอบที่สร้างขึ้นไปให้ผู้เชี่ยวชาญ ท่าน เพอตรวจสอบคุณภาพด้านความเที่ยงตรง3ื่เชิงเนื้อหา และความสอดคล้องกับจุดประสงค์การเรียนรู้ โดยใช้ดัชนีความสอดคล้องระหว่างแบบทดสอบกับจุดประสงค์การเรียนรู้ (IOC ) มีเกณฑ์การให้คะแนน ดังนี้ให้คะแนน +1 เมื่อแน่ใจว่าข้อค าถามนั้นสามารถวัดพฤติกรรมนั้น ๆ ได้ให้คะแนน เมื่อไม่แน่ใจว่าข้อค าถามนั้นสามารถวัดพฤติกรรมนั้น ๆ ได้ 0 ให้คะแนน -1 เมื่อแน่ใจว่าข้อค าถามนั้นไม่สามารถวัดพฤติกรรมนั้น ๆ ได้6. น าผลการประเมินความสอดคล้องระหว่างแบบทดสอบแต่ละข้อกับจุดประสงค์การเรียนรู้ที่ได้จากผู้เชี่ยวชาญทั้งหมด มาวิเคราะห์คะแนนความสอดคล้อง (IOC) เพื่อหาความเที่ยงตรงเชิงเนื้อหาและค่าดัชนีความสอดคล้อง7. พจารณาคัดเลือกแบบทดสอบที่มีค่าดัชนีความสอดคล้องตั้งแต่ ิ0.50 ขึ้นไป มาจัดพมพเป็นิ์แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนจ านวน ข้อ ฉบับ 40 1 8. น าแบบทดสอบไปทดลองใช้กับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5/2 ปีการศึกษา 2565 จ านวน 21 คน โรงเรียนน้ าปลีกศึกษา อาเภอเมือง จังหวัดอานาจเจริญ ซึ่งเคยเรียนเนื้อหาการเคลื่อนที่แนวตรงมาแล้ว เพื่อวิเคราะห์หาค่าความยากง่าย (P) ค่าอ านาจจ าแนก (r) 9. น าผลการสอบมาตรวจให้คะแนน โดยมีเกณฑ์การให้คะแนนแต่ละข้อ คือ ตอบถูก ให้ 1 คะแนน ถ้าตอบผิดหรือไม่ตอบ หรือตอบากกว่า 1 ตัวเลือก ให้ 0 คะแนน10. น ากระดาษค าตอบที่ตรวจให้คะแนนแล้ว น าผลคะแนนของนักเรียนไปวิเคราะห์หาค่าความยากง่าย (P) อยู่ระหว่าง 0.20 0.80 –และค่าอานาจจ าแนก (r) ตั้งแต่ 0.2 ขึ้นไป คัดเลือกข้อสอบไว้ได้จ านวน30 ข้อ11. น าแบบทดสอบไปทดลองใช้กับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5/1 ปีการศึกษา 2565 จ านวน 30 คน โรงเรียนน้ าปลีกศึกษา อ าเภอเมือง จังหวัดอ านาจเจริญ ซึ่งเคยเรียนเนื้อหาเรื่อง คลื่นกล รายวิชาฟิสิกส์เพิ่มเติม รหัสวิชา ว 32201 มาแล้วเพื่อวิเคราะห์หาค่าความเชื่อมั่นได้แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนที่มีความเชื่อมนเท่ากับ ั่0.86 12. น าแบบทดสอบที่ได้ไปวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนก่อน และหลังเรียนของกลุ่มตัวอย่างต่อไป
40 รายงานการหาประสิทธิภาพชุดการสอนออนไลน์โดยใช้กลวิธีอภิปัญญา รายวิชาฟิสิกส์เพิ่มเติม 4. การด าเนินการทดลองและเก็บรวบรวมข้อมูลการศึกษาครั้งนี้ผู้รายงานได้ด าเนินการทดลอง ดังนี้การด าเนินการทดลองตามแบบแผนการศึกษาแบบกลุ่มเดี่ยวทดสอบก่อนและทดสอบหลังการทดลอง (One group pretest posttest design) รูปแบบการศึกษาชนิดนี้เขียนเป็นตารางทดลองได้ดังนี้ พวง(รัตน์ ทวีรัตน์ 2540 : 60 - 61)แบบแผนการศึกษาค้นคว้ากลุ่มสอบกอน่ทดลองสอบหลังET 1XT 2เมื่อE แทนกลุ่มตัวอย่างT 1แทนการทดสอบก่อนเรียนX แทนการเรียนจากแบบฝึกการใช้ระบบเส้นแทนการใช้สูตรในการคิด ค านวณเรื่องการเคลื่อนที่แนวตรงT 2แทนการทดสอบหลังเรียนการเก็บรวบรวมข้อมูลผู้รายงานด าเนินการเก็บรวบรวมข้อมูลในวิชาฟสิกส์ จากชุดการสอนออนไลน์โดยใช้ ิกลวิธีอภิปัญญา หน่วยการเรียนรู้ที่ เรื่อง คลื่นกล รายวิชาฟสิกส์เพมเติม รหัสวิชา ว 1 ิิ่32201 ตามขั้นตอน ดังนี้1.นักเรียนกลุ่มตัวอย่างท าแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนก่อนเรียน วิชาฟิสิกส์ เรื่อง คลื่นกล รายวิชาฟสิกส์เพมเติม รหัสวิชา ว ิิ่32201 น าคะแนนที่ได้เป็นคะแนนทดสอบก่อนเรียน เพอหาดัชนีื่ประสิทธิผล ( ) E.I.2.นักเรียนกลุ่มตัวอย่างเรียนด้วยชุดการสอนโดยใช้กลวิธีอภิปัญญา หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง คลื่นกล รายวิชาฟสิกส์เพมเติม รหัสวิชา ว ิิ่32201 จนครบทุกแบบฝึก ท าการเก็บข้อมูลจากการท าแบบฝึกหัดระหว่างเรียนจากชุดการสอนโดยใช้กลวิธีอภิปัญญา หน่วยการเรียนรู้ที่ เรื่อง คลื่นกล รายวิชา1 ฟิสิกส์เพิ่มเติม รหัสวิชา ว 32201เพื่อหาประสิทธิภาพ E 13.หลังจากเรียนครบทุกแบบฝึกเสร็จแล้วให้นักเรียนกลุ่มตัวอย่างท าแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียน หน่วยการเรียนรู้ที่ เรื่อง คลื่นกล รายวิชาฟสิกส์เพมเติม รหัสวิชา ว 1 ิิ่32201น าคะแนนที่ได้จากการทดสอบมาหาประสิทธิภาพ และดัชนีประสิทธิผล ( ) เพื่อตรวจสอบความก้าวหน้าE 2E.I.ของนักเรียน4.หลังจากเรียนครบทุกแบบฝึกแล้วให้นักเรียนประเมินความพงพอใจที่มีต่อการเรียนโดยใช้ึแบบฝึกการใช้ระบบเส้นแทนการใช้สูตรในการคิดค านวณ เรื่อง การเคลื่อนที่แนวตรง5.น าผลการประเมินมาวิเคราะห์และแปลผลความพงพอใจของนักเรียนที่มีต่อการเรียนโดยึใช้ชุดการสอนออนไลน์โดยใช้กลวิธีอภิปัญญา หน่วยการเรียนรู้ที่ เรื่อง คลื่นกล รายวิชาฟสิกส์เพมเติม รหัส1 ิิ่วิชา ว 32201 5. การวิเคราะหข้อมูล์1. หาประสิทธิภาพของชุดการสอนโดยใช้กลวิธีอภิปัญญา หน่วยการเรียนรู้ที่ เรื่อง คลื่นกล1 รายวิชาฟสิกส์เพมเติม รหัสวิชา ว ิิ่32201ค านวณหาจากคะแนนที่ได้จากการท าแบบฝึกหัดในแบบฝึกทุกแบบ
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104