Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore 01รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย-พุทธศักราช-2560

01รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย-พุทธศักราช-2560

Published by t.kruyok004, 2021-11-15 04:18:30

Description: 01รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย-พุทธศักราช-2560

Search

Read the Text Version

รัฐธรรมนญู แห่งราชอาณาจกั รไทย พทุ ธศักราช 2560 ► ฉบบั ที่ 20 ► ตราไว้ ณ วนั ท่ี 6 เมษายน พ.ศ. 2560 ► ประกาศ/บงั คับใช้ วนั ท่ี 6 เมษายน พ.ศ. 2560 (มผี ลบังคับใช้ในวันประกาศในราชกิจจานเุ บกษา) ► ผูส้ นองพระบรมราชโองการ พลเอกประยทุ ธ์ จนั ทร์โอชา มที ัง้ หมด 16 หมวด 279 มาตรา 1 บทเฉพาะกาล หมวดท่ี 1 บททั่วไป หมวดท่ี 2 พระมหากษัตริย์ หมวดท่ี 3 สทิ ธแิ ละเสรภี าพของปวงชนชาวไทย หมวดท่ี 4 หน้าท่ขี องปวงชนชาวไทย หมวดท่ี 5 หน้าทข่ี องรัฐ หมวดที่ 6 แนวนโยบายของรฐั หมวดท่ี 7 รฐั สภา หมวดที่ 8 คณะรัฐมนตรี หมวดที่ 9 การขดั กันแหง่ ผลประโยชน์ หมวดที่ 10 ศาล หมวดท่ี 11 ศาลรฐั ธรรมนูญ หมวดที่ 12 องคก์ รอสิ ระ หมวดที่ 13 องค์กรอัยการ หมวดที่ 14 การปกครองส่วนท้องถนิ่ หมวดท่ี 15 การแก้ไขเพ่มิ เตมิ รัฐธรรมนญู หมวดที่ 16 การปฏิรปู ประเทศ บทเฉพาะกาล Note| วธิ จี าจานวนมาตรา 279 = 2+7=9

หมวดที่ 1 บททว่ั ไป ▲ประเทศไทยเปน็ ราชอาณาจักรอันหนงึ่ อันเดียว แบ่งแยกมไิ ด้ ▲ ประเทศไทยมีการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมพี ระมหากษตั รยิ ์ทรงเป็นประมขุ ▲อานาจอธปิ ไตยเปน็ ของปวงชนชาวไทย พระมหากษัตริยผ์ ้ทู รงเป็นประมุขทรงใช้ อานาจนัน้ ทางรฐั สภา คณะรัฐมนตรี และศาล ▲ศักดิ์ศรคี วามเปน็ มนษุ ย์สิทธิ เสรีภาพ และความเสมอภาคของ บคุ คล ยอ่ มไดร้ ับความ คุ้มครอง ปวงชนชาวไทยย่อมไดร้ ับความคุม้ ครองตามรฐั ธรรมนูญเสมอกนั ▲รฐั ธรรมนญู เป็นกฎหมายสูงสุดของประเทศ บทบญั ญัติใดของกฎหมาย กฎ หรอื ข้อบังคบั หรอื การกระทาใด ขัดหรอื แยง้ ต่อรฐั ธรรมนูญ บทบัญญัตหิ รือการกระทานัน้ เปน็ อันใช้บงั คบั มไิ ด้ หมวดท่ี 2 พระมหากษตั รยิ ์ ►องค์พระมหากษตั รยิ ์ทรงดารงอยใู่ นฐานะอันเปน็ ท่ีเคารพสักการะผู้ใดจะละเมิดมไิ ด้ ►พระมหากษัตรยิ ท์ รงเปน็ พทุ ธมามกะ และทรงเป็นอัครศาสนูปถมั ภก ►พระมหากษัตรยิ ์ทรงดารงตาแหน่งจอมทัพไทย ►พระมหากษตั รยิ ์ทรงไวซ้ ่ึงพระราชอานาจจะสถาปนาและถอดถอนฐานันดรศักดิ์และ พระราชทานและเรยี กคืนเคร่ืองราชอสิ ริยาภรณ์ ►พระมหากษัตรยิ ์ทรงเลือกและทรงแต่งต้งั ผทู้ รงคณุ วุฒเิ ปน็ ประธานองคมนตรีคนหนง่ึ และองคมนตรีอ่ืนอีกไม่เกนิ 18 คน ►การเลอื กและแตง่ ตง้ั องคมนตรีหรอื การให้องคมนตรพี น้ จากตาแหนง่ ใหเ้ ป็นไปตามพระราชอัธยาศยั ใหป้ ระธานรัฐสภาเปน็ ผลู้ งนามรับสนองพระบรมราชโองการแตง่ ตั้งประธานองคมนตรี หรอื ให้ประธานองคมนตรีพ้นจากตาแหน่ง  ใหป้ ระธานองคมนตรีเปน็ ผลู้ งนามรับสนองพระบรมราชโองการแต่งต้ังองคมนตรีอ่นื หรอื ใหอ้ งคมนตรีอน่ื พน้ จากตาแหน่ง ►องคมนตรตี อ้ งไมเ่ ป็นสมาชิกสภาผแู้ ทนราษฎร สมาชกิ วฒุ สิ ภา หรอื ดารงตาแหน่ง ทางการเมืองอื่น ตุลาการศาลรฐั ธรรมนญู ผดู้ ารงตาแหนง่ ในองคก์ รอิสระ ►ก่อนเข้ารับหน้าที่องคมนตรตี อ้ งถวายสตั ย์ปฏิญาณตอ่ พระมหากษตั รยิ ์ ► ในเมื่อพระมหากษตั รยิ ์จะไมป่ ระทบั อยู่ในราชอาณาจักร หรอื จะทรงบริหารพระราชภาระ ไม่ไดด้ ว้ ยเหตใุ ดก็ตาม จะทรงแต่งตงั้ ผใู้ ดผ้หู นงึ่ ใหเ้ ปน็ ผสู้ าเร็จราชการแทนพระองค์หรอื ไมก่ ็ได้ และในกรณีทท่ี รงแตง่ ตง้ั ผสู้ าเร็จราชการแทนพระองค์ ใหป้ ระธานรฐั สภาเป็นผู้ลงนามรับสนอง พระบรมราชโองการ ►ในระหวา่ งที่ไม่มีผสู้ าเร็จราชการแทนพระองค์ ให้ประธานองคมนตรีเป็นผสู้ าเร็จราชการแทน พระองค์เป็นการช่ัวคราวไปพลางก่อน

หมวดที่ 3 สิทธแิ ละเสรีภาพของปวงชนชาวไทย การใดทม่ี ิได้ห้ามหรอื จากัดไว้ในรฐั ธรรมนูญหรือในกฎหมายอื่น บุคคลย่อมมีสิทธิ และเสรภี าพทจี่ ะทาการน้ันได้และไดร้ ับความคมุ้ ครองตามรฐั ธรรมนูญ ตราบเทา่ ทีก่ ารใชส้ ิทธหิ รอื เสรีภาพเช่นว่านนั้ ไม่กระทบกระเทอื น หรือเปน็ อันตรายต่อความมั่นคงของรฐั ความสงบเรียบร้อย หรือศลี ธรรมอันดีของประชาชน และไม่ละเมิดสิทธหิ รือเสรภี าพของบุคคลอน่ื บุคคลยอ่ มเสมอกันในกฎหมาย มีสิทธแิ ละเสรีภาพและไดร้ ับความคมุ้ ครองเทา่ เทียม บุคคลยอ่ มมีสิทธิและเสรีภาพในชีวิตและร่างกาย บุคคลย่อมมีเสรภี าพบรบิ ูรณ์ในการนับถอื ศาสนาหรือประกอบพธิ กี รรมตามหลักศาสนา บคุ คลย่อมมีสิทธใิ นความเปน็ อย่สู ว่ นตัว เกียรติยศ ชอื่ เสียง และครอบครัว บคุ คลยอ่ มมเี สรีภาพในเคหสถาน บุคคลยอ่ มมเี สรีภาพในการแสดงความคิดเห็น  บคุ คลซึง่ ประกอบวิชาชพี สือ่ มวลชนย่อมมีเสรภี าพในการเสนอขา่ วสาร  บุคคลยอ่ มเสรภี าพในการชมุ นุมโดยสงบและปราศจากอาวุธ  บุคคลยอ่ มมเี สรีภาพในการรวมกันจัดตั้งพรรคการเมือง  สิทธิของผูบ้ ริโภคยอ่ มไดร้ ับความคุ้มครอง  บคุ คลยอ่ มมีสิทธิได้รับบรกิ ารสาธารณสุขของรฐั บุคคลยอ่ มมเี สรภี าพในการตดิ ต่อส่ือสารถงึ กนั ไม่วา่ ในทางใดๆ บคุ คลย่อมมีสิทธิในทรัพย์สินและการสบื มรดก หมวดที่ 4 หน้าทขี่ องปวงชนชาวไทย บุคคลมหี นา้ ที่ดงั ตอ่ ไปนี้(หน้าที่ของปวงชนชาวไทย มี 10 ขอ้ ) (สาคัญ)  พิทกั ษร์ ักษาไวซ้ ่ึงชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์ และการปกครองระบอบประชาธิปไตย  ปอ้ งกนั ประเทศ พิทักษร์ กั ษาเกยี รติภมู ิ ผลประโยชน์ของชาติ  ปฏบิ ตั ติ ามกฎหมายอยา่ งเครง่ ครดั  เขา้ รบั การศึกษาอบรมในการศกึ ษาภาคบงั คับ (สาคัญ)  รับราชการทหารตามที่กฎหมายบญั ญตั ิ  เคารพและไม่ละเมิดสิทธิและเสรภี าพของบุคคลอ่นื  ไปใช้สทิ ธเิ ลอื กตงั้ หรอื ลงประชามติอยา่ งอสิ ระโดยคานึงถงึ ประโยชนส์ ว่ นรวมของประเทศ  ร่วมมือและสนบั สนุนการอนุรกั ษแ์ ละคุ้มครองสิง่ แวดลอ้ ม ทรัพยากรธรรมชาติ  เสียภาษีอากรตามทีก่ ฎหมายบัญญตั ิ  ไม่รว่ มมอื หรอื สนบั สนุนการทุจรติ และประพฤติมิชอบทกุ รปู แบบ

หมวดท่ี 5 หนา้ ทขี่ องรฐั ●รฐั ต้องดูแลให้มีการปฏิบตั ิตามและบังคับใช้กฎหมายอยา่ งเครง่ ครดั ●รฐั ตอ้ งดาเนินการใหเ้ ด็กทุกคนไดร้ ับการศึกษาเป็นเวลา 12 ปี ต้ังแตก่ ่อนวยั เรียนจนจบ การศึกษาภาคบงั คับอยา่ งมคี ณุ ภาพโดยไม่เก็บค่าใช้จ่าย (สาคัญ) ●รฐั ต้องดาเนนิ การให้เด็กเลก็ ได้รบั การดูแลและพฒั นาก่อนเข้ารับการศกึ ษาตามวรรคหนง่ึ เพื่อพฒั นาร่างกาย จิตใจ วินัย อารมณ์ สงั คม และสติปญั ญาใหส้ มกบั วัย โดยสง่ เสรมิ และ สนบั สนนุ ให้องค์กรปกครองสว่ นทอ้ งถิ่นและภาคเอกชนเขา้ มีส่วนร่วมในการดาเนนิ การดว้ ย ●การศึกษาทงั้ ปวงต้องมุง่ พฒั นาผเู้ รยี นให้เป็นคนดี มีวนิ ัย ภมู ใิ จในชาติ ●รฐั ต้องดาเนินการให้ผขู้ าดแคลนทนุ ทรพั ยไ์ ด้รับการสนับสนนุ ค่าใช้จ่ายในการศกึ ษา ตามความถนัดของตน ●ใหจ้ ัดต้ังกองทนุ เพื่อใช้ในการชว่ ยเหลือผขู้ าดแู คลนทนุ ทรัพย์ เพอื่ ลดความเหลือ่ มลา้ ในการศึกษาและเพื่อเสริมสร้างและพัฒนาคุณภาพและประสิทธิภาพครู ●รฐั ตอ้ งดาเนินการให้ประชาชนได้รบั บริการสาธารณสขุ ทม่ี ีประสทิ ธิภาพอยา่ งทว่ั ถึง หมวดที่ 6 แนวนโยบายของรัฐ ◆รัฐพึงจัดใหม้ ียทุ ธศาสตร์ชาติเป็นเปา้ หมายการพัฒนาประเทศอย่างยั่งยนื ◆รฐั พงึ อุปถัมภ์และคุ้มครองพระพุทธศาสนาและศาสนาอ่นื ◆รฐั พงึ จัดให้มีและสง่ เสรมิ การวิจยั และพัฒนาวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี ◆รฐั พึงพฒั นาระบบการบรหิ ารราชการแผ่นดินทั้งราชการส่วนกลาง สว่ นภมู ิภาค ส่วนท้องถิ่น และงานของรัฐอยา่ งอื่น ให้เปน็ ไปตามหลกั การบรหิ ารกิจการบา้ นเมอื งทดี่ ี ◆รัฐพงึ จดั ใหม้ มี าตรฐานทางจริยธรรม หมวดท่ี 7 รัฐสภา (รฐั สภา ประกอบด้วย สภาผู้แทนราษฎร 500 คน และวฒุ สิ ภา 200 คน) #5ปแี รกใหม้ ีสว. 250 คน สว่ นท่ี 1 บทท่ัวไป ★รัฐสภาประกอบดว้ ยสภาผแู้ ทนราษฎรและวฒุ สิ ภา บุคคลจะเปน็ สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรและสมาชกิ วุฒิสภาในขณะเดียวกนั มิได้ ประธานสภาผูแ้ ทนราษฎรเปน็ ประธานรัฐสภา ประธานวฒุ ิสภาเป็นรองประธานรัฐสภา ในกรณที ี่ไม่มปี ระธานสภาผแู้ ทนราษฎร หรือประธานสภาผแู้ ทนราษฎรไม่อยหู่ รอื ไมส่ ามารถ ปฏบิ ัติหนา้ ท่ปี ระธานรฐั สภาได้ ให้ประธานวฒุ ิสภาทาหนา้ ท่ีประธานรัฐสภาแทน ★รา่ งพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญและร่างพระราชบญั ญัติ จะตราขนึ้ เป็น กฎหมายได้ก็แตโ่ ดยคาแนะนาและยินยอมของรัฐสภา

ส่วนท่ี 2 สภาผูแ้ ทนราษฎร สภาผ้แู ทนราษฎรประกอบดว้ ยสมาชกิ จานวน 500 คน ดงั น้ี (๑) สมาชกิ ซึ่งมาจากการเลอื กตั้งแบบแบ่งเขตเลอื กต้ังจานวน 350 คน (๒) สมาชกิ ซึ่งมาจากบญั ชีรายชือ่ ของพรรคการเมอื งจานวน 150 คน (ยบุ สภาตราเป็นพระราชกฤษฎกี า) ●บคุ คลผ้มู คี ณุ สมบัตดิ ังตอ่ ไปน้ี เปน็ ผู้มีสทิ ธเิ ลือกต้ัง มสี ัญชาตไิ ทย แตบ่ คุ คลผูม้ สี ัญชาติไทยโดยการแปลงสญั ชาติ ต้องไดส้ ญั ชาติไทยมาแลว้ ไมน่ อ้ ยกว่า 5 ปี  มอี ายุไมต่ า่ กวา่ 18 ปีในวันเลือกตง้ั  มชี อ่ื อยใู่ นทะเบียนบา้ นในเขตเลือกตงั้ มาแลว้ เป็นเวลาไมน่ ้อยกว่า 90 วัน นับถงึ วนั เลือกตง้ั บุคคลผู้มีลักษณะดังต่อไปนี้ในวันเลือกตั้ง เปน็ บุคคลต้องหา้ มมใิ หใ้ ชส้ ิทธเิ ลอื กตัง้ เป็นภกิ ษุ สามเณร นักพรต หรอื นกั บวช อยใู่ นระหว่างถูกเพกิ ถอนสทิ ธิเลือกตง้ั ไม่ว่าคดีนน้ั จะถึงที่สุดแลว้ หรอื ไม่ ต้องคมุ ขังอยู่โดยหมายของศาลหรอื โดยคาสง่ั ทชี่ อบด้วยกฎหมาย วิกลจริตหรือจิตฟัน่ เฟือนไม่สมประกอบ บุคคลผมู้ ีคุณสมบัติดังตอ่ ไปน้ี เปน็ ผมู้ ีสิทธิสมัครรับเลอื กต้ังเปน็ สมาชิกสภาผแู้ ทนราษฎร (๑) มีสญั ชาตไิ ทยโดยการเกดิ (๒) มอี ายไุ มต่ ่ากว่า 25 ปีนบั ถึงวันเลือกตง้ั (๓) เปน็ สมาชิกพรรคการเมืองใดพรรคการเมอื งหนงึ่ แตเ่ พยี งพรรคการเมืองเดียวเป็นเวลา ติดตอ่ กันไม่นอ้ ยกวา่ 90 วันนบั ถงึ วนั เลอื กต้ัง เว้นแต่ในกรณีท่ีมีการเลอื กต้งั ท่ัวไปเพราะเหตยุ ุบ สภาระยะเวลาเก้าสิบวันดงั กลา่ วใหล้ ดลงเหลอื 30 วนั (๔) ผสู้ มัครรับเลือกต้งั แบบแบง่ เขตเลอื กตงั้ ตอ้ งมลี กั ษณะอย่างใดอยา่ งหน่งึ ดังตอ่ ไปนดี้ ้วย (ก) มชี ื่ออยใู่ นทะเบียนบ้านในจงั หวดั ท่สี มคั รรบั เลือกต้ังมาแลว้ เป็นเวลาติดต่อกัน ไม่น้อยกว่า 5 ปีนบั ถึงวนั สมคั รรบั เลือกต้ัง (ข) เป็นบคุ คลซงึ่ เกดิ ในจงั หวดั ทีส่ มคั รรับเลอื กต้ัง (ค) เคยศึกษาในสถานศกึ ษาทตี่ ้ังอยู่ในจงั หวัดท่ีสมัครรบั เลือกต้งั เป็นเวลาติดตอ่ กัน ไม่น้อยกวา่ 5 ปีการศกึ ษา (ง) เคยรบั ราชการหรอื ปฏิบตั หิ น้าทใี่ นหน่วยงานของรฐั หรอื เคยมชี ื่ออยู่ในทะเบยี นบ้าน ในจังหวดั ท่สี มคั รรบั เลือกต้ัง แล้วแต่กรณี เป็นเวลาตดิ ต่อกนั ไม่น้อยกว่า 5 ปี

●อายุของสภาผู้แทนราษฎรมีกาหนดคราวละ 4 ปนี ับแต่วนั เลือกตง้ั ●สมาชิกภาพของสมาชกิ สภาผแู้ ทนราษฎรเรมิ่ ต้งั แต่วันเลือกตง้ั (เม่อื อายุของสภาผู้แทนราษฎรส้ินสุดลง พระมหากษตั รยิ จ์ ะได้ทรงตรา พระราชกฤษฎีกาให้มีการเลือกตัง้ สมาชกิ สภาผูแ้ ทนราษฎรใหม่ เป็นการเลือกต้งั ท่ัวไปภายใน 45 วนั นับแตว่ นั ที่สภาผแู้ ทนราษฎรสน้ิ อายุ) ส่วนท่ี 3 วุฒิสภา วฒุ ิสภาประกอบดว้ ยสมาชกิ จานวน 200 คน ซงึ่ มาจากการเลือกกนั เอง สมาชกิ วุฒสิ ภาต้องมคี ณุ สมบตั ิ ดงั ตอ่ ไปนี้ มีสญั ชาติไทยโดยการเกิด มีอายไุ มต่ ่ากว่า 40 ปใี นวนั สมคั รรับเลอื ก มีความรู้ ความเชีย่ วชาญ และประสบการณ์ หรือทางานในด้านทีส่ มคั รไมน่ อ้ ยกวา่ 10 ปี เกดิ มีชอื่ อยูใ่ นทะเบยี นบ้าน ทางาน หรือมีความเก่ียวพันกบั พน้ื ที่ทีส่ มคั รตามหลักเกณฑแ์ ละ เง่ือนไขท่บี ญั ญัติไวใ้ นพระราชบญั ญัติประกอบรัฐธรรมนญู วา่ ด้วยการได้มาซ่ึงสมาชกิ วฒุ สิ ภา อายขุ องวฒุ สิ ภามกี าหนดคราวละ 5 ปีนับแตว่ นั ประกาศผลการเลอื ก(อย่เู ลือกนายกอีกรอบได)้ ให้มีพระราชบญั ญัติประกอบรัฐธรรมนญู ดงั ตอ่ ไปนี้ ( มที งั้ หมด 10 พระราชบัญญัต)ิ พระราชบญั ญัตปิ ระกอบรฐั ธรรมนญู วา่ ด้วยการเลอื กตั้งสมาชกิ สภาผูแ้ ทนราษฎร พระราชบญั ญัตปิ ระกอบรัฐธรรมนญู ว่าด้วยการได้มาซ่งึ สมาชิกวฒุ สิ ภา พระราชบัญญัติประกอบรฐั ธรรมนญู ว่าด้วยคณะกรรมการการเลือกตงั้ พระราชบัญญตั ิประกอบรัฐธรรมนญู วา่ ด้วยพรรคการเมือง พระราชบัญญตั ปิ ระกอบรฐั ธรรมนญู ว่าด้วยผู้ตรวจการแผ่นดิน พระราชบญั ญัตปิ ระกอบรฐั ธรรมนญู ว่าด้วยการป้องกนั และปราบปรามการทุจริต พระราชบญั ญัตปิ ระกอบรัฐธรรมนญู วา่ ด้วยการตรวจเงินแผน่ ดิน พระราชบญั ญตั ปิ ระกอบรัฐธรรมนญู ว่าดว้ ยวิธพี จิ ารณาของศาลรฐั ธรรมนูญ พระราชบญั ญตั ิประกอบรฐั ธรรมนญู วา่ ด้วยวิธีพจิ ารณาคดีอาญาของผดู้ ารง ตาแหนง่ ทางการเมอื ง พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนญู วา่ ดว้ ยคณะกรรมการสทิ ธิมนษุ ยชนแห่งชาติ

หมวดที่ 8 คณะรฐั มนตรี ◆พระมหากษัตริยท์ รงแต่งต้ังนายกรัฐมนตรแี ละรฐั มนตรีอ่นื อกี ไมเ่ กนิ 35 คนประกอบเปน็ คณะรัฐมนตรี ◆ให้ประธานสภาผู้แทนราษฎรเปน็ ผลู้ งนามรบั สนองพระบรมราชโองการแตง่ ตงั้ นายกรฐั มนตรี ◆นายกรฐั มนตรจี ะดารงตาแหน่งรวมกันแลว้ เกิน 8 ปีมิได้ ◆ รฐั มนตรตี ้อง มอี ายไุ มต่ า่ กวา่ 35 ปี คณะรฐั มนตรีท่ีจะเขา้ บรหิ ารราชการแผน่ ดินตอ้ งแถลงนโยบายต่อรัฐสภาซง่ึ ตอ้ งสอดคลอ้ งกับ หนา้ ทขี่ องรัฐ แนวนโยบายแห่งรัฐ และยุทธศาสตร์ชาติ และต้องชีแ้ จงแหล่งท่มี าของรายได้ท่ีจะ นามาใชจ้ ่ายในการดาเนินนโยบาย โดยไมม่ กี ารลงมตคิ วามไวว้ างใจ ท้งั น้ีภายใน 15 วนั นบั แต่วัน เขา้ รบั หนา้ ท่ี หมวดที่ 9 การขดั กนั แหง่ ผลประโยชน์ สมาชิกสภาผ้แู ทนราษฎรและสมาชิกวฒุ ิสภาตอ้ ง ไมด่ ารงตาแหนง่ หรือหน้าทใ่ี ดในหน่วยราชการหนว่ ยงานของรัฐหรอื รัฐวสิ าหกจิ หรือตาแหนง่ สมาชิกสภาท้องถิ่น หรอื ผูบ้ ริหารทอ้ งถน่ิ ไม่รบั หรือแทรกแซงหรือกาวก่ายการเข้ารบั สมั ปทานจากรัฐ ไมก่ ระทาการใด ๆ ไม่ว่าโดยทางตรงหรอื ทางออ้ ม อนั เปน็ การขดั ขวางหรือแทรกแซง การใช้ สทิ ธิหรอื เสรีภาพของหนงั สอื พิมพห์ รือสอ่ื มวลชนโดยมชิ อบ หมวดที่ 10 ศาล ●การพจิ ารณาพิพากษาอรรถคดีเป็นอานาจของศาล ซ่ึงตอ้ งดาเนนิ การให้เป็นไป ตามกฎหมาย และในพระปรมาภิไธยพระมหากษตั ริย์ ●ศาลยตุ ธิ รรมมีอานาจพิจารณาพิพากษาคดที ัง้ ปวง เว้นแต่คดที ่ีรฐั ธรรมนูญ หรือกฎหมาย บัญญัตใิ หอ้ ยูใ่ นอานาจของศาลอ่นื การจดั ต้งั วธิ พี จิ ารณาคดี และการดาเนินงานของศาลยุตธิ รรม ใหเ้ ป็นไปตามกฎหมายวาดว้ ยการนนั้ ●ศาลปกครองมีอานาจพิจารณาพิพากษาคดีปกครองอนั เนือ่ งมาจากการใชอ้ านาจ ทางปกครอง ตามกฎหมาย หรือเนอ่ื งมาจากการดาเนนิ กจิ การทางปกครอง ●ศาลทหารมีอานาจพจิ ารณาพิพากษาคดอี าญาที่ผู้กระทาความผิดเปน็ บคุ คลซงึ่ อยูใ่ นอานาจศาล ทหารและคดี

หมวดท่ี 11 ศาลรฐั ธรรมนูญ ศาลรัฐธรรมนญู ประกอบด้วยตลุ าการศาลรฐั ธรรมนูญจานวน 9 คน ซ่ึงพระมหากษตั รยิ ์ ทรงแต่งต้ังจากบุคคล ดงั ต่อไปนี้ ผพู้ ิพากษาในศาลฎีกาซง่ึ ดารงตาแหนง่ ไม่ตา่ กวา่ ผพู้ ิพากษาหวั หนา้ คณะในศาลฎกี ามาแลว้ ไม่น้อยกวา่ 3 ปี ซ่งึ ไดร้ บั คัดเลือกโดยทป่ี ระชมุ ใหญ่ศาลฎกี า จานวน 3 คน ตลุ าการในศาลปกครองสงู สุดซง่ึ ดารงตาแหนง่ ไม่ตา่ กวา่ ตลุ าการศาลปกครองสูงสุดมาแลว้ ไมน่ อ้ ยกวา่ 5ปี ซ่งึ ได้รบั คดั เลือกโดยทป่ี ระชมุ ใหญ่ตุลาการในศาลปกครองสูงสุด จานวน 2 คน ผู้ทรงคุณวุฒิสาขานิติศาสตร์สรรหาจากผดู้ ารงตาแหนง่ หรือเคยดารงตาแหน่งศาสตราจารย์ของ มหาวทิ ยาลัยมาแล้วเป็นเวลาไม่น้อยกวา่ 5 ปี และยงั มผี ลงานทางวชิ าการเป็นท่ีประจักษ์ จานวน 1 คน ผู้ทรงคุณวุฒสิ าขารฐั ศาสตรห์ รอื รฐั ประศาสนศาสตร์ซ่ึงได้รับการสรรหาจากผ้ดู ารงตาแหน่งหรือ เคยดารงตาแหน่งศาสตราจารย์ของมหาวิทยาลยั ในประเทศไทยมาแลว้ เป็นเวลาไมน่ ้อยกว่า 5 ปแี ละยงั มี ผลงานทางวิชาการเปน็ ทป่ี ระจักษ์จานวน 1 คน ผู้ทรงคุณวุฒซิ ึ่งไดร้ บั การสรรหาจากผู้รบั หรอื เคยรับราชการในตาแหนง่ ไม่ตา่ กวา่ อธบิ ดี หรอื หวั หน้าส่วนราชการท่เี ทียบเทา่ หรอื ตาแหนง่ ไม่ต่ากวา่ รองอยั การสงู สดุ มาแลว้ ไมน่ ้อยกว่า 5 ปจี านวน2คน หมวดที่ 12 องค์กรอสิ ระ (วาระ 7 ปีท้ังหมด) ผูด้ ารงตาแหนง่ ในองค์กรอสิ ระตอ้ งมีอายุไมต่ า่ ว่า 45 ปี แต่ไม่เกิน 70 ปี คณะกรรมการการเลือกตัง้ (กกต.) กรรมการจานวน 7 คนซ่งึ พระมหากษัตรยิ ์ ทรงแต่งตง้ั ตามคาแนะนาของวฒุ ิสภา ผู้ตรวจการแผน่ ดนิ มจี านวน 3 คน ซง่ึ พระมหากษตั รยิ ท์ รงแตง่ ตัง้ ตามคาแนะนาของวุฒสิ ภา จากผซู้ ึง่ ได้รบั การสรรหาโดยคณะกรรมการสรรหา คณะกรรมการปอ้ งกนั และปราบปรามการทจุ ริตแห่งชาติ(ป.ป.ช)ประกอบดว้ ยกรรมการ จานวน 9 คน ซึ่งพระมหากษตั ริยท์ รงแตง่ ตง้ั ตามคาแนะนาของวฒุ สิ ภาจากผูซ้ ่งึ ได้รับการสรรหา โดยคณะกรรมการสรรหา คณะกรรมการตรวจเงินแผน่ ดิน ประกอบดว้ ยกรรมการจานวน 7 คนซึ่งพระมหากษัตรยิ ์ทรง แต่งตัง้ ตามคาแนะนาของวฒุ สิ ภา จากผู้ซึ่งไดร้ ับการสรรหาโดยคณะกรรมการสรรหา คณะกรรมการสิทธิมนษุ ยชนแห่งชาติ(กสม.) ประกอบด้วยกรรมการจานวน 7 คน ซ่งึ พระมหากษัตรยิ ์ทรงแตง่ ตง้ั ตามคาแนะนาของวฒุ ิสภาจากผู้ซง่ึ ได้รบั การสรรหา

หมวดท่ี 13 องคก์ รอัยการ องค์กรอัยการมหี น้าทีแ่ ละอานาจตามท่ีบญั ญัติไวใ้ นรัฐธรรมนูญและกฎหมายพนกั งานอยั การมี อสิ ระในการพิจารณาสัง่ คดแี ละการปฏิบตั ิหนา้ ทใี่ หเ้ ปน็ ไปโดยรวดเร็ว เทย่ี งธรรมและปราศจาก อคตทิ ้งั ปวง และไม่ใหถ้ อื วา่ เป็นคาส่งั ทางปกครอง หมวดที่ 14 การปกครองส่วนท้องถิ่น ◆ ใหม้ ีการจดั การปกครองสว่ นท้องถ่นิ ตามหลกั แห่งการปกครองตนเองตามเจตนารมณข์ อง ประชาชนในทอ้ งถิน่ ทงั้ น้ี ตามวธิ ีการและรูปแบบองคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถิ่นที่กฎหมายบญั ญตั ิ การจัดตั้งองค์กรปกครองสว่ นทอ้ งถิ่นในรปู แบบใดให้คานึงถึงเจตนารมณข์ องประชาชนใน ทอ้ งถิ่นและความสามารถในการปกครองตนเองในด้านรายได้ จานวนและความหนาแน่นของ ประชากร และพ้ืนที่ท่ีตอ้ งรบั ผิดชอบ ประกอบกนั ◆องคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถน่ิ มหี น้าทีแ่ ละอานาจดูแลและจดั ทาบรกิ ารสาธารณะ และกจิ กรรมสาธารณะเพื่อประโยชนข์ องประชาชนในทอ้ งถ่นิ ตามหลักการพัฒนาอยา่ งยัง่ ยนื รวมทัง้ ส่งเสริมและสนบั สนนุ การจัดการศกึ ษาใหแ้ ก่ประชาชนในท้องถน่ิ หมวดที่ 15 การแก้ไขเพิม่ เติมรฐั ธรรมนูญ การแกไ้ ขเพิม่ เตมิ รฐั ธรรมนญู ทเี่ ปน็ การเปล่ียนแปลงการปกครองระบอบประชาธิปไตย อันมพี ระมหากษตั ริย์ทรงเป็นประมขุ หรอื เปลี่ยนแปลงรูปแบบของรฐั จะกระทามิได หมวดท่ี 16 การปฏริ ปู ประเทศ การปฏริ ูปประเทศตามหมวดน้ตี อ้ งดาเนนิ การเพอื่ บรรลุเปา้ หมาย ดังตอ่ ไปนี้ 1. ประเทศชาตมิ คี วามสงบเรยี บร้อย มคี วามสามัคคปี รองดอง มีการพฒั นาอยา่ งย่ังยนื ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง 2. สงั คมมีความสงบสขุ เป็นธรรม และมโี อกาสอนั ทัดเทียมกันเพอ่ื ขจดั ความเหลอื่ มลา้ 3. ประชาชนมีความสขุ มีคณุ ภาพชวี ิตท่ดี ี และมีสว่ นร่วมในการพฒั นาประเทศและ การปกครองในระบอบประชาธปิ ไตยอันมพี ระมหากษตั รยิ ์ทรงเปน็ ประมุข การปฏริ ปู ประเทศอย่างนอ้ ยในดา้ นตา่ ง ๆให้เกดิ ผลดงั น้ี ●ด้านการเมอื ง ●ดา้ นกฎหมาย ●ดา้ นการบริหารราชการแผน่ ดิน ●ด้านกระบวนการยุติธรรม


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook