ใบความรู้เรื่อง ธรรมชาติของวิชาฟิสิกส์ รายวิชา ฟิสิกส์เพิ่มเติม รหัสวิชา ว.31101 ปีการศึกษา 2564 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ห้อง 1-2
ช่องทางติดต่อสื่อสารกับผู้เรียน ( / ) Facebook ( / ) Line ( ) Google Hangout ( ) Zoom ( ) Google Classroom ( ) ติดต่อโดยตรง (ส่งใบงานถึงบ้าน) มาตรฐาน ว 8.1 ใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์และจิตวิทยาศาสตร์ ในการสืบเสาะหาความรู้ การแก้ ปัญหา รู้ว่าปรากฏการณ์ทางธรรมชาติที่เกิดขึ้นส่วนใหญ่มีรูปแบบที่แน่นอน สามารถอธิบายและตรวจสอบได้ ภายใต้ข้อมูลและเครื่องมือที่มีอยู่ในช่วงเวลานั้นๆ เข้าใจว่า วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี สังคม และสิ่งแวดล้อม มีความเกี่ยวข้องสัมพันธ์กัน มาตรฐานการเรียนรู้ช่วงชั้น ม.4-6 บันทึกและอธิบายผลการส ารวจตรวจสอบอย่างมีเหตุผล ใช้พยาน หลักฐานอ้างอิงหรือค้นคว้าเพิ่มเติม เพื่อหาหลักฐานอ้างอิงที่เชื่อถือได้ และยอมรับว่าความรู้เดิมอาจมีการเปลี่ยนแปลงได้เมื่อมีข้อมูลและประจักษ์พยานใหม่เพิ่มเติมหรือโต้แย้งจากเดิม ซึ่งท้าทายให้มีการตรวจสอบอย่างระมัดระวัง อันจะน า มาสู่การยอมรับเป็นความรู้ใหม ่3. กิจกรรมการเรียนรู้ 3.1 .ให้นักเรียนศึกษาเนื้อหาการค้นหาความรู้ทางฟิสิกส์ประวัติความเป็นมารวมทั้งพัฒนาการของหลักการและแนวคิดทางฟิสิกส์ที่มีผลต่อการแสวงหาความรู้ใหม่และการพัฒนาเทคโนโลยี (สรุปเนื้อหาท าลงกระดาษรายงาน หรือ ฉีกปกกลางของสมุดเล่มที่เหลือใช้ ส่งในชั่วโมงแรกที่ท าการเรียนปกติ OnSite) ฟิสิกส์และเทคโนโลยี เทคโนโลยี หมายถึง การน าความรู้พื้นฐานไปใช้เพื่อการพัฒนาวิธีการในการผลิต หรือการใช้สิ่งต่างๆเพื่อประโยชน์สูงสุดต่อมวลมนุษย์
วิชาฟิสิกส์มีจุดหมายในการหาความรู้ของปรากฏการณ์ธรรมชาติโดย ไม่เน้นการน าไปประยุกต์ แต่การที่เทคโนโลยีเจริญขึ้นท าให้การค้นคว้าทางฟิสิกส์เป็นไปได้อย่างรวดเร็ว และสามารถน าความรู้ที่ได้ไปพัฒนาเทคโนโลยีให้เจริญขึ้นไปอีก ดังนั้น วิชาฟิสิกส์และเทคโนโลยีจึงต่างต้องอาศัยซึ่งกันและกัน ขอบข่ายของวชาฟิสิกส์ระดบมัธยมศึกษาตอนปลาย ิัขอบข่ายของวิชาฟิสิกส์ระดับช่วงชั้นที่ 4 (มัธยมศึกษาตอนปลาย) ครอบคลุมเฉพาะความรู้ หลักการ และกฎพื้นฐานของวิชาฟิสิกส์ ดังนี้ หมวดวิชา เนื้อหา กลศาสตร์ แรงและการเคลื่อนที่ งานและพลังกล ก าลังการหมุน การชน การลอย การไหล การสั่น คลื่น แสง เสียง การก าเนิดคลื่น การส่งผ่านตัวกลาง การสะท้อน การหักเห การกระจาย การเลี้ยวเบนการแทรกสอด การดูดกลืนพลังงาน สมบัติของสาร อุณหภูมิ การถ่ายโอน ตัวน าและฉนวน การเปลี่ยนสถานะ ไฟฟ้า-แม่เหล็ก ประจุไฟฟ้า กระแสไฟฟ้า ศักย์ไฟฟ้า ความต่างศักย์ไฟฟ้า สนามไฟฟ้า สนามแม่เหล็ก ตัวน าและฉนวน แรงระหว่างประจุกับสนามไฟฟ้าและสนามแม่เหล็ก ฟิสิกส์อะตอม ฟิสิกส์นิวเคลียร์ โครงสร้างอะตอม สเปกตรัมของอะตอม นิวเคลียส กัมมันตภาพรังสี ปฏิกิริยานิวเคลียร์ - กฎ คือ ข้อเท็จจริงทางวิทยาศาสตร์ ซึ่งพิสูจน์แล้วว่าเป็นจริงเสมอ - ทฤษฎี คือ แบบจ าลองทางความคิดอย่างมีเหตุผล เพื่อใช้อธิบายปรากฏการณ์ต่างๆ ตามเงื่อนไขที่ก าหนด สามารถเปลี่ยนแปลงได้หากพิสูจน์ได้ว่าไม่จริง
- ข้อมูลเชิงคุณภาพ ได้จากการบรรยายสภาพสิ่งต่างๆ ตามการรับรู้ เช่น การระบุลักษณะรูปทรง พื้นผิว สี กลิ่น รส เป็นต้น - ข้อมูลเชิงปริมาณ ได้จากการวัดปริมาณต่างๆของระบบที่ศึกษา โดยใช้เครื่องมือวัด ท าให้ได้ข้อมูลเชิงตัวเลข - ฟิสิกส์ จัดเป็นวิทยาศาสตร์กายภาพ เน้นการศึกษาด้วยข้อมูลเชิงปริมาณ อาศัยวิชาคณิตศาสตร์เป็นพื้นฐาน และไม่เน้นการน าความรู้ที่ได้รับไปประยุกต์ใช้ วิชาวิศวกรรมศาสตร์ คือ ศาสตร์ที่น าเอาหลักการทางฟิสิกส์ไปประยุกต์ใช้ บิดาวิชาฟิสิกส์แผนใหม่ คือ อัลเบิร์ต ไอสไตน์ 1. ขอบเขตของฟิสิกส์ขึ้นอยู่กับอะไร (ขีดจ ำกัดของกำรสังเกตและประสิทธิภำพของเครื่องมือวัด) 2. วิชาฟิสิกส์ต้องอาศัยศาสตร์หรือสาขาใดเป็นพื้นฐาน (วิชำคณิตศำสตร์)3. ข้อแตกต่างของฟิสิกส์เชิงทฤษฎีและฟิสิกส์เชิงทดลอง คืออะไร (ฟิสิกส์เชิงทฤษฎีจะอำศัยจินตนำกำรในกำรสร้ำงแบบจ ำลองเพื่ออธิบำยปรำกฏกำรณ์ต่ำงๆ แต่ฟิสิกส์เชิงทดลองจะอำศัยกำรสังเกตและกำรวัดจำกปรำกฏกำรณ์ที่เกิดขึ้นจริง) 4. การศึกษาลักษณะการเคลื่อนที่ของวัตถุแบบต่างๆ เป็นการศึกษาทางฟิสิกส์ในสาขาใด (กลศำสตร์)5. การศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างสสารและพลังงาน เป็นการศึกษาทางฟิสิกส์ในสาขาใด (คลื่น) 6. การศึกษาโครงสร้างและธรรมชาติของอะตอม เป็นการศึกษาทางฟิสิกส์ในสาขาใด (ฟิสิกส์อะตอม) ครูมอบหมายให้นักเรียนไปศึกษาเนื้อหาเรื่อง ธรรมชาติของการวัด ซึ่งจะเรียนในคาบเรียนต่อไปมาล่วงหน้าแล้วให้นักเรียนท าแบบฝึกเสริมประสบการณ์
เข้าดูการใช้ความรู้ทางฟิสิกส์ อธิบายของเล่นของไทย แบบง่ายๆClickใบงาน 1.ให้นักเรียนสรุปเนื้อหาลงในกระดาษรายงาน หรือฉีกปกกลางของสมุดเล่มเก่า แล้วใช้กล้องโทรศัพท์ของนักเรียนถ่ายอัพโหลดลงใน Google Form 2.ท าแบบทดสอบวัดความรู้ เรื่อง ความรู้ทางฟิสิกส์ประวติความเปนมารวมทั้งพัฒนาการของหลักการและั็แนวคิดทางฟิสิกส์ (ท าการทดสอบไม่จ ากัดจ านวนครั้ง จนกว่าจะพอใจคะแนน)
ห้องส่งงาน 1.ให้นักเรียนสรุปเนื้อหาลงในกระดาษรายงาน หรือฉีกปกกลางของสมุดเล่มเก่า แล้วใช้กล้องโทรศัพท์ของนักเรียนถ่ายอัพโหลดลงใน Google Form ก าหนดส่งวัน วันเสาร์ที่ 5 มิถุนายน 2564 แบบส่งงานของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4/1Click++ ตรวจสอบการส่งงานชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4/1 Clickแบบส่งงานของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4/2Click++ ตรวจสอบการส่งงานชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4/2 Click2.ท าแบบทดสอบวดความรู้ (ท าการทดสอบไม่จ ากัดจ านวนัครั้ง จนกว่าจะพอใจคะแนน) ก าหนดส่งวัน วันเสาร์ที่ 5 มิถุนายน 2564 แบบทดสอบและตรวจสอบคะแนน เข้าท าแบบทดสอบนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4/1Click++ ตรวจสอบคะแนนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4/1 ีClickเข้าท าแบบทดสอบนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4/2Click++ ตรวจสอบคะแนนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4/2 ีClick
เว็บไซต์ที่เกี่ยวข้อง Nampleeksuksa School ClickPhysicsNampleeksuksa ClickVDO Physicslearning Click
Search
Read the Text Version
- 1 - 7
Pages: