Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore โครงงานสารสีจากธรรมชาติ

โครงงานสารสีจากธรรมชาติ

Published by in212.aplin, 2020-11-07 18:21:49

Description: โครงงานสารสีจากธรรมชาติ

Search

Read the Text Version

การศกึ ษาค้นคว้าองคค์ วามรู้ เร่ือง การเปรยี บเทียบประสิทธิภาพของสีน้าท่ีท้าจากวสั ดุ ธรรมชาติ คณะผ้จู ดั ท้า ภาสวีร์ ธรี ศิรปัญญา ช้ัน ม.5/1 เลขท่ี 6 กลุ รัตน์ สทุ ธหลวง ชน้ั ม.5/1 เลขท่ี 10 นลนิ รดา พิเคราะห์ ชน้ั ม.5/1 เลขที่ 15 สิริกร ศศิวจั นไ์ พสิฐ ช้ัน ม.5/1 เลขท่ี 20 อยั ยาดา มโนวงค์ ช้นั ม.5/1 เลขท่ี 24 ครูท่ีปรึกษา ครู ดา้ รงค์ คนั ธะเรศย์ เอกสารฉบบั นี้เป็นส่วนหน่ึงของการศึกษาคน้ ควา้ และสร้างองค์ความรู้ (IS1) โรงเรียนปวั อา้ เภอปัว จังหวัดน่าน ส้านกั งานเขตพื้นท่กี ารศกึ ษามธั ยมศกึ ษา เขต 37 ภาคเรยี นที่ 1 ปีการศึกษา 2563

การศกึ ษาค้นคว้าองค์ความรู้ เรื่อง การเปรยี บเทียบประสทิ ธภิ าพของสีน้าที่ทา้ จากวสั ดุ ธรรมชาติ คณะผู้จดั ท้า ภาสวีร์ ธีรศริ ปัญญา ช้ัน ม.5/1 เลขที่ 6 กลุ รตั น์ สุทธหลวง ชัน้ ม.5/1 เลขท่ี 10 นลินรดา พเิ คราะห์ ช้นั ม.5/1 เลขที่ 15 สริ ิกร ศศิวัจนไ์ พสิฐ ช้ัน ม.5/1 เลขที่ 20 อัยยาดา มโนวงค์ ช้นั ม.5/1 เลขท่ี 24 ครทู ป่ี รกึ ษา ครู ดา้ รง คนั ธะเรศย์ เอกสารฉบับนี้เป็นส่วนหน่ึงของการศึกษาค้นคว้าและสร้างองคค์ วามรู้ (IS1) โรงเรยี นปวั อ้าเภอปัว จังหวดั น่าน สา้ นักงานเขตพ้นื ท่ีการศึกษามธั ยมศึกษา เขต 37 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2563 ช่อื เรอื่ ง : การเปรยี บเทยี บประสิทธิภาพของสีนา้ ที่ทา้ จากวัสดุธรรมชาติ ผู้จดั ทา้ : นาย ภาสวรี ์ ธีรศริ ปญั ญา นางสาว กลุ รตั น์ สทุ ธหลวง นางสาว นลินรดา พเิ คราะห์ นางสาว สริ กิ ร ศศิวัจนไ์ พสฐิ นางสาว อยั ยาดา มโนวงค์ ทป่ี รึกษา : คุณครู ด้ารง คันธะเรศย์ ปีการศกึ ษา : 2563

ก บทคัดย่อ เนอ่ื งจากในปัจจุบันมีการผลิตสีนา้ ออกมาอยา่ งแพรห่ ลายและมีมากมายหลายย่หี ้อ ซ่ึงอาจมี คณุ ภาพและลักษณะของสไี ม่ตรงกับความต้องการของผู้บริโภค คณะผจู้ ดั ทา้ จงึ สนใจทจี่ ะสรา้ งสีนา้ ขึน้ มาเพือ่ สนองความต้องการของผู้บริโภค โดยจะเป็นสนี ้าทีม่ ีคณุ ภาพตรงตามความต้องการของ ผ้บู รโิ ภคใหม้ ากทสี่ ุด และผลิตจากวัสดทุ างธรรมชาติ และน้ามาเปรยี บเทยี บกันว่าสนี ้าทีเ่ ปน็ วสั ดทุ าง ธรรมชาติจากพชื และหิน กบั สใี นท้องตลาด ชนดิ ใดจะมีคุณภาพดีกว่ากนั โดยการส้ารวจความพึง พอใจการผทู้ ีเ่ คยใช้สีน้ายห่ี อ้ ต่าง ๆ การศกึ ษาครั้งนี้มีจุดประสงคเ์ พื่อศึกษาการท้าผงสีจากวัสดุธรรมชาตทิ แ่ี บง่ เป็น 2 ประเภท ได้แก่ สจี ากพชื และสจี ากหินเปรยี บเทยี บคุณภาพของผงสีจากวัสดุธรรมชาตแิ ละน้าวัสดธุ รรมชาติมา ใช้ให้เกิดประโยชน์มากยง่ิ ขน้ึ ผลการทดลองท้าสีน้าจากวสั ดุธรรมชาตทิ ง้ั สองชนิดพบว่า สนี ้าที่ทา้ จากพชื จะมลี ักษณะสเี จือ จางคอ่ นข้างโปร่งใส ละลายน้าได้ดี แหง้ ยาก สว่ นสีนา้ ท่ีท้าจากหินมีลกั ษณะสที เ่ี ข้ม และละลายนา้ ได้ ดี จงึ สามารถสรปุ ไดว้ ่าสีนา้ ท่ีทา้ จากหินจะมีประสิทธภิ าพดีว่าสีน้าทท่ี ้าจากพืช

ข กติ ติกรรมประกาศ รายงานการศึกษาการเปรยี บเทียบประสิทธิภาพของสนี า้ ท่ีท้าจากวสั ดธุ รรมชาตินสี้ า้ เรจ็ ลุลว่ ง ได้ดว้ ยความกรุณาชว่ ยเหลอื แนะน้า ให้ค้าปรึกษา ตรวจสอบแก้ไขข้อบกพร่องต่าง ๆ ด้วยความเอา ใจใสอ่ ย่างดยี ิ่งจาก คุณครดู ้ารง คนั ธะเรศย์ ครผู สู้ อนรายวิชาการศกึ ษาคน้ ควา้ และสร้างองค์ ความรู้ I30201 คณะผูจ้ ัดท้ากราบขอบพระคุณเปน็ อย่างสูง ขอขอบคุณผู้ที่ให้ความร่วมมือช่วยเหลอื อีกหลายท่าน ซ่ึงผเู้ ขยี นไมส่ ามารถกลา่ วนามในที่นี้ ได้หมด จงึ ขอขอบคุณทุกท่านเหลา่ นนั้ ไว้ ณ โอกาสน้ีด้วย คุณค่าทัง้ หลายท่ีไดร้ ับจากรายงานการศึกษาความเรียงข้นั สงู ฉบบั นี้ ผ้เู ขียนขอมอบเปน็ กตัญญูกตเวทแี ดบ่ ิดามารดา และบูรพาจารย์ที่เคยอบรมส่งสอน รวมทัง้ ผมู้ พี ระคุณทกุ ท่าน คณะผูจ้ ัดทา้

สารบญั ค เร่อื ง หนา้ บทคัดย่อ ก กิตติกรรมประกาศ ข สารบัญ ค สารบญั ตาราง ง บทที่ 1 บทน้า 1 1.1 ทม่ี าและความส้าคัญ 3 1.2 วัตถปุ ระสงค์ 1.3 ขอบเขตการศกึ ษา 17 1.4 ประโยชนท์ ่ีคาดว่าไดร้ ับ บทที่ 2 ทฤษฎที ่เี ก่ียวข้อง 20 2.1 สีน้า 22 2.2 กระบวนการสกดั สีจากธรรมชาติ 2.3 สารสีจากธรรมชาติ 23 2.4 สารน้าสี 2.5 คุณภาพและลกั ษณะของสนี ้า บทที่ 3 วิธีด้าเนนิ งาน 3.1 วัสดุ อปุ กรณ์ และ เครือ่ งมอื 3.2 ข้นั ตอนการด้าเนินงานโครงงาน 3.3 อปุ กรณ์และส่วนผสมในการท้าสนี า้ 3.4 ขน้ั ตอนการทา้ สนี ้า บทที่ 4 ผลการศึกษาค้นคว้า บทที่ 5 สรปุ ผล อภปิ รายผลและข้อเสนอแนะ 5.1 สรุปผลการศกึ ษา 5.2 ขอ้ เสนอแนะ เอกสารอา้ งองิ

สารบัญตาราง ง ตารางท่ี หนา้ ตารางที่ 1 ตารางแสดงผลการศกึ ษาการทา้ สนี ้าจากวสั ดธุ รรมชาติ 21

1 บทท่ี 1 บทนา ทมี่ าและความสาคัญ เน่อื งจากในปจั จุบันมีการผลติ สีนา้ ออกมาอยา่ งแพรห่ ลายและมีมากมายหลายย่ีห้อ ซง่ึ อาจมี คณุ ภาพและลกั ษณะของสไี ม่ตรงกบั ความต้องการของผู้บริโภค เช่น แปงู มากเกินไปท้าให้สไี มไ่ หลไป กบั น้าเม่ือใช้ มีสีที่อ่อนเกนิ ไป หรือเขม้ เกนิ ไป คณะผู้จดั ทา้ จึงสนใจท่จี ะสร้างสีน้าขนึ้ มาเพ่ือสนองความตอ้ งการของผู้บริโภค โดยจะเป็นสีน้าท่ีมี คณุ ภาพตรงตามความตอ้ งการของผบู้ ริโภคใหม้ ากท่สี ดุ และผลิตจากวสั ดุทางธรรมชาติ เช่น หนิ พืช ชนดิ ตา่ ง ๆ และน้ามาเปรียบเทียบกนั วา่ สนี ้าทเ่ี ป็นวสั ดุทางธรรมชาติจากพชื และหนิ กับสีใน ทอ้ งตลาด ชนดิ ใดจะมีคุณภาพดกี ว่ากนั โดยการส้ารวจความพึงพอใจการผ้ทู ี่เคยใชส้ ีน้ายี่ห้อตา่ ง ๆ วตั ถุประสงค์ 1. เพอ่ื ศึกษาการท้าผงสจี ากวัสดุธรรมชาตทิ ีแ่ บง่ เป็น 2 ประเภท ไดแ้ ก่ สีจากพืช และสจี ากหนิ 2. เพอื่ เปรียบเทียบคุณภาพของผงสจี ากวสั ดุธรรมชาติ 3. เพือ่ นา้ วสั ดุธรรมชาตมิ าใชใ้ หเ้ กดิ ประโยชน์มากย่ิงข้นึ ขอบเขตการศึกษา 1. สถานท่ี โรงเรียนปัว อา้ เภอปัว จังหวัด นา่ น 2. ระยะเวลา ดา้ เนนิ การตงั้ เเต่วันท่ี 17 สงิ หาคม 2563 ถงึ วันที่ 6 พฤศจกิ ายน 2563 3. ตัวแปร 3.1 ตวั แปรตน้ คือ ชนิดของวสั ดุธรรมชาติที่นา้ มาท้าสีน้ามี 2 ชนดิ คือ หนิ และพืช ไดแ้ ก่ ขมน้ิ อญั ชัน 3.2 ตัวแปรตาม คือ ประสทิ ธิภาพการใชง้ านของสีนา้ 3.3 ตวั แปรควบคุม คือ ปริมาณวสั ดุธรรมชาตแิ ละกัมอารบิกทใ่ี ช้

2 ประโยชน์ท่ีคาดว่าไดร้ ับ 1. ได้ทา้ สีน้าท่ีมคี ุณภาพและสตี รงกับความต้องการของผู้บรโิ ภค 2. ไดใ้ ช้เวลาวา่ งใหเ้ กิดประโยชน์ 3. ไดฝ้ ึกทักษะการทา้ งานเป็นกลุ่ม

3 บทที่ 2 ทฤษฎที ี่เกีย่ วข้อง ในการศึกษาเร่ือง การเปรียบเทียบประสิทธิภาพของสนี ้าท่ีทา้ จากวสั ดุธรรมชาติ ผูจ้ ัดท้าได้ รวบรวมแนวคดิ ทฤษฎแี ละหลักการตา่ งๆจากเอกสารที่เกยี่ วขอ้ งดังตอ่ ไปน้ี 2.1 สนี า ศลิ ปะสีน้าตะวนั ออก เปน็ ทีย่ อมรบั กันวา่ ชนชาติจนี รจู้ ักใช้ส่อื สีน้าก่อนชาติใดในโลก ท้ังนเ้ี พราะวา่ สะดวกในการน้าไปใชเ้ ขยี นตวั หนังสือตามลีลาพู่กัน (Calligraphy) หลกั ฐาน พบไดต้ ั้งแต่สมัยราชวงศ์ถังและพัฒนาสงู สดุ ในสมยั ราชวงค์ซุง (Tang Dynasty A.D. 618 – 907 , Sung Dynasty A.D. 960 – 1127) และเน่ืองจากชนชาตจิ ีนเชอ่ื กนั วา่ ธรรมชาติเป็น มารดาของสรรพส่งิ ท้ังหลายในโลก ดังน้ันการชื่นชมและสมั ผสั ธรรมชาติ จึงกลายเป็นส่วน หน่งึ ของชวี ิตทีเ่ สริมสรา้ งการรับรูแ้ ละตอบสนองในเชิงรปู แบบศลิ ปะท่ีอาศัยธรรมชาติเปน็ พนื้ ฐาน ศิลปนิ จนี จึงนยิ มใชส้ ื่อสีน้าเขยี นบรรยายธรรมชาติ ภเู ขา ตน้ ไม้ เมฆ ดอกไม้ สตั ว์ ฯลฯ เพื่อสนองความเช่ือดังกล่าว เปน็ ความจริงทีว่ า่ ไม่มชี นชาตใิ ดจะอยู่ในโลกโดยลา้ พงั ได้ จ้าต้องตดิ ต่อแลกเปล่ียนส่อื สารระหวา่ งกัน ตรงกบั ความจริงท่ีวา่ มนษุ ย์เป็นสัตว์สังคม ประกอบดว้ ยความสมั พันธ์ระหวา่ งชนชาติทีอ่ ยใู่ กล้กันทา้ ให้ญีป่ ุนรบั ศาสนา และวัฒนธรรม บางสว่ นไปจากจีน รวมท้งั การใช้สื่อสีนา้ ด้วยท้ังทางตรงและทางอ้อม เมื่อสื่อสนี ้าตกถึงมือ ศิลปินญีป่ ุน สีน้าจงึ กลายเป็นสที ่ีนิยมอย่างรวดเร็ว เพราะนอกจากชนชาติญ่ปี ุนจะใช้สีน้า ถ่ายทอดรูปแบบจากธรรมชาตโิ ดยตรงแล้ว ยังสามารถนา้ ไปใช้ในการออกแบบภาพพิมพ์สีได้ อยา่ งดีอกี ดว้ ย ศิลปะสนี า้ ตะวันออก สา้ หรับในวงการศิลปะตะวนั ตก สื่อสีน้ามีบทบาทและเป็นที่ รูจ้ ักกันนบั ต้งั แต่สมยั ฟ้ืนฟูเป็นต้นมา โดยมศี ิลปินชาวเยอรมนั ไดส้ นใจแสดงออกดว้ ยสื่อสีน้า ทั้งท่ใี ช้สนี า้ โดยตรงและใชส้ นี า้ เสรมิ ระหวา่ งการวาดเสน้ สีด้ากบั การระบายสี ต่อมาจงึ ไดร้ ับ การยกย่องว่าเปน็ บิดาแห่งสีน้าคนแรกคอื ออลเบรท ดเู รอ (Albrecht Durer 1471 – 1528) ผูส้ ร้างสรรคผ์ ลงานดว้ ยสีน้าไว้มาก อัลเบรชท์ ดเู รอร์ เป็นศิลปินคนแรกทีใ่ ช้สีนา้ เปน็ สอ่ื ในการแสดงออกเพ่ือเขียนภาพสตั ว์ และ ภาพภูมทิ ศั น์ ในช่วงต้นครสิ ตศ์ ตวรรษที่ 16 ได้ พัฒนาสีนา้ ให้มลี กั ษณะโปรง่ ใส และมีลกั ษณะไหลรุกรานเข้าหากนั โดยซึมเขา้ หากัน ต่อมา ราวคริสตศ์ ตวรรษท่ี 18 พอล แซนดบ์ ี ศลิ ปินชาวองั กฤษ (Paul Sandby 1725 – 1809) ได้ ใหค้ วามสนใจสีน้าเปน็ พิเศษ ได้น้าสนี ้าเป็นสอื่ ในการสร้างสรรค์บรรยากาศได้อย่างดเี ยีย่ มจน ไดร้ บั ฉายาว่าเปน็ บิดาของสนี ้าแหง่ อังกฤษ ท้าใหช้ ่วงหลงั น้ี เมอื่ กล่าวถึงสื่อสีน้า มักจะนึกถึง ศลิ ปนิ อังกฤษก่อนเสมอ ท้ังยังได้รวบรวมหลกั ฐานไวเ้ ป็นระบบตามลา้ ดับ ตลอดจนอังกฤษได้ ผลิตวสั ดุสนี า้ และอุปกรณ์ในการเขียนจ้าหนา่ ยเปน็ ท่ีรู้จกั ทั่วไปในโลก ท้าไมอังกฤษจึงเป็นที่ รจู้ กั กนั ดีว่า ใช้สอ่ื สนี า้ เปน็ สือ่ ในการถา่ ยทอดทีไ่ ดผ้ ลมากที่สุด สาเหตุประการหนึ่งกค็ ือ ใน

4 สมัยพระเจา้ ยาร์จท่ี 2 แห่งราชวงศ์ฮันโนเวอร์เรียน (Hanoverian Dynasty) พระองคม์ ีพระ ราชประสงค์ท่จี ะพฒั นาอังกฤษจากประเทศกสกิ รรม เป็นประเทศอตุ สาหกรรมคลา้ ยกับ แผ่นดินใหญ่ ยุโรปจงึ ไดส้ ่งบุคคลหลายประเภทไปทศั นศึกษาในแผน่ ดินใหญ่ ตามทัศนะว่า ทรัพยากรมนุษย์มคี ่ามากท่ีสดุ เม่ือนกั ทศั นาจรองั กฤษไดร้ บั ประสบการณ์จากการท่องเที่ยวในยโุ รปตามประเทศ ตา่ งๆ เชน่ ฝรงั่ เศส สวิสเซอร์แลนด์ และอติ าลี ต่างคนกต็ า่ งแสวงความรู้ ความเข้าใจ ตาม ความชอบของแต่ละคน แตค่ วามชอบหลักทท่ี ุกคนมคี ล้ายๆกนั คือศลิ ปะ นักทัศนาจร เหลา่ น้ัน ประทับใจในความยิ่งใหญ่ และวัฒนธรรมของโรม ความสวยงามและความประณีต ของสถาปตั ยกรรมในยุคแรก ๆ ดงั นัน้ จึงหาทางบันทึกรูปแบบที่ตนได้เหน็ มานน้ั เพื่อนา้ มา พฒั นาประเทศของตนและจากความต้องการน้เี อง ทา้ ให้ศลิ ปินอิตาเลียน คดิ ท้าภาพพิมพ์ สถาปัตยกรรมที่ส้าคัญ ๆ เพ่อื ขายเป็นของท่รี ะลกึ แกน่ ักทศั นาจรชาวองั กฤษ สมกบั ความจรงิ ที่วา่ เม่อื มคี วามตอ้ งการมาก ก็ต้องสร้างสรรคส์ ิ่งท่ตี อบสนองความ ต้องการนน้ั ในช่วงนี้เองถึงกบั เจตคตทิ างศลิ ปะในบรรดาชาวอังกฤษวา่ ถ้าใครมีรปู แบบ ศิลปกรรมอติ าเลยี นไว้ในครอบครองถอื วา่ เปน็ ผมู้ ีฐานะดีและมรี สนยิ มดี ชาวอังกฤษบางคนท่ีมองเหน็ ความตอ้ งการน้ี ประกอบกบั ความสามารถในการ ถา่ ยทอดรปู แบบศิลปะท่ีมองเห็นอย่บู า้ ง จงึ ไดค้ ดิ หาวิธกี ารสร้างสรรคง์ านตามรูปแบบ ศลิ ปกรรมของตา่ งประเทศ ระยะแรกบางคนก็อาจไปเขยี นจากสถานท่จี ริง บางคนกห็ าทาง จดั พิมพ์ข้นึ ในอังกฤษเอง แลว้ นา้ มาซ้อื ขายแลกเปลีย่ นกัน ในทส่ี ดุ ก็มศี ลิ ปนิ หนุ่มผหู้ นึ่ง ชื่อวิ ลเลยี ม เทอร์เนอร์ (Joseph Mallord William Turner) ได้ร่างภาพจากทัศนียภาพของ อติ าลีและฝรัง่ เศสดว้ ยสนี า้ นอกจากนย้ี ังระบายสนี ้าเพ่ือถา่ ยทอดธรรมชาติขององั กฤษเองอีก ดว้ ย ในท่ีสดุ ก็ได้รับความสา้ เร็จเปน็ ศลิ ปินสีน้ายอดเยย่ี ม จากสมาคมราชบณั ฑติ ทางศิลปะ ขององั กฤษ เม่ืออายุได้เพยี ง 24 ปเี ท่านัน้ เทอร์เนอร์ เปน็ ศลิ ปิน คนแรกในการระบายสีน้า ตามแนวทางศลิ ปะสมยั ใหม่ ปคี ริสต์ศกั ราช 1832 นักเคมีและจิตรกร วิลเลียม วินเซอร์ และ เฮนรี นิวตนั ได้เริม่ ต้นธรุ กิจ สิ่งท่ีทง้ั สองประดิษฐค์ ดิ ค้นขนึ้ ใหม่ คือ สีน้า ซ่งึ เปน็ ทร่ี จู้ ักกันในปัจจุบัน คอื สนี า้ บรรจกุ ล่อง แล้วจงึ ตามมาด้วย สีน้าชนดิ บรรจหุ ลอดโลหะในปี ค.ศ.1841 และมีจติ รกรทม่ี ชี ่ือเสียงได้แก่ เทอรเ์ นอร์ คอนสเตเบิล (Turner Constarble) ซึ่งเปน็ ศิลปนิ ในลทั ธโิ รแนมตกิ ของประเทศอังกฤษ และ แกนสเบอ รอค Grangbaughroufi) จติ รกรสนี ้าท่มี ชี ือ่ เสยี งในประเทศฝร่งั เศสได้แก่ ฮูเบริ ต์ โรเบริ ์ต (Hubert Roebrt) แซลเล (Chale) จติ รกรสีน้าที่มชี ือ่ เสียงในสหรัฐอเมริกาได้แก่ วนิ สโลว โฮมเมอร์ (Winslow Homer) จอหน์ ซิงเกอร์ ซาเจนท์ (John Singer Sargent) และ แอนด ริว ไวเอท (Andraw Wyeth) จะเห็นได้วา่ สื่อวสั ดสุ า้ หรับไว้ถ่ายทอดประเภทใดกต็ าม หากไดล้ งมือฝึกฝนปฏิบตั ิ กนั อย่างจรงิ จังแลว้ ย่อมประสบความส้าเรจ็ เสมอ อยา่ งเช่น ความเปน็ มาท่ีเกดิ ขน้ึ ในอังกฤษ ดงั กล่าวมาแล้ว เม่อื สภาพสงั คมเปล่ยี นจากกสิกรรมเป็นอุตสาหกรรม ผลผลติ ตา่ งๆ ก็ เกิดข้ึนเป็นจา้ นวนมาก ทัง้ นเี้ พื่อสนองความต้องการของคนเป็นจ้านวนมาก การผลติ วสั ดุ อุปกรณส์ ้าหรับสนี า้ ก็พฒั นาเพมิ่ มากขน้ึ และเพื่อให้เกิดความมน่ั ใจกับผซู้ ้ือ บริษัทผู้ผลิตสี จงึ

5 ไดเ้ อาช่ือศิลปินสนี า้ ดงั ๆ มาเป็นชอื่ สี ดังเชน่ วนิ เซอร์ และนวิ ตนั เปน็ ต้น (Winsor and Newton Artists Materials) สาเหตุท่ีท้าให้สีน้าเปน็ ท่นี ยิ มมากในอังกฤษอกี ประการหนงึ่ ก็คือ คนอังกฤษสนใจ ธรรมชาติและบรรยากาศ ซึ่งความสนใจน้ี สนี ้าตอบสนองเป็นรปู แบบได้อย่างดี ดงั นัน้ สีนา้ จึงเปรยี บเสมอื นเป็นสญั ลักษณอ์ ย่างหน่งึ ของอังกฤษ ศลิ ปะสีนา้ ประเทศไทย สา้ หรบั ประเทศไทยเรานน้ั เข้าใจว่าเริ่มรจู้ ักส่อื สนี ้า เมื่อมี การจัดการเรยี นการสอนเปน็ ระบบขึน้ ราวปี พ.ศ. 2456 เมื่อตง้ั โรงเรยี นเพาะชา่ งขึน้ ระยะแรกตัง้ น้นั เปาู หมายสา้ คญั กเ็ พ่อื ใช้สนี า้ เสรมิ แตง่ การออกแบบสถาปัตยกรรม ให้มี ลกั ษณะบรรยากาศคลา้ ยของจรงิ มากยง่ิ ข้นึ กล่าวอีกอย่างหนึ่งกค็ ือ การใช้สีน้า เพ่ือการลงสี มิใชร่ ะบายสี (Coloring not painting) แต่ขณะเดยี วกนั ก็มีศิลปนิ บางท่านพยายามใช้สนี ้า ในแงข่ องการระบายสี มใิ ช่ลงสี และไดร้ บั ความนิยมเปน็ อย่างมาก อย่างไรก็ดีถา้ พจิ ารณาใน แงข่ องการเรยี นการสอน เกี่ยวกบั สนี ้ายังไม่มีระบบและวิธสี อนท่ีแนน่ อนตามแนวสากล ครู ศิลปะเป็นเพียงผูส้ ัง่ งาน ผู้จดั หุ่น แลว้ ใหน้ ักเรียนแสวงหาดว้ ยตนเอง จงึ ส่งผลให้การเรยี น การฝึกปฏิบัตสิ ื่อวสั ดุสนี ้าไมเ่ ป็นท่ีนิยมเท่าใดนกั เป็นเพียงความชืน่ ชมทรี่ ้จู กั กนั ในหมูศ่ ลิ ปินท่ี สนใจสนี ้าเพยี งสองสามคนเท่าน้นั และประกอบกับเจตคติท่ีปดิ บงั วธิ กี ารในวชิ าชพี ยังคงมีอยู่ เท่าทสี่ บื ทอดมาจากระบบการเรียนการสอนตามแบบอย่างของอดีต ( Mystery of the Craft ) ส้าหรบั ในปัจจุบนั ในบ้านเรา สอ่ื สนี า้ ได้รับการพฒั นาอกี หลังจากที่มสี ถาบนั ศิลปะ ระดบั ปรญิ ญาตรี เพิม่ มากข้ึนดงั เชน่ ตามวทิ ยาลยั ครู และตามมหาวทิ ยาลัยท่ีเปิดสอน วิชาเอกศิลปะ เป็นตน้ นอกจากน้ี การจดั แสดงภาพท่จี ดั ขึ้นโดยทางราชการ ทางธนาคาร และกล่มุ ศลิ ปิน ก็ใหค้ วามส้าคัญกับส่ือประเภทสนี ้ามาก สรปุ ไดว้ า่ จิตรกรรมสีน้าเริม่ มีบทบาทในการวงการศิลปะมากยิง่ ขึน้ เพราะถือว่าเป็น พฤติกรรมตอบสนองการรบั รู้ที่สรา้ งส่ือระหวา่ งมนษุ ย์ทางด้าน บรรยากาศ และความ ประทบั ใจแนวหนึ่ง สื่อประเภทน้ี ชนชาติตะวนั ออกได้รจู้ ักนา้ มาใช้ก่อนทางตะวนั ตก แต่นา่ เสียดายท่ีระบบการเรยี นการสอนทางตะวันออกยังไม่พัฒนาเท่าทค่ี วร ประกอบกับเจตคติ ปิดบงั เทคนิคและวิธีการในอาชีพยงั คงมีคา้ งอยู่ จึงท้าใหส้ นี ้า เปน็ ท่สี นใจเฉพาะในวงการแคบ ๆ อย่างไรก็ดีเป็นทีค่ าดหวังวา่ อีกไมน่ านส่ือสีนา้ คงไดร้ ับการสนบั สนุนจากสงั คมสว่ นใหญ่ เปน็ อย่างดี

6 2.2 กระบวนการสกัดสีจากธรรมชาติ สามารถเเบง่ ออกได้ 2 ประเภท คือ การสกดั สีธรรมชาตจิ ากพชื และ การสกัดสี ธรรมชาตจิ ากหนิ การศึกษากระบวนการสกดั สีธรรมชาตจิ ากพืช มีการสกัดสี 2 วิธี คือ การสกัดสี แบบรอ้ นโดยวิธกี ารต้มและการสกัดสีแบบเยน็ โดยวธิ กี ารหมัก การเลือกใช้วิธกี าร สกัดสแี บบ รอ้ นหรือแบบเย็นนน้ั คา้ นงึ ถึงคณุ ลักษณะของพชื ส่วนต่างๆท่ีให้สีของพชื เป็นตน้ จาก การศึกษาการสกัดสีธรรมชาติจากงานวิจยั ตา่ งๆ พบวา่ ส่วนใหญ่นิยมสกัดสแี บบร้อน โดย วธิ ีการต้ม เพือ่ สกดั สารใหส้ ีในพืชออกมา ปริมาณความเข้มข้นของสี ข้ึนอยู่กบั อัตราส่วนของ การสกดั สี เวลาใน การหมัก หรือยอ้ มของวัสดุน้นั ๆ การสกัดสวี ิธีการต้มย้อม และการหมัก เพือ่ ย้อม เป็นภูมปิ ญั ญาท่ีสืบ ทอดจากบรรพบุรุษทศี่ ึกษา และสังเกตจากธรรมชาตจิ นเกิด จากเรียนรู้ และนา้ ประโยชน์จากสมี าใช้ ได้กล่าวถงึ การสกัดสดี ้วยการหมัก หรอื ย้อมเย็นเปน็ วธิ ีท่เี รยี บ งา่ ยและประหยดั มากทีส่ ดุ นอกจากนี้ยังพบวธิ ีการแบบผสมผสานการสกัดสีโดย การตม้ ย้อมหมัก เป็น กระบวนการยอ้ มท่ีมีหลาย มีขอ้ ดีคือสามารถสกัดสจี ากพืชไดห้ ลาย ชนดิ ดงั น้นั ในการเลือกวธิ ีการ ย้อมสธี รรมชาติ ควรคา้ นึงถึงการเลือกวธิ ีการย้อมให้เหมาะสม กบั ลักษณะของวัตถทุ ย่ี ้อม ชนดิ ของพชื ท่ใี หส้ ที ่ีมีในท้องถ่ินน้นั ๆ เพ่อื ให้เหมาะสมกบั ลักษณะ งาน ระยะเวลา และความถนัดของผู้ย้อม (วเิ ชษฐ์ จนั ทร์หอมและคณะ 2554) การสกัดสีธรรมชาตจิ ากหนิ “เกง่ ” นพพล นุชติ ประสิทธิชยั เป็นหนง่ึ ในไม่กค่ี นของช่างศิลปะไทยทผี่ ลิตสฝี ุน ธรรมชาตจิ าก Pigment ของหิน ดนิ พืช และสัตว์ เพือ่ ให้ได้เฉดสแี บบไทยโทนอย่างงาน จิตรกรรมไทยโบราณ สีฝนุ ไทยโทน ของเขาภายใต้แบรนด์ กระยารงค์ ผลติ ด้วยกระบวนการ ท้ามอื ทกุ ข้นั ตอนและไดร้ ับการยอมรับจากคนในแวดวงศลิ ปะไทยและกล่มุ นักอนุรกั ษ์อย่าง กวา้ งขวาง ส้านักชา่ งสบิ หมู่ของกรมศลิ ปากรยังเคยสงั่ สีชาดของเกง่ ไปใช้ในการบูรณะพระ ราชยานคานหามเม่ือครัง้ เตรียมการในพระราชพิธถี วายพระเพลิงพระบรมศพของในหลวง รัชกาลที่ 9 เม่ือ พ.ศ. 2560 เก่ง เปิดบา้ นสวนของเขาย่านถนนพุทธมณฑลสาย 2 ที่ใช้พ้ืนท่ีสว่ นหนง่ึ เป็นสตดู ิโอ ชือ่ Nop-Art-Studio ให้ Sarakadee Lite ได้เห็นข้ันตอนครา่ วๆ วา่ กว่าจะได้แตล่ ะสนี ้ันต้อง ใชท้ ้งั แรงกายและแรงใจมากแค่ไหน บางสีใชเ้ วลานานหลายเดอื นหรือร่วมปี การสกัดเอาแร่ ธาตุในหนิ ต้องผา่ นกระบวนการต้ามือด้วยครกศิลาและบดด้วยถว้ ยบดเซรามิกใหเ้ น้ือเนียน ละเอยี ด ถ่ายนา้ เปน็ รอ้ ยๆ รอบเพ่ือกรองเอาคราบฝุนและเศษผงอื่นๆ ออกให้หมด จากนน้ั เกรอะใหเ้ หลอื เพยี ง Pigment แทข้ องสีเท่าน้นั ก่อนจะนา้ ไปตากแดดใหแ้ ห้ง บางสีต้องผ่าน การถา่ ยน้าถ่ายพิษซงึ่ ต้องใช้ทั้งประสบการณแ์ ละความรทู้ ้ังศาสตรแ์ ละศิลป์ เรยี กว่าเปน็ “งานหิน” ของแท้

8 หากได้เห็นกระบวนการทา้ งานว่ากว่าจะได้แตล่ ะสีไมใ่ ช่เรื่องงา่ ย และตัวหินบางชนิด เองทีเ่ ปน็ ก่ึงอัญมณีก็มรี าคาแพงอยู่แล้ว จะไม่แปลกใจวา่ ท้าไมสฝี ุนบางเฉด เชน่ สคี รามที่เขา สกัดจากแร่อะซูไรต์ (Azurite) หรือแรล่ าพิสลาซลู ี (Lapis Lazuli) จึงราคาสงู ถงึ 15,000- 18,000 บาทตอ่ กิโลกรัม สว่ นสเี ขยี วตังแชจากแร่มาลาไคต์ (Malachite) หรอื จากสนมิ ทองแดงราคากิโลกรัมละ 7,000-8,000 บาท แบรนด์ กระยารงค์ มี สีฝุน ครบตามสหี ลกั เบญจรงค์คือขาว เหลือง ดา้ แดง เขียว (คราม) ซึ่งสามารถน้าไปผสมแตกย่อยได้อกี เป็นร้อยๆ เฉด Sarakadee Lite ตวั อย่างวัสดุ ธรรมชาติของบางสี เช่น สีครามจากแร่อะซไู รต์ เกง่ หยิบหินมาก้อนหนึง่ ทมี่ ีทัง้ แร่อะซูไรต์สี นา้ เงิน แร่มาลาไคตส์ ีเขียวและดนิ สเี หลืองปะปนกนั ไปหมด เพือ่ ให้ได้สคี รามจากแร่อะซไู รต์ เขาต้องค่อยๆ สกัดเอาแต่แรส่ ีนา้ เงินออกโดยการต้าด้วยมอื ด้วยครกศลิ า และน้าแร่ธาตทุ ี่ สกัดได้มาบดใหเ้ น้ือเนยี นละเอยี ดด้วยถ้วยเซรามิกสีขาว จากนัน้ น้าไปถ่ายนา้ เป็นร้อยๆ รอบ เพ่อื กรองเอาคราบฝุนและเศษผงอื่นๆ ออกให้หมด เกรอะให้เหลือเพียง Pigment แทข้ องสี เท่านน้ั ก่อนจะนา้ ไปตากแดดใหแ้ หง้ ขัน้ ตอนทง้ั หมดใช้เวลารว่ มเดือนกว่าจะได้สีครามจาก แร่อะซูไรต์ สีชาดจากแรซ่ ินนาบาร์ หนงึ่ ในสีท่ีขายดีของแบรนด์กระยารงค์คือ สชี าดท่ีสกัด จากแรซ่ ินนาบาร์ (Cinnabar) ราคากิโลกรมั ละ 8,000 บาท แม้กระบวนการทา้ ไม่ยุ่งยาก ซับซอ้ นเท่าสอี ื่นเพราะไม่ใช่แร่ท่มี ีความแข็งมาก แตต่ วั แร่เองมีราคาแพงและทส่ี ้าคัญคือตอ้ ง ใช้เวลาบดนานกวา่ จะได้เฉดสีตามต้องการ สเี ขียวตงั แชจากสนมิ เขยี วของทองแดง แมส้ ีเขียว ตังแชทไ่ี ดจ้ ากสนิมเขียวของทองแดงเป็นสีทท่ี ้าง่ายท่ีสดุ แต่ตอ้ งอดทนในการรอนานเปน็ ปี เก่งน้าเสน้ ทองแดงทซ่ี ื้อมาจากรา้ นรบั ซือ้ ของเก่ามาใส่ในโหลแก้วและใสก่ รดเกลอื เพ่ือให้กัด ทองแดงจนเปน็ ผง จากนัน้ จึงค่อยผา่ นกระบวนการลา้ งน้า กรองน้าหลายร้อยรอบจนใส สะอาดและหมดความเค็ม สเี ขียวตงั แชจากแร่มาลาไคต์ หากไม่อยากรอนานเปน็ ปีเพื่อใหไ้ ด้สี ฝุนเฉดสีเขยี วตังแชจากสนมิ ของทองแดง แร่มาลาไคตส์ ามารถสกัดเอา Pigment ให้สีเขียว ตังแชได้ เก่งต้องสัง่ หนิ ทม่ี ีแร่มาลาไคตจ์ ากประเทศจีนซง่ึ น้าเขา้ มาจากประเทศบราซิลอีก ทอดหนง่ึ และราคาสงู ถึง 3,000-4,000 บาทต่อกิโลกรมั สีเขียวใบแคจากใบแค ในขณะที่ หลายคนกล่าวว่าเฉดสีเขียวแบบใบแคน้ัน ไมไ่ ด้สกัดจากใบแคจรงิ ๆ แต่เป็นแคค่ ้า เปรียบเทียบเฉดสเี ทา่ น้ัน เพราะเมื่อนา้ ใบแคมาบดจะได้สีเข้มเกือบดา้ เก่งกย็ ังเชือ่ ว่าเม่ือมชี ือ่ เรยี กกต็ ้องสกดั สีน้นั ได้จริงจึงทดลองท้าเรอ่ื ยมาจนได้สตู ร สขี าวจากเปลือกหอย ดนิ ขาวและ ปูนขาว ดา้ นนอกสตูดิโอมเี ปลือกหอยหลายตนั ตากแห้ง เพ่ือให้คลายความเค็มก่อนจะน้าไป ลา้ งและเกรอะน้าจนจืด จากนัน้ น้าไปเผาและบดใหล้ ะเอยี ดจะได้สีฝุนสีขาวทต่ี ิดคงทน สว่ นสี ขาวกระบังได้จากดินขาวที่เผาใหส้ กุ แล้วบดละเอียด จากน้ันกรองและเอากากออกสีขาวปนู ได้จากปูนขาวท่ีต้องลา้ งให้คลายความเค็มแล้วเกรอะเอาแต่เนือ้ ปนู มาบดให้ละเอยี ด และ กรองให้สะอาด

นอกจากสีชาดแลว้ เฉดสีขาวเป็นอีกเฉดสที ขี่ ายดีท่สี ุด สเี หลืองจากยางต้นรงทอง 9 และดิน สเี หลืองสดไดจ้ ากยางของต้นรงทองและสีเหลืองดินจากดนิ ในธรรมชาติ สีดา้ จาก หมกึ และเขม่าด้าได้จากท้งั เขมา่ กน้ กระทะทน่ี า้ มาบดให้ละเอยี ด และจากหมึกด้าธรรมชาติ ของจีน เก่งยังคงหลงใหลในเสนห่ ์ของสฝี นุ ที่ไดจ้ ากธรรมชาตทิ ่เี ขาท้ามากวา่ 10 ปี ตงั้ แตย่ งั เป็นนักศกึ ษาศลิ ปะทวี่ ทิ ยาลยั เพาะชา่ ง ดว้ ยเหตวุ า่ “อยากรู้ อยากใชแ้ ละอยากทา้ ให้เป็นของ แท้ โดยไม่ใช้สารเคมี” “แต่ละสมี ีลกั ษณะเฉพาะตัวและมปี ระกายระยิบระยับในตัวเนือ้ สี คา่ สีมคี วามเสถยี รคือเวลาผ่านไปเฉดสีไมเ่ ปลีย่ นและยงั มีความคงทนอยไู่ ดเ้ ปน็ พนั ปีถ้าเก็บรกั ษา ดี ๆ นอกจากนเ้ี ฉดสียังออกนวลไมจ่ ัดจา้ นเหมือนสเี คมี และเมื่อหลายสีอยู่รวมกันในหนึง่ ภาพแตล่ ะสีไมด่ รอปและอยรู่ ่วมกนั ไดด้ ี” เก่งอดีตอาจารย์สอนจติ รกรรมไทยทีว่ ิทยาลยั ในวัง ชาย กลา่ วถงึ ความพิเศษของสฝี ุนจากวัสดุธรรมชาติ 2.3 สารสีจากธรรมชาติ ในปัจจบุ นั นยิ มใชส้ ีสังเคราะหใ์ นการสร้างสรรค์ผลงาน เนือ่ งจากสสี ังเคราะห์ สามารถซื้อได้ง่าย ตามท้องตลาด มรี าคาถูก แต่สิ่งท่ีแฝงมากบั สสี ังเคราะห์ ลว้ นเปน็ สารเคมี ต่างๆที่อาจสะสมให้เกิดอันตรายใน การใช้งาน ซึ่งอาจส่งผลเสียตอ่ สขุ ภาพผ้สู ร้างสรรค์ได้ใน ระยะยาว มนุษยใ์ ชส้ ีสงั เคราะห์เปน็ สว่ นประกอบ ตา่ งๆในชีวิตประจา้ วนั เช่น ผสมในอาหาร ใชย้ อ้ มเครื่องนงุ่ ห่ม หรือน้ามาประกอบในยารักษาโรค เพ่ือท้าให้ เกดิ ความนา่ สนใจและสีสัน ที่สวยงาม แตส่ ่งิ ทแ่ี ฝงมาในความงามนัน้ ย่อมมีความเป็นพิษและอันตราย พเยาว์ เหมอื นวงษ์ ญาติ (2525 หนา้ 11-12) กล่าวว่าในสหรฐั อเมริกามีหลายสถาบนั ท่ีทา้ การทดลองทางเภสชั วทิ ยาและพิษวทิ ยาของสี โดยศกึ ษาว่าสที ่ีให้สัตวท์ ดลองกนิ เข้าไปมีผลต่อการขยายพนั ธุ์และ ลกู ออ่ นที่เกิด มาผิดปกติ หรือไมแ่ ละจากการทดลองนั้นผลของการทดลองพบว่าลูกอ่อนท่ี เกิดมาผิดปกติแม้ว่าจ้านวนของ ลูกท่ีออกมาแต่ละคอกก็มีจา้ นวนเท่าเดิม ในขณะเดียวกันผล การทดลองในรสั เซยี พบวา่ จา้ นวนลูกทีอ่ อกมา แตล่ ะคอกลดน้อยลง ดงั นัน้ การประยุกตใ์ ช้สารสีจากธรรมชาตจิ ึงเปน็ ทางเลือกหน่งึ ในการแกป้ ัญหาจาก การใช้สสี งั เคราะห์ โดยสารสีจากธรรมชาตสิ ามารถท้ามาจากทรัพยากรธรรมชาตหลากหลาย ชนิด ได้แก่ วัสดธุ รรมชาติ ที่ให้โทนสเี หลือง-แสด ยกตวั อย่างเชน่ ส่วนรากของยอปาุ ซึง่ ให้สี แดง-สม้ แตถ่ า้ ใช้ส่วนของเน้ือรากจะใหส้ เี หลอื ง หรือแก่นไม้แกแลทใ่ี ห้สีเหลืองทอง เหลอื ง เขม้ เหลอื งเขยี ว เปลอื กเพกากส็ ามารถให้ได้ท้ังโทนสีเขียว-เหลอื ง และฝกั ของต้นราชพฤกษ์ หรอื คณู ซ่งึ พบได้ทั่วไปตามท้องถนน กส็ ามารถให้สีส้มอ่อนอมเทาไดเ้ ช่นกัน นอกจากที่กล่าว ไปขา้ งต้น ยงั มีวสั ดุหรือพืชธรรมชาตทิ คี่ นไทยนา้ มาใชส้ กดั สีเพอื่ ใชป้ ระโยชน์และเปน็ วัสดุท่ี หาได้งา่ ย จึงขอยกตวั อยา่ งวัสดธุ รรมชาตทิ ใี่ หส้ ีโทนดงั กล่าวทม่ี ีการใช้อย่างแพร่หลายใน ทอ้ งถ่ินหลายแหง่ ได้แก่ ขม้นิ ชัน แก่นขนนุ และเมลด็ คา้ แสด เป็นตน้

10 ขมนิ้ ชนั วัสดุธรรมชาติทใ่ี หส้ ีเหลืองที่เรานกึ ถึงเป็นอนั ดับแรกกค็ งเป็นขมิน้ ชนั แนน่ อนว่าเปน็ พืชท่ีเราร้จู ักกันดเี พราะมกี ารใช้ประโยชน์มาเปน็ เวลานาน โดยจะใชจ้ ากสว่ น หวั หรือเหงา้ ขมิ้น นยิ มใช้ในการประกอบอาหาร แตง่ สี แตง่ กล่ิน โดยเฉพาะอยา่ งย่ิงสรรพคุณ ทางยามากมาย จึงมักเป็นสว่ นผสมส้าคัญในตัวยาแผนไทยและเคร่ืองส้าอางหลายประเภท เหง้าของขมน้ิ ชนั มผี วิ นอกเปน็ สีเหลอื ง-น้าตาล สว่ นด้านในมีสีเหลอื งเขม้ หรือสีส้มปนน้าตาล เมือ่ บดเป็นผงจะมสี ีเหลืองทองหรอื สีเหลืองส้มปนน้าตาล สารสีเหลอื งจากขมนิ้ ชันน้ันมี สารส้าคญั คือ เคอร์คิวมิน (cur cumin) เป็นสารกล่มุ เคอร์ควิ มนิ นอยด์ อยรู่ ้อยละ 5 เป็น สารสเี หลอื งปนสม้ ใช้แต่งสีอาหารรวมถึงย้อมผ้าดว้ ย การสกดั สยี ้อมจากขม้ินชันท้าได้ไมย่ าก สามารถนา้ มาต้าและคนั้ กรองเอานา้ สี แลว้ น้าผา้ ฝูายลงไปย้อมในนา้ สี อาจเติมน้ามะนาวเป็น สารช่วยยอ้ ม เพอ่ื ใหส้ ตี ดิ ผา้ แน่นย่ิงข้นึ (กระบวนการสกัดสีและย้อมอาจแตกตา่ งกันไป) ในขณะท่ีไมข้ นุน เป็นไม้โบราณทีอ่ ยู่ค่กู บั คนไทยมานาน เห็นไดจ้ ากชอ่ื ของสถานท่ีในประเทศ ไทยหลายแหง่ ก็มีค้าวา่ ขนุนอยู่ อกี ท้ังยังเป็นหน่ึงในไม้มงคลตามความเชือ่ ว่าจะมีคนเก้ือหนุน หนนุ น้า มีบารมี เงนิ ทอง จึงนิยมปลกู ในบรเิ วณบ้าน และเนื้อไม้ก็สามารถใช้ทา้ เฟอร์นเิ จอร์ ไดด้ ว้ ย โดยส่วนทีน่ ยิ มใชส้ กัดสี คือ “แกน่ ขนนุ ” หรอื เรยี กอีกอยา่ งว่า “กรัก” ไดม้ าจากตน้ ขนุนที่เราพบเห็นท่วั ไป นยิ มนา้ มาใชย้ ้อมสี จะใหส้ อี อกเหลืองแก่ หรือสีกรกั โดยสเี หลอื งท่ไี ด้ นั้นมาจากสาร Morin ซ่งึ เปน็ สารในกล่มุ ฟลาโวนอยด์ เมลด็ คา้ แสด ถูกหมุ้ ด้วยเปลือกแขง็ ของผลทรงสามเหล่ียมปลายแหลม เมอ่ื ผลแก่จะ แตกออกเห็นเมลด็ ค้าแสดทซี่ ่อนอยู่ภายใน ลักษณะเป็นเมล็ดกลมเล็ก ๆ สนี ้าตาลแดงจ้านวน มาก เนอื้ หุ้มเมลด็ มสี ีแดงหรือสแี สด ซึง่ เปน็ ส่วนท่ใี ห้สีไดเ้ ช่นกัน คา้ แสด เปน็ พืชทม่ี กี ารใช้ ประโยชนจ์ ากการสกดั สี สที ี่ไดจ้ ากเมลด็ ค้าแสด เรียกว่า สี annatto ซ่งึ ตรงกับชื่อสามัญของ ไม้ชนดิ นี้ คอื Annatto tree โดยสที ่ไี ดจ้ ากเมลด็ คา้ แสดเป็นสีแสดสดหรือสสี ม้ อมแดง สีท่ี สกดั จากเมลด็ ค้าแสดมีการใช้ประโยชน์ในหลายประเทศ ท้ังในการย้อมผา้ และสผี สมอาหาร โดยเฉพาะในผลติ ภัณฑ์นม จึงมีการสง่ ขายในชอื่ เมล็ด annatto หรอื Annatto Seed องค์ประกอบของสีจากเมล็ดค้าแสดประกอบด้วยสาร Bixin (สแี สด) และ Bixol (สีเขยี วเขม้ ) ในประเทศอินเดียเองก็ใช้สว่ นของผลที่หุม้ ผลสุก เรยี กวา่ กมลา (kamala) ยอ้ มผา้ ไหมและ ผา้ ขนสัตวเ์ ปน็ สสี ้มสด และมีการใช้เมล็ดค้าแสดย้อมผา้ ฝาู ย รวมถงึ ในไทยเชน่ กนั ปจั จุบัน เมลด็ คา้ แสดมีการพฒั นาเป็งผงสสี ้าเรจ็ รูปแล้ว หรอื จะน้าเมล็ดคา้ แสดมาบด เตมิ น้า และ กรองเอากากออก ปล่อยให้สีตกตะกอน แล้วรนิ น้าใส ๆ ทิ้ง น้าทเี่ หลือนา้ ไประเหยแห้งจะได้ สีเป็นกอ้ นสีแดงส้ม หลังจากนั้นกน็ า้ ก้อนสีท่มี าบดและต้ม และย้อมผ้าโดยกรรมวิธียอ้ มร้อน อย่างไรก็ตาม กระบวนการย้อมและสารชว่ ยย้อมที่แตกต่างกัน จะให้สีที่หลากหลายถงึ แม้จะ ใชว้ สั ดุธรรมชาติชนดิ เดยี วกนั กต็ าม วสั ดุธรรมชาตทิ ใ่ี ห้สีโทนน้าตาล สารท่ที า้ ให้เกดิ สนี ้าตาลหลัก ๆ คอื สารแทนนิน ซ่ึง พบได้แทบทุกส่วนของพชื

11 มงั คุด ผลไม้สุดโปรดของใครหลายคน ดว้ ยรสชาติหวานอรอ่ ย เป็นทน่ี ิยมมากใน แถบเอเชยี จนได้รับการขนานนามวา่ “ราชนิ ีแหง่ ผลไม้” จงึ เป็นที่นยิ มบรโิ ภคและเปน็ ผลไม้ เศรษฐกจิ ในปจั จบุ นั ไม่เพยี งแตเ่ นอ้ื ของผลท่ีมีรสชาตอิ ร่อย เปลอื กของมังคุดเองก็มีการใช้ ประโยชนอ์ ยา่ งแพรห่ ลาย โดยสารแซนโทนที่มีมากในเปลือกมงั คุดน้ัน มีฤทธ์ิยับยงั้ แบคทีเรีย ยับย้งั การอักเสบ และยบั ย้ังอนุมลู อสิ ระ จึงมีการพัฒนาเป็นสว่ นผสมในเครอื่ งสา้ อางและตัว ยาเพ่ือการเล้ียงสัตวห์ รอื ดา้ นการเกษตร เป็นต้นในสว่ นของการใชป้ ระโยชนใ์ นด้านการย้อม ผ้า สีทไี่ ดจ้ ะเปน็ สนี ้าตาล-น้าตาลแดง ขน้ึ อยู่กบั กระบวนการยอ้ ม สารหลักท่ีเกยี่ วข้องกับการ ใหส้ ขี องเปลือกมงั คดุ คอื “แทนนนิ ” ซง่ึ ใหส้ ีเหลอื งหรือนา้ ตาล โดยแทนนินมกี ารใชใ้ น อตุ สาหกรรมฟอกย้อมมาเปน็ เวลานานหากใครเคยเผลอกดั เปลือกมังคดุ เขา้ ให้ กจ็ ะเจอเขา้ กับรสฝาดและขม นนั่ ก็คือรสชาตขิ องแทนนิน นอกจากน้ี ใบของมังคุดกน็ ้ามาย้อมได้ โดย เตมิ สารส้มช่วยติดสกี จ็ ะให้สีออกน้าตาลแดงเชน่ กนั และเราก็มักจะพบแทนนนิ ในพืชทถ่ี ูกใช้ ในการยอ้ มสีหลายชนิด ไม่ว่าจะเป็นประดู่ หูกวาง หรือสาบเสอื เป็นตน้ สา้ หรบั การนา้ เปลอื กมังคดุ มาย้อม สามารถใชไ้ ดท้ ั้งเปลือกผลสดและเปลอื กผลแห้ง และยอ้ มด้วย กระบวนการย้อมร้อน สที ่ไี ดจ้ ากเป็นสีน้าตาลอมเหลอื ง หรือใช้เป็นสารช่วยยอ้ มซึง่ ท้าให้สี ธรรมชาตบิ นผา้ ติดทนยิ่งขึ้นก็ดี มะขามปอู ม ทเ่ี ปน็ ส่วนผสมของตวั ยาหลายขนาน โดยเฉพาะในยาอมและเปน็ ส่วนผสมในเคร่อื งส้าอางอีกด้วย ในอนิ เดียมีการใชป้ ระโยชน์มะขามปูอมเป็นเวลาหลายพันปี แลว้ โดยเรยี กผลไม้ชนดิ นี้ว่า “Akmalaka” ซ่งึ แปลว่า พยาบาล และไม้ชนิดน้ียังมกี าร กล่าวถึงในพุทธประวตั ิตามความเชอ่ื ของชาวฮินดู สา้ หรับประเทศไทย มะขามปูอมเปน็ ผลไม้ ปาุ ท่ีคนไทยรู้จกั มานาน นยิ มรบั ประทานท้ังแบบผลสดและแปรรปู และเปน็ ผลไม้ประจา้ จงั หวดั สระแกว้ การใชป้ ระโยชน์ในการเปน็ สยี อ้ มนัน้ ทางภาคเหนือนิยมใช้เปลอื กของ ตน้ มะขามปูอมย้อมเสน้ ใย ไหม หรอื ผา้ ขนสัตว์ โดยเฉพาะในใบแห้ง มแี ทนนินมากเมือ่ ย้อม ผ้าจะใหส้ ีน้าตาลแกมเหลือง แตถ่ า้ ผสมเกลือจะได้สีน้าตาลอมด้า และหากย้อมเส่ือด้วย เปลอื กตน้ กจ็ ะใหส้ ีดา้ หรือจะใช้ลูกมะขามปูอมแช่นา้ ไวข้ ้ามวันจนนา้ เปลี่ยนเป็นสดี า้ แล้วจงึ น้าผา้ ลงไปย้อมร้อน จะได้ผ้าสดี า้ แกมเขียวหรอื สีเทา ปจั จุบันมกี ารพัฒนาสกัดสยี อ้ มผม ธรรมชาติจากมะขามปูอมแล้ว นอกจากนี้ เปลือกไม้โกงกางแห้งก็ใหส้ ีนา้ ตาลไดเ้ ช่นกนั เนื่องจากเปลอื กไม้มีสารแทนนนิ และฟีนอลเปน็ จา้ นวนมาก สสี นั ทแ่ี ตกตา่ งกนั แปรเปลีย่ นไป ตามประเภทและความสด-แก่ของวสั ดุที่น้ามาใช้และสารชว่ ยยอ้ ม พืชหลายชนิดก็สามารถให้ ได้ทง้ั โทนสีชมพูไปจนถึงสีนา้ ตาล หรอื โทนเขยี ว-น้าตาล ยกตัวอย่างเช่น ใบหรือแก่นของต้น สกั กส็ ามารถใหส้ กี ากีหรือสนี ้าตาลได้เช่นกัน หรอื เปลอื กเพกาตม้ กบั น้าผลมะเกลือหรือน้า โคลนเปน็ สารชว่ ยย้อม จะได้สีเหลืองส้มอมน้าตาล หรือเปลือกมะพรา้ วแก่กับสารส้ม/น้าด่าง ขเี้ ถา้ จะไดส้ นี ้าตาลแดง ขณะทเี่ ปลือกผลมะพร้าวออ่ นกับสารสม้ จะไดส้ ีครมี

12 วสั ดุธรรมชาติทีใ่ ห้สีด้า-เทา โดยวสั ดทุ ่ีมกี ารใช้ประโยชน์หลกั ๆ และใช้กันอย่าง แพรห่ ลาย คอื ผลของมะเกลอื เนือ่ งจากใหส้ ดี ้าสนทิ และมีความคงทนต่อการซักและแสงดี มาก มะเกลือ เปน็ วัตถดุ ิบธรรมชาตทิ ี่ใชป้ ระโยชน์ได้อยา่ งหลากหลาย พบได้ตามปุาเบญจ พรรณ โดยผลมะเกลือมสี รรพคุณทางยานิยมใช้ในการถา่ ยพยาธิ แตต่ ้องใชใ้ นปรมิ าณที่ เหมาะสม ในขณะทเ่ี น้ือไมก้ ็มีความละเอยี ด แข็งแรงทนทาน ใช้ท้าเครื่องเรือน เฟอร์นิเจอร์ และอ่นื ๆ เปน็ ตน้ นอกจากนี้ยังนิยมใชใ้ นการย้อมผา้ อย่างแพร่หลาย โดยใชผ้ ลแก่ทมี่ ยี าง ซง่ึ มสี ารไดออสไพรอลไดกลูโคไซต์ เม่อื สมั ผัสอากาศจะกลายเปน็ สารไดออสไพรอลที่มสี ดี ้า เม่ือ นา้ ไปยอ้ มผ้าสีให้สีดา้ สนทิ ตดิ ทนดี การย้อมผา้ ดว้ ยมะเกลอื มีมาตั้งแต่สมยั รัชกาลที่ 5 เป็นกิจกรรมของคนจีนในสมยั น้นั เน่อื งจากนยิ มใสก่ างเกงผา้ แพรสีดา้ แตส่ มัยนั้นยงั ไม่มสี สี ังเคราะหจ์ งึ ใช้ผา้ ย้อมสดี า้ จากผล มะเกลือ และเกิดกจิ การ “โรงย้อมมะเกลือ” กระจายหลายแหง่ ในฝงั่ ธนบรุ ี โดยจะมลี าน กวา้ งสา้ หรับย้อมผา้ และตัง้ อยู่ตดิ กบั ลา้ คลองเพื่อใช้ในกระบวนการล้างสียอ้ ม เรียกวา่ “ลาน มะเกลือ” การย้อมผา้ ดว้ ยผลมะเกลือจะต้องใช้เวลา โดยใชไ้ ด้ทั้งผลดบิ และผลสกุ แต่ใช้ผล สกุ จะสะดวกกวา่ โดยน้าผลสุกสีดา้ มาบดละเอยี ด กรองเอาแต่นา้ สดี ้ามาย้อมแล้วตาก ตอ้ ง ย้อมซ้าอีกประมาณ 3 คร้งั หมกั กับโคลนประมาณ 1-2 คนื เพื่อชว่ ยติดสี จะได้ผ้าสดี ้าสนิท ในขณะท่เี ปลือกเงาะโรงเรยี น ท่เี รานิยมรบั ประทานก็สามารถน้ามาใช้ย้อมผ้าได้เชน่ กัน เนอ่ื งจากในเปลอื กสารแทนนินอยู่ การย้อมผา้ ดว้ ยเปลือกเงาะจะใช้เปลอื กสดมาบดเปน็ ชิ้น เล็ก ๆ ไปต้มกบั น้าเพ่ือสกัดสี โดยสที ีไ่ ดน้ ี้จะเป็นสนี ้าตาลเข้ม หลงั จากนัน้ จึงนา้ ผา้ ลงไปย้อม รอ้ นกับนา้ สีที่ได้ แล้วหมักกับโคลนเป็นเวลาวันละ 7-8 ชั่วโมง นาน 3 วนั ผา้ ทีไ่ ดจ้ ะ กลายเปน็ สดี า้ ใกล้เคยี งกบั มะเกลือ นอกจากน้ยี ังมีรายงานการใช้ประโยชน์ยอ้ มผ้าจากลูกกระบกผสมกับโคลนกจ็ ะไดส้ ี เทา-เทาดา้ เชน่ กนั แตป่ จั จบุ นั ไม่พบการย้อมผา้ ดว้ ยกระบกมากนกั อาจเป็นเพราะเปน็ ไม้ท่ีไม่ นยิ มปลูก มกั ขึ้นเองตามธรรมชาติ และออกผลตามฤดกู าล จะเห็นได้ว่า ผ้าจากสยี ้อม ธรรมชาติที่เปน็ สดี ้า จะตอ้ งน้าไปหมกั กับโคลน เนือ่ งจากช่วยใหส้ ยี อ้ มจากวัสดุธรรมชาติท่ไี ด้ ติดทนมากยิ่งขึน้ และให้สีที่เข้มข้ึนอีกดว้ ย วัสดธุ รรมชาติที่ให้สคี ราม พชื ท่ใี ห้สีครามหรือสนี ้าเงนิ ในบา้ นเราทน่ี ยิ มใช้ในการยอ้ ม ผ้า จะมีหลัก ๆ อยู่ 3 ชนดิ คือ ต้นคราม ต้นฮ่อม และต้นเบือก/เบิก แต่ทน่ี ยิ มใช้ประโยชน์ คอื ตน้ คราม/ถ่วั คราม และต้นฮ่อม แต่อาจเพราะชอ่ื เรียกทแี่ ตกตา่ งกนั ในแตล่ ะท้องถ่นิ และ บางพ้นื ท่ีก็เรยี กตน้ ฮ่อมว่าคราม จงึ มักถูกเข้าใจผดิ คิดว่าเปน็ พชื ชนิดเดียวกัน แทจ้ ริงแลว้ พืช ท้ังสองชนดิ น้ีอยู่กนั คนละวงศ์กนั อกี ท้ังยงั เตบิ โตไดด้ ใี นพ้ืนทท่ี ี่ตา่ งกัน

13 สีครามท้งั จากครามถั่วและฮ่อมทไ่ี ดน้ นั้ มาจากกระบวนการหมักใบพืช โดยมีสาร Indigo ท่ีให้สีน้าเงนิ ซ่งึ เปน็ สารกลุม่ อัลคาลอยด์ โดยกระบวนการดงั กลา่ วจะต้องหมักพืช ผสมกบั ปูนขาว ก็จะได้ก้อนสีครามเปียก ซ่ึงสามารถน้าไปพัฒนาเปน็ ผงสตี ่อไปได้ คราม เป็นพชื ลม้ ลกุ ตระกลู ถั่ว จึงเรยี กว่าถว่ั ครามกไ็ ด้ จดั อย่ใู นสกุล Indigofera spp. วงศ์ FABACEAE โดยในเอเชยี มีอยู่ 2 ชนดิ คือ คราม (I. tinctoria L.) และครามใหญ่ (I. suffruticosa Mill.) มีใบประกอบแบบขนนกเรียงสลับ ดอกชอ่ ออกตามซอกใบรปู ดอกถั่ว สชี มพู ผลเปน็ ฝกั มีทั้งฝักตรงและฝักโค้ง ตน้ ถว่ั ครามชอบพ้ืนท่ที ่เี ป็นดนิ ร่วน น้าน้อย แดดจดั จึงควรปลกู บรเิ วณที่ดอนโล่ง มแี สงแดดเพยี งพอ ตามหัวไร่ปลายนาก็ได้ อนั ที่จริงแล้วมนุษย์ มกี ารใชป้ ระโยชนถ์ ัว่ ครามในการย้อมผา้ มาเป็นเวลากวา่ 2,000 ปแี ลว้ ในประเทศไทยการ ยอ้ มสีจากครามเปน็ ภมู ิปัญญาท่ีมีการปฏิบตั ิมาแต่โบราณ โดยเฉพาะแถบภาคอสี านเหนือ มี การสอดแทรกเรื่องคติความเช่ือการยอ้ ม จติ วิญญาณในครามและหม้อย้อมคราม ทเี่ รยี กวา่ “หมอ้ นิล” ซ่งึ ผู้ย้อมครามต้องคอยเอาใจใส่กระบวนการย้อม เพ่ือใหไ้ ด้สยี ้อมครามท่ีดีและผา้ ยอ้ มสีครามทตี่ ิดสีอย่างสม่า้ เสมอ ในขณะท่ีเม่ือพูดถงึ ฮอ่ ม เราจะนกึ ถึงเส้อื ผ้าสีคราม ของฝากขึ้นชือ่ จากจังหวัดแพร่ เรยี กว่า “ผ้าม่อฮ่อม” โดยค้าว่า “ม่อ” เพี้ยนมาจาก มอ มีความหมายวา่ สีมืด สคี ราม บ้างก็ เขยี นวา่ “หม้อ”หมายความถึงภาชนะท่ใี ชใ้ นการหมกั ใบฮ่อม ส่วนค้าวา่ “ฮอ่ ม” หมายถึง สี ครามท่ีไดจ้ ากตน้ ฮ่อม ซ่ึงต้นฮ่อมนีเ้ ปน็ ไมล้ ม้ ลกุ มชี ื่อวทิ ยาศาสตร์ คือ Strobilanthes cusia (Nees) Kuntze. วงศ์ ACANTHACEAE ลา้ ตน้ สงู 50 – 150 ซม. ลกั ษณะเป็นใบเดยี่ วเรียง ตรงขา้ มรปู วงรี ขอบใบหยักฟันเลอื่ ยละเอียด การย้อมสจี ากฮ่อมมีการปฏิบตั กิ นั มากทาง ภาคเหนอื โดยเฉพาะกลมุ่ ชาติพันธ์ุเผา่ ไท แตป่ ัจจบุ ันกลับลดน้อยลง ด้วยข้อจ้ากดั ท่ีตอ้ งปลกู ในพนื้ ทีส่ ูง ใกล้ลา้ ธาร มแี สงร้าไร หรอื มักข้ึนในบรเิ วณปุาดิบเขาหรอื ปุาสนเขาทมี่ ีอากาศเย็น ตลอดทั้งปี อีกทั้งไม่ค่อยมกี ารส่งเสรมิ ปลกู ในเชงิ อตุ สาหกรรมมากนัก ซงึ่ ผ้าม่อฮ่อมท่ี จา้ หนา่ ยในปัจจบุ ันส่วนมากย้อมมาจากสสี ังเคราะหห์ รอื สีจากครามถัว่ ท่ีมีส่วนผสมของฮ่อม บางสว่ นเท่านน้ั จึงอาจกล่าวได้วา่ สถานการณ์การย้อมสีครามจากต้นฮอ่ มค่อนขา้ งวิกฤติ ดว้ ยวตั ถุดบิ ท่ีหายาก อันสง่ ผลใหภ้ ูมปิ ญั ญาท้องถ่ินการใชส้ ียอ้ มจากฮ่อมอาจสูญหายไปใน อนาคต วสั ดธุ รรมชาติทีใ่ ห้สีเขยี ว/เขยี วเหลือง สา้ หรบั วสั ดธุ รรมชาติท่ใี ห้สเี ขียวน้นั มี หลากหลายมาก อยา่ งไรกต็ ามวัสดุท่ีให้โทนสีเขียวนน้ั สามารถให้เฉดสที ่หี ลากหลายต้ังแต่ เขยี ว-เขียวอ่อน-เหลือง ไปจนถงึ สีกากี ขึน้ อยู่กับสารช่วยยอ้ ม ส่วนผสมของวัสดุอนื่ ในการ ยอ้ ม และกรรมวิธีในการย้อม เพกา หรือ ลนิ้ ฟูาสามารถพบกระจายได้ท่วั ไป จะใชเ้ ปลือกของล้าต้นในการย้อมสี สามารถใชไ้ ด้ทั้งเปลือกสดและเปลอื กแห้ง การสกดั สจี ากเพกาท้าได้หลายวิธีและการใช้สาร

14 ชว่ ยตดิ สีท่ีต่างกนั กจ็ ะให้สีที่แตกต่างกัน หากใช้เปลือกสดกับสารส้มชว่ ยย้อม จะใหส้ ีเหลือง สดใส แต่หากตอ้ งการโทนสีเขียว อาจใชส้ ารติดสีจ้าพวกโซเดียมคารบ์ อเนต น้าสนิมเหล็ก หรอื จุนสลี งไปขณะย้อม หูกวางเปน็ พนั ธไุ์ ม้ทนี่ ยิ มปลูกกนั มาก โดยเฉพาะในเมืองกส็ ามารถพบเหน็ ไดง้ ่าย จรงิ ๆ แล้วหูกวางเปน็ ไม้ที่มีการใชป้ ระโยชน์ที่หลากหลายมานานแลว้ ทกุ สว่ นของต้นหูกวาง สามารถน้ามาใชป้ ระโยชนไ์ ด้ท้ังหมด มีทั้งสรรพคุณทางยา รากและผลดิบใชใ้ นการฟอกย้อม หนงั เสื่อ และท้าน้าหมกึ สียอ้ มจากใบหกู วาง จะใช้ใบท่ีไม่ออ่ นหรือแกจ่ นเกินไป โดยสารให้ สใี นใบหกู วางมี 2 กลุม่ โครงสร้าง คือ 1. เตตราพโิ รล ซง่ึ เป็นสารท่ีให้สเี ขียวเปน็ หลกั ไดแ้ ก่ พอรฟ์ ริ ิน คลอโรฟลิ ล์ ซงึ่ เป็นแมกนเี ซียมคอมเพล็กซ์ โดยสเี ขยี วนไ้ี ม่ทนต่อสภาพสารละลายท่ีเป็น กรดหรือมีความรอ้ น เพราะท้าให้แมกนีเซยี มหลุดออกจากโมเลกุล สจี ะ เปลย่ี นเป็นสีเขยี วขม้ี า้ หรือน้าตาลแกมเขยี วของสารประกอบฟโี อไฟติน 2. โอ-เฮเทอโรไซคลิก ได้แก่ ฟลาโวนอยด์ ประกอบด้วยสาร 3 ชนิด คอื ฟลา โวน ฟลาโวนอล และแอนโทไซยานนิ นอกจากน้ีใบหูกวางมีแทนนนิ เปน็ องคป์ ระกอบทสี่ า้ คัญ ซ่ึงเปน็ สารทม่ี ีคุณสมบตั ทิ ้าใหส้ ีย้อมตดิ แน่นทนทาน มะมว่ งเป็นพืชทีน่ ิยมปลูกกันมากในประเทศไทย โดยสว่ นมากปลูกเพ่ือรบั ประทาน นอกจากนเ้ี ปลอื กมะม่วงยังมีคณุ สมบัตใิ นการย้อมผา้ โดยใหส้ เี หลอื งอ่อน เขยี ว เขียวข้ีม้า ข้นึ อยกู่ ับสารและวัสดุอ่ืนทีช่ ่วยยอ้ ม มีการศึกษารงควตั ถุสีท่ีพบในเปลอื กมะม่วงสว่ นมากอยู่ ในกลุ่มฟลาโวนอยด์ ซ่ึงให้สเี หลอื งเขม้ และรงควตั ถสุ ที เี่ ป็นสารอนพุ นั ธใ์ นกลมุ่ แซนโทน ซง่ึ อยู่ในรูปกลูโคไซด์ คือ แมงจเิ ฟอรนิ (Mangiferin) และนอกจากน้ียงั พบองค์ประกอบอนื่ ๆ เช่น Gallic Acid, Epicatechin รวมท้งั Tannic Acid เป็นต้น สาบเสอื เปน็ พชื ล้มลุกที่พบได้ทว่ั ไปในทรี่ กร้าง ทุ่งหญ้ารมิ ถนน ในไร่ และริมสวน ผลไม้ ปจั จุบนั มกี ารศกึ ษาพฒั นาสารสกัดเพ่ือใช้ในการก้าจัดศัตรพู ชื อีกทั้งยังมสี รรพคุณทาง ยาชว่ ยในการห้ามเลือด เน่ืองจากมสี าร eupatol, coumarin ซง่ึ ออกฤทธ์ทิ ีผ่ นงั เส้นเลอื ด ท้าใหเ้ สน้ เลือดหดตัว สาบเสืออาจถูกมองว่าเปน็ วชั พืช แตใ่ นหลายพ้ืนทมี่ ีการใชป้ ระโยชน์ใน การยอ้ มผา้ อกี ดว้ ย โดยจะใชส้ ว่ นใบในการยอ้ มซงึ่ ใหส้ ีเขียวอมเหลอื งหรอื เขยี วคล้า ในใบ สาบเสอื ประกอบด้วยสารส้าคัญ คือ anisic acid และ flavonoid หลายชนิด หน่ึงในนั้น คือ สารกลุ่มแทนนินเชน่ กนั

15 2.4 สารนาสี (binder ) สแี ตล่ ะประเภทไม่วา่ จะเป็นสนี า้ สอี ครลิ กิ สนี ้ามนั สที าบา้ น ลว้ นแตเ่ ป็นสที เี่ กิดจาก เมด็ สแี บบเดยี วกนั แตจ่ ะมีสารยดึ เกาะท่แี ตกต่างกนั ตามการใชง้ าน ส้าหรับสีน้านัน้ อนภุ าคของเม็ดสีถกู ท้าให้กระจายอยใู่ นสารนา้ สที เ่ี ป็นของเหลวใน กระบวนการผสม ซงึ่ กว่า 65% ของของเหลวนน้ั เปน็ สารยึดเกาะ สารยดึ เกาะท้าใหส้ ารนา้ สี มลี ักษณะทห่ี นดื ขน้ ช่วยใหเ้ ม็ดสตี ิดกบั พู่กนั ทา้ ให้สยี ดึ เกาะกับกระดาษและชว่ ยใหเ้ ม็ดสีอยู่ที่ บนผิวของกระดาษไม่ลงไปอยู่ระหวา่ งเส้นใยกระดาษ สีจงึ มีความสด ในสมัยก่อนมีการใชก้ าวธรรมชาตหิ ลายประเภทเพื่อเปน็ สารยดึ เกาะของสนี ้า เช่น แปงู หรือกาวหนงั สัตว์ ในภาพเขยี นของยุโรปตัง้ แต่ศตวรรษที่ 18 สารยึดเกาะท่ใี ช้คอื กัมอา รบกิ ท้าจากยางต้นอะคาเซียท่มี หี นามแขง็ ท่ีช่ือนีเ้ พราะเดิมทเี ปน็ ของทนี่ ้าเขา้ มาจาก ตะวันออกกลาง กมั อารบิก เปน็ สารท่ปี ระกอบดว้ ยโพลีเซกคาไรดแ์ ละไกลโคโปรดนี เมื่อเปยี กจะมี ลักษะเหนียว เม่ือแห้งจะค่อนขา้ งแข็งและโปร่งใส มีการน้าใช้มากในอุตสาหกรรมอาหาร ท้า ให้อาหารขน้ เหนยี ว (มน่ั ใจไดเ้ ลยว่าเป็นสารท่ีปลอดภัย) กมั อารบกิ ดบิ จะเปน็ ลักษณะก้อนสี เหลอื งใสคล้ายแก้ว แต่ในการซื้อขายส้าหรบั ท้าสีมักจะเป็นลกั ษณะผงเพราะละลายน้าได้งา่ ย และแบบที่เป็นของเหลวบรรจุขวดกม็ ี กัมอารบิกคุณภาพดีเมื่อละลายน้าจะเป็นสนี า้ ผึงจางๆ และไมม่ ตี ะกอน นอกจากกัม อารบกิ แล้ว ผผู้ ลติ บางรายมีการใช้สารยึดเกาะอืน่ ๆ ท่ีมลี ักษณะใสและมีคุณสมบตั ิยึดเกาะ เช่นกัน กมั อารบกิ เป็นสารยดึ เกาะที่ค่อนขา้ งอ่อนถ้าเทยี บกับสารยดึ เกาะของสปี ระเภทอื่น สามารถลอกออกไดง้ ่าย และสามารถละลายนา้ ได้ซ้าแมว้ า่ จะแหง้ คุณสมบัตินท้ี า้ ให้สนี า้ มี รปู แบบที่เปน็ ก้อนแขง็ หรือสามารถบีบจากหลอดเพ่ือเกบ็ สแี บบแหง้ ทา้ ให้ง่ายตอ่ การพกพา 2.5 คณุ ภาพและลกั ษณะของสนี า คุณสมบัติของสีน้าท่ัวไป มีดังนี้ 1. ลักษณะโปรง่ ใส( Transparent Quality ) เนือ่ งจากสีน้ามีสว่ นผสมของกาว และสีท่บี ดอย่างละเอยี ด ดังน้ัน เมอ่ื ระบายน้าบนกระดาษสีขาวจงึ มีเนอ้ื ที่ไมห่ นาทึบจนเกดิ ไป ท้าใหเ้ กดิ ลักษณะโปร่งใส และการระบายสนี ้าจะต้องระบายไปทีเดียว ไมร่ ะบายซ้ากัน เพราะจะทา้ ใหส้ ชี า้ หรอ หม่นได้ และควรระบายจากสีอ่อนไปหาสีแก่ ในบางกรณ๊อาจจะระบายจากสีแก่ไป หาอ่อนก็ได้ ทงั้ นต้ี ้องคอยระวังอย่าให้น้าท่ใี ชผ้ สมสขี นุ่ หรือคล้า เพราะจ้าทา้ ใหส้ ี หม่นหรือทึบ

16 2. ลักษณะเปียกชุม่ ( Soft Quality ) เนอ่ื งจากในการระบายสี จะต้องผสมผสานกบั น้าและระบายให้ซึมเข้าหา กนั เม่ือตอ้ งการให้กลมกลืนกัน ดังนนั้ เมื่อระบายไปแลว้ ลักษณะของสที แ่ี ห้งบน กระดาษ จะคงความเปยี กชุ่มของสี ปรากฏให้เหน็ อยู่เสมอ และในบางกรณีท่ใี ชส้ ีนา้ ระบายมากเกินไป แลว้ ปล่อยใหส้ ีแห้งไปเอง ก็จะเกดิ คราบของสี (Sfumato ) ปรากฏใหเ้ ห็น ซง่ึ ถือเปน็ ลักษณะพเิ ศษทไี่ ดร้ ับความนิยมเป็นอย่างมาก ยง่ิ ศลิ ปนิ สี น้าท่านใดสามารถสร้างสรรคใ์ หค้ ราบนั้นนา่ ดูและมีความหมายข้ึน ถอื วา่ เป็น ลกั ษณะพิเศษของสนี ้าที่มีค่าควรชืน่ ชมเป็นอยา่ งย่ิง 3. สนี า้ มคี ุณสมบตั ิที่แห้งเรว็ เมอ่ื เทยี บกบั สนี ้ามนั ดังนนั้ จึงทา้ ใหเ้ กิดความเชื่อต่อผ้สู นใจทั้งหลายว่า เป็น สื่อที่ระบายยาก และเหมาะส้าหรับผูท้ ี่สามารถตัดสนิ ใจรวดเร็วในการถ่ายทอด เท่าน้ัน อยา่ งไรกด็ ีความเชอื่ ดังกล่าวอาจแก้ไขได้ ด้วยการลงมือท้าจริง เพราะเหตุว่า การระบายสีน้ามวี ธิ รี ะบายหลายวิธี และเราสามารถควบคุมคณุ สมบตั ิแห้งเร็วนี้ได้ ด้วยการผสมกลเี ซอรีนลงในน้าผสมสีก็จะชว่ ยให้แหง้ ชา้ ได้ 4. สนี า้ มีคุณสมบตั ิรุกรามและยอมรับ( Advance, Receda ) ท้งั น้เี กย่ี วข้องกบั เน้อื สแี ละสารเคมที ผ่ี สม ซง่ึ ผูส้ นใจจะต้องสอบทานดว้ ย ตนเองว่าสีใดท่ีมคี ุณสมบตั ริ ุกรานสอี ื่น หรอื สใี ดยอมใหส้ ีอ่นื รกุ ราน และสใี ดทีต่ ดิ กระดาษแน่นล้างนา้ ไม่ออก ( Stained Color ) (Belly Napatsorn ,2562)

17 บทท่ี 3 วธิ ีการศึกษาคน้ คว้า ในการจัดทา้ โครงงานเร่อื งสารสจี ากวสั ดุธรรมชาติ นี้ ผู้จดั ทา้ โครงงานมวี ิธีดา้ เนินงาน โครงงาน ตามขน้ั ตอนดังน้ี 3.1 วัสดุ อุปกรณ์ และ เคร่อื งมือ 3.1.1 เครอื่ งคอมพิวเตอร์ พร้อมเช่ือมต่อระบบอินเตอร์เน็ต 3.1.2 อปุ กรณ์ทา้ สนี ้า 3.1.3 วสั ดุธรรมชาติ 3.2 ขันตอนการดาเนินงานโครงงาน 3.2.1 คิดหวั ข้อโครงงานเพื่อน้าเสนอครูทีป่ รึกษาโครงงาน 3.2.2 ศกึ ษาและค้นควา้ ข้อมูลที่เกี่ยวขอ้ งกับเรื่องทส่ี นใจ คือเร่อื งสารสจี ากวัสดุธรรมชาติ ว่า มีเน้ือหามากน้อยเพียงใด และตอ้ งศึกษาค้นควา้ เพ่ิมเตมิ เพียงใดจากเว็บไซต์ต่างๆและเก็บขอ้ มลู ไวเ้ พื่อ จดั ท้าเนือ้ หาต่อไป 3.2.3 ศกึ ษาการท้าสีน้าจากเอกสารและเวบ็ ไซตต์ ่างๆ ทีน่ า้ เสนอเทคนิคและวิธที ้าสีน้าจาก ธรรมชาติ 3.2.4 จัดท้าโครงรา่ งโครงงานคอมพวิ เตอร์เพ่ือน้าเสนอครทู ่ีปรึกษาโครงงาน 3.2.5 ปฏบิ ตั กิ ารจัดท้าโครงงานอาชพี เร่ืองสารสจี ากวัสดุธรรมชาติ น้าเสนอรายงาน ความก้าวหนา้ ของงานเป็นระยะๆซ่งึ ครทู ่ีปรึกษาจะให้ข้อเสนอแนะต่างๆ เพอ่ื ใหจ้ ดั ทา้ เนื้อหาและ นา้ เสนอทีน่ ่าสนใจต่อไป ทั้งน้ีเม่อื ไดร้ ับค้าแนะน้าก็จะนา้ มาปรบั ปรุง แกไ้ ขใหด้ ยี ่งิ ข้ึน 3.2.6 น้าเสนองานโดยท้าเป็นอีบุค๊

18 3.3 อุปกรณ์และส่วนผสมการทาสนี าจากสารสีในธรรมชาติ อุปกรณ์ 3.3.1 แพนสี 3.3.2 ผงกัมอารบกิ 4 ชอ้ นชา หรือ 20กรมั (ตอ่ 1 แพน) 3.3.3 กลเี ซอรนี 1 ชอ้ นชา หรือ 5กรมั (ต่อ 1 แพน) 3.3.4 ถุงมือ 3.3.5 ครก 3.3.6 ชอ้ น 3.3.7 คอมพวิ เตอร์ 3.3.8 กระดาษ 3.3.9 พ่กู นั 3.3.10 น้า 3.3.11 หิน 3.3.12 พชื ทใ่ี ห้สารสี ไดแ้ ก่ ขมิ้น อัญชนั 3.4 ขันตอนการทาสีนาจากสารสใี นธรรมชาติ ขั้นตอนการท้า 3.4.1 ละลายกัมอารบกิ ในนา้ 3.4.2 ผสมน้ากัมอารบิก กลีเซอรนี เข้าดว้ ยกัน สารผสมทไ่ี ดจ้ ะเรียกวา่ สารนา้ สี (paint vehicle) 1.3.1 3.4.3นา้ หิน และพชื ทจี่ ะใช้นา้ มาบดให้ละเอยี ดจนเปน็ เมด็ สีจากธรรมชาติ (หากเป็นพืชควรจะน้าไปตากแดด แล้วนา้ มาบดจนเปน็ ผงสี) 3.4.3 ผสมเม็ดสจี ากธรรมชาตกิ บั กับสารนา้ สี 3.4.4 คนให้เข้ากัน 3.4.5 ทดสอบคุณภาพสีด้วยการลองระบาย 3.4.6 ตักสใี ส่แพน

19 ภาพตัวอยา่ งการทาสีนาจากธรรมชาติ การบดหนิ เพื่อน้ามาใชเ้ ปน็ สารสี การผสมสารน้าสกี ับผงสี นา้ สีน้าใส่แพน

20 บทท่ี 4 ผลการศกึ ษาคน้ ควา้ จากผลการทดสอบพบวา่ สที ่ีท้ามากจากพืชเชน่ สที ่ี1ทที่ า้ มาจากขมิน้ มลี ักษณะสีเข้ม แตแ่ หง้ ยาก สีท2ี่ ทา้ มาจากสมี ่วง ท้ามาจากดอกอัญชนั มีลักษณะสอี ่อน และแหง้ ยาก

21 ตารางบนั ทึกผล ลักษณะของสีนา้ ความโปร่งใส ชนดิ ของวัสดุธรรมชาติ การละลายน้า สมบัตกิ ารแหง้ คอ่ นข้างทบึ หิน ละลายน้าไดด้ ี แหง้ เร็ว พืช ละลายน้าไดด้ ี แห้งชา้ และยาก คอ่ นข้างโปรง่ ใส ตารางที่ 1 ตารางแสดงผลการศกึ ษาการทา้ สนี ้าจากวสั ดธุ รรมชาติ จากการตารางสีน้าจากวสั ดุธรรมชาตทิ งั้ สองชนดิ พบวา่ สนี า้ ทที่ า้ จากพชื จะมีลักษณะสีเจือ จางค่อนข้างโปรง่ ใส ละลายน้าไดด้ ี แห้งยาก สว่ นสนี ้าท่ที ้าจากหนิ มลี กั ษณะสที ่ีเข้ม และละลายน้าได้ ดี

22 บทที่ 5 สรุปผล อภปิ รายผล และขอ้ เสนอแนะ การจดั ท้าโครงงานสารสจี ากวัสดธุ รรมชาตินี้ สามารถสรุปผลการดา้ เนนิ งานและ ข้อเสนอแนะไดด้ ังน้ี 5.1 สรปุ ผล จากการทดลองท้าสีนา้ คร้ังแรกเกดิ ปัญหาเนือ่ งจากใช้สารน้าสีในสัดส่วนท่ีผดิ ในการทดลองทา้ ครง้ั ท่ีสองประสบผลสา้ เรจ็ จากการทดลองท้าสีนา้ จากวสั ดุธรรมชาติทั้งสองชนดิ พบว่า สีน้าท่ีทา้ จากพชื จะมลี ักษณะสีเจือ จางค่อนขา้ งโปร่งใส ละลายน้าได้ดี แห้งยาก สว่ นสนี ้าทท่ี า้ จากหินมลี ักษณะสที เ่ี ข้ม และละลายน้าได้ ดี จึงสามารถสรปุ ได้ว่าสีนา้ ท่ีท้าจากหนิ จะมีประสิทธภิ าพดีวา่ สนี ้าทท่ี า้ จากพชื 5.2 ข้อเสนอแนะ 1. ควรใช้เครอื่ งมือที่บดหินได้ละเอยี ดและมีประสิทธิภาพมากขน้ึ 2. ควรล้างเครอ่ื งมอื ใหส้ ะอาดก่อนผสมสีอน่ื ๆ

23 เอกสารอ้างองิ มูลนธิ สิ ืบนาคะเสถียร. (2562). สารสจี ากธรรมชาติ. คน้ เมอ่ื 24 สงิ หาคม 2563, จาก https://www.seub.or.th/bloging Water color diy. (2562). ท้าสีน้าแบบงา่ ยๆ. คน้ เม่ือ 24 สงิ หาคม 2563, จาก https://www.facebook.com/watercolordiy/posts/2243169619230466/


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook