Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore 1.-สรุป-พ.ร.บ.การศึกษาแห่งชาติ-พ.ศ.-2542

1.-สรุป-พ.ร.บ.การศึกษาแห่งชาติ-พ.ศ.-2542

Published by t.kruyok004, 2021-11-15 04:20:40

Description: 1.-สรุป-พ.ร.บ.การศึกษาแห่งชาติ-พ.ศ.-2542

Search

Read the Text Version

พระราชบญั ญตั ิการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 และที่แก้ไขเพิ่มเติม พ.ศ. 2562 ผู้รกั ษาการตามพระราชบญั ญัตินี้ : รฐั มนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ กฎหมายแมบ่ ทการจดั การศกึ ษา การศกึ ษา หมายความว่า กระบวนการเรียนรู้เพื่อความเจริญงอกงามของบุคคลและ สังคม โดยการถ่ายทอดความรู้ การฝึก การอบรม การสืบสานทางวัฒนธรรมการ สร้างสรรค์จรรโลงความก้าวหน้าทางวิชาการ การสร้างองค์ความรู้อันเกิดจากการจัด สภาพแวดล้อม สังคม การเรยี นรแู้ ละปัจจยั เกื้อหนุนให้บคุ คลเรียนรูอ้ ย่างตอ่ เนอื่ งตลอดชีวิต การศกึ ษาขน้ั พืน้ ฐาน หมายความว่า การศึกษากอ่ นระดบั อุดมศกึ ษา การศึกษาตลอดชีวิต หมายความว่า การศึกษาที่เกิดจากการผสมผสานระหว่าง การศึกษาในระบบ การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย เพื่อให้สามารถพัฒนา คุณภาพชวี ติ ได้อยา่ งตอ่ เนอื่ งตลอดชีวติ สถานศึกษา หมายความว่า สถานพัฒนาเด็กปฐมวัย โรงเรียน ศูนย์การเรียน วทิ ยาลยั สถาบัน มหาวิทยาลยั หนว่ ยงานการศึกษาหรือหน่วยงานอื่นของรัฐหรือของเอกชน ทม่ี อี านาจหน้าทห่ี รอื มีวัตถุประสงค์ในการจดั การศึกษา สถานศึกษาข้ันพน้ื ฐาน หมายความว่า สถานศึกษาทจ่ี ดั การศกึ ษาขนั้ พ้ืนฐาน มาตรฐานการศึกษา หมายความว่า ข้อกาหนดเกี่ยวกับคุณลักษณะ คุณภาพที่พึง ประสงค์และมาตรฐานท่ีต้องการให้เกิดข้ึนในสถานศึกษาทุกแห่ง และเพ่ือใช้เป็นหลักในการ เทียบเคียงสาหรับการส่งเสริมและกากับดูแล การตรวจ-สอบ การประเมินผล และการ ประกันคณุ ภาพทางการศึกษา สอบขา้ ราชการทอ้ งถ่นิ By Thurakan 1

การประกันคุณภาพภายใน หมายความว่า การประเมินผลและการติดตาม ตรวจสอบคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาจากภายใน โดยบุคลากรของ สถานศึกษานน้ั เอง หรอื โดยหนว่ ยงานตน้ สังกดั ท่ีมีหนา้ ทก่ี ากบั ดูแลสถานศึกษานัน้ การประกันคุณภาพภายนอก หมายความว่า การประเมินผลและการติดตาม ตรวจสอบคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาจากภายนอก โดยสานักงาน รับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษาหรือบุคคลหรือหน่วยงานภายนอก ที่ สานักงานดังกล่าวรับรอง เพื่อเป็นการประกันคุณภาพและให้มีการพัฒนาคุณภาพและ มาตรฐานการศึกษาของสถานศกึ ษา ผสู้ อน หมายความวา่ ครแู ละคณาจารย์ในสถานศกึ ษาระดับต่าง ๆ ครู หมายความว่า บุคลากรวิชาชพี ซ่ึงทาหน้าท่ีหลักทางด้านการเรียนการสอนและ การส่งเสรมิ การเรยี นรูข้ องผ้เู รยี นด้วยวิธกี ารต่าง ๆ ในสถานศกึ ษาท้ังของรฐั และเอกชน คณาจารย์ หมายความว่า บุคลากรซึ่งทาหน้าที่หลักทางด้านการสอนและการวิจัย ในสถานศกึ ษาระดับอดุ มศึกษาระดบั ปริญญาของรฐั และเอกชน ผู้บริหารสถานศึกษา หมายความว่า บุคลากรวิชาชีพท่ีรับผิดชอบการบริหาร สถานศึกษาแต่ละแห่ง ทั้งของรฐั และเอกชน ผู้บริหารการศึกษา หมายความว่า บุคลากรวิชาชีพที่รับผิดชอบการบริหาร การศกึ ษานอกสถานศึกษาตงั้ แตร่ ะดบั เขตพนื้ ที่การศึกษาขน้ึ ไป บุคลากรทางการศึกษา หมายความว่า ผู้บริหารสถานศึกษา ผู้บริหารการศึกษา รวมทั้งผู้สนับสนุนการศึกษาเป็นผู้ทาหน้าท่ีให้บริการ หรือปฏิบัติงานเก่ียวเน่ืองกับการจัด กระบวนการเรียนการสอน การนิเทศ และการบริหารการศึกษาในหน่วยงานการศึกษา ต่าง ๆ สอบขา้ ราชการทอ้ งถ่นิ By Thurakan 2

ความมงุ่ หมายและหลกั การจดั การศกึ ษา การจัดการศึกษาต้องเป็นไปเพื่อพัฒนาคนไทยให้เป็นมนุษย์ท่ีสมบูรณ์ท้ังร่างกาย จติ ใจ สตปิ ัญญา ความรู้ และคุณธรรม มจี ริยธรรมและวฒั นธรรมในการดารงชีวิตสามารถ อยรู่ ่วมกบั ผู้อนื่ ได้อย่างมีความสุข การจัดการศกึ ษาใหย้ ึดหลกั ดังนี้ 1. เปน็ การศกึ ษาตลอดชวี ติ สาหรบั ประชาชน 2. ให้สังคมมสี ่วนรว่ มในการจดั การศึกษา 3. การพฒั นาสาระและกระบวนการเรยี นรูใ้ หเ้ ป็นไปอย่างตอ่ เนื่อง การจัดระบบ โครงสรา้ ง และกระบวนการจดั การศกึ ษา ให้ยึดหลกั ดังน้ี 1) มเี อกภาพดา้ นนโยบาย และมีความหลากหลายในการปฏิบตั ิ 2) มกี ารกระจายอานาจไปส่เู ขตพืน้ ทก่ี ารศึกษา สถานศึกษา และองค์กรปกครอง สว่ นท้องถิ่น 3) มีการกาหนดมาตรฐานการศึกษา และจัดระบบประกันคุณภาพการศึกษาทุก ระดับและประเภทการศกึ ษา 4) มีหลักการส่งเสริมมาตรฐานวชิ าชีพครู คณาจารย์ และบุคลากรทางการศึกษา และการพัฒนาครู คณาจารย์ และบคุ ลากรทางการศึกษาอยา่ งตอ่ เนอื่ ง 5) ระดมทรพั ยากรจากแหลง่ ตา่ ง ๆ มาใชใ้ นการจดั การศกึ ษา 6) การมีส่วนร่วมของบุคคล ครอบครัว ชุมชน องค์กรชุมชน องค์กรปกครอง สว่ นท้องถนิ่ เอกชน องค์กร เอกชน องคก์ รวิชาชพี สถาบันศาสนา สถานประกอบการ และสถาบนั สงั คมอื่น สอบขา้ ราชการทอ้ งถ่นิ By Thurakan 3

สิทธแิ ละหนา้ ที่ทางการศกึ ษา การจัดการศึกษา ต้องจัดให้บุคคลมีสิทธิและโอกาสเสมอกันในการรับการศึกษา ขั้นพ้นื ฐานไม่นอ้ ยกวา่ 12 ปี ที่รัฐต้องจัดใหอ้ ย่างทว่ั ถงึ และมีคุณภาพ โดยไม่เก็บคา่ ใชจ้ ่าย การจัดการศึกษาสาหรับบุคคลซึ่งมีความบกพร่องทางร่างกาย จิตใจ สติปัญญา อารมณ์ สงั คม การสอ่ื สารและการเรยี นรู้ หรอื มรี ่างกายพกิ าร หรือทุพพลภาพหรือบุคคล ซึง่ ไมส่ ามารถพ่ึงตนเองไดห้ รอื ไม่มผี ดู้ ูแลหรือดอ้ ยโอกาส ต้องจดั ใหบ้ ุคคลดังกล่าวมีสิทธิและ โอกาสไดร้ บั การศกึ ษาข้ันพื้นฐานเป็นพเิ ศษ โดยไม่เสียค่าใช้จ่าย บดิ า มารดา หรอื ผู้ปกครองมีหน้าที่จัดให้บตุ รหรอื บุคคลซง่ึ อยู่ในความดูแลได้รับการศึกษาภาคบังคับ ตลอดจนให้ได้รับการศึกษานอกเหนือจาก การศึกษาภาคบังคบั ตามความพร้อมของครอบครวั บิดา มารดา หรือผปู้ กครองมสี ทิ ธไิ ด้รบั สทิ ธปิ ระโยชน์ ดังตอ่ ไปน้ี การสนับสนุนจากรัฐ ให้มีความรู้ความสามารถในการอบรมเลี้ยงดู และการให้ การศกึ ษาแก่บุตรหรอื บคุ คลซง่ึ อยู่ในความดูแล เงนิ อุดหนุนจากรัฐสาหรับการจัดการศึกษาขั้นพ้ืนฐานของบุตรหรือบุคคลซึ่งอยู่ ในความดแู ลท่ีครอบครัวจัดให้ ท้ังน้ี ตามท่ีกฎหมายกาหนด การลดหยอ่ นหรือยกเวน้ ภาษีสาหรบั ค่าใชจ้ ่ายการศึกษาตามท่กี ฎหมายกาหนด สอบขา้ ราชการทอ้ งถ่นิ By Thurakan 4

ระบบการศกึ ษา การจดั การศกึ ษา มี 3 รูปแบบ การศกึ ษาในระบบ การศึกษานอกระบบ การศกึ ษาตามอัธยาศยั กาหนดจุดมุ่งหมาย วิธี เ ป็ น ก า ร ศึ ก ษ า ท่ี มี ค ว า ม เป็นการศึกษาที่ให้ผู้เรียน การศึกษา หลักสูตร ยื ด ห ยุ่ น ใ น ก า ร ก า ห น ด ได้เรียนรู้ด้วยตนเองตาม ระยะเวลาของการศึกษา จุ ด มุ่ ง ห ม า ย รู ป แ บ บ ความ สนใ จ ศักยภา พ การวัดและประเมินผล วิ ธี ก า ร จั ด ก า ร ศึ ก ษ า ความพร้อม และโอกาส เป็นเงื่ อนไขข องกา ร ระยะเวลาของการศึกษา โ ด ย ศึ ก ษ า จ า ก บุ ค ค ล ส า เ ร็ จ ก า ร ศึ ก ษ า ท่ี การวัดและประเมินผล ซ่ึง ป ร ะ ส บก า ร ณ์ สัง ค ม แนน่ อน เป็นเง่ือนไขสาคัญของการ สภาพแวด ล้อมสื่อหรือ สาเร็จการศึกษา โดย แหล่งความร้อู ่ืน ๆ เน้ือหาและหลักสตู รจะต้อง มคี วามเหมาะสมสอดคล้อง กับสภาพปัญหาและความ ต้องการของบุคคลแต่ละ กล่มุ สอบขา้ ราชการทอ้ งถ่นิ By Thurakan 5

การศึกษาในระบบ มี 2 ระดับ 1. การศึกษาขั้นพ้นื ฐาน 2. การศกึ ษาระดบั อุดมศึกษา การศึกษาซ่งึ จัดไมน่ อ้ ยกวา่ ต่ากว่าปริญญาตรี ปริญญาตรี 12 ปกี อ่ นระดบั อดุ มศึกษา การศึกษาก่อนระดบั ประถมศึกษา การศึกษาระดบั ประถมศึกษา การศึกษาระดบั มธั ยมศึกษา ตอนตน้ ตอนปลาย ประเภทสามญั ศกึ ษา ประเภทอาชวี ศึกษา ใหม้ ีการศึกษาภาคบงั คบั จานวน 9 ปี โดยให้เดก็ ซ่ึงมีอายุ ยา่ งเข้าปีท่ี 7 เข้าเรียนในสถานศึกษาขั้นพนื้ ฐานจนอายยุ า่ งเขา้ ปที ่ี 16 เวน้ แตส่ อบได้ช้ัน ปีท่ี 9 ของการศกึ ษาภาคบังคบั สอบขา้ ราชการทอ้ งถ่นิ By Thurakan 6

การจดั การศกึ ษาปฐมวยั และการศกึ ษาขนั้ พน้ื ฐาน ใหจ้ ดั ในสถานศกึ ษาดงั ตอ่ ไปน้ี สถานพัฒนาเด็กปฐมวัย ได้แก่ ศูนย์เด็กเล็ก ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ศูนย์พัฒนาเด็กก่อนเกณฑ์ของสถาบันศาสนา ศูนย์บริการช่วยเหลือระยะเร่ิมแรกของเด็ก พกิ าร และเดก็ ซง่ึ มีความต้องการพเิ ศษ หรอื สถานพฒั นาเด็กปฐมวยั ท่เี รยี กช่อื อย่างอ่ืน โรงเรียน ได้แก่ โรงเรียนของรัฐ โรงเรียนเอกชน และโรงเรียนที่ สังกดั สถาบนั พทุ ธศาสนา หรอื ศาสนาอ่ืน ศูนย์การเรียน ได้แก่ สถานที่เรียนที่หน่วยงานจัดการศึกษานอก โรงเรียน บคุ คล ครอบครัว ชุมชน องคก์ รชุมชน องคก์ รปกครองส่วนท้องถิ่น องค์กร เอกชน องค์กรวิซาชีพ สถาบันศาสนา สถานประกอบกร โรงพยาบาล สถาบันทาง การแพทย์ สถานสงเคราะห์ สถาบันสงั คมอนื่ เปน็ ผจู้ ัด การจัดการศึกษาระดับอุดมศึกษาให้จัดในมหาวิทยาลัย สถาบันวิทยาลัย หรือ หน่วยงานทีเ่ รยี กชอื่ อย่างอน่ื การจัดการอาชีวศึกษา การฝึกอบรมวิชาชีพ ให้จัดในสถานศึกษาของรัฐ สถานศึกษาของเอกชน สถานประกอบการ หรือโดยความร่วมมือระหว่างสถานศึกษากับ สถานประกอบการ สอบขา้ ราชการทอ้ งถ่นิ By Thurakan 7

แนวการจดั การศึกษา การจัดการศกึ ษาต้องยึดหลักว่าผู้เรียนทกุ คนมคี วามสามารถเรยี นรู้และพัฒนาตนเอง ได้ และถือว่าผู้เรียนมีความสาคัญที่สุด กระบวนการจัดการศึกษาต้องส่งเสริมให้ผู้เรียน สามารถพฒั นาตามธรรมชาตแิ ละเต็มตามศักยภาพ การจัดการศกึ ษา ทง้ั การศึกษาในระบบ การศึกษานอกระบบ และการศึกษาตาม อัธยาศัย ต้องเน้นความสาคัญท้ังความรู้ คุณธรรม กระบวนการเรียนรู้และบูรณาการตาม ความเหมาะสมของแตล่ ะระดบั การศกึ ษาในเรอื่ งตอ่ ไปน้ี 1. ความร้เู รอ่ื งเก่ียวกบั ตนเอง และความสมั พนั ธ์ของตนเองกับสงั คม 2. ความรแู้ ละทกั ษะด้านวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี 3. ความรู้เก่ียวกับศาสนา ศิลปะ วัฒนธรรม การกีฬา ภูมิปัญญาไทย และการ ประยกุ ต์ใชภ้ มู ปิ ญั ญา 4. ความรู้ และทักษะด้านคณิตศาสตร์ และด้านภาษา เน้นการใช้ภาษาไทยอย่าง ถกู ตอ้ ง 5. ความรู้ และทักษะในการประกอบอาชีพและการดารงชวี ติ อยา่ งมีความสขุ การจดั กระบวนการเรยี นรู้ ใหส้ ถานศกึ ษาและหนว่ ยงานทเ่ี กยี่ วขอ้ ง ดาเนนิ การ ดงั ต่อไปน้ี 1) จดั เน้ือหาสาระและกิจกรรมให้สอดคล้องกบั ความสนใจและความถนัดของ ผ้เู รยี นโดยคานงึ ถึงความแตกตา่ งระหว่างบุคคล 2) ฝึกทกั ษะ กระบวนการคิด การจัดการ การเผชญิ สถานการณ์ และการ ประยกุ ตค์ วามรู้มาใชเ้ พื่อป้องกนั และแก้ไขปญั หา 3) จดั กจิ กรรมให้ผูเ้ รยี นได้เรยี นรูจ้ ากประสบการณจ์ รงิ 4) จดั การเรียนการสอนโดยผสมผสานสาระความรูด้ ้านตา่ ง ๆ 5) สง่ เสรมิ สนับสนนุ ใหผ้ ู้สอนสามารถจดั บรรยากาศ สภาพแวดล้อม สื่อการ เรียนและอานวยความสะดวกเพ่อื ให้ผเู้ รยี นเกิดการเรยี นรแู้ ละมีความรอบรู้ 6) จัดการเรยี นร้ใู หเ้ กดิ ข้นึ ได้ทุกเวลาทกุ สถานที่ สอบขา้ ราชการทอ้ งถ่นิ By Thurakan 8

ใหส้ ถานศึกษาจัดการประเมินผูเ้ รยี นโดยพิจารณาจากพัฒนาการของผู้เรียน ความ ประพฤติ การสังเกตพฤติกรรมการเรียน การร่วมกิจกรรมและการทดสอบควบคู่ไปใน กระบวนการเรยี นการสอนตามความเหมาะสมของแต่ละระดับและรูปแบบการศกึ ษา ให้คณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐานกาหนดหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้น พื้นฐานเพื่อความเป็นไทย ความเป็นพลเมืองที่ดีของชาติ การดารงชีวิต และการประกอบ อาชีพตลอดจนเพอ่ื การศึกษาตอ่ ให้สถานศึกษาข้ันพ้ืนฐานมีหน้าท่ีทาสาระของหลักสูตร ในส่วนที่เก่ียวกับสภาพ ปัญหาในชมุ ชนและสังคม ภมู ิปัญญาท้องถิ่น คุณลักษณะอันพึงประสงค์เพ่ือเป็นสมาชิกที่ดี ของครอบครัว ชุมชน สงั คม และประเทศชาติ การบริหารและการจดั การศกึ ษา กระทรวงศึกษาธิการมีอานาจหน้าที่เกี่ยวกับการส่งเสริมและกากับดูแลการศึกษา ทุกระดับทุกประเภท และการอาชีวศึกษา แต่ไม่รวมถึงการศึกษาระดับอุดมศึกษาที่อยู่ใน อานาจหน้าท่ีของกระทรวงอ่ืนท่ีมีกฎหมายกาหนดไว้เป็นการเฉพาะ กาหนดนโยบาย แผน และมาตรฐานการศกึ ษา สนบั สนุนทรพั ยากรเพอื่ การศึกษา ส่งเสริมและประสานงานการ ศาสนา ศลิ ปะ วฒั นธรรม และการกฬี า กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม มีอานาจ หน้าที่เก่ียวกับการส่งเสริม สนับสนุน และกากับการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ การวิจัย และการสร้างสรรค์นวัตกรรม เพ่ือให้การพัฒนาประเทศเท่าทันการเปลี่ยนแปลงของโลก และราชการอื่นตามที่มีกฎหมายกาหนดให้เป็นอานาจหน้าที่ของกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม หรือส่วนราชการที่สังกัดกระทรวงการอุดมศึกษา วทิ ยาศาสตร์ วจิ ัยและนวตั กรรม สอบขา้ ราชการทอ้ งถ่นิ By Thurakan 9

ให้มคี ณะกรรมการการอุดมศึกษา มีหน้าท่ีพิจารณาเสนอนโยบาย แผนพัฒนาและ มาตรฐานการอุดมศึกษาที่สอดคล้องกับความต้องการตามแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม แหง่ ชาติและแผนการศึกษาแหง่ ชาติ ให้มคี ณะกรรมการสถานศกึ ษาขั้นพ้ืนฐาน และสถานศกึ ษาระดับอดุ มศึกษาระดับต่า กว่าปริญญาของแต่ละสถานศึกษา เพื่อทาหน้าท่ีกากับและส่งเสริมสนับสนุนกิจการของ สถานศึกษาประกอบด้วย ผู้แทนผู้ปกครอง ผู้แทนครู ผู้แทนองค์กรชุมชน ผู้แทนองค์กร ปกครองส่วนทอ้ งถิน่ ผู้แทนศิษย์เก่าของสถานศกึ ษา และผ้ทู รงคณุ วุฒิ ให้ผู้บรหิ ารสถานศึกษาเปน็ กรรมการและเลขานุการของคณะกรรมการสถานศึกษา องคก์ รปกครองส่วนทอ้ งถิ่นมีสิทธิจดั การศึกษาในระดับใด ระดับหนง่ึ หรือทุกระดบั ตามความพรอ้ ม ความเหมาะสมและความ ตอ้ งการภายในท้องถ่นิ การบริหารและการจัดการศึกษาของเอกชนให้มีความเป็น อสิ ระโดยมกี ารกากบั ติดตาม การประเมนิ คุณภาพและมาตรฐาน การศึกษาของรัฐ และต้องปฏิบัติตามหลักเกณฑ์การประเมิน คุณภาพและมาตรฐานการศึกษาเช่นเดยี วกบั สถานศึกษาของรัฐ รัฐต้องให้การสนับสนุนด้านเงินอุดหนุน การ ลดหย่อนหรือการยกเว้นภาษี และสิทธิประโยชน์อย่าง อ่ืนท่ีเป็นประโยชน์ในทางการศึกษาแก่สถานศึกษา เอกชนตามความเหมาะสมรวม ทงั้ ส่งเสรมิ และสนบั สนุน ด้านวิชาการให้สถานศึกษาเอกชนมีมาตรฐานและ สามารถพง่ึ ตนเองได้ สอบขา้ ราชการทอ้ งถ่นิ By Thurakan 10

มาตรฐานและการประกันคณุ ภาพการศกึ ษา ให้มีระบบการประกันคุณภาพการศึกษาเพ่ือพัฒนาคุณภาพและมาตรฐาน การศกึ ษาของการศกึ ษาขัน้ พนื้ ฐาน และการศึกษาระดับอุดมศึกษา ประกอบด้วย ระบบ การประกนั คุณภาพภายในและระบบการประกนั คณุ ภาพภายนอก ให้หน่วยงานต้นสังกัดและสถานศึกษาจัดให้มีระบบการประกันคุณภาพภายใน สถานศึกษาและให้ถือว่าการประกันคุณภาพภายในเป็นส่วนหน่ึงของกระบวนการบริหาร การศกึ ษาที่ต้องดาเนนิ การอยา่ งต่อเน่อื ง โดยมีการจัดทารายงานประจาปเี สนอตอ่ หนว่ ยงาน ต่อสังกัด หน่วยงานที่เก่ียวข้องและเปิดเผยต่อสาธารณชน เพ่ือนาไปสู่การพัฒนาคุณภาพ และมาตรฐานการศึกษา และเพื่อรองรบั การประกันคณุ ภาพภายนอก ให้มสี านักงานรบั รองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา มีฐานะเป็นองค์การ มหาชนทาหน้าทพ่ี ฒั นาเกณฑ์ วธิ กี ารประเมินคุณภาพภายนอก และทาการประเมินผลการจดั การศึกษา ที่มิใช่การจัดการอุดมศึกษาซึ่งอยู่ในอานาจหน้าท่ีของกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม หรือกระทรวงอื่น เพื่อให้มีการตรวจสอบคุณภาพของ สถานศึกษา ให้มีการประเมินคุณภาพภายนอกของสถานศึกษาทุกแห่งอย่างน้อยหน่ึงคร้ังใน ทกุ 5 ปนี ับตง้ั แต่การประเมินครง้ั สุดทา้ ย และเสนอผลการประเมนิ ตอ่ หน่วยงานทีเ่ กี่ยวขอ้ ง และสาธารณชน ในกรณีท่ีผลการประเมินภายนอกของสถานศึกษาใดไมไ่ ดต้ ามมาตรฐานท่ีกาหนดให้ สานกั งานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา จัดทาข้อเสนอแนะการปรับปรุง แก้ไขต่อหน่วยงานต้นสังกัด เพ่ือให้สถานศึกษาปรับปรุงแก้ไขภายในระยะเวลาท่ีกาหนด หากมิได้ดาเนินการดังกล่าวให้สานักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา รายงานต่อคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานหรือคณะกรรมการการอาชีวศึกษา เพ่ือ ดาเนินการให้มกี ารปรับปรุงแก้ไข สอบขา้ ราชการทอ้ งถ่นิ By Thurakan 11

ครู คณาจารย์ และบคุ ลากรทางการศกึ ษา “คณาจารย์” ในหมวดน้ี ให้หมายความว่า บุคลากรซ่ึงทาหน้าที่หลักทางด้านการ สอนและการวิจัยในสถานศกึ ษาระดบั อุดมศึกษาระดบั ปรญิ ญาของรัฐและเอกชน แตไ่ ม่รวมถงึ บคุ ลากรซึง่ สงั กดั กระทรวงการอุดมศึกษา วทิ ยาศาสตร์ วจิ ัยและนวัตกรรม ให้มีองค์กรวิชาชีพครู ผู้บริหารสถานศึกษา และผู้บริหารการศึกษามีฐานะเป็น องค์กรอิสระภายใต้การบริหารของสภาวิชาชีพ ในกากับของกระทรวงศึกษาธิการ มีอานาจ หน้าที่กาหนดมาตรฐานวิชาชีพ ออกและเพิกถอนใบอนุญาตประกอบวิชาชีพ กากับดูแลการ ปฏิบัติตามมาตรฐานและจรรยาบรรณของวิชาชีพ รวมทั้งการพัฒนาวิชาชีพครู ผู้บริหาร สถานศกึ ษาและผบู้ ริหารการศกึ ษา ให้มีองค์กรกลางบริหารงานบุคคลของข้าราชการครู โดยให้ครูและบุคลากร ทางการศึกษาทง้ั ของหน่วยงานทางการศกึ ษาในระดับสถานศึกษาของรัฐ และระดับเขตพื้นท่ี การศึกษาเป็นข้าราชการในสังกัดองค์กรกลางบริหารงานบุคคลของข้าราชการครูโดยยึด หลกั การกระจายอานาจการบริหารงานบุคคลสู่เขตพน้ื ที่การศกึ ษา และสถานศึกษา ให้มกี ฎหมายว่าด้วยเงนิ เดอื น คา่ ตอบแทน สวสั ดิการ และสทิ ธปิ ระโยชนเกือ้ กูลอ่นื สาหรับขา้ ราชการครแู ละบคุ ลากรทางการศึกษาเพ่ือให้มีรายไดท้ ี่เพยี งพอและเหมาะสมกับฐานะ ทางสงั คมและวชิ าชีพ สอบขา้ ราชการทอ้ งถ่นิ By Thurakan 12

ทรัพยากรและการลงทนุ เพอ่ื การศกึ ษา ใหร้ ฐั จดั สรรงบประมาณแผน่ ดนิ ให้กบั การศึกษาในฐานะที่มคี วามสาคัญสูงสดุ ตอ่ การ พฒั นาที่ยง่ั ยืนของประเทศโดยจดั สรรเป็นเงนิ งบประมาณเพ่ือการศึกษา ดังนี้ 1) จัดสรรเงินอุดหนุนทั่วไปเป็นค่าใช้จ่ายรายบุคคลที่เหมาะสมแก่ผู้เรียนการศึกษา ภาคบงั คบั และการศึกษาขนั้ พนื้ ฐานท่จี ัดโดยรฐั และเอกชนให้เท่าเทยี มกนั 2) จัดสรรทุนการศึกษาในรูปของกองทุนกู้ยืมให้แก่ผู้เรียนที่มาจากครอบครัวท่ีมี รายได้น้อยตามความเหมาะสมและความจาเป็น 3) จัดสรรงบประมาณและทรัพยากรทางการศึกษาอ่ืนเป็นพิเศษให้เหมาะสม และ สอดคลอ้ งกับความจาเป็นในการจัดการศึกษาสาหรบั ผเู้ รยี นท่ีมีความต้องการเปน็ พเิ ศษ 4) จดั สรรงบประมาณเป็นค่าใช้จ่ายดาเนินการ และงบลงทุนให้สถานศึกษาของรัฐ ตามนโยบายแผนพัฒนาการศึกษาแห่งชาติ และภารกิจของสถานศึกษา โดยให้มีอิสระในการ บริหารงบประมาณและทรัพยากรทางการศึกษา ท้ังนี้ ให้คานึงถึงคุณภาพและความเสมอภาค ในโอกาสทางการศึกษา 5) จัดสรรงบประมาณในลักษณะเงินอุดหนุนทั่วไปให้สถานศึกษาระดับอุดมศึกษา ของรฐั ท่เี ปน็ นติ ิบุคคล และเป็นสถานศึกษาในกากบั ของรฐั หรอื องค์การมหาชน 6) จดั สรรกองทนุ ก้ยู มื ดอกเบ้ียตา่ ใหส้ ถานศกึ ษาเอกชน เพือ่ ให้พึง่ ตนเองได้ 7) จัดตงั้ กองทนุ เพื่อพฒั นาการศึกษาของรฐั และเอกชน สอบขา้ ราชการทอ้ งถ่นิ By Thurakan 13

IT เทคโนโลยีเพอื่ การศกึ ษา รฐั ตอ้ งสง่ เสริมและสนับสนนุ ให้มกี ารผลิต และพัฒนาแบบเรียน ตารา หนงั สอื ทางวิชาการ สื่อส่ิงพิมพ์อ่ืน วัสดุอุปกรณ์ และเทคโนโลยีเพ่ือการศึกษาอื่น โดย เร่งรัดพัฒนาขีดความสามารถในการผลิต จัดให้มีเงินสนับสนุนการผลิตและมีการให้ แรงจูงใจแก่ผผู้ ลติ และพฒั นาเทคโนโลยเี พื่อการศกึ ษา ท้ังนี้ โดยเปิดให้มีการแข่งขันโดย เสรีอย่างเปน็ ธรรม ใหม้ กี ารพฒั นาบคุ ลากรทั้งด้านผ้ผู ลติ และผู้ใช้เทคโนโลยีเพ่ือการศึกษา เพื่อใหม้ ีความรู้ ความสามารถ และทกั ษะในการผลติ รวมท้ังการใช้เทคโนโลยที ่ีเหมาะสมมี คุณภาพ และประสิทธิภาพ ผู้เรียนมีสิทธิได้รับการพัฒนาขีดความสามารถในการใช้เทคโนโลยีเพื่อ การศึกษาในโอกาสแรกท่ีทาได้ เพ่ือให้มีความรู้และทักษะเพียงพอท่ีจะใช้เทคโนโลยีเพ่ือ การศึกษาในการแสวงหาความรูด้ ว้ ยตนเองไดอ้ ย่างเนอ่ื งตลอดชีวติ รัฐต้องส่งเสริมให้มีการวิจัยและพัฒนา การผลิตและการพัฒนา เทคโนโลยีเพอ่ื การศึกษา รวมทั้งการติดตาม ตรวจสอบ และประเมนิ ผลการใช้เทคโนโลยี เพอ่ื การศกึ ษา เพ่อื ใหเ้ กดิ การใช้ที่คุม้ คา่ และเหมาะสมกับกระบวนการเรยี นรขู้ องคนไทย สอบขา้ ราชการทอ้ งถ่นิ By Thurakan 14


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook