Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore การใช้สหกรณ์ออมทรัพย์...สร้างความมั่นคงให้กับชีวิต 1

การใช้สหกรณ์ออมทรัพย์...สร้างความมั่นคงให้กับชีวิต 1

Published by kuscco, 2020-05-01 05:00:09

Description: หลากมุมมอง หลายความคิดของสมาชิก สอ.มก. ในเรื่องสหกรณ์

Search

Read the Text Version

5) ขยายแนวคิดเรือ่ งสหกรณ์สูผ่ ูอ้ ่ืน เรอ่ื งน้มี กั ได้รบั การละเลยจากสมาชิกโดยทั่วไป เนอื่ งจากมองวา่ ไม่ใช่หน้าทข่ี องสมาชกิ และไมน่ า่ จะเก่ยี วขอ้ งกบั ความเจรญิ เติบโตอย่างต่อเนือ่ งของสหกรณ์ แต่ในความเปน็ จริง แลว้ หนา้ ทห่ี รอื บทบาทนจ้ี ะชว่ ยใหข้ บวนการสหกรณส์ ามารถขยายฐานสมาชกิ ออกไปไดก้ วา้ งขวางมากขนึ้ โดยอาจ เป็นการช่วยเพ่มิ สมาชกิ สหกรณ์ของตนเองมากขึ้น หรอื ช่วยให้มกี ารจดั ตัง้ สหกรณ์ใหม่เพิม่ ข้ึน ซ่ึงสหกรณ์เหล่านี้ จะมกี ารชว่ ยเหลอื เกื้อกูลกนั ท�ำใหก้ ิจการสหกรณข์ องตนเองเจรญิ เติบโตและมคี วามมั่นคงมากยงิ่ ขน้ึ เมื่อสมาชิกได้ดำ�เนินการดงั กลา่ วขา้ งตน้ แลว้ ยอ่ มมผี ลผลักดนั ให้สหกรณ์เจริญก้าวหน้า แตค่ วามเจรญิ ก้าวหน้าดังกล่าวจะยั่งยืนหรือไม่ย่อมขึ้นอยู่กับสหกรณ์ด้วยว่าจะสามารถใช้ประโยชน์จากความร่วมมือของสมาชิก มาสร้างประโยชน์กลับคืนสู่สมาชิกได้มากน้อยแค่ไหน โจทย์ข้อนี้คงต้องโยนกลับมาให้สหกรณ์นำ�ไปพิจารณา ด�ำ เนินการอยา่ งจรงิ จังตอ่ ไป 95

ผนู้ ำ� ทพี่ งึ ปรารถนาของสหกรณ*์ ผศ.ดร.รงั สรรค์ ปิตปิ ัญญา (6390) เกรนิ่ กนั ก่อน เมอื่ ไมน่ านมานผ้ี มไดค้ ยุ กบั รนุ่ พที่ า่ นหนงึ่ ทผ่ี มใหค้ วามเคารพมาก ถงึ เรอ่ื งของการบรหิ ารงานสหกรณ์ และ ทา่ นไดก้ ลา่ ววา่ สหกรณ์จะกา้ วหนา้ ไดน้ ้นั ปัจจัยส�ำคัญท่สี ดุ คือ “ผู้น�ำ” สหกรณ์ใดมผี ูน้ �ำดี กจ็ ะเจริญกา้ วหน้า ในทาง ตรงกนั ขา้ มกจ็ ะพบกบั ความเสอ่ื ม ค�ำถามส�ำคญั ทเี่ กดิ ขน้ึ กค็ อื ผนู้ �ำทดี่ หี รอื ทพ่ี งึ ปรารถนาเปน็ อยา่ งไร ซงึ่ เปน็ ประเดน็ ท่ีจะน�ำเสนอกันในวันน้ี อย่างไรก็ดี ขอเรียนว่าท่ีน�ำเสนอนี้เป็นความคิดเห็นส่วนตัว ที่อาจจะไม่ตรงกับความคิดเห็น ของทา่ นผูอ้ ่านได้ ผู้น�ำท่ีพึงปรารถนา ในระยะหลังมกี ารแบง่ ผู้น�ำออกเปน็ 2 กลมุ่ ตามแหล่งทีม่ า คอื ผูน้ �ำที่เปน็ ทางการ กับผู้น�ำตามธรรมชาติ อย่างไรก็ตามไม่ว่าจะเป็นผู้น�ำกลมุ่ ไหน โดยภาพรวมแล้วกค็ ือ “คนทีต่ ้องน�ำพาผู้อื่นปฏบิ ตั ิภารกิจ” ซึ่งเครื่องช้วี ัด ความส�ำเรจ็ ของผ้นู �ำก็คอื ผลงานท่อี อกมา มีค�ำถามอยู่เสมอๆ วา่ ผู้น�ำท่ีพึงปรารถนาเปน็ อยา่ งไร ในทัศนของผม ผ้นู �ำท่ีพงึ ปรารถนาน้ัน ต้องมีท้งั “ความสามารถ” และ “ความด”ี อยู่ในตวั หรือเป็นทัง้ “คนเกง่ และ คนด”ี คนเกง่ คอื คนท่ีสามารถท�ำงานไดส้ �ำเรจ็ ตามเป้าหมายทก่ี �ำหนด โดยทว่ั ไปแล้วคนเก่งต้องมลี ักษณะดงั นี้ 1) มีวิสัยทัศน์ หรือเป็นคนมองการณ์ไกล คือมองเห็นภาพในอนาคตท่ีน่าจะเกิดข้ึนได้ ซึ่งการท่ีจะมี ความสามารถเชน่ นไ้ี ด้จะต้องเป็นผู้ท่ีศกึ ษาหาความรอู้ ย่างต่อเนือ่ ง กวา้ งขวาง และหลากหลาย 2) มีความรู้ในเร่ืองท่ีตนต้องบริหารเป็นอย่างดี หรือสามารถหาคนที่มีความรู้ในเรื่องดังกล่าวมาท�ำงาน ใหต้ นได้ 3) มีความสามารถในการบริหาร คือสามารถจัดหา และใช้ปัจจัยทางการจัดการที่ส�ำคัญ ได้แก่ คน เงิน วัสดุอุปกรณ์หรือทรัพยากรต่างๆ ขององค์กร รวมถึงเทคโนโลยีต่างๆ อย่างเหมาะสม และได้รับ ผลลัพธต์ ามทต่ี อ้ งการภายใตก้ รอบเวลา และเง่อื นไขตา่ งๆ ที่ก�ำหนด 4) มคี วามสามารถจงู ใจใหค้ นอนื่ ท�ำงานใหด้ ว้ ยความเตม็ ใจ (ประเดน็ นอ้ี าจถอื เปน็ สว่ นหนง่ึ ของขอ้ 2 กไ็ ด)้ 5) มีความรอบคอบแต่กล้าตัดสินใจ ความรอบคอบหมายถึงความมีเหตุมีผล และความระมัดระวัง อย่างไรก็ตามผู้น�ำต้องกล้าที่จะตัดสินใจ และยอมรับกับผลท่ีเกิดขึ้นจากการตัดสินใจน้ัน ผู้น�ำท่ีมี ความระวงั จนไมม่ ีการตดั สนิ ใจใดๆ เลย ไม่ถือว่าเปน็ ผู้ทเ่ี กง่ เนอ่ื งจากจะไม่มีผลงานใดๆ เกดิ ขนึ้ เลย 6) มีความสามารถในการประสานประโยชน์ ผู้น�ำที่เก่ง ต้องสามารถประสานประโยชน์ของทุกฝ่ายเข้า ดว้ ยกนั ได้ แต่ทั้งน้ีตอ้ งเป็นไปเพอื่ ประโยชน์หรอื ความส�ำเรจ็ ขององคก์ ร ไม่ใชป่ ระโยชน์ของพวกพอ้ ง 7) มีความสามารถในการน�ำเสนอหรอื ประชาสัมพนั ธ์ผลงานสู่ผูเ้ กี่ยวขอ้ ง และสสู่ าธารณชนตามแตก่ รณี 8) มคี วามเข้าใจในระบบสหกรณ์ ผู้น�ำสหกรณ์ จ�ำเป็นอยา่ งยง่ิ ทจี่ ะต้องเขา้ ใจถึงระบบสหกรณ์ ซง่ึ หมาย รวมถึงหลกั การ อดุ มการณ์ (จติ วญิ ญาณ) และระบบการบริหารจัดการสหกรณ์ เปน็ อย่างดี 96 * ข่าว สอ.มก. ปีที่ 24 ฉบับที่ 5 เดือนมิถุนายน 2550

สว่ น คนดี นน้ั หมายถงึ ผทู้ ม่ี คี วามซอ่ื สตั ยส์ จุ รติ ไมก่ ระท�ำการใดๆ ทเี่ ปน็ การเบยี ดเบยี น เอารดั เอาเปรยี บ หรือท�ำใหผ้ อู้ นื่ ไดร้ ับความเสียหายเดือดร้อน มคี วามรับผิดชอบ มคี วามละอายและเกรงกลวั ต่อบาป ย่ิงกว่าน้นั จะ ต้องเป็นผ้มู กี ารปฏบิ ัติทสี่ อดคล้องกับจริยธรรมการบรหิ ารงานของสหกรณ์ โดยเฉพาะในเรื่องของการท�ำงานเปน็ ทีมหรือเป็นองค์คณะ การตัดสินใจใดๆ ของสหกรณ์ไม่ได้กระท�ำโดยคนใดคนหน่ึงแต่ท�ำโดยคณะบุคคล เรื่องใดที่ ยังไม่มีมติจากองคค์ ณะท่ีชดั เจน ไม่ควรอย่างยงิ่ ที่จะไปแจ้งหรือใหค้ �ำม่นั สญั ญาแก่สมาชิก เนื่องจากอาจท�ำให้ เกิดความเสียหายแก่สมาชิก คณะกรรมการ และสหกรณ์ในภาพรวมได้ ส่งทา้ ยกอ่ นจาก ผนู้ �ำท่พี งึ ปรารถนาของสหกรณ์ ตอ้ งมีความสามารถในการบริหารจดั การ มคี ุณธรรม เข้าใจและปฏบิ ตั ิ ตามระบบหรอื จรยิ ธรรมในการท�ำงานของสหกรณ์ ผมม่ันใจว่าสหกรณ์ทีม่ ีผูน้ �ำดีจะพบกับความเจรญิ รงุ่ เรอื ง ในทาง กลับกันจะพบกับความเส่ือม ผมขอจบความคิดเห็นเกี่ยวกับผู้น�ำที่พึงปรารถนาไว้เท่านี้นะครับ แล้วโอกาสหน้า พบกนั อีก สวัสดีครับ 97

สหกรณ์ เปน็ ของใคร?* สวุ รรณา ธุวโชติ (3426) หากมีใครสักคนหน่ึงเดินเข้ามาถามสมาชิกของสหกรณ์ว่า “สหกรณ์เป็นของใคร?” ค�ำตอบท่ีได้รับทันที ก็คงจะเป็น “เป็นของพวกเรา” หรือ “เป็นของสมาชิกทุกคน” เม่ือถามต่อไปว่าสหกรณ์ที่ว่าเป็นของทุกคนนั้น “แตล่ ะคนมสี ว่ นเปน็ เจา้ ของมากนอ้ ยแคไ่ หน?” ค�ำตอบทไี่ ดก้ ค็ งจะประมาณวา่ “เปน็ ของทกุ คนอยา่ งเทา่ เทยี มกนั ” และหากถามตอ่ ไปอกี วา่ “แลว้ ทา่ นมกี รรมสทิ ธใิ์ ดๆ ทแี่ สดงความเปน็ เจา้ ของในทรพั ยส์ นิ ของสหกรณบ์ า้ ง?” คราวน้ี เชือ่ ว่าหลายคนอาจต้องหยดุ คดิ และบางคนก็อาจตอบว่าไม่รู้ เรือ่ ง “ความเปน็ เจ้าของ” ในสหกรณ์นั้น ผู้เขียนเองเห็นวา่ เปน็ ประเดน็ ท่ีนา่ สนใจและชวนใหข้ บคิดอยู่ ไมน่ ้อย ผูเ้ ขยี นเองบอ่ ยครั้งทีถ่ กู ถามในประเดน็ เหล่าน้ี โดยเฉพาะในระยะหลงั ๆ จากบรรดาสมาชิกของสหกรณ์ ออมทรพั ย์ทีต่ ้งั มานานและมีมูลค่าสินทรัพย์สะสมอย่เู ป็นจ�ำนวนมาก ค�ำถามส่วนใหญ่กจ็ ะเป็นท�ำนองว่า “ในเมอ่ื สหกรณ์เป็นของสมาชิกแต่ท�ำไมพวกเขาซ่ึงเป็นสมาชิกจึงไม่สามารถเรียกร้องขอรับสิทธิ์ในทรัพย์สินของ องคก์ รทบ่ี อกวา่ เปน็ ของพวกเขาได”้ สมาชกิ อาวโุ สสองสามทา่ นปรารภใหฟ้ งั วา่ “เมอ่ื สามสบิ ปที แี่ ลว้ ตอนทพี่ วกผม สมคั รเปน็ สมาชกิ ใหมๆ่ ตอนนน้ั สหกรณย์ งั ไมค่ อ่ ยมอี ะไร สำ� นกั งานยงั เปน็ เรอื นไมห้ ลงั เลก็ ๆ สหกรณป์ ลอ่ ยสนิ เชอื่ กับพวกผม รับดอกเบย้ี จากพวกผมไปจนมเี งนิ มีทองสร้างตกึ ใหม่ใหญ่โตอยา่ งท่เี ห็น รวมทง้ั ทุกวนั น้มี เี งินทุนส�ำรอง หลายรอ้ ยล้านบาท สหกรณ์รวยเอาๆ แต่ผมผู้เปน็ เจา้ ของกย็ ังคงยากจนอย่เู หมอื นเดิม แลว้ จะให้เชือ่ ไดอ้ ยา่ งไร ที่มาบอกว่าผมเป็นเจา้ ของธรุ กิจรอ้ ยล้านของสหกรณ”์ ในหมนู่ กั วชิ าการสหกรณช์ น้ั น�ำของโลก การตคี วามในเรอื่ ง “ความเปน็ เจา้ ของ” ของสมาชกิ ทม่ี ตี อ่ สหกรณ์ กย็ งั เปน็ ปญั หาทม่ี กี ารถกเถยี งกนั ดว้ ยมมุ มองทแ่ี ตกตา่ งกนั นกั วชิ าการสว่ นใหญม่ คี วามเหน็ คลอ้ ยตามไปกบั แนวคดิ ของส�ำนักทีเ่ ดนิ ตามหลกั ซ่งึ ก�ำหนดโดย ICA (เป็นแนวคดิ ท่สี หกรณ์ในบ้านเรายอมรบั และยึดเปน็ แนวปฏิบัติกัน อยู่ในทุกวนั น้)ี คอื สมาชิกทั้งมวลไม่ควรเป็นเจา้ ของทงั้ หมดในสหกรณ์ทเ่ี ขาเป็นสมาชกิ ท�ำใหม้ ีการแบง่ ส่วนของ สมบตั วิ า่ บางสว่ นเปน็ ของสมาชกิ และบางสว่ นเปน็ ของสหกรณ์ ซงึ่ ถงึ แมว้ า่ จะมคี �ำอธบิ ายวา่ สว่ นทเี่ ปน็ ของสหกรณน์ น้ั กค็ อื สว่ นของสมาชกิ นน่ั เองแตเ่ ปน็ สว่ นของสมาชกิ ทด่ี �ำรงการเปน็ สมาชกิ อยปู่ จั จบุ นั และสทิ ธใิ นความเปน็ เจา้ ของ นนั้ กไ็ ม่ใชส่ ทิ ธริ ายบคุ คลทจี่ ะสามารถครอบครองสมบตั นิ นั้ แตส่ ทิ ธทิ ม่ี เี ปน็ สทิ ธใิ นฐานะทเี่ ขาเปน็ สว่ นหนง่ึ ของกลมุ่ สมาชกิ เทา่ นน้ั ในขณะทบี่ างส�ำนกั คดิ ในทางตรงกนั ขา้ มดว้ ยเหน็ วา่ สหกรณน์ น้ั เกดิ ขนึ้ มากจ็ ากสมาชกิ ดงั นน้ั สมาชกิ ทั้งมวลกค็ วรมคี วามเปน็ เจ้าของทงั้ หมดในสหกรณ์ทเ่ี ขาเป็นสมาชกิ หมายความว่าไม่ควรมีการแยกส่วนสมบตั วิ ่า สว่ นไหนเปน็ ของสมาชกิ และสว่ นไหนเปน็ ของสหกรณเ์ พราะเขาเหน็ วา่ สหกรณก์ บั สมาชกิ กค็ อื คนๆ เดยี วกนั นนั่ เอง ผู้เขียนเองเห็นว่าแนวคิดท้ังสองท่ีว่ามาน้ีล้วนให้ข้อคิดท่ีพวกเราในฐานะสมาชิกน่าจะได้รับรู้และน�ำไปพิจารณา กันตอ่ จึงหยิบยกมาขยายความสูก่ นั ฟงั ค�ำอธิบายความหมายของ “ความเป็นเจ้าของ” ตามแนวทางของ ICA ท่กี �ำหนดให้สมาชิกมกี รรมสทิ ธิ์ เพยี งบางสว่ นในสนิ ทรัพย์ของสหกรณ์ มาจากแนวคิดที่ว่า “สหกรณ์” นัน้ เปน็ สมบตั ิที่บรรพบุรุษในอดีตหลายรุน่ ไดส้ รา้ งขนึ้ เพอ่ื มอบใหผ้ คู้ นในยคุ ตอ่ ๆ มาได้ใชป้ ระโยชน์ ดงั นนั้ จงึ ไมอ่ าจกลา่ วไดว้ า่ “สหกรณ”์ เปน็ สมบตั เิ พยี งแค่ 98 * ข่าว สอ.มก. ปีที่ 25 ฉบับที่ 1 เดือนกุมภาพันธ์ 2551

ของสมาชิกปัจจุบนั เท่าน้นั แตย่ ังมสี ่วนทเ่ี ปน็ ของบรรพบรุ ุษผ้สู รา้ งมรดกน้ใี ห้กับสหกรณ์ดว้ ย และเพอื่ เปน็ หลัก ประกันว่าสมบัติน้ีจะยังคงอยู่เพื่อให้ประโยชน์แก่คนรุ่นหลังๆ ในทางปฏิบัติจึงมีการก�ำหนดโครงสร้างของทุนใน สหกรณ์ให้ผทู้ ีเ่ ป็นสมาชิกรายบคุ คลไดม้ กี รรมสิทธไิ์ ด้เพยี งบางส่วน และบางส่วนให้เปน็ ของสมาชิกทุกคนโดยรวม เพื่อที่จะบรรลุเป้าหมายท่ีต้องการร่วมกันจากธุรกิจของสหกรณ์ท่ียังด�ำเนินอยู่ แต่หากเมื่อใดสหกรณ์มีอันต้องเลิก กิจการไปไม่ว่าจะด้วยเหตุผลใดก็ตาม สินทรัพย์ส่วนรวมของสหกรณ์ท่ียังคงมีเหลืออยู่จึงถูกก�ำหนดให้โอนไปให้ แก่สหกรณ์อ่ืนหรือองค์กรอื่นตามมติที่สมาชิกส่วนใหญ่เห็นชอบเพ่ือสานเจตนารมณ์ ให้คนรุ่นหลังได้ ใช้ประโยชน์ จากสหกรณส์ ืบตอ่ ไป อกี ค�ำอธบิ ายหนงึ่ ทพ่ี ยายามจะบอกวา่ เปน็ การสมเหตสุ มผลแลว้ ทส่ี มาชกิ รายบคุ คลไมส่ มควรไดร้ บั กรรมสทิ ธิ์ ในสินทรัพย์สว่ นทเี่ ป็นสมบัตกิ ลางของสหกรณ์ คือเหตุผลท่ีวา่ ก็ในเมือ่ แรกเข้าเปน็ สมาชิกใหมๆ่ ทกุ คนก็สามารถ เขา้ มาไดอ้ ยา่ งงา่ ยๆ เพยี งแคจ่ า่ ยเงนิ ซอื้ หนุ้ ของสหกรณเ์ พยี งแคห่ นุ้ เดยี ว ดว้ ยราคาทแ่ี สนจะถกู พวกเขากส็ ามารถ ได้เปน็ เจา้ ของธรุ กิจที่อาจมมี ลู ค่าหลายสิบหลายรอ้ ยล้านที่สมาชิกก่อนหน้าน้ันเขาสะสมเอาไว้ให้ โดยมสี ิทธ์ทิ จี่ ะ ได้เป็นเจ้าของและร่วมใช้บริการจากสหกรณ์ได้เท่าเทียมกันกับสมาชิกเก่ารายอื่นๆ ด้วย ดังน้ันก็สมควรแล้วที่เมื่อ ถงึ เวลาสน้ิ สถานภาพการเปน็ สมาชกิ ของสหกรณ์ ไมว่ า่ จะโดยตงั้ ใจลาออกหรอื ตอ้ งออกดว้ ยเหตผุ ลใดกต็ าม กไ็ มค่ วร จะรอ้ งขอกรรมสิทธใ์ิ นส่วนท่เี ปน็ สมบตั ิของสว่ นรวมน้ี ส�ำหรับฝ่ายท่ีไม่เห็นด้วยกับแนวทางที่สหกรณ์จะมีทั้ง “สินทรัพย์ในนามของสมาชิกรายบุคคล” และ “สนิ ทรัพย์ในนามของสหกรณ์” หรอื ทถี่ ือกนั ว่าเป็น “สนิ ทรัพยข์ องสมาชกิ ทุกคน” โดยเฉพาะเมอ่ื สนิ ทรพั ย์ในสว่ น หลังนี้ถูกก�ำหนดให้ “แบ่งแยกไม่ได้” และหากสหกรณ์จะเลิกกิจการก็ไม่ให้น�ำมาแบ่งปันกันในหมู่สมาชิก แต่ให้ บริจาคให้กับสหกรณ์หรือองค์กรอื่นไปเสีย ดังนั้นนักคิดในส�ำนักน้ีจึงสรุปว่าสินทรัพย์ในส่วนหลังน้ีแท้จริงแล้วไม่มี ใครเปน็ เจา้ ของ และหากสหกรณ์พยายามสะสมทุนส่วนนใี้ หม้ ากเท่าไรก็เทา่ กบั วา่ สหกรณ์ ท�ำไปเพื่อความม่ันคง ของใครก็ไม่รู้ท่ีไม่ใช่สมาชิก พวกเขาเชื่อว่าการท�ำเช่นน้ีจะท�ำให้เกิดช่องว่างระหว่างสมาชิกกับสหกรณ์ สมาชิกจะ ขาดแรงจูงใจในการรว่ มท�ำธุรกิจกบั สหกรณ์ และอาจจะกอ่ ปัญหาการกระจายผลประโยชน์อย่างไม่เปน็ ธรรมอนื่ ๆ ตามมาอกี ในแงม่ มุ ของส�ำนกั นมี้ องวา่ สหกรณ์ไมเ่ หมอื นกบั ธรุ กจิ อนื่ ๆ กต็ รงท่ี สหกรณ์ไมต่ อ้ งการแสวงหาก�ำไร เพ่ือตัวสหกรณ์เองแต่เพ่ือคนื กลบั บริการท่ีดที ส่ี ดุ แก่สมาชิกของพวกเขา หรอื สร้างก�ำไรใส่กระเป๋าสมาชกิ ใหม้ าก ทส่ี ดุ เท่าที่จะท�ำได้ ในสว่ นตัวของผเู้ ขยี นนน้ั ไมไ่ ดส้ นับสนุนหรือตอ่ ตา้ นแนวคดิ ใดเป็นพิเศษ แต่อยากจะตง้ั เปน็ ขอ้ สังเกตใน เร่ืองการสะสมสินทรัพย์ (ส่วนกลาง) ของสหกรณ์ที่อยู่ในรูปของ การลงทุนในส่ิงปลูกสร้างต่างๆ รวมทั้งในรูป ของทนุ ส�ำรองที่ “เกนิ พอด”ี โดยเฉพาะเรอ่ื งทนุ ส�ำรองซงึ่ บางคนพยายามปลกู ฝงั ใหก้ บั สมาชกิ วา่ “ควรจดั สรร ก�ำไรใหเ้ ปน็ ทนุ ส�ำรองมากทส่ี ดุ เทา่ ทจ่ี ะมากได้ ยง่ิ มากกวา่ ทกี่ ฎหมายก�ำหนดไดย้ ง่ิ ด”ี เพราะปรมิ าณทเี่ กนิ พอดนี น้ั หากเกดิ จากการเบยี ดบงั ในส่วนที่ควรจะเปน็ ของสมาชกิ แล้ว ท้ายที่สดุ กจ็ ะเขา้ อีหรอบท่ีวา่ เฉือนเนือ้ จาก สมาชิกไปสะสมเพื่อใครกไ็ มร่ ู้!! 99

คณะกรรมการดำ� เนนิ การ…คนสำ� คญั ในธรุ กจิ สหกรณ*์ สวุ รรณา ธวุ โชติ (3426) ข้อเขียนน้ีเขียนขึ้นหลังจากท่ีผู้เขียนได้ไปใช้สิทธิ์ลงคะแนนเลือกคณะกรรมการด�ำเนินการของสหกรณ์ ออมทรพั ย์ที่ผู้เขยี นเปน็ สมาชกิ อยู่ บรรยากาศค่อนขา้ งจะเงยี บเหงา ประมาณครา่ วๆ จากรายชอ่ื ผูม้ าใช้สิทธ์ิวา่ คงไม่เกินร้อยละ 30 ของสมาชิกที่มี ดูเหมือนว่าสมาชิกจะไม่ค่อยให้ความส�ำคัญกับการเลือกต้ังคณะกรรมการกัน สักเท่าไร เท่าท่ถี ามจากผทู้ ี่เกี่ยวขอ้ งก็ว่า ไม่ใช่แต่ครั้งนเ้ี ทา่ นั้น คร้ังไหนๆ กค็ ล้ายๆ กัน แต่คร้งั นี้ผคู้ นดจู ะบางตา เปน็ พิเศษ เหตุผลของแตล่ ะคนก็คงจะมมี ากมาย ขอ้ เขยี นนต้ี งั้ ใจจะเขียนเพอื่ ทบทวนใหเ้ หน็ วา่ คณะกรรมการ ด�ำเนินการของสหกรณ์ ผู้ทบ่ี รรดาสมาชิกผถู้ อื หุน้ เปน็ เจ้าของทั้งหลายจะตอ้ งไปมอบอ�ำนาจให้เขา้ ไปบริหารงาน แทนดว้ ยการเลอื กตัง้ นัน้ มภี ารกิจและความรบั ผดิ ชอบท่ีส�ำคญั ตอ่ การด�ำเนินธุรกจิ ในรปู ของสหกรณ์อย่างไร เป็นการยากที่จะท�ำความเข้าใจถึงบทบาทของคณะกรรมการด�ำเนินการโดยปราศจากความเข้าใจอย่าง ชดั แจง้ ถึงแนวคดิ ของอ�ำนาจในการควบคุมกิจการของสหกรณ์ การควบคุมดแู ลกจิ การสหกรณ์ กค็ อื การตัดสินใจ ในนามของสมาชกิ เพอื่ สรา้ งผลประโยชน์ใหต้ กอยกู่ บั สมาชกิ ตามความคาดหวงั ของสมาชกิ โดยทว่ั ไป คณะกรรมการ ด�ำเนินการจะเป็นผู้รับผิดชอบในการใช้และปกป้องทรัพยากรต่างๆ ของพวกเขาเพ่ือท่ีจะช่วยพัฒนาชีวิตความ เป็นอยูข่ องพวกเขา เนอื่ งจากในทางปฏิบัตนิ ้ันเป็นไปไม่ได้เลยท่จี ะใหส้ มาชิกของสหกรณ์ทกุ คนเปน็ ผู้ตดั สนิ ใจหรือ สั่งการในการท�ำธุรกิจของสหกรณ์ พวกเขาจึงต้องเลือกคณะกรรมการด�ำเนินการข้ึนมาและมอบอ�ำนาจท่ีมีอยู่ พร้อมด้วยทรพั ยากรทจ่ี �ำเปน็ เพอื่ การตัดสินใจ ไม่วา่ จะเป็นทนุ บคุ ลากร เคร่ืองไมเ้ คร่อื งมอื ต่างๆ ให้กับตวั แทน ดว้ ยความไวว้ างใจ โดยหวงั วา่ ทรพั ยากรเหลา่ น้ีจะถูกน�ำไปใช้อยา่ งมีประสทิ ธภิ าพและเกิดประสทิ ธิผล ในทางกลับกนั ส�ำหรบั คณะกรรมการด�ำเนนิ การของสหกรณ์น้นั เม่อื ไดร้ ับมอบความไว้วางใจมาจากบรรดา สมาชกิ แลว้ จะตอ้ งสามารถใหค้ �ำตอบหรอื ชแ้ี จงความเปน็ เหตเุ ปน็ ผลในการกระท�ำกจิ กรรมตา่ งๆ คณะกรรมการจะ ตอ้ งใหค้ �ำอธบิ ายวา่ ไดต้ ดั สนิ ใจอะไรลงไปบา้ ง มกี ารใชท้ รพั ยากรตา่ งๆ ของบรรดาสมาชกิ ไปอยา่ งไรบา้ งและบรรลผุ ล เพยี งใด คณะกรรมการนนั้ นอกจากจะถกู คาดหวงั วา่ จะสามารถท�ำกจิ กรรมทส่ี นองความตอ้ งการของสมาชกิ แลว้ ยงั เป็นทีค่ าดหมายวา่ จะต้องสามารถใหค้ �ำตอบหรอื ชีแ้ จงสิ่งทท่ี �ำให้กบั พวกเขาได้อีกดว้ ย ในบรบิ ทของการตดั สนิ ใจ คณะกรรมการด�ำเนนิ การจะตอ้ งตดั สนิ ใจเปน็ หนงึ่ เดยี วกนั ถงึ แมว้ า่ องคค์ ณะ จะประกอบไปดว้ ยกรรมการรายบคุ คลกต็ าม กรรมการด�ำเนนิ การจะมอี �ำนาจกเ็ ฉพาะเมอ่ื กระท�ำการในฐานะของ คณะกรรมการ นอกห้องประชมุ แลว้ เขาจะไมม่ อี �ำนาจอะไรมากมายไปกวา่ ทสี่ มาชิกผเู้ ปน็ เจา้ ของสหกรณ์คนหน่ึง จะพงึ มี ดว้ ยเหตนุ ถี้ งึ แมว้ า่ องคป์ ระกอบของคณะกรรมการด�ำเนนิ การจะประกอบไปดว้ ยกรรมการตวั แทนรายบคุ คล ทตี่ ่างกม็ ฝี มี ือ มคี วามสามารถ รวมทงั้ มีความคดิ เหน็ ทีแ่ ตกต่างกัน อย่างไรกต็ ามการตัดสินใจของกรรมการซ่ึงเม่อื รว่ มหารอื กนั แลว้ ผลของทป่ี ระชมุ คณะกรรมการด�ำเนนิ การจะตอ้ งมเี พยี งหนง่ึ เดยี ว หมายความวา่ กรรมการรายบคุ คล ผู้ที่อาจไม่เห็นด้วยกับมติที่ประชุมไม่ควรแสดงความคิดเห็นที่ขัดแย้งกับมติของคณะกรรมการภายนอกห้องประชุม 100 * ข่าว สอ.มก. ปีที่ 23 ฉบับที่ 12 เดือนมกราคม 2550

ในทางปฏิบัติมีสหกรณ์จ�ำนวนไม่น้อยท่ีไม่ได้ก�ำหนดลงไปในรายละเอียดอย่างชัดเจนถึงบทบาทและ ความรับผิดชอบของบุคคลท่ีเข้ารับต�ำแหน่งกรรมการด�ำเนินการ บ่อยครั้งที่พบว่ากรรมการที่ได้รับการเลือกตั้ง รายใหมต่ ้องประสบกับความยุง่ ยากในการแยกแยะระหว่างหน้าท่ขี องพวกเขาในฐานะที่เปน็ กรรมการ และ ในฐานะท่เี ปน็ สว่ นหนง่ึ ของคณะกรรมการ และอีกเชน่ กันที่สมาชิกของสหกรณเ์ องบางรายกไ็ ม่ทราบแน่ชัด ถงึ การจัดแบ่งความรับผดิ ชอบระหวา่ งคณะกรรมการด�ำเนนิ การและฝ่ายจดั การ ในแง่มุมของกรรมการด�ำเนินการรายบุคคลน้ันความรับผิดชอบส�ำคัญท่ีควรมีก็เช่น มีความสนใจติดตาม ขา่ วสารของสหกรณแ์ ละเขา้ ใจมากเพยี งพอทจี่ ะท�ำการตดั สนิ ใจเลอื กสง่ิ ทดี่ ที สี่ ดุ ใหก้ บั สหกรณ์ได้ มเี วลาทจี่ ะเขา้ รว่ ม ประชมุ คณะกรรมการด�ำเนนิ การได้ทุกคร้ัง มสี ว่ นรว่ มอย่างแข็งขันในท่ปี ระชมุ คณะกรรมการด�ำเนินการด้วยการ เสนอแนวคดิ หรอื ตง้ั ประเดน็ ค�ำถามทเี่ หมาะสม ศึกษาข้อกฎหมายที่เกี่ยวข้องและท�ำความเข้าใจในนโยบายของ คณะกรรมการด�ำเนินการอย่างชัดเจน เป็นตัวแทนของสมาชิกท้ังมวลโดยไม่แสดงความล�ำเอียงกับบุคคลหรือ กลุม่ บุคคลใดเป็นพิเศษ ตระหนกั เสมอว่าการตัดสนิ ใจของคณะกรรมการด�ำเนินการเป็นการตัดสนิ ใจของกลุ่มซง่ึ ประกอบดว้ ยกรรมการรายบคุ คลทม่ี คี วามรแู้ ละประสบการณท์ ห่ี ลากหลาย รวมทง้ั ตอ้ งใหก้ ารสนบั สนนุ การตดั สนิ ใจ ของที่ประชุมที่มาจากเสียงส่วนใหญ่ นอกจากนี้ควรค�ำนึงเสมอถึงการแบ่งแยกภาระความรับผิดชอบระหว่าง คณะกรรมการด�ำเนินการกบั ฝ่ายจัดการ แล้วอะไรบ้างคือสิ่งที่สมาชิกควรจะคาดหวังจากคณะกรรมการด�ำเนินการของสหกรณ์ สหกรณ์น้ันหากจะ เปรยี บไปกเ็ สมอื นเรอื ล�ำใหญท่ กี่ �ำลงั แลน่ ไปยงั จดุ หมาย โดยมสี มาชกิ เปน็ ผกู้ �ำหนดวา่ ตอ้ งการจะใหม้ งุ่ ไปยงั ทใี่ ด สว่ นคณะกรรมการด�ำเนนิ การนน้ั จะเปน็ ฝา่ ยก�ำหนดเสน้ ทางเดนิ เรอื ใหม้ งุ่ ไปตามจดุ หมายทส่ี มาชกิ ตอ้ งการ รวมทงั้ ให้หลักประกนั วา่ จะมกี ารเดินทางตามเส้นทางทกี่ �ำหนดเอาไวจ้ ริง โดยมีผูจ้ ัดการสหกรณเ์ ปน็ กปั ตันเรือท่คี วบคุม ลูกเรือให้แล่นไปตามเส้นทางท่ีก�ำหนดให้ถึงท่ีหมายอย่างปลอดภัย ดังนั้นในทางปฏิบัติสิ่งส�ำคัญท่ีสมาชิกควรจะ คาดหวงั จากการท�ำงานของคณะกรรมการด�ำเนนิ การ กค็ อื ประการแรก การเชอ่ื มความสมั พนั ธก์ บั สมาชกิ ผเู้ ปน็ เจา้ ของ คณะกรรมการจะไมส่ ามารถด�ำเนนิ ภารกจิ ทไ่ี ดร้ บั มอบหมายไดเ้ ลยหากไมร่ แู้ นช่ ดั วา่ ใครคอื ผทู้ อี่ งคก์ รจะตอ้ ง มงุ่ ให้บรกิ าร ไมไ่ ด้ค้นหาว่าพวกเขาต้องการอะไรจากสหกรณ์ ดังนั้นการสานสัมพนั ธ์เพ่ือความเขา้ ใจและรถู้ ึงความ ตอ้ งการของสมาชกิ จงึ เปน็ ภารกจิ ส�ำคญั ประการแรกประการทสี่ องเปน็ การก�ำหนดหนทางทจ่ี ะเดนิ ไปสเู่ ปา้ หมายท่ี สมาชิกตอ้ งการ ซงึ่ ในทางปฏบิ ตั ิก็คือการ “ก�ำหนดนโยบาย” ของคณะกรรมการนั่นเอง อยา่ งไรก็ตามนโยบายท่ี ก�ำหนดเอาไว้อย่างรอบคอบก็อาจไม่เกิดประโยชน์หากนโยบายน้ันไม่ได้ถูกน�ำไปปฏิบัติให้เป็นจริง ดังน้ันจึงน�ำมาสู่ ส่งิ ส�ำคัญ ประการท่ีสามท่ีคณะกรรมการจะต้องท�ำคอื การสร้างความมนั่ ใจว่านโยบายน้นั จะไดร้ ับการสานตอ่ เปน็ กจิ กรรมปฏิบัติ หรอื ก็คอื การสรา้ งใหเ้ กิดระบบติดตามตรวจสอบ โดยตดิ ตามใหม้ ีการปฏิบัติอย่างสม�ำ่ เสมอ Bruce L. Anderson and Brain M. Henehan จากภาควิชาเศรษฐศาสตร์ประยุกต์และการจัดการ มหาวทิ ยาลยั Cornell สหรฐั อเมรกิ า กลา่ วถงึ ความรบั ผดิ ชอบทสี่ �ำคญั ของคณะกรรมการด�ำเนนิ การของสหกรณว์ า่ คอื การปอ้ นค�ำถามทเ่ี หมาะสมและเปน็ เหตเุ ปน็ ผลตอ่ ฝา่ ยจดั การ Bruce เชอ่ื วา่ เพยี งแคค่ ณะกรรมการจะตงั้ ค�ำถาม 101

ทม่ี สี าระต่อฝ่ายจดั การ กส็ ง่ ผลต่อการบริหารงานของสหกรณ์แล้ว เช่นค�ำถามท่วี า่ สหกรณ์ของเราเปน็ ทางเลือก แห่งแรกท่ีสมาชิกจะใช้บริการหรือไม่? หากไม่ใช่ด้วยสาเหตุอะไร? ท่านสามารถบอกความพอใจที่สมาชิกมีต่อ สหกรณ์ของเราไดห้ รอื ไม่? ท่านรู้ไดอ้ ย่างไร? สหกรณ์ของเราสามารถให้บรกิ ารแก่สมาชิกด้วยค่าบริการที่เแข่งขัน ไดก้ ับธรุ กจิ อ่ืนหรือไม่? หากไม่ใช่ เพราะเหตุใด? สมาชกิ ของเราไดร้ ับขอ้ มลู ข่าวสารอยา่ งเพียงพอในเรอ่ื งส�ำคัญๆ ของสหกรณ์หรือไม่? ใครเป็นคู่แข่งท่ีน่ากลัวที่สุดส�ำหรับสหกรณ์? เพราะอะไร? ส่วนค�ำถามที่เป็นเร่ืองการ บริหารงานภายในส�ำนักงาน เปน็ ต้นว่า จะจดั จา้ งพนกั งานระดบั ลา่ งอย่างไร จะซ้ือรถยนตย์ ่ีห้อไหน ควรปลอ่ ยให้ เป็นหน้าทขี่ องผจู้ ัดการ ไม่จ�ำเป็นท่ีคณะกรรมการด�ำเนนิ การจะตอ้ งเสียเวลาพจิ ารณา เหน็ หรอื ยงั วา่ การมีคณะกรรมการด�ำเนินการทเี่ ขม้ แขง็ รหู้ นา้ ทแี่ ละมคี วามรับผิดชอบ จะมีผลตอ่ เสถียรภาพและการเตบิ โตของสหกรณ์ รวมท้งั ท�ำใหส้ หกรณ์ของท่านมคี วามเข้มแข็งได้อยา่ งไร 102

นกั สหกรณ.์ ..คนกลมุ่ นอ้ ยผจู้ ดุ พลงั ความรว่ มมอื * สวุ รรณา ธวุ โชติ (3426) ไดม้ โี อกาสอา่ นงานเขยี นของ Lee Dye อดตี นกั เขยี นคอลมั นว์ ทิ ยาศาสตรข์ องนติ ยสาร Los Angles Times ซง่ึ เขยี นถงึ พฤตกิ รรมการรว่ มมอื กนั ของมนษุ ยเ์ รา เหน็ วา่ นา่ สนใจดแี ละคดิ วา่ ชาวสหกรณผ์ ทู้ นี่ ยิ มใชว้ ธิ กี ารรว่ มมอื กนั ในการท�ำงานอาจจะอยากรู้ จงึ เกบ็ มาเลา่ สกู่ นั ฟงั เผอื่ จะไดข้ อ้ คดิ ใหมๆ่ ทเ่ี ปน็ ประโยชน์ในการท�ำงานสหกรณก์ นั บา้ ง Lee Dye ไดเ้ ขยี นเลา่ ถึงความพยายามของนักจิตวทิ ยาสองคน คอื Robert Kurzban ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์ ทางจิตวิทยาแห่งมหาวิทยาลัย Pennsylvania และ Daniel Houser นักจิตวิทยาแห่งมหาวิทยาลัย George Mason ทง้ั สองพยายามทจี่ ะหาค�ำอธบิ ายพฤตกิ รรมของมนษุ ย์ วา่ ท�ำไมจงึ เตม็ ใจทจ่ี ะรว่ มมอื กนั ทง้ั ๆ ทหี่ ลายครง้ั ก็ต่อสู้แขง่ ขันกนั เองอย่างดเุ ดือดเพอื่ หาความกา้ วหนา้ ใหก้ ับชีวิต ในการศึกษาเพือ่ หาค�ำตอบนัน้ ท้งั สองไดท้ �ำ การทดลองโดยคดั เลอื กนกั ศกึ ษามาจ�ำนวน 80 คน แบง่ เปน็ กลมุ่ ยอ่ ยๆ กลมุ่ ละ 4 คน สมาชกิ ของกลมุ่ จะไมเ่ คยพบ หรือรู้จักกันมาก่อน พวกเขาจะได้รับเงินคนละ 50 เหรียญ พร้อมกับค�ำช้ีแจงว่าเขาสามารถที่จะเก็บเงินจ�ำนวนนี้ ทั้งหมดเอาไว้เองหรือบริจาคบางส่วนให้กับกองกลางของกลุ่ม ซ่ึงเงินกองกลางน้ันจะมีมูลค่ามากขึ้นเป็นสองเท่า ของจ�ำนวนเงนิ ทม่ี ผี ู้ใสล่ งไป และเมอื่ การเลน่ ยตุ ลิ งเงนิ สว่ นกลางกจ็ ะถกู แบง่ สรรอยา่ งเทา่ ๆ กนั ในหมสู่ มาชกิ ของ กลมุ่ โดยไมม่ ขี ้อแมว้ ่าใครจะร่วมบรจิ าคมากนอ้ ยแคไ่ หนหรอื ไม่ให้เลยก็ตาม ดังน้ันหากทุกคนไว้เน้อื เช่อื ใจกนั และ ลงขนั ให้กองกลางเต็มท่ีเท่ากับเงินท่ีมีอยู่ เมื่อสิน้ สดุ การเลน่ ทุกคนก็จะได้รับเงนิ มากข้นึ เปน็ สองเท่าของเงินทีไ่ ด้ เม่ือเริ่มต้น แตห่ ากมีเพยี งคนเดียวที่เทกระเปา๋ ให้กบั กองกลางในขณะทเี่ พือ่ นสมาชิกคนอื่นๆ ไม่ให้เลย เขาคนนัน้ กจ็ ะเหลือเงินเพียงครงึ่ เดยี วจากท่ีไดม้ า การศึกษาครงั้ น้ี Kurzban และ Houser พบว่า ในบรรดานักศึกษาที่เข้าร่วมทดลองน้นั สามารถจัดจ�ำแนก ออกได้เป็น 3 ประเภทด้วยกนั ประเภทแรกเปน็ กลุ่มทีล่ งเงนิ ใหก้ บั ส่วนกลางในทนั ทีอยา่ งไม่ลังเลใจโดยไมส่ นใจ วา่ คนอน่ื ๆ คดิ จะใหห้ รอื ไม่ใหก้ ต็ าม กลมุ่ นท้ี งั้ สองเรยี กวา่ เปน็ “นกั สหกรณ”์ ผซู้ งึ่ เตม็ ใจใหค้ วามรว่ มมอื ทจ่ี ะแบง่ ปนั สว่ นทตี่ นมเี พอ่ื สรา้ งประโยชน์ใหก้ บั สว่ นรวมในทกุ เมอื่ ประเภททสี่ องเปน็ กลมุ่ คนทอ่ี ยู่ในขวั้ ตรงกนั ขา้ มคอื ไมย่ อม ควกั เงนิ ให้กบั สว่ นกลางเลยหรอื หากให้กน็ อ้ ยมากอย่างเสียไมไ่ ด้ กลมุ่ นี้เขาจดั ใหเ้ ป็นประเภท “ผรู้ อรบั ของฟร”ี ที่คอยเฝ้ารอรับประโยชน์จากส่วนรวมเพียงอย่างเดียวเท่านั้น ประเภทที่สามเป็นกลุ่มท่ีจะให้ความร่วมมือกับ ส่วนกลางก็ต่อเมื่อเห็นสัญญาณชัดเจนว่าตนจะได้รับประโยชน์ด้วยเท่านั้น กลุ่มนี้เขาเรียกว่า “ผู้คอยสนองตอบ” ที่จะรอดูท่าทีคนอนื่ ๆ กอ่ นวา่ จะบรจิ าคกนั มากน้อยอยา่ งไรก่อนท่ีตัวเองจะรว่ มบรจิ าคด้วย และไมว่ า่ Kurzban และ Houser จะทดลองศกึ ษากบั นกั ศกึ ษากกี่ ลมุ่ กต็ าม ผลทไ่ี ดก้ ล็ งเอยเหมอื นๆ กนั วา่ ประมาณร้อยละ 63 ของผูท้ ีร่ ่วมทดลองจัดเป็นพวก “ผู้คอยสนองตอบ” ท่ีสงวนท่าทีกอ่ นที่จะให้ ร้อยละ 20 เปน็ “ผ้รู อรับของฟรี” โดยไม่ยอมควกั เน้อื ใดๆ ทั้งสนิ้ และมีเพยี งร้อยละ 17 ท่เี ปน็ “นกั สหกรณ์” ผ้เู ตม็ ใจให้ เพอื่ ส่วนรวมโดยไม่ลงั เลใจ Kurzban และ Houser ได้ใหข้ ้อคดิ จากผลการศกึ ษาของเขาวา่ ถงึ แม้ว่าคนกลมุ่ * ข่าว สอ.มก. ปีที่ 22 ฉบับที่ 8 เดือนกันยายน 2548 103

“นกั สหกรณ”์ จะเปน็ กล่มุ นอ้ ยของสงั คมกต็ าม แต่จะเป็นกลมุ่ คนทม่ี ีพลงั ในการชักน�ำใหเ้ กิดการรว่ มมือ โดยท�ำให้ กลุ่มใหญ่ที่เป็น “ผู้คอยสนองตอบ” ซ่ึงไม่ต้องการตกขบวนผลประโยชน์ใดๆ ต้องติดตามและให้ความร่วมมือด้วย เพื่อรักษาสถานะของตนเอง การร่วมมือกันในวงกว้างจึงเกิดขึ้น เขาทั้งสองจึงสรุปว่านักสหกรณ์เป็นผู้เพาะและ เผยแพรเ่ มล็ดพนั ธุแ์ ห่งความร่วมมือกันโดยแท้ ถงึ แมว้ า่ การคน้ พบขา้ งตน้ จะเปน็ เพยี งสว่ นหนงึ่ ของการศกึ ษาวจิ ยั อกี ทงั้ ท�ำขน้ึ ในตา่ งประเทศทผ่ี คู้ นอาจจะ มีพฤติกรรมและความนึกคิดที่แตกต่างไปจากบ้านเราบ้างก็ตาม ก็ยังให้ความรู้สึกดีๆ ที่ได้รู้ว่าในแต่ละสังคมน้ัน ถงึ แมว้ า่ คนสว่ นใหญจ่ ะคอ่ นขา้ งระวงั เนอื้ ระวงั ตวั และสงวนทา่ ทที จี่ ะใหค้ วามรว่ มมอื กบั สว่ นรวมกต็ าม กย็ งั มคี น จ�ำนวนหนึง่ ซึง่ แม้จะไมม่ ากนกั ท่พี รอ้ มจะเปน็ ผูเ้ รม่ิ ต้นและจดุ พลงั แหง่ ความร่วมมอื ให้เกดิ ข้ึนอยเู่ สมอ 104

ประโยชนข์ องทนุ สำ� รองของสหกรณ*์ ศาสตราจารยพ์ เิ ศษ อาบ นคะจดั (77) นกั สหกรณแ์ ห่งชาติ สาขาวชิ าการสหกรณ์ ทุนส�ำ รองคอื อะไร : ทุนส�ำ รองคือทุนดำ�เนนิ งานประเภทหนึง่ ของสหกรณ์ ทนุ ด�ำ เนินงานของสหกรณป์ ระกอบด้วย ทนุ เรือนห้นุ ทุนส�ำ รอง ทุนสะสมอ่นื ๆ กำ�ไรสุทธิ และเงนิ รบั ฝากและหรอื เงนิ กขู้ องสหกรณ์ ทนุ สำ�รองมาจากไหน : องค์การธรุ กิจในรปู สหกรณม์ ีทม่ี าของทนุ สำ�รองดังนี้ (1) การรับเงินอุดหนุนหรือทรัพย์สินทางราชการ หรือหน่วยงานของต่างประเทศ หรือบุคคลอ่ืนใด ถ้าการใช้เงินอุดหนุนหรือทรัพย์สินน้ันก�ำหนดไว้เพื่อการใด ให้ใช้เพ่ือการน้ัน แต่ถ้ามิได้ก�ำหนดไว้ ใหจ้ ดั สรรเงนิ อดุ หนนุ หรอื ทรพั ยส์ นิ นนั้ เปน็ ทนุ ส�ำรองของสหกรณ์ (มาตรา 49 พ.ร.บ. สหกรณ์ พ.ศ. 2542) (2) ในการจัดสรรก�ำไรสุทธิประจ�ำปีของสหกรณ์ ให้จัดสรรเป็นทุนส�ำรองไม่น้อยกว่าร้อยละสิบของ ก�ำไรสทุ ธิ (มาตรา 60 พ.ร.บ. สหกรณ์ พ.ศ. 2542) กรณีเช่นนี้ก็คือการบงั คบั ใหส้ หกรณ์ (คือสมาชกิ ทุกคน) ออมทรัพย์จากเงินส่วนเกินสุทธิ (Net Surplus) ประจ�ำปีตามภาษาวิชาการสหกรณ์หรือ ก�ำไรสุทธิ (Net Profit) ประจ�ำปีตามภาษาวิชาการบัญชี ดังน้ันทุนส�ำรองจึงเป็นทุนรวมกันของ สมาชกิ ทุกคน แต่จะขอแบง่ สว่ นจากทนุ ส�ำรองเมือ่ ตนพน้ สมาชิกภาพไมไ่ ด้ ต่างจากหุ้นของสมาชกิ แต่ละคน ซึ่งสหกรณ์จะคืนให้แก่สมาชิกเจ้าของหุ้น เม่ือสมาชิกผู้นั้นพ้นจากสมาชิกภาพโดยไม่มี หน้ีสนิ กบั สหกรณ์ (ม. 43 (5) พ.ร.บ. สหกรณ์ พ.ศ. 2542) (3) เมอ่ื สหกรณข์ ายทรัพย์สนิ ของตน เชน่ รถยนต์ โรงสขี า้ ว และท่ดี นิ ทีส่ ร้างหรอื ซือ้ ไว้ก่อนแลว้ เงินค่า ขายทรัพย์สินดังกล่าว โดยหลักการบัญชีและระเบียบของสหกรณ์ สหกรณ์จะต้องน�ำเงินที่ขายได้ เข้าบญั ชเี ปน็ ทุนส�ำรอง ไม่ให้น�ำเข้าบัญชีเงินรายได้จากการท�ำธรุ กิจในปที ีข่ ายทรพั ย์สินดังกล่าว (4) การแยกสหกรณ์ “...ถา้ ทปี่ ระชมุ ใหญไ่ ดม้ มี ตเิ หน็ ชอบใหแ้ ยกสหกรณ์ใหพ้ จิ ารณาแบง่ แยก ทรพั ยส์ นิ ทนุ ทนุ ส�ำรอง หนสี้ นิ สทิ ธแิ ละความรบั ผดิ ชอบของสหกรณ์ ตามวธิ ที นี่ ายทะเบยี นสหกรณก์ �ำหนด...” (มาตรา 96 พ.ร.บ. สหกรณ์ พ.ศ. 2542) จะใช้ทนุ ส�ำรองเพอ่ื การใดได้บา้ ง : ทนุ ส�ำรองของสหกรณ์ตามมาตรา 60 วรรคหนง่ึ พ.ร.บ. สหกรณ์ พ.ศ. 2542 จะถอนจากบญั ชที นุ ส�ำรองไดเ้ พอื่ ชดเชยการขาดทนุ หรอื เพอื่ จดั สรรเข้าบญั ชที ุนส�ำรองใหแ้ กส่ หกรณ์ใหมท่ ่ไี ดจ้ ด ทะเบยี นแบ่งแยกจากสหกรณ์เดมิ ตามมาตรา 100 พ.ร.บ. สหกรณ์ พ.ศ. 2542 ประโยชนข์ องทนุ ส�ำรอง : ทนุ ส�ำรองมปี ระโยชนห์ ลายประการอาทิ ดังต่อไปนี้ : (1) ใชเ้ ปน็ ทุนด�ำเนินงานของสหกรณ์โดยไม่ตอ้ งคดิ คา่ ตอบแทน เหมอื นที่คิดใหแ้ ก่ค่าห้นุ คา่ เงนิ รบั ฝาก หรอื เงนิ กขู้ องสหกรณ์ (2) ใช้เพ่ือชดเชยการขาดทุนของสหกรณ์ไดต้ ลอดไป ตามมาตรา 60 พ.ร.บ. สหกรณ์ พ.ศ. 2542 * ข่าว สอ.มก. ปีที่ 26 ฉบับที่ 5 เดือนมิถุนายน 2552 105

(3) ถ้าสหกรณ์มีทุนส�ำรองเท่ากับหรือเกินก่ึงของจ�ำนวนเงินทุนเรือนหุ้นท่ีช�ำระแล้วจะไม่มีกรณีท่ี สหกรณจ์ ะขาดทุนเกินก่ึงของทนุ เรอื นหุ้นท่จี ะเรียกประชมุ ใหญว่ ิสามัญของสหกรณต์ ามมาตรา 55 วรรคหน่ึง พ.ร.บ. สหกรณ์ พ.ศ. 2542 เพราะสหกรณ์สามารถใช้ทุนส�ำรองชดเชยการขาดทุน ดังกลา่ วได้ ดงั นัน้ จ�ำนวนทนุ ส�ำรองจึงเป็นปจั จัยส�ำคัญอยา่ งหนงึ่ ซ่งึ ใช้ในการรกั ษามูลค่าหุน้ ของ สมาชิกไม่ให้ตกต�่ำ (4) คณะกรรมการด�ำเนินการสหกรณ์ อาจค�ำนวณค่าตอบแทนทุนส�ำรองท่ีสหกรณ์มีอยู่ในปีการ บัญชีน้ันๆ ในอัตราไม่ต่�ำกว่าอัตราเงินฝากสูงสุด หรือไม่สูงกว่าอัตราเงินกู้สูงสุดของสหกรณ์ อัตราใดอัตราหน่ึงท่ีเหมาะสม จัดสรรเป็นค่าตอบแทนทุนส�ำรอง แล้วน�ำเงินค่าตอบแทนท่ีค�ำนวณ ไดน้ ้ีมาจดั สวัสดกิ ารในรูปต่างๆ แกส่ มาชกิ ในแตล่ ะปี เช่น ทนุ ส�ำรองของสหกรณม์ อี ยู่ในปี 2551 จ�ำนวน 460 ลา้ นบาท คดิ อตั ราค่าตอบแทนในอตั ราเงนิ กู้ 5.50% จะเป็นเงินค่าตอบแทนทนุ ส�ำรอง จ�ำนวน 25.30 ล้านบาท ดงั น้ัน ถ้าสหกรณ์ใดมีทนุ ส�ำรองมาก คณะกรรมการด�ำเนนิ การก็อาจน�ำ คา่ ตอบแทนทคี่ �ำนวณไดม้ าจัดสวสั ดกิ ารแก่สมาชกิ ในรปู ตา่ งๆ ได้มาก สรุป : หากสมาชิก สอ.มก. ประสงค์ให้ สอ.มก. จัดสวัสดิการแก่สมาชิกดีขึ้น และหลายรูปแบบมากขึ้น และ ประสงค์ให้มูลค่าหุ้นของตนม่ันคง ท่านต้องเรียกร้องให้คณะกรรมการจัดสรรก�ำไรสุทธิประจ�ำปีท่ีได้จากบุคคล ผู้ไม่ใชส่ มาชกิ คอื จากก�ำไรทไ่ี ดจ้ ากการใหส้ หกรณอ์ น่ื กแู้ ละการลงทนุ ตา่ งๆ ของ สอ.มก. มาเปน็ ทนุ ส�ำรองไมน่ อ้ ยกวา่ 15% แต่ไม่เกนิ 30% ของทกุ ปี จนทนุ ส�ำรองไม่ต่ำ� กวา่ กึ่งหน่ึงของทนุ เรือนหุ้นของ สอ.มก. 106

ทนุ สำ� รองของสหกรณค์ อื อะไร รใู้ หจ้ รงิ * ดร.ววิ ฒั น์ แดงสุภา (1430)  ทุนสำ�รอง คือเงินที่ต้องจัดสรรจากกำ�ไรสุทธิประจำ�ปีในแต่ละปีอย่างน้อย 10 เปอร์เซ็นต์ แต่ สหกรณอ์ อมทรพั ย์ มก. เราจะจดั สรรปลี ะ 15-30 เปอรเ์ ซน็ ต์ รวมๆ กนั มา 47 ปแี ลว้ ไดท้ ง้ั สน้ิ ขณะน้ี 366 ลา้ นบาท  ทุนสำ�รองของสหกรณ์จะเป็นเงินทุนของสหกรณ์จริงๆ (ไม่เหมือนหุ้นหรือเงินรับฝากซึ่งเป็นของ สมาชกิ ) จะไมม่ ีการลดลงอย่างเด็ดขาด แต่จะเพิม่ ข้นึ ทุกปีอย่างนอ้ ย 10% ของกำ�ไรสุทธิในแต่ละปี และจะอยู่ ค่กู ับสหกรณ์ตลอดไป ใครจะนำ�ไปใช้ไมไ่ ดเ้ ด็ดขาด แต่สหกรณจ์ ะได้ประโยชน์เพยี งแคน่ ำ�ไปลงทุนออกดอกผลได้ เท่านั้น ดอกผลนี้ควรจะต้องคืนสู่สมาชิกในรูปสวัสดิการ จึงจะถูกต้องที่สุด และถ้าให้ถูกต้องกว่าที่สุดคือต้องคืน สสู่ มาชกิ ทเ่ี กา่ แกห่ รอื มอี ายกุ ารเปน็ สมาชกิ มากๆ ทส่ี ดุ เพราะเขาไดถ้ กู หกั ก�ำ ไรทพ่ี งึ จะไดม้ าเปน็ เงนิ ทนุ ส�ำ รอง มากปที ี่สุด (ควรคืนส่สู มาชกิ มาก-นอ้ ยตามจำ�นวนอายกุ ารเปน็ สมาชกิ )  ทนุ ส�ำ รองหนส้ี ญู ของธนาคารมนั เปน็ คนละเรอ่ื ง เพราะธนาคารปลอ่ ยหนส้ี ญู เยอะแยะ บางธนาคาร ปล่อยกู้ 100 ลา้ น สญู ตั้ง 50-60 ล้าน (มากกว่า 50%) เลยโดนบังคับให้สำ�รองหน้ีสูญ แต่หน้สี หกรณน์ ่าจะสญู อยา่ งมากไมเ่ กนิ 1-2% และกจ็ ะตอ้ งส�ำ รองหนส้ี ญู ไปหมดแลว้ ทง้ั 100 เปอรเ์ ซน็ ตท์ กุ ปตี ามระเบยี บขอ้ บงั คบั ของ กรมส่งเสริมสหกรณ์ และเมอ่ื ไดช้ ำ�ระหน้คี นื มาก็จะกลับมาเป็นก�ำ ไรภายหลัง  ความรับผิดชอบของสมาชิกในสหกรณ์ประเภทจ�ำ กัดก็แค่เพียงค่าหุ้นในสหกรณ์เท่านั้น แต่อย่า กลัวเลยเพราะสหกรณ์จะไม่มีวันล่มเด็ดขาด ถ้ามหาวิทยาลัยยังจ่ายเงินเดือนให้สมาชิกอยู่ เพราะสหกรณ์ก็ ยังคงหักชำ�ระหนี้ไดท้ กุ เดอื น อยา่ งไม่มที างบดิ พร้วิ ขอขอบพระคุณท่ีสมาชิกท่านหน่ึงได้เป็นห่วงเป็นใยเร่ืองเงินทุนสำ�รองของสหกรณ์และกรุณาแนะนำ� มาในเร่ืองนี้ เลยขออธิบายให้พอเข้าใจ ถ้ายังสงสัยโปรดหารือพูดคุยกันได้ตลอดเวลา ด้วยความรักและเต็มใจยิ่ง * ข่าว สอ.มก. ปีที่ 23 ฉบับที่ 12 เดือนมกราคม 2550 107

สวสั ดกิ ารในสหกรณอ์ อมทรพั ย์ : ควรจะพอดสี กั แคไ่ หน... (1)* ดร.วิวัฒน์ แดงสุภา (1430) ในขณะน้ีสหกรณอ์ อมทรัพย์ตา่ งๆ เร่ิมจะมีการแข่งขนั กันจดั สวัสดกิ ารใหก้ ับสมาชกิ มากขึ้นๆ ในรูปแบบ ตา่ งๆ มากบา้ ง น้อยบา้ ง และแตกตา่ งกนั ในเรอ่ื งรปู แบบ วธิ ีการ ซึ่งส่วนใหญ่แล้วกจ็ ะลอกเลียนตามๆ กนั เพราะ ไม่มลี ิขสทิ ธิ์ในการท�ำความดที ่ีก่อประโยชน์ให้กบั สมาชกิ ความหมายแท้จริงของค�ำว่า “สวัสดิการ” คือ การให้ความช่วยเหลือด้านความเป็นอยู่นอกเหนือไป จากค่าจา้ งประจ�ำ จะเห็นวา่ ในความหมายน้นี ้ัน เปน็ การใหก้ บั ผ้ทู ่ีมคี า่ จ้างประจ�ำอยูแ่ ล้วเทา่ นน้ั แต่ในความหมาย ของสหกรณอ์ อมทรัพย์ในขณะน้ี สวสั ดิการ ควรจะหมายถึง การใหห้ รือการให้ความช่วยเหลอื กบั สมาชิกตาม ความเหมาะสม ซึ่งเปน็ ไปตามระเบียบ ว่าดว้ ยสวัสดกิ ารของแต่ละสหกรณ์ ระเบียบวา่ ดว้ ยสวัสดกิ าร น้ัน คณะกรรมการด�ำเนินการสหกรณเ์ ป็นคนก�ำหนด หรืออนุมัติ เพราะฉะนั้น สวัสดิการแต่ละอย่างเกิดข้ึนเมื่อไร เปล่ียนแปลงไปเรื่อย อย่างไรแค่ไหนมีหลักฐานชัดเจนสืบค้นได้แน่นอน คณะกรรมการด�ำเนินการจงึ มีความหมายมากในการก�ำหนดให้มสี วัสดิการใดๆ ข้นึ ในสหกรณ์ และปรบั ปรุง เปลีย่ นแปลงระเบียบตา่ งๆ เก่ียวกบั สวัสดิการ ความเหมาะสมของแตล่ ะสหกรณ์ การทค่ี ณะกรรมการด�ำเนนิ การจะก�ำหนดใหม้ สี วสั ดกิ ารขนึ้ ในสหกรณ์ แคไ่ หนอยา่ งไรนน้ั จะตอ้ งค�ำนงึ ถงึ ความพอเหมาะพอควรของศกั ยภาพของแตล่ ะสหกรณ์ ซง่ึ ไมเ่ หมอื นกนั ตลอดจน ความต้องการและความเหมาะสมเป็นธรรมของมวลหมู่สมาชิกสว่ นใหญเ่ ปน็ ส�ำคัญดว้ ย ศักยภาพของสหกรณน์ ั้น หมายถงึ สหกรณ์ทมี่ สี ินทรัพยม์ าก และสนิ ทรัพย์ท่มี คี วามหมายมากก็คอื เงนิ ทนุ ส�ำรองของสหกรณเ์ อง และเงนิ รบั ฝากจากสมาชกิ เพราะเงนิ ทนุ ส�ำรองเปน็ เงนิ ของสหกรณเ์ องทห่ี กั ไวจ้ าก ก�ำไรสุทธิแต่ละปี (อย่างน้อย 10% ตามกฎหมาย แทนที่จะไปเป็นเงินปันผล เฉล่ียคืน ให้กับสมาชิกในปีนั้นๆ) เงินนีไ้ ม่มีตน้ ทุน สหกรณ์จึงไปลงทนุ เปน็ ก�ำไรได้เตม็ รอ้ ยเปอร์เซน็ ต์ อีกอยา่ งคอื เงนิ รับฝาก ซึ่งจะมีส่วนเหลอ่ื ม จากการน�ำไปลงทุนได้มากกวา่ ดังนนั้ สหกรณท์ ม่ี ีเงินทนุ ส�ำรองมากและมีเงนิ รบั ฝากมากจงึ จะท�ำก�ำไรไดม้ าก และสามารถน�ำไปจดั เป็นสวสั ดกิ ารใหก้ บั สมาชิกไดม้ ากกว่า ส่วนสินทรัพย์ที่เป็นเงินห้นุ ในสหกรณ์น้ันแม้จะท�ำ ก�ำไรได้สหกรณ์ก็ต้องน�ำไปคนื ใหก้ ับสมาชิกในรูปเงนิ ปนั ผล ในอัตราคอ่ นขา้ งสูงอยู่ดี การน�ำเงินมาจัดสวัสดิการให้กับสมาชิกจึงต้องเป็นเงินท่ีเหลือจากการค�ำนึงค�ำนวณถึงการจัดปันผล และเฉลี่ยคืนให้กับสมาชิกจนเป็นท่ีพอใจแล้ว สหกรณ์ขนาดเล็กเพ่ิงเริ่มต้ังยังมีเงินทุนส�ำรองน้อย และมีเงิน รับฝากไมม่ ากและท�ำก�ำไรไดน้ อ้ ย แทบไมพ่ อปันผล เฉลยี่ คนื ด้วยซ�้ำ จึงจะจดั สวสั ดิการให้ได้มากเหมอื นสหกรณ์ ขนาดใหญ่ไม่ไดห้ รอก 108 * ข่าว สอ.มก. ปีที่ 27 ฉบับที่ 7 เดือนสิงหาคม 2553

การจดั สวสั ดกิ ารในสหกรณอ์ อมทรพั ยแ์ ทจ้ รงิ แลว้ คอื อะไร เมอื่ มองอยา่ งทะลปุ รโุ ปรง่ แลว้ การจดั สวสั ดกิ าร ในสหกรณ์ออมทรัพย์ ก็คือ การคืนก�ำไร หรือจัดสรรก�ำไรให้สมาชิกโดยทางอ้อมนั่นเอง เพราะเมื่อสหกรณ์ ใหญ่ขึ้นโดยมีการสะสมเงินทุนส�ำรองไว้มากขึ้นทุกปีตามอายุของสหกรณ์ และมีเงินรับฝากมากข้ึนพร้อมกับมี คณะกรรมการด�ำเนนิ การน�ำเงินไปลงทนุ ได้เกง่ ๆ ก็จะท�ำก�ำไรไดม้ าก ครน้ั จะน�ำมาจดั สรรเปน็ ปนั ผล เฉลี่ยคนื อกี ทั้ง โบนัสมากนักก็จะไม่สมควรในฐานะที่เป็นองค์กรสหกรณ์ ซึ่งไม่ได้ส่งเสริมให้มีการลงทุนเพื่อได้ก�ำไรสูงสุดแล้ว มาแบ่งปันกัน การน�ำก�ำไรหรือส่วนเหลื่อมจากการบริหารธุรกิจ (ท่ีไม่ต้องเสียภาษีเงินได้จากธุรกิจ 30%) มาจัดสรรเป็นสวัสดิการให้กับสมาชิกจึงเป็นการสมควรย่ิง และจะยิ่งดีมากถ้าจะแบ่งปันให้กับสังคมอ่ืนๆ เพอ่ื เป็นการเสยี ภาษที างอ้อมบ้าง การจดั สวสั ดกิ ารในสหกรณอ์ อมทรพั ยน์ น้ั บรหิ ารจดั การไดอ้ ยา่ งไรบา้ ง จงึ จะเหมาะสมและเปน็ ธรรม และ มากนอ้ ยแคไ่ หนอยา่ งไรจึงจะพอดีน้ัน มีข้อคิดหลายประการ โดยเฉพาะใน สอ.มก. ของเรา ไวต้ ่อฉบบั หนา้ แล้วกนั เพราะฉบับนก้ี ็ยาวพอสมควรแลว้ ไมท่ ราบ บก. จะใหล้ งหรอื เปล่า... 109

สวสั ดกิ ารในสหกรณอ์ อมทรพั ย์ : ควรจะพอดสี กั แคไ่ หน... (2)* ดร.วิวฒั น์ แดงสภุ า (1430) “พอดี” ในส่วนของสหกรณ์ คือผู้จัดสรรให้สมาชิกจะต้องคาดคะเนได้ว่าสหกรณ์จะมีศักยภาพสักแค่ไหน ดังได้กล่าวแล้วในตอนท่ี 1 จึงมาจัดสรรให้จ�ำนวนเงินพอเหมาะพอดีได้ใน 2 รูปแบบคือ 1. ต้ังเป็นงบประมาณ คา่ ใชจ้ า่ ยประจ�ำปี 2. จดั สรรจากก�ำไรสทุ ธเิ มอื่ ประชมุ ใหญต่ อนสนิ้ ปมี าตงั้ เปน็ กองทนุ สวสั ดกิ าร หรอื ใชท้ งั้ สองรปู แบบ ผสมกนั ตามความเหมาะสมก็ได้ เร่ืองน้ีต้องเป็นกุศโลบายของคณะกรรมการด�ำเนินการและลักษณะของสมาชิกในแต่ละสหกรณ์ซึ่งไม่ เหมือนกัน และแต่ละรูปแบบจะมีข้อดีและข้อแตกต่างกัน ผู้จัดการและคณะกรรมการควรจะเข้าใจในเร่ืองนี้ให้ ทะลปุ รโุ ปรง่ ไม่ใช่สกั แต่วา่ จัดตัง้ ไปตามๆ เขาไปแบบไม่รเู้ รอื่ งรู้ราว ผ่านไมผ่ ่าน ส�ำเร็จไมส่ �ำเรจ็ ชา่ งหัวมัน ไม่ รบั ผดิ ชอบ เพราะจะคดิ วา่ ตวั เองไมเ่ ดอื ดรอ้ นดว้ ยนนั้ ไมไ่ ด้ ควรจะเปน็ เชน่ เดยี วกบั การเสนองบประมาณของประเทศ นน่ั แหละ ถา้ เสนอแลว้ ไม่ผา่ นรฐั บาลก็ “หน้าแตก” หรอื อาจจะต้องลาออก หรือยุบสภาตามมารยาท ไมอ่ ยากจะ อธบิ ายเรอ่ื งนใี้ หส้ มาชกิ รมู้ ากนกั ใหล้ องไปคดิ ดเู องบา้ งวา่ สง่ิ ไหนควรจะตง้ั เปน็ คา่ ใชจ้ า่ ยในงบประมาณประจ�ำปี และสิง่ ไหนควรจะจดั สรรจากก�ำไรสุทธไิ ปตั้งเป็นกองทนุ สวสั ดกิ าร ความพอด-ี พอเหมาะพอควรในสว่ นของสมาชกิ นนั้ ไมน่ า่ จะมขี ดี จ�ำกดั เปน็ รปู ธรรมแตต่ อ้ งยดึ หลกั ความ เหมาะสมถกู ตอ้ งเปน็ ธรรมกบั สมาชกิ สว่ นใหญโ่ ดยรวม “สวสั ดกิ าร” หมายความโดยตรงวา่ การทกี่ อ่ ใหเ้ กดิ ความสวสั ดี เพราะฉะนนั้ สงิ่ ใดทเี่ กดิ ความไมม่ สี วสั ดกี บั สมาชกิ สหกรณก์ เ็ ขา้ ไปชว่ ยเหลอื จดั การไดท้ ง้ั นน้ั เชน่ ความเดอื ดรอ้ น จากอุบัติภัยต่างๆ ไฟไหม้ น�้ำท่วม ลมพายุ อุบัติเหตุ เจ็บไข้ได้ป่วยจนกระท่ังตาย เป็นต้น สิ่งเหล่านี้ใครก็ไม่อยาก ให้เกิด แต่เมื่อเกิดขึ้นสหกรณ์ก็ควรจะได้เข้าไปช่วยเหลืออย่างรวดเร็วและทันท่วงทีตามก�ำลังของสหกรณ์ “ไม่ใช่ บ้านสมาชิกไฟไหม้ น�้ำท่วมหรือลมพัดพังไปเป็นเดือนๆ แล้วค่อยอนุมัติเงินไปช่วยเหลือ มูลนิธิช่วยคนอนาถาอื่นๆ เขาแจกไปตงั้ แต่วนั แรกๆ แล้ว” เรื่องความเดือดร้อนนั้นต้องช่วยเหลือแน่ๆ แต่จะพอเหมาะพอดีแค่ไหนนั้น ข้ึนอยู่กับศักยภาพของ สหกรณ์ ลักษณะความเสยี หาย/เดอื ดร้อน ควรจะต้องมกี ฎ ระเบยี บ เก่ียวกับเร่อื งนี้ให้ชดั เจนและยดื หยุ่นไดบ้ ้าง ตามสมควร ความเดือดร้อนตา่ งๆ เหล่านใ้ี ครๆ ก็ไมอ่ ยากใหเ้ กดิ ข้ึน และสหกรณก์ ็ควรจะตอ้ งช่วยเหลอื สมาชิกผู้ ไดร้ ับการชว่ ยเหลอื กค็ วรร้วู า่ สหกรณน์ ่าจะชว่ ยไดแ้ ค่ไหนตามกฎเกณฑ์ และฝ่ายบรหิ ารกต็ ้องรจู้ ักปรับเปลี่ยนกฎ ระเบยี บตามสถานการณ์ด้วย สมาชกิ ผทู้ ไ่ี ม่เดือดรอ้ นและจะไม่ไดร้ ับการชว่ ยเหลือ ก็ควรจะอนุโมทนาด้วยใบบุญ ที่คนมีส่วนร่วมในฐานะเจ้าของสหกรณ์ ไม่ใช่ว่าอิจฉาคนท่ีได้รับการช่วยเหลือ เลยคิดจะเผาบ้านตัวเองดูบ้างจะ ได้รู้ว่าสหกรณ์จะช่วยสักเท่าไร การช่วยเหลือเมื่อสมาชิกได้รับความเดือดร้อนจึงไม่น่าจะมีปัญหาอะไรมากนัก ใหว้ ิเคราะห์วิจารณก์ นั 110 * ข่าว สอ.มก. ปีที่ 27 ฉบับที่ 8 เดือนกันยายน 2553

ส่วนท่ีน่าจะมาวิเคราะห์และคิดกันให้รอบคอบชัดเจนก็คือ การให้การช่วยเหลือในลักษณะเป็นรางวัล หรือเป็นการ “ตอบแทน” ที่ไม่ได้เกิดจากความเดือดร้อน เช่น สวัสดิการวันเกิด สวัสดิการสาวโสด เป็นต้น การตอบแทนตอนเกษียณอายุราชการ หรือ “บ�ำนาญสมาชิกเกษียณ” ส่ิงเหล่านี้จะเป็นรูปแบบการคืนก�ำไรหรือ ผลประโยชน์ให้กับสมาชิกรูปแบบหนึ่ง จึงควรต้องรอบคอบและเป็นธรรมอย่างชัดเจน จะอธิบายในคราวนี้ก็ คงจะยาว เอาแบบส้ันๆ คงจะเข้าใจยาก จึงต้องขออธิบายต่อฉบับหน้านะครับ ตอนที่ 3 มีแน่ๆ แล้วน่าจะจบได้แล้ว 111

สวสั ดกิ ารในสหกรณอ์ อมทรพั ย์ : ควรจะพอดสี กั แคไ่ หน? (3)* ดร.ววิ ัฒน์ แดงสภุ า (1430) พอดสี กั แคไ่ หนส�ำหรบั สหกรณน์ น้ั พอสรปุ ไดง้ า่ ยๆ แลว้ ใชไ่ หมวา่ ถา้ สหกรณร์ วยเสยี อยา่ ง จะแจกสมาชกิ มากเท่าไหร่ก็ไม่น่าเกลียดหรอก แต่ถ้าสหกรณ์จนๆ แจกมากเกินตัว “ข้ีตามช้าง” ก็ดูจะน่าสงสาร (แสบก้น) สหกรณเ์ ลก็ ๆ ตง้ั ใหม่ๆ เงินทุนยังนอ้ ย ทุนส�ำรองเพิ่งจะเริ่มมไี ม่เท่าไร กต็ ้องนง่ั ดู (ตาปริบๆ) สหกรณเ์ ศรษฐตี ่างๆ เขาอวดรวยไปกอ่ นแล้วกัน และอยา่ เผลอไป “ประชานิยม” หรือท�ำตามสมาชกิ เรยี กรอ้ งกแ็ ลว้ กัน เพราะเรอ่ื ง อยา่ งนถี้ า้ ให้แล้วมนั ลดไมไ่ ดเ้ ดด็ ขาด...(มีแตจ่ ะเพม่ิ ) แล้วสดุ ทา้ ยสหกรณ์จะทรุดลงดว้ ย พอดี ในส่วนของสมาชกิ นนั้ ตอ้ งมองดว้ ยความถูกตอ้ งและเปน็ ธรรมกับมวลสมาชิกเปน็ ส�ำคญั พดู ไป แล้ววา่ ถา้ ชว่ ยเหลอื เพือ่ บรรเทาความเดือดร้อนตามความหมายแท้จรงิ ของค�ำว่าสวัสดิการแล้วกช็ ว่ ยไปเถิดแต่ ต้องเหมาะสม “พอดี” กบั เหตกุ ารณ์และก�ำลังของสหกรณด์ ้วย และกรรมการต้องคอ่ ยปรับปรงุ พฒั นา กฎ ระเบยี บ ใหเ้ หมาะสมไปเรอ่ื ยๆ เพื่อใหเ้ กดิ ความพอดี สว่ น “สวสั ดกิ าร” ในเชิง รางวัล หรือเปน็ การตอบแทน ในเชิงเป็นการคนื ก�ำไร (ทุนส�ำรอง) ของสมาชกิ ท่ีเก็บไว้ในสหกรณ์นน้ั ตอ้ งคดิ ใหร้ อบคอบและเป็นธรรมมากๆ หนอ่ ย แต่ไมต่ ้องถึงกับต้อง “เป๊ะๆ” เพราะสหกรณ์ มหี ลกั การส�ำคญั ในเรอ่ื งชว่ ยเหลอื ซง่ึ กนั และกนั อยแู่ ลว้ ผทู้ ไ่ี มไ่ ดร้ บั หรอื ไดน้ อ้ ยหนอ่ ยกค็ วรค�ำนงึ ถงึ ความเสยี สละบา้ ง ก็จะได้บุญ ส่วนคนท่ีได้เปรียบอยู่บ้าง ก็ควรนึกถึงบุญคุณสหกรณ์ และนั่นคือบุญคุณจากมวลสมาชิกบ้างด้วย เชน่ กนั และผทู้ เ่ี สยี โอกาสมากทสี่ ดุ คอื บรรดาสมาชกิ ทต่ี ายหรอื ลาออกไปแลว้ กอ่ นทสี่ วสั ดกิ าร “ยาหอม” ตา่ งๆ เกิดข้ึน เพราะสมัยกอ่ นนัน้ สมาชิกส่วนใหญ่จะลาออกไป หรือตายไปโดยไม่ไดอ้ ะไรเลย นอกจากคา่ หนุ้ หนุ้ ละ 10 บาทเท่าเดมิ และเงินชว่ ยเหลอื ค่าท�ำศพเล็กๆ น้อยๆ เทา่ นน้ั มาสมัยน้จี ากตัวเลขสรุปรายจ่ายเงินสวัสดิการ สมาชกิ ในปที ี่แลว้ (1 มกราคม ถึง 31 ธนั วาคม 2552) สวสั ดกิ ารประเภท จ�ำนวน (บาท) วันเกดิ 6,979,105.- มงคลสมรส คลอดบตุ ร 49,500.- โสด 37,500.- คนไข้ใน/อุบตั ิเหตุโรคร้ายแรง อมั พฤกษ์ อมั พาต 51,200.- ทุนอดุ หนนุ การศึกษาบุตรผมู้ ีรายไดน้ ้อย 666,100.- ทนุ ส่งเสรมิ การศกึ ษาประเภทเรียนดี 964,600.- ทุนการศกึ ษาส�ำหรบั สมาชกิ 1,520,200.- ทุนการศึกษาบตุ รสมาชกิ ทค่ี สู่ มรสถึงแกก่ รรม 329,475.- เงนิ เสริมสรา้ งคณุ ภาพชวี ติ (ยอ้ นหลงั ) 431,000.- เงินเพือ่ การครองชีพ 2,117,158.- 3,833,400.- 112 * ข่าว สอ.มก. ปีที่ 27 ฉบับที่ 9 เดือนตุลาคม 2553

สวัสดกิ ารประเภท จ�ำนวน (บาท) สมาชิกถึงแกก่ รรม 1,955,100.- บิดา/มารดา/บตุ ร ถงึ แกก่ รรม 1,334,625.- ประสบภัยธรรมชาต ิ 42,300.- รวมท้งั สนิ้ 20,311,263.- จากตวั เลขคา่ ใชจ้ ่ายด้าน “สวสั ดกิ าร” แล้วจะเห็นไดว้ ่าสว่ นใหญจ่ ะเป็นไปในด้านคนื ก�ำไรใหก้ ับสมาชกิ เสยี แล้ว เม่อื เปน็ เชน่ นี้ ความพอดหี รอื ความเหมาะสมและยุตธิ รรม ควรอยตู่ รงไหน เม่ือพดู ถึงการ “คนื ก�ำไร” หลกั การจงึ เกยี่ วขอ้ งกบั การมามสี ว่ นรว่ มในสหกรณ์ เช่น เวลาหรอื อายุการ เป็นสมาชิก การถือหุ้นในสหกรณ์ การกเู้ งินในสหกรณ์ และการเขา้ มาฝากเงินในสหกรณ์ เป็นต้น แต่ในขณะนี้ สหกรณ์ มก. ของเราจะเอา อายกุ ารเป็นสมาชกิ (นับเฉพาะปีท่ีสะสมหุ้น) มาเป็นเกณฑ์ในการจา่ ยสวสั ดิการ รปู แบบน้ซี ึ่งก็ยตุ ธิ รรมใช้ไดพ้ อควร แม้จะไมล่ ะเอยี ดนกั และไมย่ ุ่งยากหยุมหยิมในการค�ำนวณ การจะเพม่ิ เติมรายการ “สวัสดกิ าร” แบบคืนก�ำไร (ยาหอม, ประชานยิ ม) อนื่ ๆ อกี น้นั ก็ตอ้ งลองช่วยกันคิด เพ่ือให้เกิดความพอดี ท้ังฝ่ายสหกรณ์และฝ่ายสมาชิก สหกรณ์เป็นของสมาชิก สมาชิกจึงต้องเข้ามามีส่วน รว่ มเสนอแนะ ขณะเดียวกันคณะกรรมการด�ำเนนิ การกต็ ้องมีวิสัยทศั น์ และประสบการณ์กวา้ งไกลพอในเร่อื ง เหล่าน้ี และท่ีส�ำคญั คอื ต้องมีใจกวา้ งพอในการคืนก�ำไร ในดา้ นสวสั ดกิ ารใหก้ บั สมาชิก เพราะเป็นกรรมการตอ้ ง รถู้ งึ “ก�ำลงั ” หรือ “ศกั ยภาพ” ของสหกรณด์ ี และสามารถมองทะลถุ ึงความ “พอด”ี ระหว่างสหกรณ์กบั สมาชิก ได้แจ่มแจง้ ชัดเจน เรามามองกนั ใหช้ ดั ๆ วา่ เงินรายได้ หรือ “ก�ำไร” ของสหกรณท์ ่ีน�ำมาจา่ ยสวสั ดิการตา่ งๆ กนั ทกุ วนั น้ี มาจากไหนกันแน่ เอาตัวเลขกลมๆ งา่ ยๆ เฉพาะยอดใหญๆ่ โดยประมาณ (ล่วงหนา้ เล็กนอ้ ย) สินทรพั ยร์ วมทงั้ หมด (เงนิ ทนุ ) 20,000.- ล้านบาท (100%) - เงนิ รบั ฝากรวมทกุ แบบ 15,000.- ล้านบาท (75%) - เงนิ หุ้นสมาชิก 4,000.- ล้านบาท (20%) - เงินทนุ ส�ำรองและทนุ อน่ื ๆ 1,000.- ล้านบาท (5%) 1. เงินท่ีท�ำรายได้เตม็ เมด็ เต็มหนว่ ย คอื เงนิ ทนุ ส�ำรองและเงินทนุ อนื่ ๆ เพราะไม่มตี น้ ทุน เปน็ เงนิ ของ สหกรณเ์ อง ไปลงทุนเทา่ ใดก็ได้ ส่วนเหล่อื มเป็นก�ำไรทง้ั หมด แตข่ ณะนมี้ ีประมาณนอ้ ยเพยี ง 5% ของทนุ ทง้ั หมด ยิง่ นานปเี ขา้ กจ็ ะย่ิงมากข้ึนเรอื่ ยๆ 2. เงินรบั ฝาก เป็นเงนิ ทนุ ของสหกรณถ์ งึ 75% และมสี ว่ นเหลอ่ื มระหวา่ งอตั ราดอกเบยี้ เงินรบั ฝากกับ อัตราดอกเบี้ยผลตอบแทนจากการน�ำไปลงทุน ประมาณ 0.5-2% รายได้จากส่วนน้ีแหละเป็นรายได้หลักของ สหกรณ์ในขณะน้ี ที่น�ำมาจ่ายปนั ผล ในอัตราสงู (6.5%) เฉล่ยี คืน ในอตั ราสงู (33%) และน�ำมาจา่ ยสวสั ดิการกัน มากมายนานาชนดิ ซง่ึ เป็นจ�ำนวนปลี ะประมาณ 25 ล้านบาท 113

3. เงนิ หนุ้ สมาชกิ ไมไ่ ดก้ อ่ ใหเ้ กดิ รายไดจ้ รงิ ๆ กบั สหกรณเ์ ลย เพราะสหกรณต์ อ้ งจา่ ยเงนิ ปนั ผลในอตั รา ท่สี งู กวา่ อัตราผลตอบแทนจากการน�ำไปลงทุนดว้ ยซำ้� สหกรณ์ต้องน�ำก�ำไรจากสว่ นอนื่ (ขอ้ 1 และ ข้อ 2) มา จ่ายเงินปนั ผลด้วยซ้�ำ 4. รายไดจ้ ากเงนิ ใหส้ มาชิกกู้ เลก็ น้อยมากและแทบไม่มสี ว่ นเหลอ่ื มเพราะสมาชิกกกู้ ันเพียงประมาณ 3,500.-ล้านบาท สหกรณค์ ดิ ดอกเบ้ียเงินกู้ในอตั ราต�่ำและยังจ่ายเฉล่ยี คนื สงู ถึงกวา่ 30% รายได้จากการกขู้ อง สมาชกิ จงึ แทบไม่เหลือมาเป็นก�ำไรหรือมาจา่ ยเปน็ สวัสดิการหรอก สรุปแล้วเงนิ รายไดห้ รอื ก�ำไรหลักของสหกรณน์ น้ั อยู่ทเี่ งนิ รับฝากใช่ไหม ถ้าไม่มีเงินรบั ฝากมากๆ ก็คงไม่มี เงินก�ำไรมาจ่ายปันผล เฉล่ียคืนกันในอัตราสูงๆ กันหรอก และก็ไม่มีเงินมาจ่ายสวัสดิการต่างๆ กันมากมายอย่าง ที่เป็นอยู่อย่างแน่นอน คงจะเห็นได้ใช่ไหมว่าความมั่นคงของสหกรณ์อยู่ตรงไหนกันแน่โปรดดูแลและเอาใจใส่ ผู้ฝากเงินดีๆ ทัง้ สมาชิกสามัญและสมาชกิ สมทบ ที่มีศรทั ธามาฝากเงนิ กนั เยอะๆ นน่ั แหละคอื ต้นตอแหง่ การท�ำรายได้ใหส้ หกรณ์ (เหมอื นอย่างที่ธนาคารเขารวยๆ กนั อยไู่ ง) และในจ�ำนวนผฝู้ ากรายใหญ่สงู สุดของ สอ.มก. ต้ังแตก่ อ่ ต้งั มาก็คอื มหาวิทยาลยั เกษตรศาสตรข์ องเราเอง ซึ่งยงั ไม่รู้เป็นสมาชกิ สมทบหรอื ยงั นะ แลว้ สมาชิก ผูฝ้ ากเงนิ ได้รับสวสั ดิการอะไรนอกเหนือจากดอกเบ้ยี เงินฝากบา้ งหรอื เปลา่ ? (คิดมาก-ปวดหมอง) สว่ นธนาคาร ให้ดอกเบี้ยเงินฝากน้อยกว่าต้ังเยอะแล้วก็ไม่เห็นแจกอะไร แถมยังชอบคิดค่าธรรมเนียมแพงๆ ด้วย แต่ก็ยังมี สมาชกิ ...ไปฝากกันอยู่ไมน่ ้อย สรปุ สดุ ทา้ ย ความพอดสี กั แคไ่ หนของสวสั ดกิ ารในสหกรณอ์ อมทรพั ยน์ นั้ อยทู่ กี่ �ำไรของสหกรณ์ ถา้ สหกรณ์ มรี ายไดม้ ากท�ำก�ำไรไดม้ าก เพอ่ื จดั สรรเปน็ เงนิ ปนั ผลหนุ้ สมาชกิ และเงนิ เฉลยี่ คนื ดอกเบย้ี เงนิ กขู้ องสมาชกิ ผกู้ ู้ได้ สงู มากจนไมน่ า่ เกลยี ดแลว้ กค็ วรจะตอ้ งไปลงดา้ นสวสั ดกิ ารดจู ะ “สวย” กวา่ หรอื อาจจะแบง่ ปนั เพอื่ สาธารณประโยชน์ และสังคมบ้างก็จะดี (เป็นการเสียภาษที างออ้ ม) สอ.มก. เราท�ำก�ำไรจากการน�ำเงินฝากและเงินทุนส�ำรองไปลงทุนเป็นส�ำคัญ ฉะน้ันพยายามจัดสรรทุน ส�ำรองใหม้ ากหน่อยในแต่ละปี และพยายามระดมใหส้ มาชกิ ได้มาฝากเงนิ กนั เยอะๆ แลว้ คณะกรรมการจักน�ำไป ลงทุนอย่างฉลาดและรอบคอบ จะได้ท�ำก�ำไรมากๆ แล้วสวัสดิการก็ย่อมต้องมากตามไปด้วย แต่ถ้าก�ำไรลดลง จัดสรรเป็นเงินปันผลและเงินเฉลี่ยคืนไม่เป็นท่ีพอใจสมาชิก ก็อย่าหวังจะเหลือเงินสวัสดิการกันอย่าง “พอดี” เหมอื นปจั จบุ นั เลย 114

บทความชนะการประกวดปี 2552 “สหกรณ์ออมทรัพย์จะมีประโยชน์อย่างย่ิงส�ำหรับผู้ที่ประสงค์จะออมทรัพย์ จะมีประโยชน์มาก ส�ำหรับผู้ท่ีรู้จักกู้ไปทำ� ประโยชน์ แต่จะมโี ทษกับผู้ทก่ี ูไ้ ปใชใ้ นทางสุรุ่ยสรุ า่ ย” ศาสตราจารยอ์ ินทรี จนั ทรสถติ ย์ อดตี ประธานกรรมการ สอ.มก. คนแรก

การใชส้ หกรณอ์ อมทรพั ยม์ หาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร์ จำ� กดั พฒั นาคณุ ภาพชวี ติ ของสมาชกิ ทัดชา ตนุ้ สกุล (7037)* สหกรณ์ออมทรัพย์มหาวทิ ยาลัยเกษตรศาสตร์ (สอ.มก.) ถือก�ำเนดิ ขึ้นมาตั้งแต่ปี พ.ศ. 2502 แรกเร่มิ ก่อตั้งใช้ช่ือว่าสหกรณ์ข้าราชการกรมมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ จ�ำกัดสินใช้ มีสมาชิกแรกเร่ิมอยู่ 110 คน จนกระทง่ั เมอ่ื วนั ท่ี 22 เมษายน พ.ศ. 2512 ไดเ้ ปลยี่ นชอื่ มาเปน็ สหกรณอ์ อมทรพั ยม์ หาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร์ จ�ำกดั และมกี ารด�ำเนนิ กจิ การทเี่ กย่ี วขอ้ งกบั เรอื่ งเงนิ ทนุ ตา่ งๆ ทใ่ี ช้ในระบบสหกรณ์ พฒั นาสรา้ งความเจรญิ ยงิ่ ขน้ึ เรอื่ ยมา ตามล�ำดบั จนกระทงั่ ถงึ ทกุ วนั น้ี สหกรณอ์ อมทรพั ยม์ หาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร์ จ�ำกดั ไดก้ �ำหนดวสิ ยั ทศั นว์ า่ ตอ้ งเปน็ สหกรณอ์ อมทรพั ยช์ ั้นน�ำ เลศิ ลำ้� สวสั ดิการ ด�ำเนนิ งานโปร่งใส คู่ใจประชาคม มก. และมีพนั ธกจิ ตอ่ ชาวประชา มหาวิทยาลยั เกษตรศาสตร์ในการส่งเสริมการออม พร้อมใหส้ ินเชอื่ ส่วนเหลือลงทนุ เจอื จุนสวสั ดกิ าร บริการดว้ ย นำ�้ ใจ ก้าวไกลเทคโนโลยี ความรมู้ โี ดยทั่วถึง พึงเอ้อื อาทรสงั คม ส่งเสริมคณุ ภาพชวี ิตดว้ ยหลกั เศรษฐกจิ พอเพยี ง ผเู้ ขยี นเปน็ สมาชกิ สหกรณอ์ อมทรพั ยม์ หาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร์ จ�ำกดั นบั แตเ่ รม่ิ เขา้ รบั ราชการในปี 2532 นับถึงตอนน้ีเป็นเวลากว่า 20 ปีแล้ว ได้มีโอกาสใช้สหกรณ์แห่งน้ีเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตของตนเองเป็นเวลา หลายคร้ังหลายหนแล้ว รู้สึกประทับใจในการบริหารการจัดการของคณะผู้บริหารสหกรณ์ออมทรัพย์ฯ แห่งนี้เป็น อย่างยิง่ ในการดูแลเอาใจใส่สมาชิกให้ได้รบั ความสะดวกรวดเรว็ มีการบรกิ ารที่ดี พัฒนาความรู้ ใส่ใจในสวสั ดกิ าร ใหก้ บั สมาชกิ นบั แตเ่ รมิ่ สมคั รเขา้ มาเปน็ สมาชกิ สหกรณ์ จนกระทง่ั เสยี ชวี ติ โดยเฉพาะอยา่ งยง่ิ ในเรอ่ื งความโปรง่ ใส ของการด�ำเนินกิจการ จะมีระบบตรวจสอบที่เข้มข้น ถูกขั้นตอนตามกฎหมายทุกประการ ท�ำให้ผู้เขียนมีความรู้สึก ภาคภูมใิ จทเี่ ปน็ สว่ นหนง่ึ ของรวั้ รม่ นนทรไี ดม้ โี อกาสเขา้ มาเปน็ สมาชกิ สหกรณอ์ อมทรพั ยม์ หาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร์ จ�ำกดั ได้เรยี นรู้สงิ่ ตา่ งๆ มากมายท่ชี ว่ ยพฒั นาชีวติ ของตนเองให้ดีขึ้น ซง่ึ จะขอกล่าวไวพ้ อสงั เขปดังตอ่ ไปนี้ 1. ใช้สหกรณ์ฯ ในการรู้จักการออมทรพั ยเ์ พอ่ื สรา้ งอนาคต ระบบสหกรณอ์ อมทรัพยช์ อ่ื น้ันกบ็ อกอยู่แลว้ วา่ เปน็ เรอ่ื งของการออมทรัพย์ ผู้เขยี นจะแบ่งเงนิ สว่ นหนง่ึ ไวเ้ พอ่ื การออมทรพั ย์ด้วยการถูกหักจากเงินเดอื น เพ่อื เป็นมลู ค่าหุ้น ซง่ึ เงนิ จ�ำนวนนี้จะถูกหกั สะสมไว้ทุกเดือนเปรียบเสมอื นการฝากเงนิ ประจ�ำไว้ที่ธนาคาร เงนิ เหล่านี้ จะถูกเฉลย่ี คนื ให้เปน็ เงินปนั ผลในชว่ งปลายปี เม่อื คดิ ดแู ล้วจะได้มากกวา่ ดอกเบย้ี ในธนาคาร ท�ำให้ในแตล่ ะเดือน ผู้เขยี นไดม้ ีโอกาสรูจ้ กั การใช้จ่ายอย่างประหยดั รูจ้ กั การบริหารเงนิ รู้จกั คุณค่าของเงิน และมคี วามหวังเมือ่ ถงึ ปลายปี เงินจ�ำนวนน้จี ะถูกสะสมเพม่ิ มากข้ึนไปเรือ่ ยๆ จนกวา่ ผเู้ ขยี นจะลาออกจากการเปน็ สมาชิกสหกรณ์ ลองคิด ดูซิว่าถ้าตราบใดที่ผู้เขียนยังไม่ลาออกจากการเป็นสมาชิกสหกรณ์ฯ เงินที่เพิ่มข้ึนทุกปีน้ันจะมีจ�ำนวนเท่าใด นับเป็น เร่อื งที่ทุกคนมีสิทธิทจี่ ะนกึ ถึงได้ 2. ใชส้ หกรณฯ์ ในการรจู้ กั การวางแผนการใชเ้ งนิ ทง้ั ในระยะสน้ั และระยะยาว เชน่ ในระยะสนั้ เมอื่ คราวใด มีความจ�ำเป็นต้องใชเ้ งนิ อย่างเรง่ ดว่ นกะทนั หัน ผู้เขยี นกไ็ ด้ใชว้ ธิ ีการกู้เงนิ แบบฉุกเฉิน ซึ่งใช้ระยะเวลาด�ำเนนิ การ ทสี่ น้ั มคี วามรวดเรว็ เปน็ อยา่ งมาก สามารถน�ำเงนิ สดนน้ั มาใชแ้ ก้ไขปญั หาเฉพาะหนา้ ทเ่ี กดิ ขน้ึ เปน็ ครง้ั คราวไดอ้ ยา่ ง 116 * ผู้ที่ส่งบทความเข้าประกวด ได้รับรางวัลที่ 2 หุ้น สอ.มก. 5,000.-บาท

ทันท่วงทีโดยไม่มคี วามจ�ำเป็นตอ้ งไปเสียดอกเบ้ียใหก้ ับนายทุนนอกระบบ ส่วนในระยะยาว ผเู้ ขียนกใ็ ช้บรกิ ารเงิน กู้สามัญ สร้างคุณภาพชีวิตของตนเองและครอบครัวให้ดีขึ้นเช่นในชั้นต้น ผู้เขียนและบุตรต้องประสบปัญหาใน เร่ืองการเดนิ ทางมาท�ำงานสายและบุตรตอ้ งเขา้ โรงเรยี นล่าชา้ เน่อื งจากบ้านเชา่ ทพ่ี กั อาศัยนน้ั อยูไ่ กล และตอ้ งใช้ การเดนิ ทางดว้ ยรถยนต์ประจ�ำทาง ต่อมาเมือ่ ผเู้ ขยี นมีทนุ เรือนหุ้นมากพอสมควรและอยู่ในเง่อื นไขท่ีสามารถจะ กเู้ งินสามัญไดแ้ ล้วกไ็ ด้ใช้โอกาสน้นั ในการกู้ และน�ำเงินไปซ้ือรถยนต์มอื สองมาใช้สร้างความสะดวกใหก้ ับตนเอง และบุตรในทันที ส�ำหรบั เร่อื งการซ้ือบา้ น ซึง่ ถอื เป็นหนง่ึ ในปจั จัยสท่ี มี่ ีความส�ำคญั และเปน็ ความตอ้ งการขั้นพืน้ ฐาน ของมนุษยท์ กุ คน ผู้เขียนก็ใชว้ ธิ ีด�ำเนินการเชน่ เดียวกบั การซือ้ รถยนต์ 3. ใชส้ หกรณฯ์ ในการแสวงหาความกา้ วหนา้ จากการศกึ ษาเลา่ เรยี นเพมิ่ เตมิ ภายหลงั จากการจบการศกึ ษา ในระดับเดิม เพ่ือเรียนต่อในระดับท่ีสูงข้ึน ซ่ึงผู้เขียนก็ได้ใช้โอกาสอันนี้จากสหกรณ์ออมทรัพย์มหาวิทยาลัย เกษตรศาสตร์ จ�ำกดั พฒั นาคุณภาพชีวติ ของตนเอง ให้มศี กั ยภาพเพ่ิมมากขน้ึ จากหลักเกณฑแ์ ละเง่ือนไขการขอ รบั เงนิ ทนุ สาธารณประโยชนเ์ พ่ือการศกึ ษาท่ัวไป ประเภททุนการศกึ ษาส�ำหรับสมาชกิ 4. ใชส้ หกรณ์ฯ ในการท�ำใหบ้ ุตรของผูเ้ ขียนมีความมานะ พยายามท�ำให้ตนเองมผี ลการศึกษาเลา่ เรียน อยู่ในเกณฑท์ ที่ างสหกรณ์ฯ ไดก้ �ำหนดไว้ และมโี อกาสได้รับทนุ สง่ เสรมิ การศกึ ษาประเภทเรียนดีซ่งึ มกี ารแจกให้ ทกุ ปเี พอื่ สง่ เสรมิ และใหก้ �ำลงั ใจแกบ่ ตุ รสมาชกิ ทม่ี คี วามตง้ั ใจขยนั หมน่ั เพยี รในการเรยี นจนมผี ลการเรยี นดี ในพธิ ี มอบทุนน้ีมีการจัดขึ้นอย่างย่ิงใหญ่อลังการ เสมือนหนึ่งเป็นพิธีรับปริญญา บุตรสมาชิกทุกคนท่ีได้รับทุนนี้จะมี ความรูส้ กึ ประทบั ใจกับพธิ กี ารท่ีให้ความส�ำคัญกับเดก็ ๆ จนกระทั่งมคี วามรสู้ ึกท่เี ป็นความภาคภมู ใิ จ มีความใฝฝ่ นั ท่ีจะเป็นคนดี มีคุณธรรม จริยธรรม เป็นก�ำลงั ส�ำคญั ของประเทศชาตใิ นอนาคต ดงั ค�ำให้โอวาทของท่านอธิการบดี ซ่ึงมาเปน็ ประธานในการมอบทนุ การศึกษาน้ที ุกปี 5. ใช้สหกรณ์ฯ ในการท�ำให้ผเู้ ขยี นรจู้ กั พัฒนาตนเองเพอ่ื ใหต้ นเองมอี งค์ความรูแ้ ละวสิ ัยทศั น์เพิ่มมากขึน้ โดยในแต่ละปีทางสหกรณ์ฯ ได้จัดให้มีการอบรมสัมมนาแก่สมาชิก โดยวิทยากรท่ีมีความรู้ ความสามารถ และมี ชอ่ื เสียงมาถ่ายทอดให้ความรู้ เพม่ิ ทกั ษะทั้งในและนอกสถานที่ เปน็ ระยะตามความเหมาะสมของเวลา สามารถ น�ำมาประยุกต์ใช้ได้ทัง้ ในเรอ่ื งการงาน และเรอ่ื งสว่ นตวั รวมถึงสุขภาพดว้ ย 6. ใช้สหกรณ์ฯ ในกรณีที่ผู้เขียนเหน็ดเหนื่อยจากการท�ำงาน หรือต้องการพักผ่อน ทางสหกรณ์ฯ ก็มี บา้ นพกั รบั รองตากอากาศเพือ่ เป็นสวสั ดิการให้กับสมาชกิ ผเู้ ขียนได้มีโอกาสพักผ่อนรว่ มกบั ครอบครัวในบรรยากาศ ชายทะเล และเติมเชื้อไฟในการท�ำงานใหก้ บั ตนเองได้เปน็ อย่างดีอยู่หลายครัง้ 7. ใช้สหกรณ์ฯ ในการเรยี นรหู้ ลักการ และมีความเข้าใจในระบอบประชาธปิ ไตยเพิม่ มากข้นึ เพราะใน การบริหารจัดการของระบบสหกรณ์ฯ นั้น สมาชิกทุกคนมีหน่ึงเสียงเท่าเทียมกัน การด�ำเนินการต่างๆ ยึดหลัก ความโปรง่ ใสสามารถตรวจสอบไดด้ ว้ ยวธิ กี ารอภปิ รายและออกคะแนนเสยี งลงประชามติ เชน่ ในการเปดิ ประชมุ ใหญ่ สามญั ประจ�ำปี จะมวี าระต่างๆ ทก่ี �ำหนดข้ึนให้สมาชิกได้ใช้สิทธิอภปิ ราย หรอื มีขอ้ เสนอแนะเพื่อใหท้ างผู้บรหิ าร สหกรณ์ไดร้ ับฟงั เพอ่ื การแก้ไข หรอื ชีแ้ จงท�ำความเขา้ ใจใหต้ รงกนั เพื่อเปน็ ประโยชนต์ ่อส่วนรวม หลกั การนีถ้ อื เป็น รากเหงา้ ของระบบประชาธิปไตยอย่างแทจ้ ริง 8. ทางสหกรณ์ฯ ยงั ไดก้ �ำหนดสวัสดกิ ารตา่ งๆ ทีส่ มาชกิ มีสทิ ธิไดร้ บั ไวม้ ากมาย ถ้าอยู่ในเงือ่ นไขทท่ี าง สหกรณ์ได้ก�ำหนดไว้ ซึ่งจะมเี งื่อนไขเวลาเริม่ นบั แตก่ ารเขา้ มาเปน็ สมาชิกสหกรณฯ์ จนกระทงั่ ลาออกจากการเปน็ 117

สมาชิกหรือเสียชีวิต เม่ือพิจารณาดูแล้วก็ล้วนแต่เป็นการพัฒนาคุณภาพชีวิตของตนเองท้ังสิ้น ผู้เขียนก็ใช้สิทธิ เหล่านเ้ี ร่อื ยมา จนเชอ่ื วา่ สหกรณฯ์ แห่งนส้ี ามารถบริการสมาชิกและครอบครัวต้งั แต่เกิดจนกระทัง่ ตายได้ ด้วยหลักคิดที่ว่าการพัฒนาคุณภาพชีวิตหมายถึง การปรับปรุง การสร้างสรรค์ความเจริญก้าวหน้าให้กับ ชีวติ ของตนเองใหด้ ขี นึ้ ในหลักเกณฑ์การประเมินคณุ ภาพชีวติ วา่ ดขี ึน้ อยา่ งไรนนั้ มที า่ นผู้รู้ไดก้ �ำหนดหลกั เกณฑ์ ต่างๆ ไวม้ ากมาย ยกตวั อยา่ งเชน่ นักจิตวิทยาไดจ้ �ำแนกหลกั เกณฑ์ในการประเมินคณุ ภาพชวี ิตไวว้ ่า การมีงานท�ำ การพักผอ่ น การรับประทานอาหาร การหลบั นอน การตดิ ต่อทางสงั คม การเป็นพอ่ แมท่ ดี่ ี การประกอบอาชีพท่ีมี รายไดม้ ั่นคง การรักสงิ่ แวดล้อม การยอมรับตนเอง และนายวอลแลนซ์ (Wallance.1974) เขยี นไว้ในหนังสอื “Identific of Quality of Life Indicators for Use in Family Planing Programs” เกณฑ์ประเมินคณุ ภาพชวี ิต ประกอบด้วย มีสุขภาพและสวัสดิการ มีการติดต่อสื่อสารกันในสภาพส่ิงแวดล้อมของตนเป็นทรัพยากรมนุษย์ สามารถตดิ ต่อกบั บุคคลไดท้ กุ คน มีสติปัญญารา่ งกายและอารมณด์ ี มีการพัฒนาเศรษฐกจิ มีความม่ันคงปลอดภยั ส�ำหรับเกณฑ์ประเมินคุณภาพชีวิตของคนไทยให้สังเกตที่ครอบครัว กิจกรรมทางสังคมและศาสนา ความสามารถ ในอาชพี ความสามารถในการด�ำรงชวี ติ อยแู่ ละการปรบั ตวั ในสภาพแวดลอ้ ม สขุ ภาพกายและสขุ ภาพจติ การมงุ่ มน่ั ในค่านิยมรักชาติ ศาสน์ กษตั รยิ ์ ฝังในจติ ส�ำนกึ คนไทยทกุ คน การมคี ุณธรรมจรยิ ธรรม ผ้เู ขียนคดิ วา่ เมื่อสหกรณ์ออมทรพั ย์มหาวทิ ยาลัยเกษตรศาสตร์ จ�ำกดั ของเราไดม้ กี ารบริหารจัดการและ ด�ำเนินการให้สมาชิกได้มีโอกาสเข้าถึงการพัฒนาคุณภาพชีวิตของตนเองตามท่ีผู้เขียนได้กล่าวมาแล้วข้างต้น และเม่ือน�ำผลที่ได้รับน้ันมาเทียบเคียงเข้ากับหลักเกณฑ์การประเมินคุณภาพชีวิตของผู้รู้ทั้งหลายแล้วจะเห็นว่า สมาชกิ ทกุ คนของสหกรณอ์ อมทรพั ย์มหาวิทยาลยั เกษตรศาสตร์ จ�ำกัด สามารถใช้สหกรณฯ์ แห่งน้พี ัฒนาคณุ ภาพ ชวี ิตของตนเองได้เชน่ เดยี วกับผู้เขยี นอยา่ งแนน่ อน 118

การใชส้ หกรณอ์ อมทรพั ยม์ หาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร์ จำ� กดั พฒั นาคณุ ภาพชวี ติ ของสมาชกิ รศ.สุบงกช จามีกร (1905)* จากกรุงเทพฯ มานานแล้ว หลังจากเออรีร่ ีไทร์ก็ย้ายภูมลิ �ำเนามาอยู่เชียงใหม่ ทั้งๆ ทไี่ ม่ใชค่ นเหนือ แตก่ ็ได้ เลือกแลว้ วา่ ชวี ิตหลังเกษยี ณควรจะมาอยูเ่ มืองที่ภูมิประเทศและภูมอิ ากาศดี คา่ ครองชีพไม่สูงนกั การจราจรไม่ คับคั่ง มีโรงพยาบาลค่อนขา้ งทนั สมัย มสี นามบินท่จี ะกลับไปรักษาตัวท่กี รุงเทพฯ ไดเ้ มอ่ื ยามเจบ็ ไข้ได้ป่วยมากๆ ก็เลยเลือกเชยี งใหม่ โดยเตรียมการซ้ือที่ซ้อื ทางไวต้ ัง้ แต่รบั ราชการอยู่ เม่ือมาอยู่แลว้ กค็ อื ว่าเลือกไมผ่ ิด อยู่มา เกือบ 10 ปีแล้ว แต่ก็มีความรสู้ ึกว่าท�ำไมเวลาผา่ นไปรวดเรว็ เหลือเกนิ ดเู หมอื นว่าเพ่ิงเข้าไปเป็นอาจารยเ์ ม่ือเร็วๆ นี้เอง ตอนเข้าไปสอนหนังสอื ใหม่ๆ หัวหนา้ ภาควชิ าฯ บอกขอร้องแกมบังคับให้ไปเปน็ สมาชกิ สหกรณ์ออมทรัพย์ ของมหาวิทยาลัย กอ็ ิดออดไมไ่ ปสักที ไม่ใชอ่ ะไรหรอกเปน็ เพราะว่ายงั ไม่รู้เร่ืองว่าเปน็ สมาชิกไปท�ำไม เป็นแล้ว จะไดอ้ ะไรจากสหกรณ์ฯ บ้าง รแู้ ตเ่ พียงว่าจะตอ้ งถูกหกั เงินเดือนทกุ เดือน โดยไมร่ วู้ า่ หกั เอาไปซือ้ หนุ้ ซ่ึงหนุ้ น่แี หละ จะเป็นหลักประกนั ท่มี น่ั คงต่อไปโดยเฉพาะอยา่ งยง่ิ เมื่อยามเกษียณอายแุ ลว้ ฉะนั้นมีความคิดว่าสหกรณ์ฯ น่าจะท�ำ การประชาสมั พนั ธ์ใหอ้ าจารย์ใหมๆ่ หรอื เกา่ ๆ ทยี่ งั ไมเ่ ปน็ สมาชกิ ใหท้ ราบดว้ ย ถา้ ท�ำแลว้ กข็ ออภยั ดว้ ย คราวนข้ี อเลา่ ตอ่ นะ หวั หนา้ ภาคฯ ทา่ นนนั้ ทนร�ำคาญไมไ่ หวเลยพาไปสมคั รดว้ ยตนเอง เปน็ อนั วา่ ไดเ้ ปน็ สมาชกิ เลขที่ 1905 ไมต่ อ้ ง บอกก็คงรู้นะว่าเกา๋ ก๊กึ ขนาดไหน (ขณะท่ีเขยี นบทความน้ยี งั รู้สึกขอบคณุ หวั หน้าภาคฯ ท่านนั้นไม่หาย ขอถอื โอกาส ขอบคณุ มา ณ โอกาสนี)้ หลังจากเป็นสมาชิกแล้วก็ได้อาศัยสหกรณ์ออมทรัพย์ ม.เกษตรน่ีเองเป็นสถาบันการเงินหลักเรื่อยมา โดยไมไ่ ด้ไปหาแหลง่ ไฟแนนซท์ ไ่ี หนอกี ตอนปลกู บา้ นกก็ เู้ งนิ สหกรณฯ์ เงนิ กนู้ อกจากจะเสยี ดอกเบยี้ ตำ่� กวา่ ทอ้ งตลาด แล้วยังได้เงินปันผลเฉล่ียคืนอีก ระยะผ่อนเป็นระยะยาว ไม่แบกภาระค่าผ่อนส่งรายเดือนมาก ท�ำให้หายใจ คลอ่ งหนอ่ ย ...อ้อ ยงั มเี หตกุ ารณ์หน่ึงที่ประทบั ใจมากไม่รลู้ มื จงึ อยากเลา่ ให้ฟัง เรื่องน้ีเกดิ ข้ึนเม่อื ลูกยงั เลก็ ลูกชาย อยากได้จักรยานไว้ถีบออกก�ำลังกายในหมู่บ้าน ลูกอยากได้มากและขอจักรยานจากแม่ ซ่ึงปกติลูกจะไม่ร้องขอ เอาโนน่ เอาน่ีเหมอื นเด็กสมยั น้ี แมบ่ อกว่าแมซ่ ้ือใหล้ ูกแนจ่ ้ะ แตล่ ูกต้องรอก่อนนะ อกี ไม่นานเงินปันผลสหกรณ์ฯ ของแม่ก็จะออกมาแลว้ รอตน้ เดือนกุมภาพนั ธ์นะลกู ลกู เข้าใจและรอได้ พอตอนเยน็ ของวันที่เงินปนั ผลออก แมก่ ็ พาลูกไปเลือกจักรยาน ถึงแม้ว่าเวลาจะผ่านมาเนิ่นนานแล้ว แม่ยังจ�ำจักรยานสีแดงและความดีใจของลูกท่ีได้ จักรยานคันแรกได้ และในยามทบ่ี างคร้งั ในชีวิตเรม่ิ ตน้ ของครอบครัว เม่อื มีเหตกุ ารณผ์ ดิ ปกติ ท�ำให้ขาดเงนิ ใน มอื บ้างก็ได้พงึ่ พาเงินกฉู้ ุกเฉินจากสหกรณ์น่เี อง นบั ว่าสหกรณ์เป็นทีพ่ ง่ึ ยามยากไดท้ งั้ ในระยะสัน้ และระยะยาวได้ เสมอ เวลาผ่านไปรวดเรว็ มากแต่กย็ ังไมเ่ คยลมื นกึ ถงึ แล้วยังมีความสุขไม่หายส�ำหรับชีวติ ชว่ งต้ังตัว พอใชบ้ ้าง ไม่พอใชบ้ ้าง ทุกข์บา้ งสุขบ้าง หมนุ เวยี นสลบั เปล่ยี นไป ไม่มอี ะไรคงท่ีขอให้มสี ติและปญั ญาเขา้ ไว้ ตอ่ ใหเ้ ผชิญกับ ปัญหาหนักแคไ่ หนก็แก้ไขได้ ทส่ี �ำคญั คอื ใหท้ �ำหนา้ ทท่ี ร่ี บั ผดิ ชอบใหด้ ีที่สุดกแ็ ลว้ กัน ขอใหเ้ ชอ่ื เถอะวา่ บุญกศุ ลมี จริงใหท้ �ำดที สี่ ดุ กับหน่วยงาน อยา่ คดิ เลก็ คิดน้อย ท�ำความดไี ปเร่อื ยๆ บ้ันปลายของชวี ิตจะสุขสบายเอง * ผู้ส่งบทความเข้าประกวด ได้รับรางวัลที่ 3 หุ้น สอ.มก. 3,000.-บาท 119

ชีวิตการท�ำงานเปรียบได้กับการเดินทางโดยรถไฟ บางครงั้ ตงั้ เป้าหมายไวว้ า่ เมอื่ ถงึ สถานปี ลายทางจะ ได้ไปถึงจดุ หมายได้อย่างเปน็ สุขสมหวัง ระหว่างทางจึงไมเ่ คยทีจ่ ะชมวิวข้างทางวา่ สวยงามแคไ่ หน แมค่ ้าถวั่ ตม้ ไก่ย่าง วง่ิ มาเรข่ ายก็ไม่เคยซือ้ ชมิ มงุ่ หนา้ ไปเพ่อื ให้ถึงสถานีปลายทางอย่างเดยี ว เมื่อไปถงึ แลว้ อาจจะไมส่ ุขสมหวงั อย่างทีค่ าดคิดกไ็ ด้ ชีวิตคือการเดินทาง การเดินทางท่สี นุก ปลอดภยั และถงึ ทหี่ มายได้ จะตอ้ งรู้จกั การวางแผน ชวี ิต วางแผนการเงนิ ให้ดี ขอให้รูว้ ่าพวกเราโชคดีแล้วท่มี ีแหล่งเงนิ ทุนท่ีวางใจได้ ในการออมนนั้ การซอื้ หุ้นสหกรณ์ เป็นการออมท่ีฉลาด ค่อยเป็นค่อยไป โดยการท่ีถูกหักเงินเดือนน้ันก็ไม่ได้ท�ำให้เรารู้สึกและต้องล�ำบากมาก เงินเดอื นขน้ึ กซ็ ้ือเป็นหุ้นไว้ มีเงนิ เหลือกเ็ อาเขา้ บญั ชเี งินฝาก ท�ำไปเรอ่ื ยๆ ไมต่ ้องรบี รอ้ น ระหวา่ งรับราชการใหห้ า ความสุขไปดว้ ยออมไปดว้ ย ระหวา่ งทางกม็ คี วามสุข พอเกษยี ณไปแลว้ จะได้เงินก้อนโตซึ่งสรา้ งความมั่นคงและ มั่นใจในชีวติ ได้แนน่ อน คราวนี้เรามาลองใช้ทฤษฎีเศรษฐศาสตร์กับชีวิตความเป็นอยู่ดูบ้าง คิดว่าทุกคนคงรู้จักค�ำว่าอุปสงค์ (demand) และอุปทาน (supply) กันบา้ งแลว้ อุปสงค์กค็ ือ ความตอ้ งการของผบู้ ริโภค ส่วนอปุ ทานก็คอื ปรมิ าณ สินค้าท่ีมีในท้องตลาด สินค้าชนิดใดมีอุปสงค์มากกว่าอุปทาน สินค้านั้นก็จะมีราคาสูง ราคาสินค้าจะเป็นจุดตัดของ อปุ สงคก์ บั อุปทาน ณ จดุ น้ถี ือวา่ เป็นจุดสมดลุ (equilibrium) ในชีวิตของมนษุ ย์ก็เช่นกนั แต่ละคนจะมอี ุปสงคค์ ือ ความตอ้ งการในสงิ่ ตา่ งๆ ทงั้ รปู ธรรมซง่ึ ไดแ้ ก่ เงนิ ทอง บา้ นเรอื น สงิ่ ของเครอื่ งใชเ้ ครอื่ งประดบั และอน่ื ๆ อกี มากมาย ท่ีเปน็ นามธรรม ไดแ้ ก่ ความมหี น้ามีตา ต�ำแหน่งหนา้ ท่กี ารเงนิ ตลอดจนลาภยศ สรรเสริญ เป็นต้น อปุ ทานของ มนษุ ย์ไดแ้ ก่ ทรพั ย์สมบตั ทิ ี่มี รายได้ ศักยภาพในการสรา้ งรายได้ ฯลฯ ถา้ บคุ คลใดมอี ปุ สงค์ตรงกบั อุปทาน บุคคล ผู้น้ันก็จะเข้าสู่ภาวะสมดุล จะเป็นบุคคลที่มีความพอหรือมีความพอเพียงซึ่งท�ำให้บุคคลน้ันมีความสุขกายสุขใจ เยน็ กายเยน็ ใจ หรอื อย่ใู นสภาวะ “อยเู่ ยน็ เปน็ สขุ ” แตถ่ า้ บคุ คลใดมคี วามตอ้ งการหรอื อปุ สงคม์ ากกวา่ อปุ ทานของตน ภาวะความไมส่ มดลุ จะเกดิ ขน้ึ บคุ คลผนู้ นั้ จะมแี ตค่ วามไมพ่ อเพยี ง มแี ตค่ วามอยาก เตมิ เทา่ ไหรก่ ไ็ มร่ จู้ กั เตม็ และ จะตกอยู่ในสภาวะ “อยู่รอ้ นนอนทุกข”์ ตลอดเวลาท้ังๆ ที่นอนอยู่ในห้องปรับอากาศที่เย็นฉ�่ำกต็ าม การสรา้ งความ สมดุลให้กับชีวิตน้ัน จะเห็นได้ว่าสามารถท�ำได้สองแนวทาง แนวทางหน่ึงคือ ลดอุปสงค์ลงหรือลดความอยาก ลดความต้องการลงให้พอดีกับอุปทานที่มีเส้นอุปสงค์ก็จะมาตัดกับเส้นอุปทานเอง หรืออาจจะมีอีกแนวทางหนึ่ง ก็คือ การสร้างอุปทานเพ่ิมโดยไม่ต้องให้ชีวิตเดือดร้อนมาก น่ันก็คือการหารายได้เพ่ิมโดย ทางเลือกหน่ึงก็คือ ลงทุนกับสหกรณ์ออมทรัพย์ เช่น ซ้ือหุ้นเพ่ิมเพ่ือให้ได้เงินปันผลเพิ่มขึ้น เงินปันผลน้ีเปรียบเสมือนเงินโบนัส ประจ�ำปีของสมาชิกสามารถใช้ท่องเท่ียว หรือใช้เป็นค่าใช้จ่ายอ่ืนๆ นอกเหนือไปจากค่าใช้จ่ายประจ�ำ ซ่ึงจะท�ำให้ มีความคลอ่ งตัวและสร้างความสุขได้ หวังว่าทฤษฎเี รอ่ื งเกีย่ วกับอุปสงคแ์ ละอุปทานดงั กลา่ วมาแลว้ น้นั จะสามารถ น�ำไปใชเ้ ป็นเคร่อื งมอื ในการสนับสนนุ การใช้ชวี ติ แบบเศรษฐกจิ พอเพียงไดอ้ กี แนวทางหน่ึง เร่ืองที่จะขอกล่าวอีกเร่ืองหนึ่งก่อนจบก็คือ ความประทับใจท่ีมีต่อสหกรณ์ออมทรัพย์ฯ ซึ่งยังไม่เคยพูด ออกมากให้ใครฟงั เลย ประการแรกกค็ ือ สหกรณ์ฯ สร้างอุปนสิ ยั การออมให้โดยไมร่ ู้ตัว เป็นการออมแบบนำ้� ซมึ บ่อทราย เมอ่ื ถึงจดุ ๆ หนงึ่ แลว้ จะเกดิ เป็นตาน้�ำผดุ ข้นึ มาให้ได้ใชด้ ม่ื กนิ กันไมร่ ู้จักหมด และน�ำ้ นั้นเป็นนำ�้ ใสบรสิ ทุ ธิ์ มิได้เกิดจากการประพฤติทุจริตมิชอบใดๆ ท้ังสิ้น น�ำไปท�ำบุญก็จะได้บุญมาก เพราะเป็นเงินบริสุทธิ์ บุญกุศลนี้จะ ส่งให้ชีวิตเป็นสุขได้อีกระดับหนึ่ง ประการท่ีสองได้แก่ ความมีน�้ำใจอัธยาศัยของเจ้าหน้าที่สหกรณ์ฯ ท�ำให้รู้สึกว่า 120

ยงั เปน็ สว่ นหนงึ่ ของมหาวทิ ยาลยั ไมเ่ บอ่ื ทจ่ี ะไปเยย่ี มสหกรณ์ เหมอื นกบั วา่ ไดก้ ลบั ไปส�ำนกั งานเกา่ กลบั กรงุ เทพฯ ทไี ร จะต้องไปทุกที ประการถัดมากค็ อื การ์ดอวยพรและของขวัญวนั เกิด ของขวัญอาจจะไมม่ ากนกั แต่กท็ �ำให้ดใี จ การด์ อวยพรจะเอาไปต้งั ไวท้ ่ใี นบ้าน คนผ่านไปผ่านมาจะเห็นได้อยา่ งชดั เจน ทง้ั นี้ใชเ้ ปน็ เครือ่ งเตือนใจคนใกลช้ ิด ให้ไดร้ ้วู า่ ออ้ จะถึงวนั เกดิ คนส�ำคัญประจ�ำบ้านแลว้ วิธีน้ที �ำให้ไม่ต้องเสียหนา้ ที่ต้องแอบกระซิบบอกใครๆ ส่งิ ท่ี อยากขอบคุณอีกอย่างหนึ่งคอื สวัสดกิ ารต่างๆ ท่ีสหกรณ์ฯ จดั ให้ไม่ว่าจะยามเจบ็ ไข้ การประกันสขุ ภาพ การให้ ทนุ การศึกษา และอะไรตอ่ อะไรอีกมากมาย ครงั้ หน่งึ เคยมีความคดิ วา่ เมือ่ แก่มากๆ แล้วจะถอนหุ้นสหกรณ์ออมทรพั ยฯ์ ดกี วา่ แตค่ ดิ ไปคิดมากย็ ัง ไมเ่ หน็ แกม่ ากสกั ที ยงั คงแก่เทา่ เดมิ อยนู่ น้ั แหละ และมานง่ั นึกตรึกตรองกเ็ หน็ ว่าการเป็นสมาชกิ สหกรณอ์ อมทรพั ย์ฯ แล้วเรากค็ งไมม่ ตี ้นสงั กัดท่ีไหน นอกจากมสี ถานภาพเป็นข้าราชการบ�ำนาญเพยี งอยา่ งเดยี ว จดหมายข่าว สอ.มก. ซง่ึ มเี รือ่ งราวดๆี กค็ งไม่ได้อ่าน เกดิ ป่วยเป็นคนไข้ในกจ็ ะไม่ได้รบั เงนิ ชว่ ยเหลือ ถ้าสามีมอี ันเปน็ ไปก็อดไดร้ ับเงนิ ชว่ ยเหลอื คา่ ท�ำศพ แลว้ ตวั เราอกี ละ่ เกดิ จบั พลดั จบั ผลตู ายไปกค็ งชวดคา่ ท�ำศพแนๆ่ คดิ ไปคดิ มาแลว้ อยา่ กระนน้ั เลย เป็นสมาชิกสหกรณ์ออมทรัพย์ฯ ต่อไปจนชีวิตจะหาไม่ หุ้นและเงินฝากที่มีอยู่ก็ยกให้หลานๆ เป็นทุนการศึกษา ส่วนตวั เราขอเป็นปู่ เอ๊ย! เป็นย่าโสมเฝ้าทรพั ย์ตอ่ ไปดีกว่า 121

การใชส้ หกรณอ์ อมทรพั ยม์ หาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร์ จำ� กดั พฒั นาคณุ ภาพชวี ติ ของสมาชกิ ภารดี กล่อมดี (10109)* ดิฉนั เป็นสมาชกิ ของ สอ.มก. มาได้ 2 ปกี ว่าแล้ว ทนั ทที ม่ี ีสิทธ์สิ มคั รสมาชกิ ดฉิ ันไม่รอช้าเพราะเลง็ เห็น แล้ววา่ มแี ตไ่ ด้กับได้ ทง้ั ได้รบั และได้ให้ แต่คงจะเปน็ ได้รับ (ประโยชน์) เสยี มากกวา่ เช่น การได้รับเงนิ ปันผลจาก หุ้นที่เป็นการลงทุนซึ่งจะเรียกได้ว่าไม่มีความเสี่ยงเลยก็ว่าได้ แถมได้เงินปันผลท่ีคุ้มค่าน่าลงทุนยิ่งนัก ดิฉันรู้สึก ดีใจที่ได้ “มีสิทธิ” ถือหุ้นสหกรณ์ และภูมิใจทุกคร้ังท่ีนึกถึงตัวเลขหุ้นที่มีอยู่ในสหกรณ์ ถึงแม้จ�ำนวนตัวเลขใน ขณะนี้ยังไม่มากมายนัก แต่...ดิฉันก�ำลังวางแผนการเดินทางเพื่อไปให้ถึงจุดมุ่งหมายที่จะมีหุ้นในสหกรณ์ให้ได้ จ�ำนวนหนง่ึ (ตามก�ำลงั ความสามารถ โดยไมเ่ ดอื ดรอ้ น) และเมอ่ื ถงึ วนั นน้ั ดฉิ นั จะสง่ บทความ (นา่ จะเรยี กวา่ จดหมาย มากกว่า) เข้ามาอีกคร้ังเพ่ือรายงานให้ทราบถึงความคืบหน้าในการเดินทางของดิฉัน และอยากเชิญชวนท่านให้ รว่ มเดนิ ทางไปดว้ ยกนั เพอ่ื คณุ ภาพชวี ติ ของเราทด่ี ใี นอนาคต (ส�ำหรบั ทา่ นทเ่ี ดนิ ทางไปไกลแลว้ กร็ อๆ กนั บา้ งนะคะ) จ�ำนวนเงินไม่ส�ำคัญแต่การวางแผนและความมุ่งมั่นท�ำให้เราไปสู่ความฝันได้ไม่ยาก เพดานความสุขของคนแต่ ละคนอาจไม่เทา่ กัน แต่เช่ือวา่ เพดานแห่งความพอเพียงของเรามอี ย่ไู มแ่ ตกต่างกนั ดฉิ นั เปน็ ผหู้ น่ึงทคี่ อยตดิ ตาม ขา่ วสาร สอ.มก. อยตู่ ลอดเวลา และประทับใจผเู้ ขียนบทความหลายๆ ท่าน ท่ีเป็นแรงกระตนุ้ ใหด้ ฉิ ันมุ่งมน่ั คิดถึง อนาคต ขอบคุณผเู้ ขียนทีเ่ ปน็ แรงผลกั ดนั ให้นอ้ งๆ ได้คิดและลงมอื ท�ำ ก่อนท่ีจะ “คิดได้เมอ่ื สายเกนิ ไป” นอกจากจะไดร้ บั เงนิ ปนั ผลจากหนุ้ แล้ว สหกรณย์ ังเปน็ นายทนุ รายใหญ่ใหด้ ิฉนั ได้มีท่ดี นิ เป็นของตัวเอง ซึง่ เปน็ การลงทนุ ทดี่ ีอกี อย่างหนงึ่ ในอนาคตเราอาจปลกู บ้านสวยๆ บนท่ดี ินของเราเอง การใหบ้ รกิ ารทางการเงิน ของสถาบันอ่ืนๆ ก็เป็นเร่ืองท่ีดี แต่อะไรจะมีความสุขเท่ากับใช้บริการของสหกรณ์ของเราเอง เพราะมีการปันผล คนื จากดอกเบย้ี ทเี่ สยี ไปอกี ปที แี่ ลว้ (ปี 2551) ปนั ผลคนื มาถงึ 33 เปอรเ์ ซน็ ต์ คดิ ดอกเบย้ี ทเ่ี สยี ไปจรงิ ๆ เรยี กไดว้ า่ “นอ้ ยมาก” สหกรณ์ท�ำให้ฝันของหลายๆ คนเปน็ จริง ดิฉนั เห็นสมาชิกหลายๆ ท่านออมเงนิ โดยการซือ้ ท่ีดนิ ซงึ่ อาจ ไมม่ ีมูลค่ามากมายนกั ในขณะทซ่ี ือ้ (ถ้าแพงเราคงไม่ซื้อ) แต่เมือ่ เวลาผ่านไป 5-10 ปี ท่ดี นิ กลบั มมี ลู คา่ มากมาย และหลายทา่ นได้ผลตอบแทนทค่ี ้มุ คา่ จากการขาย หรอื อาจจะใชเ้ ป็นสมบัตทิ ่มี ีค่าให้ลกู หลานต่อไปในอนาคตก็ได้ ทง้ั นดี้ ฉิ นั คดิ วา่ เราควรวางแผนในการผอ่ นสง่ ใหพ้ อกบั ความสามารถของเรา เรากจ็ ะอยไู่ ดอ้ ยา่ งมคี วามสขุ และมนั่ คง โดยมสี หกรณเ์ ปน็ รากฐานท่ีส�ำคญั ให้เรา สหกรณ์ใหป้ ระโยชนแ์ ก่เราในด้านอนื่ ๆ อกี เช่น มอบเงินสวัสดิการวันเกดิ ทนุ การศึกษาส�ำหรบั สมาชิก และบตุ รหลานของสมาชิก มอบเงนิ เพื่อการครองชพี มอบเงินเมอ่ื สมาชิกหรือบคุ คลในครอบครัวของสมาชิกถงึ แกก่ รรม มอบเงนิ สวัสดกิ ารส�ำหรบั สมาชกิ ท่ีเปน็ โสด หรือแมแ้ ต่ใหก้ ยู้ ืมเพ่อื ติดตงั้ เช้ือเพลิงระบบกา๊ ซในรถยนต์ ฯลฯ นอกจากสหกรณ์จะพฒั นาคณุ ภาพชีวิตของเราดา้ นการเงินแลว้ สหกรณย์ งั พฒั นาคณุ ภาพชวี ิตของเราใน ด้านสุขภาพกายและสุขภาพจิตด้วย เช่น การจัดโครงการสุขภาพกาย-สุขภาพจิต ที่ท�ำให้เราตระหนักถึงการมี สขุ ภาพท่ดี ี โครงการท�ำบญุ ไหวพ้ ระ 9 วดั ท่ชี ว่ ยให้เรามจี ิตใจท่ีสงบข้ึน อยากจะขอใชค้ �ำพดู ที่ว่า “สุดยอดจรงิ ๆ” 122 * ผู้ส่งบทความเข้าประกวด ได้รับรางวัลที่ 3 หุ้น สอ.มก. 3,000.-บาท

สหกรณ์ใหด้ อกเบ้ยี เงินฝากทกุ ประเภทมากกว่าธนาคารท่ัวไป ดฉิ ันฝากเงินประเภทฝากประจ�ำ 2 ปี ถงึ แม้ จะเพยี งเดือนละ 1,000 บาท แตส่ ่ิงทีไ่ ดม้ ากกว่านั้นคือการสรา้ งนิสัยที่ดใี นการออม ช่วยสร้างความรักความอบอุ่น ในครอบครวั เพราะเงนิ ท่อี อมนตี้ ั้งใจวา่ จะเกบ็ ไว้ให้ลูก เกอื บทุกครง้ั ท่ไี ปฝากในแต่ละเดือน ดิฉันและสามจี ะน�ำ สมุดฝากให้ลกู ดู และเล่าให้ลูกฟังวา่ (ลกู อายุ 4 ขวบ) พ่อกับแม่ฝากเงินไว้ใหห้ นูเก็บไวเ้ รียนหนังสือตอนโต ลูกก็ จะยิ้มดีใจ เป็นการสรา้ งความรูส้ กึ ท่ีดแี ละปลกู ฝงั นิสัยการออมให้ลกู ได้ ถ้าฝากครบ 2 ปี เม่อื ต้องปดิ บัญชี ดฉิ ันก็ จะเปิดบัญชีใหม่ทันทีและจะฝากด้วยจ�ำนวนเงินที่เพ่ิมมากข้ึนเป็นทวีคูณ และการได้ไปพบปะพูดคุยกับเจ้าหน้าที่ สหกรณ์ทยี่ ิม้ แยม้ แจ่มใสเป็นกันเอง กช็ ่วยสร้างความรสู้ ึกทดี่ ี ท�ำให้มีก�ำลังใจทจ่ี ะไปให้ถึงเป้าหมายที่วางไว้ ส่วนการได้ให้นั้น ดิฉันคิดว่าดิฉันเป็นเสมือนลูกค้าของสหกรณ์คนหน่ึง อย่างน้อยดอกเบ้ียท่ีดิฉันเสียไป (ถึงแมจ้ ะน้อยนิด) มีส่วนชว่ ยให้สหกรณ์ก้าวหนา้ และพฒั นา สหกรณส์ ามารถน�ำไปใช้ประโยชน์ในดา้ นตา่ งๆ และ ประโยชน์นัน้ กก็ ลบั คืนมาส่สู มาชกิ อกี คร้งั หนึ่ง และทีด่ ิฉนั ได้ใหอ้ กี อยา่ งหน่ึง นัน่ คอื ให้ความเปน็ สมาชิกทีด่ ขี อง สหกรณ์ ปฏบิ ัติตามกฎและระเบียบของสหกรณ์ ให้ความร่วมมือในทกุ ดา้ น ไม่ว่าจะเปน็ การเลอื กตง้ั สมาชิกสหกรณ์ การเข้าร่วมประชุม เป็นต้น รวมท้ังดิฉันช่วยประชาสัมพันธ์และหาสมาชิกให้กับสหกรณ์ด้วย โดยการแนะน�ำให้ น้องๆ ที่ได้รับการบรรจุใหม่ว่าถ้ามีสิทธิ์ในการสมัครสมาชิกเมื่อไร อย่ารอช้าให้รีบมาสมัครทันที เพราะมีแต่ได้กับ ได้จริงๆ ยิ่งสมัครเร็วอายุการเป็นสมาชิกจะมีมาก สิทธิต่างๆ ก็จะตามมา ถึงแม้เราไม่คิดจะใช้บริการกู้ในตอนนี้ แตอ่ นาคตถา้ เราตอ้ งการกขู้ น้ึ มาละ่ อยา่ งเชน่ การกสู้ ามญั หรอื กพู้ เิ ศษกต็ าม ถงึ แมเ้ ราจะเปน็ สมาชกิ แลว้ แตบ่ างครง้ั สหกรณ์พิจารณาอายุการเป็นสมาชิกด้วย ดังนั้นอย่ารอช้า ถึงแม้จะยังไม่คิดที่จะบินในตอนน้ี แต่อนาคตใครจะรู้ เลา่ ว่าเราจะตอ้ งการบนิ หรือเปลา่ ดังน้นั มาใหส้ หกรณ์ “ติดปีก” เพิ่มคุณภาพชีวิตให้เราดีกว่า ถึงวันที่เราเลิกว่ิงเมื่อไร เราจะได้บินและร่อนอยู่ในอากาศได้อย่าง สบายใจ สดุ ทา้ ยนค้ี งไมต่ อ้ งสรปุ แลว้ วา่ สหกรณพ์ ฒั นาคณุ ภาพชวี ติ ของเราไดอ้ ยา่ งไร สหกรณท์ �ำใหเ้ รามคี วามหวงั ก็ขอเปน็ ก�ำลังใจให้ทา่ นคณะผบู้ รหิ ารและเจา้ หน้าที่ทกุ ท่านมีความสขุ ในการท�ำงาน ประโยชน์ท่ีไดม้ อบใหก้ บั สมาชกิ ขอให้กลับคืนสู่ท่านด้วย และดิฉันหวังว่าบทความแสดงความรู้สึกจากสมาชิกตัวเล็กๆ คนหน่ึงคงจะเป็นอีกหน่ึง แรงกระตุ้นให้กับสมาชิกอีกหลายท่านท่ียังไม่ได้วางแผนการใช้สหกรณ์เพ่ือพัฒนาคุณภาพชีวิตได้ร่วมวางแผน และเดินทางไปสจู่ ุดมุง่ หมายร่วมกนั และถ้าบทความน้ตี รงใจคณะกรรมการก็หวังว่าจะชว่ ยใหด้ ฉิ นั ไปส่ฝู นั ในการ มหี ้นุ ในสหกรณค์ รบ x,xxx,xxx บาท ตามที่ตั้งใจไว้ได้เรว็ ขนึ้ สักหน่ึงหม่ืนบาทก็ดีค่ะ.......ฮา ขอบคุณและสวัสดคี ่ะ 123

การใชส้ หกรณอ์ อมทรพั ยม์ หาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร์ จำ� กดั พฒั นาคณุ ภาพชวี ติ ของสมาชกิ วิรัตน์ สวุ รรณาภชิ าติ (7228)* มนษุ ยเ์ ปน็ สตั วป์ ระเสรฐิ เปน็ สตั วส์ งั คมจะอยรู่ วมกนั เปน็ หมเู่ ปน็ กลมุ่ จะอยคู่ นเดยี วไมไ่ ด้ มนษุ ยจ์ งึ สรา้ ง องคก์ รต่างๆ เพอื่ สรา้ งประโยชน์ใหแ้ ก่ชุมชนสว่ นรวม สหกรณอ์ อมทรัพยเ์ ป็นองคก์ รหนึง่ เปน็ ท่ีรวมของสมาชิกท่ี ถือหุ้นและส่งค่าหุ้นข้ันต่�ำเป็นรายเดือน จะมากหรือน้อยขึ้นอยู่กับเงินเดือนของสมาชิกแต่ละคน เป้าหมายหลัก เพ่ือให้สมาชิกกู้เงินไปพัฒนาคุณภาพชีวิตให้ดีขึ้น และส่งเสริมให้สมาชิกฝากเงินออมไว้ท่ีสหกรณ์เพื่อเป็นการ เพ่ิมพูนรายได้ทางหนี่ง แต่สมาชิกบางคนมีรายได้น้อย สหกรณ์ออมทรัพย์ที่ดีจ�ำเป็นต้องจัดหาสวัสดิการให้แก่ สมาชิกให้มากขน้ึ เพื่อเปน็ หลกั ประกนั ความมน่ั คงของสมาชกิ ในวันขา้ งหนา้ สหกรณ์ออมทรพั ย์มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร์ จ�ำกดั เป็นสหกรณท์ ดี่ สี หกรณ์หน่งึ สง่ เสรมิ สนบั สนุน และช่วยเหลือสวัสดิการแก่สมาชิกและครอบครัวต้ังแต่ลูกเกิดจนตัวเองตาย นับว่าสหกรณ์จัดสวัสดิการให้แก่ สมาชกิ ไดม้ ากมายทีเดียว สมาชกิ จะไดต้ ายนอนตาหลบั ไม่ต้องห่วงคนข้างหลัง ในฐานะที่เราเป็นสมาชกิ เราควรใช้สหกรณ์ออมทรัพย์มหาวทิ ยาลัยเกษตรศาสตร์ จ�ำกัด พฒั นาคณุ ภาพ ชีวิตของสมาชิกให้ดีที่สุด เมือ่ คณุ ภาพชวี ติ ของเราดีจะท�ำใหช้ ีวติ ของบคุ คลรอบข้างเราไมเ่ ดอื ดร้อน ท�ำให้สังคม ชุมชน ดีตามไปด้วย ดังนั้นสมาชิกทุกคนควรใช้สหกรณ์ออมทรัพย์มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ จ�ำกัด พัฒนา คุณภาพชวี ิตของสมาชิกใหด้ ีทสี่ ดุ เริ่มแรกเม่ือเรามีคุณสมบัติครบถ้วนที่จะสมัครเป็นสมาชิกได้จะต้องรีบสมัครทันที เพราะว่าสวัสดิการ หลายๆ อยา่ ง จะนบั อายกุ ารเปน็ สมาชกิ สหกรณเ์ ปน็ เกณฑ์ในการใหส้ วัสดิการนั้นๆ เม่อื แตง่ งานจะไดส้ วัสดิการ การสมรสรายละ 1,000 บาท แตง่ งานกม็ ีความสุขแล้ว แถมยงั ไดเ้ งินอกี ครอบครวั จะสมบูรณ์ได้จะต้องมตี วั น้อยๆ มาอยดู่ ว้ ย พอลกู เกิดมาจะไดเ้ งินช่วยเหลือคา่ คลอดบตุ ร คร้งั ละ 1,000 บาท รวมแล้วไม่เกนิ 3 ครัง้ สมาชกิ หลายคนไม่ได้ใช้สวัสดิการเหล่านี้อาจจะลืมหรือไม่รู้ว่ามีสวัสดิการนี้ให้ สมาชิกอีกหลายคนไม่มีโอกาสได้ใช้เพราะ ไม่ได้แตง่ งาน ส�ำหรับคนโสดให้ขอสวัสดกิ ารสมาชกิ ท่ีเปน็ โสด แตต่ อ้ งรอจนสงู อายุจงึ จะมีสทิ ธิ์ขอ กล่าวคอื ต้อง เกษยี ณอายุราชการหรอื เกษยี ณอายรุ าชการก่อนก�ำหนดหรือมีอายกุ ารเป็นสมาชิกไมน่ อ้ ยกว่า 25 ปแี ลว้ ลาออก ยา้ ยโอนไปอย่ทู อี่ น่ื ดงั นนั้ ถ้าตอ้ งการไดส้ วสั ดกิ ารนเี้ รว็ ๆ ตอ้ งรีบแตง่ งาน ถึงวันเกิดอกี แลว้ ไดส้ วสั ดิการวนั เกดิ ได้รบั เงินโอนเขา้ บญั ชอี อมทรัพยธ์ นาคารไทยพาณิชย์ ไม่ต้องยืน่ ค�ำขอเหมือนสวัสดิการก่อนหน้านี้ เพียงแต่มีบัตรสมาชิกพร้อมสมุดเงินฝากบัญชีออมทรัพย์ธนาคารไทยพาณิชย์ เงนิ โอนนี้ถึงแมจ้ ะไม่มากแตถ่ า้ สะสมหลายๆ ปจี ะได้เงนิ ไมน่ ้อยทีเดยี ว ยามจ�ำเป็นกถ็ อนมาใช้ได้ ลูกโตแล้วส่งเข้าโรงเรียน ขยันเรียนนะลูก จะได้ทุนอุดหนุนการศึกษาส�ำหรับบุตร ธิดา ของสมาชิกที่มี รายไดน้ ้อย มีเงนิ เดือนไม่เกนิ ข้ันต�่ำที่สหกรณอ์ อมทรัพย์มหาวิทยาลยั เกษตรศาสตร์ จ�ำกัด ก�ำหนด ถ้าลกู เรยี นดี 124 * ผู้ที่ส่งบทความเข้าประกวด ได้รับรางวัลชมเชย หุ้น สอ.มก. 1,000.-บาท

จนถึงเกณฑท์ ีส่ หกรณก์ �ำหนดจะมีสทิ ธิ์ขอทุนการศกึ ษาส�ำหรบั บตุ ร ธดิ า สมาชิกประเภททนุ ส่งเสรมิ การศึกษา ถา้ มี รายไดน้ อ้ ยและผลการเรยี นของบตุ รอยู่ในเกณฑด์ ี จะมีสิทธ์ิขอทุนทั้งสองประเภท ลูกโตมากแล้ว อยากจะเรียนต่อเพื่อเพิ่มคุณวุฒิการศึกษาของตนเองให้สูงขึ้น มีสิทธ์ิขอทุนการศึกษา ส�ำหรับตัวสมาชิก โดยเปน็ ไปตามเง่อื นไขทส่ี หกรณ์ก�ำหนด จะเห็นว่าสหกรณ์ออมทรัพยม์ หาวทิ ยาลัยเกษตรศาสตร์ จ�ำกัด สนบั สนนุ การศกึ ษาใหแ้ กบ่ ุตร ธิดา และตวั สมาชกิ มากทเี ดียว ฝนตกไปสง่ ลูกล�ำบาก ตอ้ งหารถยนต์สักคัน แต่เงนิ ไมพ่ อ สามารถก้สู ามญั หรือกพู้ เิ ศษได้ ตอ้ งช่วยกัน ประหยดั เพราะวา่ รายจา่ ยมมี ากขน้ึ สง่ ลกู เรยี น สง่ ตวั เองเรยี น สง่ เงนิ กซู้ อ้ื รถยนต์ และยงั มคี า่ ใชจ้ า่ ยภายในบา้ นอกี วนั ดคี นื ดี รถเสียไมม่ อี าการบอกใหท้ ราบลว่ งหนา้ ท�ำไงดเี งนิ ไมพ่ อจ่ายคา่ ซอ่ มรถ สามารถกฉู้ กุ เฉนิ ได้ สหกรณ์ เป็นทีพ่ งึ่ ให้สมาชิกได้เสมอ ไม่ต้องไปกเู้ งนิ นอกระบบซึ่งดอกเบีย้ แพงมาก ถ้าไมม่ ีจา่ ยจะถูกท�ำรา้ ยร่างกายให้ได้ รบั บาดเจบ็ อบั อาย บางคร้งั ถึงตายได้ ดงั ที่เป็นขา่ วอยู่ทกุ วนั น้ี เรยี นจบแลว้ เหลอื แตล่ กู เรยี นอยมู่ หาวทิ ยาลยั อยากจะมบี า้ นเปน็ ของตนเองสกั หลงั หนงึ่ เพอ่ื เพมิ่ ความ มัน่ คงใหก้ บั ครอบครัว ตอ้ งใช้เงนิ มากส�ำหรบั บ้านหลงั น้ี สามารถกพู้ เิ ศษได้ บดิ า มารดา เสยี ชีวิต ขอย่ืนรบั สวัสดกิ ารชว่ ยเหลือกรณบี คุ คลในครอบครัวสมาชกิ ถงึ แกก่ รรมได้ คสู่ มรส ถึงเสียชีวติ หรือบตุ รอายุไมเ่ กิน 18 ปี เสียชีวิต สามารถยน่ื รบั สวัสดกิ ารช่วยเหลือได้เช่นกนั งานมาก เหนอื่ ย รา่ งกายรบั ไมไ่ หว ประท้วง ท�ำให้ปว่ ยต้องเข้าโรงพยาบาล แพทย์สั่งให้อยโู่ รงพยาบาล เพ่อื ดูอาการ ถ้าอย่โู รงพยาบาลไมน่ ้อยกวา่ 14 ชั่วโมง สามารถเบิกเงนิ ช่วยเหลอื สมาชกิ ด้วยเหตุเจบ็ ป่วย 200 บาท ต่อวัน ถ้าแพทย์วินิจฉัยโรคได้แล้ว สั่งให้นอนโรงพยาบาลเป็นคนไข้ใน สามารถเบิกเงินช่วยค่ารักษาพยาบาลได้ วันละ 300 บาท จะเห็นว่าสหกรณ์ช่วยแบง่ เบาภาระค่าใชจ้ ่ายของสมาชกิ อยเู่ สมอ คู่ชีวติ อยู่ดว้ ยกันมา จากลากันโดยไมก่ ลบั มาอีก คือเสยี ชีวิต แต่ลกู ยังเรยี นอยู่ยงั ไมจ่ บการศกึ ษา สหกรณ์ ชว่ ยได้ ให้ขอทนุ การศกึ ษาส�ำหรับบุตรของสมาชิกทคี่ สู่ มรสถึงแก่กรรม ท�ำงานมานานจนเกษียณอายุราชการหรือเกษียณอายุราชการก่อนก�ำหนด ขอรับสวัสดิการเพื่อเสริมสร้าง คุณภาพชีวิตได้ ถ้าโอน ย้าย ลาออกไปท�ำงานที่อ่ืน แต่มีอายุการเป็นสมาชิก 5 ปีขึ้นไปจะขอรับสวัสดิการเพ่ือ เสริมสร้างคุณภาพชีวิตได้เช่นกนั จะได้มากหรอื นอ้ ยขน้ึ อย่กู บั อายสุ มาชกิ หลังจากรับเงนิ สวัสดกิ ารเพื่อเสรมิ สรา้ งคณุ ภาพชีวิตมาแลว้ ครบ 1 ปี ยังได้รับสวสั ดกิ ารเพอ่ื การครองชีพ อีก 15 ปี (ถา้ ไม่เสียชวี ติ กอ่ น) สหกรณย์ งั จา่ ยเงนิ ขวญั ถงุ กรณเี กษยี ณอายรุ าชการ โดยจา่ ยใหก้ บั สมาชกิ ทเี่ กษยี ณอายรุ าชการหรอื เกษยี ณ อายุราชการก่อนก�ำหนด หรือลาออกและมีอายุการเป็นสมาชิกไม่น้อยกว่า 25 ปี สมาชิกควรน�ำเงินก้อนน้ีไป สรา้ งสรรคณุ ภาพชวี ิตในบั้นปลายให้ดตี ามสถานภาพ ไมห่ อ่ เหี่ยวหรอื รว่ งโรยไปตามวัย 125

สหกรณ์ช่วยสมาชกิ มากมาย ช่วยเยียวยามาตลอด สมาชกิ ต้องชว่ ยกันรกั ษาสหกรณ์ไว้ใหค้ งอยู่ใหม้ นั่ คง ตลอดไป โดยชว่ ยกนั ไปเลอื กตงั้ ตวั แทนเขา้ ไปเปน็ กรรมการสหกรณเ์ พอ่ื เปน็ ตวั แทนท�ำงานดา้ นตา่ งๆ นอกจากนี้ สมาชิกควรช่วยกันสอดส่องดูแลกิจการของสหกรณ์ เห็นอะไรไม่ดีซึ่งอาจจะท�ำให้สหกรณ์เสียหาย ต้องเสนอเรื่อง ให้พิจารณาในที่ประชุมวสิ ามญั หรอื สามัญ ตามโอกาสและเวลา เม่อื โอกาสสดุ ทา้ ยมาถงึ สมาชกิ ต้องจากลาโลกอันแสนวิไล สดใส สวยงามไปแล้ว สหกรณ์ยังชว่ ยสมาชกิ อกี เป็นโอกาสสุดท้ายของสหกรณ์เชน่ กัน โดยช่วยสวัสดกิ ารเงนิ สงเคราะหเ์ มือ่ สมาชกิ ถึงแกก่ รรม อย่าลมื บอก ทายาทให้ย่ืนค�ำขอรับสวัสดิการน้ี นอกจากน้ีถ้าเป็นสมาชิกโครงการเงินบริจาคฯ จะได้รับเงินบริจาคจากสมาชิก โครงการรายละ 30 บาท ตามขอ้ มูล ณ วนั ท่ี 31 สงิ หาคม 2552 มีสมาชิกโครงการอยู่ 6,554 คน คนละ 30 บาท เปน็ เงนิ ไมน่ อ้ ยทเี ดยี วประมาณสองแสนบาท เงนิ กอ้ นสดุ ทา้ ยนจี้ ะชว่ ยเหลอื แบง่ เบาภาระของทายาทได้ในระดบั หนงึ่ ดงั นนั้ สมาชกิ สหกรณท์ า่ นใดยงั ไมไ่ ดส้ มคั รเปน็ สมาชกิ โครงการนี้ ควรรบี สมคั รโดยเรว็ เพอ่ื จะไดน้ อนตาหลบั ไมต่ อ้ ง หว่ งคนข้างหลังมากนกั สหกรณอ์ อมทรพั ย์มหาวิทยาลยั เกษตรศาสตร์ จ�ำกดั ชว่ ยเหลอื สมาชิกมากมายดงั ที่กล่าวมาแลว้ สหกรณ์ ยังหาสวัสดิการใหม่ๆ มาเพิ่มให้สมาชิกอีก เพ่ือเป็นหลักประกันความมั่นคงอนาคตของสมาชิก เม่ือสมาชิกมี ความมน่ั คงในการด�ำเนนิ ชวี ติ จะสง่ ผลใหต้ งั้ ใจท�ำงาน ท�ำใหม้ หาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตรเ์ จรญิ กา้ วหนา้ รงุ่ เรอื ง เปรยี บ ประหน่ึงสหกรณอ์ อมทรพั ย์มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ จ�ำกัด เป็นเสาหลักของมหาวทิ ยาลัยเกษตรศาสตร์ เพราะ ชว่ ยเหลอื สวสั ดกิ ารแกส่ มาชกิ มากมาย นอกจากนเี้ มอ่ื มหาวทิ ยาลยั ขาดอาคารสถานท่ี วสั ดอุ ปุ กรณต์ า่ งๆ ยงั สามารถ กู้เงินจากสหกรณ์มาจัดหาส่ิงเหล่าน้ีได้ ดังนั้นสมาชิกทุกคนต้องช่วยกันรักษาสหกรณ์ออมทรัพย์มหาวิทยาลัย เกษตรศาสตร์ จ�ำกัด ใหค้ งอยู่ค่กู ับมหาวิทยาลยั เกษตรศาสตร์ตลอดไป 126

การใชส้ หกรณอ์ อมทรพั ยม์ หาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร์ จำ� กดั พฒั นาคณุ ภาพชวี ติ ของสมาชกิ รศ.ชาญ บญุ ญสิริกูล (7264)* การได้เข้ามาเป็นบุคลากรมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ นับว่าโชคดี เพราะเป็นสถาบันที่เราสามารถจะ ท�ำงานอาชีพอย่างมั่นคงตลอดไป การท�ำงานอาชีพทุกอย่างย่อมหวังท่ีจะได้รับความสะดวกสบาย ความเจริญ ก้าวหน้าในต�ำแหน่งหน้าท่ีการงานของทุกๆ คน โดยชีวิตจะต้องมีการเปล่ียนแปลงและพัฒนาไปเร่ือยๆ สหกรณ์ ออมทรัพย์มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ (สอ.มก.) เปน็ หน่วยงานหนง่ึ ในด้านสวัสดิการของมหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร์ ซ่ึงจดั ตัง้ มาเปน็ เวลา 50 ปี แล้ว (6 มกราคม 2502) สมัยนั้นวัตถุประสงค์ของการจัดตั้ง สอ.มก. ข้ึนมาก็เพื่อจะให้บุคลากรของมหาวิทยาลัยรู้จักออม รู้จัก ประหยดั ในการใชจ้ ่ายจากเงินเดือนทไี่ ด้รับแต่ละเดือน เปน็ การสรา้ งนสิ ยั ใหท้ กุ คนได้รจู้ ักความพอเพยี ง และยงั เป็นการช่วยเหลือให้กู้ยืมเงินเม่ือมีความจ�ำเป็น โดยช�ำระค่าดอกเบ้ียกู้ยืมในอัตราต�่ำ สมัยแรกเริ่มจัดต้ัง สอ.มก. ก็มีสมาชกิ เพยี งไม่ก่ที า่ น ต่อมาก็มกี ารเชญิ ชวนให้ข้าราชการ อาจารย์ และพนกั งาน ลกู จ้างมหาวทิ ยาลัยไดส้ มคั ร เข้าเป็นสมาชิกเพิ่มขึ้นๆ ทุกๆ ปี และการออมสมัยน้ันเร่ิมต้นตั้งแต่ 50.-บาทต่อเดือน โดยหักจากเงินเดือนของ แต่ละคน และค่อยๆ ขยายเพ่มิ ข้นึ ๆ ในเมอ่ื ไดร้ บั เงนิ เดอื นเพมิ่ ข้ึนซึง่ มหี ลายระดบั 60, 70, 80, 90, 100, 200 บาท ต่อเดอื น แลว้ แตล่ ะคนจะมอี ตั ราเงินเดอื นมากนอ้ ยตา่ งๆ กนั การด�ำเนินกิจการของ สอ.มก. ในระยะแรกๆ นั้นนอกจากการออมทรัพย์ในลักษณะซ้ือหุ้นและการให้กู้ ยมื แล้ว ทาง สอ.มก. กม็ ิได้จัดสรรสวัสดิการใดๆ ใหแ้ กส่ มาชกิ เหมอื นกับในปัจจุบนั นี้ ที่ท�ำงานของ สอ.มก. กใ็ ช้ ห้องเล็กๆ ข้างบันไดช้ันล่างของตึกเรียนคณะเศรษฐศาสตร์และสหกรณ์ สมัยน้ันเป็นท่ีท�ำงาน มีเจ้าหน้าท่ีเพียง 1-2 คนเท่าน้ัน สอ.มก. ไดพ้ ฒั นาเจรญิ เตบิ โตและขยายกิจการมาเป็นล�ำดบั การบริหารงานของ สอ.มก. สมัยนัน้ มหาวิทยาลัยเป็นผู้ตั้งคณะกรรมการมาท�ำหน้าท่ีบริหาร การได้รับค่าตอบแทนก็ไม่มากอะไร ซ่ึงต่างกับในปัจจุบัน มากมายเหลือเกินท่ีมีผู้สมัครแข่งขันเพื่อรับเลือกตั้งไปท�ำหน้าที่เป็นคณะกรรมการผู้บริหาร สอ.มก. ซ่ึงมีจ�ำนวน 15 คน มาจากบุคลากรสายวิชาการ 7 คน สายธรุ การ 7 คน และอธิการบดโี ดยต�ำแหนง่ อกี 1 คน คณะกรรมการบรหิ ารไดร้ บั เลอื กจากสมาชกิ เขา้ มา จะมกี ารแบง่ สรรปฏบิ ตั หิ นา้ ทเ่ี ปน็ คณะกรรมการบรหิ าร คณะกรรมการเงินกู้ คณะกรรมการการศกึ ษาและประชาสมั พันธ์ คณะกรรมการบริหารการเงนิ คณะกรรมการ พฒั นาและแผนงาน (ปจั จบุ นั เปลยี่ นชอื่ เปน็ คณะกรรมการพฒั นาบคุ ลากรและเทคโนโลย)ี นอกจากจะมคี ณะกรรมการ บรหิ าร สอ.มก. แลว้ ยังมีผตู้ รวจสอบกจิ การ สอ.มก. อีก 3 ด้าน คือ ด้านบรหิ ารทั่วไป ดา้ นกฎหมายธุรกจิ /สหกรณ์ และด้านการเงิน/การบญั ชี มที ีป่ รกึ ษาอกี หลายท่าน เจ้าหน้าที่ สอ.มก. เป็นเจ้าหน้าทฝี่ า่ ยปฏบิ ตั ิการอีกเกือบ 30 คน มตี กึ ท�ำงานเปน็ ของตนเอง นบั วา่ เปน็ หนว่ ยงานทม่ี บี คุ ลากรเกย่ี วขอ้ งปฏบิ ตั งิ านรบั ผดิ ชอบทมี่ นั่ คงใหญโ่ ตมใิ ชน่ อ้ ย ในฐานะสมาชกิ สอ.มก. คนหนง่ึ อยากจะเรยี นใหท้ ราบวา่ “การใช้ สอ.มก. พฒั นาคณุ ภาพชวี ติ ” ไดอ้ ยา่ งไร ตอ้ งยอมรับวา่ การสมคั รเขา้ มาเป็นสมาชกิ สอ.มก. ท�ำให้มโี อกาสดไี ด้รับสงิ่ ตา่ งๆ ที่เป็นสวสั ดกิ ารของ สอ.มก. จดั สรรใหส้ มาชิกเพื่อพัฒนาคุณภาพชวี ติ ไดห้ ลายอย่างหลายประการดงั ต่อไปนี้ * ผู้ที่ส่งบทความเข้าประกวด ได้รับรางวัลชมเชย หุ้น สอ.มก. 1,000.-บาท 127

ขอ้ 1. การไดส้ ทิ ธกิ ยู้ มื เงนิ จาก สอ.มก. เพอ่ื ใช้ในความจ�ำเปน็ ในการด�ำรงชวี ติ โดยช�ำระคา่ ดอกเบย้ี เงนิ กู้ใน อัตราต่�ำกว่าสถาบันการเงินทั่วๆ ไป และให้เวลาผ่อนช�ำระในระยะยาว และยังมีเงินเฉล่ียคืนจากดอกเบ้ียท่ีช�ำระ ไปในเปอร์เซ็นตท์ ี่สูงด้วย ขอ้ 2. สมาชิกมีสิทธิซ้ือหุ้นสหกรณ์ในรูปแบบการออมทรัพย์รายเดือน หรือกรณีพิเศษ และจะได้รับ เงินปันผลรายปีในอตั ราที่ค่อนขา้ งสงู กว่าทีจ่ ะท�ำธุรกิจการเงนิ แบบอืน่ และมคี วามเสย่ี งนอ้ ยทส่ี ุด ขอ้ 3. ทนุ การศกึ ษาเพื่อพฒั นาชวี ิต สมาชิกที่ไดร้ ับอนมุ ัตศิ ึกษาตอ่ เพม่ิ เตมิ คุณวฒุ ิ มีสิทธิขอทุนการศึกษา เพื่อสนับสนุนการศึกษาต่อตามระเบียบการให้ทุนการศึกษา แก่สมาชิกจาก สอ.มก. ได้อีกด้วย นอกจากจะให้ทุน ช่วยเหลือการศึกษาต่อของสมาชิกแล้ว สมาชิกยังมีสิทธ์ิขอทุนการศึกษาของบุตรสมาชิกประเภทเรียนดี และ ประเภทสมาชิกมีรายได้น้อย ท้ังระดับประถมศึกษา มัธยมศึกษา และอุดมศึกษา ซ่ึงเป็นการช่วยเหลือสมาชิก ทางออ้ มอีกทางหนึง่ ขอ้ 4. เงินช่วยเหลือสวัสดิการครอบครัว สมาชิกจะได้รับเงินสวัสดิการช่วยเหลือครอบครัวตั้งแต่เงิน ช่วยเหลือการสมรส การคลอดบุตร การรักษาพยาบาลเจ็บป่วย ทุพลภาพ การเสียชีวิตของสมาชิก คู่สมรส และ ทายาทของสมาชกิ ขอ้ 5. การช่วยเหลือเมื่อประสบภัยธรรมชาติ สมาชิกจะได้รับการช่วยเหลือเมื่อที่อยู่อาศัยของสมาชิก ไดร้ บั อุบตั ภิ ัย เชน่ ไฟไหม้ น้ำ� ท่วม ซึ่ง สอ.มก. กม็ เี งนิ ช่วยเหลือบรรเทาทกุ ข์ใหต้ ามสมควร ขอ้ 6. การสรา้ งเสรมิ ประสบการณ์ โครงการสุขภาพกาย-สุขภาพจิต สอ.มก. ไดจ้ ัดการอบรมเพื่อเพมิ่ พนู ความรู้ให้แก่สมาชิกท้ังในด้านความรู้เกี่ยวกับสหกรณ์และด้านสุขภาพกาย สุขภาพจิต ภายในและภายนอกสถานท่ี โดยสมาชกิ ไมต่ ้องเสยี ค่าใช้จา่ ยใดๆ แถมยังได้เบี้ยเล้ยี งในการเข้าร่วมกจิ กรรมดงั กลา่ วอกี ด้วย ขอ้ 7. ประกันชีวติ อบุ ัติเหตสุ ว่ นบุคคล เปน็ สวสั ดกิ ารที่ สอ.มก. ด�ำเนินการให้สมาชกิ ทกุ คน โดยสมาชกิ ไม่ต้องเสยี คา่ ใช้จา่ ยแต่อย่างใด เม่อื ท่านเสียชีวติ โดยอบุ ตั ิเหตใุ นวงเงิน 200,000.-บาท จะเห็นว่า สอ.มก. จดั สรร สวัสดิการให้แก่สมาชกิ ตงั้ แตเ่ กดิ (แต่งงาน, คลอดบุตร) จนกระท่ังตายทเี ดยี ว สวสั ดิการต่างๆ ดงั ทก่ี ล่าวแล้ว อาจมอี กี หลายอย่างท่ยี ังไมไ่ ดก้ ล่าวถึง จะเหน็ ว่า สอ.มก. เปน็ องค์กรท่มี ี วสิ ยั ทศั นย์ าวไกล มงุ่ หวงั จะเสรมิ สรา้ งความเปน็ อยขู่ องมวลหมสู่ มาชกิ ให้ไดร้ บั ความสะดวกสบายและมน่ั คงในชวี ติ เปน็ อดุ มการณ์ทจ่ี ะพฒั นาคณุ ภาพชีวิตของสมาชกิ ที่แทจ้ รงิ และย่งั ยนื ตลอดไป ในฐานะสมาชิก สอ.มก. คนหนึง่ จึงรูส้ กึ ดใี จ และภูมใิ จที่ไดส้ มัครเข้ามาเป็นสมาชกิ สอ.มก. ซงึ่ เปน็ องคก์ ร ทม่ี แี ต่ใหก้ บั ใหท้ กุ ๆ อยา่ งแกม่ วลสมาชกิ แบบเพอ่ื นชว่ ยเพอ่ื น และท�ำใหร้ สู้ กึ วา่ การใชส้ หกรณอ์ อมทรพั ยม์ หาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร์พัฒนาคุณภาพชีวิตของสมาชกิ เป็นเรอื่ งทเี่ ปน็ จริงและจับต้องได้ตลอดมา ท่านละ่ สมัครเป็นสมาชิก สอ.มก. แลว้ หรือยงั ย่ิงสมัครช้า ท่านกย็ ิ่งเสียโอกาสในการพัฒนาคณุ ภาพชวี ิตของทา่ นและครอบครัวนะครับ 128

การใชส้ หกรณอ์ อมทรพั ยม์ หาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร์ จำ� กดั พฒั นาคณุ ภาพชวี ติ ของสมาชกิ พนม เกดิ แสง (7483)* สหกรณ์ออมทรัพย์มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ จ�ำกัด เป็นสหกรณ์ออมทรัพย์ชั้นน�ำ เลิศล้�ำสวัสดิการ ด�ำเนนิ งานโปรง่ ใส คู่ใจประชาคม มก. หากทา่ นเปน็ ผหู้ นง่ึ ทอ่ี ยู่ในประชาคมของมหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร์ ไมว่ า่ จะมสี ถานะใดๆ ในสงั คมแหง่ น้ี และได้เป็นสมาชกิ ของสหกรณ์ออมทรพั ยม์ หาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ จ�ำกดั ซึ่งประกอบดว้ ยสมาชกิ สามัญ สมาชิก สมทบกิตติมศักดิ์ และสมาชิกสมทบ จะต้องมีโอกาสได้ใช้บริการหรือได้รับการบริการจากสหกรณ์ออมทรัพย์ฯ ไม่ทางใดก็ทางหนง่ึ อยา่ งแนน่ อน ผมเข้ารับราชการท่มี หาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ประมาณกลางปี พ.ศ. 2534 ซึง่ ทางกองการเจา้ หน้าทไี่ ด้จดั ใหม้ กี ารปฐมนเิ ทศขา้ ราชการใหมแ่ ละพรอ้ มกนั นนั้ ได้ใหค้ วามรู้ในเรอ่ื งสหกรณอ์ อมทรพั ยม์ หาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร์ จ�ำกดั ผมก็รบั ทราบวา่ สหกรณอ์ อมทรพั ย์ฯ มบี ริการอะไรบ้าง และเจา้ หน้าที่แนะน�ำให้สมคั รเป็นสมาชกิ สหกรณ์ ออมทรัพยฯ์ และเงินสง่ ค่าห้นุ รายเดือน ตามอัตราเงนิ เดอื นทไ่ี ดร้ บั ถา้ หากตอนน้นั มีโปรแกรมค�ำนวณเงินออม จากการสะสมหนุ้ แสดงใหเ้ หน็ เหมอื นอยา่ งปจั จบุ นั กค็ งจะดไี มน่ อ้ ย ซงึ่ จะเปน็ แรงจงู ใจใหส้ มาชกิ สหกรณอ์ อมทรพั ยฯ์ ไดส้ ่งเงนิ ค่าหนุ้ เพิ่มมากข้นึ ตามความสามารถในการออมเหมือนอยา่ งที่อาจารย์บางท่านบอกว่าออมช้าไป 30 ปี ส่ิงที่เห็นเป็นรูปธรรมในระยะแรกของการเป็นสมาชิกสหกรณ์ออมทรัพย์ฯ คือผลตอบแทนจากเงินปันผลท่ีถูกหัก เป็นค่าหุ้นในแตล่ ะเดอื นซ่ึงทางสหกรณอ์ อมทรพั ย์ฯ จะจ่ายคนื ให้กบั สมาชกิ ประมาณปลายเดอื นมกราคมของทกุ ปี สหกรณ์ออมทรพั ย์มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร์ จ�ำกัด ยังมีบรกิ ารอน่ื ๆ อกี มากมายอาทิ การท�ำประกนั ชีวิตกลุ่ม นอกเหนือจากการท�ำประกันเงินกู้ มีการท�ำประกันสุขภาพหรือ การสมัครเข้าร่วมโครงการบริจาคเมื่อ สมาชกิ ถงึ แกก่ รรม และเกณฑ์การถอื หนุ้ รายเดอื นหรือถา้ หากสมาชิกอยากจะออมเพม่ิ ก็อาจขอซ้อื ห้นุ พเิ ศษเปน็ ครงั้ คราวกส็ ามารถท�ำได้ เนอื่ งจากผลตอบแทนจากเงนิ คา่ หนุ้ สงู กวา่ การฝากเงนิ มากโดยสหกรณอ์ อมทรพั ยฯ์ จะมี หลักเกณฑ์ในการซอื้ ห้นุ เพมิ่ ไวอ้ ย่างชัดเจน นอกจากน้ียังมีบริการเงินฝาก วงเงินกู้และเง่ือนไขการช�ำระหนี้และวิธีคิดดอกเบี้ย หรือสมาชิกอาจจะใช้ วิธีก้เู งินโดยใชห้ ้นุ ของตัวเองคำ้� ประกันเงินกู้ก็ได้ โดยทางสหกรณ์ฯ ก�ำหนดให้กู้ได้ 90% ของหุ้นทมี่ ีอยู่ หรืออาจจะ ใช้เงินฝากค�้ำประกันเงินกู้ได้ 80% ของวงเงินในบัญชีเงินฝาก (ค่าดอกเบี้ยที่ส่งจะถูกคืนในรูปของเงินเฉลี่ยคืน 20-25% โดยประมาณ) ดา้ นคา่ ใชจ้ า่ ยในการประเมนิ หลกั ทรพั ย์ สหกรณอ์ อมทรพั ยฯ์ จะเปน็ ผอู้ อกคา่ ใชจ้ า่ ยใหก้ บั สมาชกิ รอ้ ยละ 50 ของคา่ บรกิ ารตรวจสอบและประเมินหลกั ทรพั ย์ แต่ทั้งนไ้ี ม่เกิน 1,000.- บาทตอ่ ราย เพื่อเป็นการแบ่งเบาคา่ ใชจ้ ่าย * ผู้ที่ส่งบทความเข้าประกวด ได้รับรางวัลชมเชย หุ้น สอ.มก. 1,000.-บาท 129

ให้กับสมาชิก ในส่วนของการค�้ำประกันและการท�ำประกันชีวิตกลุ่ม สมาชิกสามารถค้�ำประกันสมาชิกด้วยกันเอง ได้ไมเ่ กนิ 2 คน พร้อมกบั การท�ำประกันส�ำหรบั ผู้คำ้� ประกนั อกี ด้วย สิทธิที่สมาชิกทุกคนจะได้รับจากสหกรณ์ออมทรัพย์ฯ อีกประการหน่ึง คือสวัสดิการต่างๆ ซ่ึงทางสหกรณ์ ออมทรพั ยฯ์ ไดอ้ อกระเบยี บวา่ ดว้ ยการใชท้ นุ สวสั ดกิ ารแกส่ มาชกิ พ.ศ. 2548 ซงึ่ ประกอบดว้ ยสวสั ดกิ าร 10 ประเภท ได้แก่ สวัสดิการเพ่ือเสริมสร้างคุณภาพชีวิต สวัสดิการเพ่ือการครองชีพ เงินขวัญถุงกรณีเกษียณอายุราชการ เงินสงเคราะห์เม่ือสมาชิกถึงแก่กรรม เงินช่วยเหลือกรณีบุคคลในครอบครัวสมาชิกถึงแก่กรรม เงินช่วยเหลือ สมาชิกด้วยเหตุเจ็บป่วย เงินช่วยเหลือค่าคลอดบุตร สวัสดิการสมาชิกท่ีเป็นโสด สวัสดิการการสมรส และ สวสั ดกิ ารวนั เกดิ เป็นตน้ ในด้านทนุ การศกึ ษา สหกรณ์ออมทรพั ยฯ์ ยังได้จดั สรรเงนิ ใหก้ ับสมาชกิ และทนุ การศึกษาส�ำหรบั บตุ ร ธดิ า สมาชิกประเภททุนส่งเสริมการศึกษา ทุนอุดหนุนการศึกษาส�ำหรับบุตรธิดาของสมาชิกที่มีรายได้น้อยและทุนการ ศกึ ษาส�ำหรบั บตุ รของสมาชกิ ทค่ี สู่ มรสถงึ แกก่ รรม ตลอดจนการชว่ ยเหลอื สมาชกิ ทป่ี ระสบภยั พบิ ตั ติ า่ งๆ เชน่ นำ�้ ทว่ ม ไฟไหม้ เปน็ ต้น ซึง่ ความชว่ ยเหลอื ต่างๆ ดงั กล่าวแม้วา่ จะเป็นเงนิ เพียงเล็กน้อย แตก่ ็มีประโยชน์อยา่ งมากในยาม จ�ำเปน็ เฉพาะหน้า นอกเหนอื จากทก่ี ลา่ วมาแลว้ สหกรณอ์ อมทรพั ยม์ หาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร์ จ�ำกดั ยงั มแี นวคดิ ทจ่ี ะสง่ เสรมิ และพฒั นาคณุ ภาพชวี ติ ของสมาชกิ ใหด้ ขี น้ึ ดว้ ยการจดั ใหม้ กี ารฝกึ อบรมวชิ าชพี ระยะสนั้ เปน็ ประจ�ำอยา่ งตอ่ เนอ่ื ง เพ่ือให้สมาชิกได้ใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์และอาจเป็นอาชีพเสริมหรือพัฒนาเป็นอาชีพหลัก เป็นการเพ่ิมรายได้ และใช้เวลาให้เกิดประโยชน์ อีกท้ังยังจัดให้มีการดูงาน สัมมนา หรือทัศนศึกษายังท่ีต่างๆ ตามแต่โอกาสและ ความตอ้ งการของสมาชิก อยา่ งไรกต็ ามแนวคดิ ในการพฒั นาคณุ ภาพชวี ติ ของสมาชกิ สหกรณอ์ อมทรพั ย์ มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร์ จ�ำกดั ในปัจจบุ ันอาจจะยังไมท่ ัว่ ถงึ โดยเฉพาะสมาชกิ ทีส่ งั กดั อยู่ในวิทยาเขตทีห่ า่ งไกล ซึง่ เป็นข้อจ�ำกัดในการไดร้ ับ การบรกิ าร เช่น การสมั มนา ทัศนศกึ ษาหรอื การพฒั นาอาชีพที่สว่ นใหญม่ กั จะจัดเฉพาะในส่วนกลาง หากมกี าร กระจายไปตามวิทยาเขตต่างๆ เพิม่ ขน้ึ จะดีมาก หรอื ถ้าหากเป็นไปได้สหกรณอ์ อมทรัพย์ฯ อาจจะเพ่มิ ทนุ การศกึ ษา ทนุ ช่วยค่าครองชีพส�ำหรบั สมาชิกที่มีบุตรมาก รางวลั ส�ำหรับการเป็นสมาชกิ ครบ 10 ปี 20 ปี 30 ปี และเพ่ิมทุน สวัสดิการแก่สมาชิก จากทม่ี อี ยู่ 10 ประเภทใหม้ ากขึ้นทัง้ ในดา้ นปริมาณและจ�ำนวนเงนิ เน่อื งจากทนุ สวสั ดกิ ารนี้ สมาชกิ จะไดร้ บั ประโยชนค์ อ่ นขา้ งทวั่ ถงึ เสมอกนั ตา่ งจากเงนิ ปนั ผลคา่ หนุ้ ทสี่ มาชกิ ทมี่ หี นุ้ มากซงึ่ มฐี านะดจี ะไดร้ บั ประโยชน์มากกว่า จะเห็นไดว้ ่าสหกรณ์ออมทรพั ย์มหาวทิ ยาลัยเกษตรศาสตร์ จ�ำกดั เกย่ี วข้องกับความเป็นอยขู่ องสมาชิก แทบทุกจังหวะของชีวิตที่แปรเปล่ียนไปในแต่ละช่วงเวลา รวมไปถึงเก้ือกูลต่อครอบครัวของสมาชิกอีกด้วย เพียง แต่ว่าสมาชิกจะใช้ประโยชน์จากสหกรณ์ออมทรัพย์มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ จ�ำกัด ให้สมประโยชน์อย่างมี ความพอประมาณ มีสตแิ ละเหตผุ ลเพยี งใด 130

ตลอดระยะเวลา 18 ปี ทีผ่ มเป็นสมาชกิ สหกรณอ์ อมทรัพย์มหาวิทยาลยั เกษตรศาสตร์ จ�ำกัด แหง่ น้ี ท�ำให้ ผมไดเ้ รยี นรู้และวางแผนการใชเ้ งินและบริหารเงินของตนเองและครอบครัว หาเงิน ออมเงนิ และลงทนุ ใหเ้ กดิ ประโยชนจ์ ากเงินที่มีอยู่โดยให้เงินท�ำงานแทนเรา รู้จกั ความพอดี ความพอเพยี ง มีความสขุ ตามอตั ภาพ แยกแยะ ความแตกต่างระหวา่ ง ความจ�ำเป็น และความตอ้ งการ เมอ่ื จะใชเ้ งิน และสอนลูกให้ร้จู กั ค่าของเงินท่ไี มไ่ ดก้ ดออก มาจากตเู้ อทเี อม็ ได้ตลอดเวลา ต้องท�ำงาน ตอ้ งเหนอื่ ยถึงจะมีเงนิ ผมได้เหน็ ความเจรญิ กา้ วหนา้ และการพฒั นา ในด้านตา่ งๆ ของสหกรณ์ออมทรัพยฯ์ อย่างตอ่ เน่ืองมกี ารน�ำระบบไอทีมาใหบ้ ริการทสี่ ะดวกรวดเร็ว การฝากเงิน ถอนเงินหรือแม้กระทั่งการกู้เงินก็ไม่จ�ำเป็นต้องยืนเข้าแถวเพ่ือท�ำธุรกรรมทางการเงินหรือเข้าไปท่ีส�ำนักงาน สหกรณอ์ อมทรพั ยฯ์ อกี ต่อไป รวมถึงการให้ขอ้ มลู แกส่ มาชกิ ทางเวบ็ บอรด์ เมอื่ สมาชกิ มปี ัญหา จนกระท่ังปจั จบุ นั สหกรณ์ออมทรัพย์มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ จ�ำกัด มีผลการด�ำเนินงานท่ีก้าวหน้า มีอาคารส�ำนักงานเป็นปึกแผ่น ถาวรม่ันคง แมว้ ่าในบางชว่ งของการด�ำเนินงานจะมีการบรหิ ารงานในดา้ นการลงทนุ ท่ีพลาดเป้าไปบา้ ง แตก่ ็ยงั นบั ได้วา่ อยู่ในขั้นทพ่ี อจะยอมรับได้ จากวสิ ยั ทศั นข์ องสหกรณอ์ อมทรพั ยม์ หาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร์ จ�ำกดั ทไี่ ดแ้ สดงไวก้ บั สมาชกิ เปรยี บเสมอื น ค�ำม่ันสัญญา ทีม่ งุ่ มนั่ จะท�ำใหร้ ะบบคิด ในการครองชวี ิตของสมาชิกดีขึ้น เป็นองคก์ รทสี่ ่งเสรมิ ความม่นั คงทาง เศรษฐกจิ ของสมาชกิ บนพ้นื ฐานของการชว่ ยเหลือตนเองและการชว่ ยเหลือซ่งึ กันและกันอยา่ งมีคณุ ธรรม รู้จกั แบง่ ปนั เอ้ืออาทรต่อสังคม และการให้ ทง้ั นเี้ พอ่ื ท่จี ะพฒั นาคุณภาพชวี ิตของมวลสมาชกิ ให้ดีขนึ้ ตามอัตภาพของ สมาชกิ แตล่ ะคน ด้วยความย่ังยืน ซ่งึ ได้ผา่ นการพิสจู น์แลว้ ตลอดระยะเวลา 50 ปที ี่ผ่านมา ด้วยจติ คารวะต่อคณะกรรมการด�ำเนนิ การ ที่ปรึกษา ผ้ตู รวจสอบกิจการ ผสู้ อบบญั ชีสหกรณ์ ผ้ตู รวจสอบ ภายใน ตลอดจนเจา้ หนา้ ทสี่ หกรณอ์ อมทรพั ยม์ หาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร์ จ�ำกดั ทกุ ชดุ ทกุ สมยั ทผี่ า่ นมาและโดยเฉพาะ อย่างยิ่งท่านผู้ริเริ่มก่อตั้ง จนท�ำให้สหกรณ์ออมทรัพย์มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ จ�ำกัด ด�ำรงอยู่คู่มวลสมาชิก อยา่ งม่ันคงตลอดไป สมดงั เจตนารมณท์ ่วี างไว้ทกุ ประการ 131



จากประสบการณข์ องสมาชิก สอ.มก. “สหกรณ์ออมทรัพย์จะมีประโยชน์อย่างยิ่งส�ำหรับผู้ที่ประสงค์จะออมทรัพย์ จะมีประโยชน์มาก ส�ำหรับผู้ที่รู้จักกู้ไปทำ� ประโยชน์ แต่จะมีโทษกับผทู้ ก่ี ้ไู ปใช้ในทางสรุ ุ่ยสรุ ่าย” ศาสตราจารยอ์ นิ ทรี จนั ทรสถิตย์ อดตี ประธานกรรมการ สอ.มก. คนแรก

ช่วยเหลือดิฉันให้มีชีวิตครอบครัวท่ีดี มีความสุขและช่วยแก้ไขปัญหาชีวิตด้วยดีตลอดมา...นางพิกุล แพทย์สทิ ธิ์ (4053) มสี ว่ นท�ำใหด้ ฉิ นั มีรถ มบี า้ น มีครอบครัวทมี่ คี ณุ ภาพดี และมีฐานะมน่ั คง...สมบูรณ์ ไทรแจม่ จนั ทร์ (1314) ช่วยให้ขา้ พเจา้ ไดม้ ีทีอ่ ยู่อาศัยเป็นของตนเอง และบตุ รข้าพเจ้าทงั้ สามคนไดม้ กี ารศกึ ษาทีด่ .ี ...นางฉลวย อังกลุ ดี (3719) ท�ำใหผ้ มไดซ้ าบซงึ้ ถงึ ความหมายของกจิ การวา่ มใิ ชเ่ พยี งแตส่ ถาบนั ทท่ี �ำธรุ กจิ เทา่ นนั้ แตย่ งั ใหค้ วามชว่ ยเหลอื เกอื้ กลู แกม่ วลสมาชกิ ในฐานะเพอ่ื นมนษุ ย์ และนค่ี อื สงิ่ ทผ่ี มคดิ วา่ คอื คณุ คา่ ของสหกรณ์ มก. อยา่ งแทจ้ รงิ ....กฤตนยั น์ สามะพุทธิ (6809) ขา้ พเจา้ ขอยอมรบั วา่ การเปน็ สมาชกิ สหกรณอ์ อมทรพั ย์ แตก่ อ่ นนม้ี ปี ระโยชน์ไดแ้ คก่ ารกยู้ มื เงนิ เพอื่ ใชจ้ า่ ย ในความจ�ำเปน็ เทา่ น้นั จงึ มิไดส้ นใจท่จี ะเพ่มิ หุ้นให้มากข้ึน เพ่ือประโยชน์ของตนเองในบ้นั ปลายของชีวติ ทจี่ ะอยู่ อยา่ งพอเพยี ง จนกระทัง่ ไดม้ ีโอกาสเข้าร่วมโครงการสัมมนา และได้รบั ฟังการบรรยายของคณะกรรมการฝา่ ยต่างๆ จึงได้เข้าใจว่าการออมทรัพย์ไว้มากเท่าไหร่ ก็จะเป็นผลดีเท่านั้น ข้าพเจ้ารู้สึกเสียใจที่ได้รับรู้ข้อมูลช้าไปหน่อย ฉะน้ัน ขา้ พเจ้าอยากใหส้ หกรณ์ออมทรพั ย์ เชิญชวนให้สมาชิกฯ ทีย่ งั ไม่เขา้ ใจถงึ ประโยชนข์ องการออม โดยการ สะสมห้นุ ใหม้ ากๆ และลดการกอ่ หนี้สนิ ที่เกนิ ความจ�ำเป็น....นางสวุ ไิ ล หว่างพฒั น์ (1122) ใหค้ วามช่วยเหลอื สมาชิกในทกุ รปู แบบที่ไมย่ ากและไมต่ ึงกับกฎเกณฑ.์ ..ชลพรรษ ภิรมยช์ าติ (1282) สหกรณ์ออมทรพั ย์เปน็ ผู้ท่มี แี ต่ให้ ใหก้ ารเปน็ อยทู่ ่ดี ขี ึน้ ใหล้ ูกได้เรยี นสงู ๆ พร้อมมีทนุ หนนุ ส่ง เกดิ กไ็ ด้ ตายกไ็ ด้ แถมมเี งนิ ขวญั ถงุ อกี ดว้ ย...อ�ำนวย ทรพั ย์ฤทธา (4298) จนกระท่ังได้เข้าร่วมสัมมนากับสหกรณ์จึงทราบว่า ถ้าเราเพ่ิมการสะสมเงินทุนเรือนหุ้นให้มากขึ้น เม่ือเกษยี ณอายุเราจะได้รบั เงินปันผลทสี่ หกรณจ์ ่ายคืนให้สมาชกิ ทกุ ปีเป็นเงนิ รายไดอ้ ีกก้อนหน่งึ และในกรณีที่ เรามปี ญั หาด้านการเงนิ กส็ ามารถใช้เงนิ ทุนเรอื นหุ้นค�้ำประกันการกู้ได้ดว้ ย...ผศ.จินตนา เพยี รพิจิตร (2715) สหกรณ์ออมทรัพย์ ให้ส่ิงท่ดี ีๆ แกด่ ฉิ นั และครอบครวั เป็นอย่างมาก…ผศ.ภคั พร วงษส์ ิงห์ (1983) ขอใหผ้ ู้บริหารจงยึดหลกั “มีความซือ่ ตรง และซ่อื สตั ยอ์ ย่างมั่นคง” ซง่ึ เปน็ ส่วนประกอบส�ำคัญ จากจิต วิญญาณของนักพฒั นาท่ดี ี...นางสาวกัลยา กลน่ั สอน (1999) เป็นหน่วยงานส�ำคัญในการสนับสนุนความมั่นคงทางทรัพย์สินและความมั่นคงทางจิตใจให้แก่สมาชิก... รศ.ดร.ดารณี อทุ ัยรัตนกิจ (2178) ไดม้ อบสง่ิ ลำ�้ คา่ ทสี่ ดุ ในชวี ติ ใหผ้ เู้ ขยี นสองสง่ิ สง่ิ แรกคอื บา้ นหลงั แรกในชวี ติ และอกี สงิ่ หนงึ่ ทต่ี ดิ ตวั ผเู้ ขยี น ตลอดไปสง่ิ นน้ั ก็คือ วนิ ัยในการใช้จา่ ยเงิน การเก็บออม และการใชช้ วี ติ อยา่ งพอเพยี ง...รศ.กิตติ พฒั นตระกลู สขุ (2421) 134

เป็นสถาบันการเงินท่ีสนับสนุนและสร้างชีวิตครอบครัวให้มีความมั่นคงทางเศรษฐกิจมีวินัยในการใช้ เงนิ อยา่ งมเี หตุผล...รศ.กัญจนะ มากวิจติ ร์ (2455) ท�ำใหข้ ้าพเจ้าสามารถซือ้ ทด่ี ินและสรา้ งบา้ นได้ส�ำเรจ็ ถึงแมว้ า่ บา้ นขา้ พเจ้าหลงั จะไม่ใหญโ่ ต แตก่ เ็ ป็น ความภาคภูมใิ จเป็นท่สี ดุ เพราะสิ่งทข่ี ้าพเจ้าต้องการในวัยหลังปลดเกษียณคือมบี า้ นให้ลูกหลานอยู.่ ..นายสมชาย สุตโต (2528) มเี รือ่ งทีผ่ มและสมาชิกสว่ นหนงึ่ กงั วลใจ คือ การเจรญิ เตบิ โตแบบไมย่ ง้ั หยุดของ สอ.มก. ท�ำให้ สอ.มก. กลายเปน็ สถาบันการเงนิ ระดับใหญ่ขึ้นเรื่อยๆ ในขณะท่ีระบบการบริหารยงั เปน็ แบบ part-time (ผ้บู ริหารมาจาก บคุ ลากรทม่ี ีหนา้ ท่ปี ระจ�ำในมหาวทิ ยาลยั ) และรายได้ของ สอ.มก. ส่วนใหญม่ าจากการลงทุนซ้อื พันธบัตรรฐั บาล ซง่ึ มผี ลตอบแทนคอ่ นขา้ งตำ�่ เมอื่ เทยี บกบั ภาวะเงนิ เฟอ้ จงึ เปน็ ความทา้ ทายขององคก์ รวา่ จะตอ้ งมแี นวทางปรบั ปรงุ วธิ กี ารบรหิ ารองคก์ รการเงนิ อยา่ งไรในอนาคต จงึ จะลดความเสย่ี งทอี่ าจพงึ มขี น้ึ ได้ ศ.ดร.พรี ะศกั ด์ิ ศรนี เิ วศน์ (2575) ไดม้ ที อี่ ยอู่ าศยั และไดส้ ง่ ลกู เรยี นมาจนจบ และยงั ใหอ้ ะไรกระผมอกี หลายอยา่ ง เชน่ เงนิ วนั เกดิ ชว่ ยเหลอื บตุ รและกับพอ่ แมท่ ่เี สียชวี ติ ...นายสวสั ด์ิ ชแ้ี จง (2714) ดิฉันได้รับสิ่งท่ีดีๆ มาโดยตลอด ทั้งการได้เข้าร่วมกิจกรรม การสัมมนาโครงการต่างๆ ท่ีสหกรณ์จัด การบริการให้มีการกู้เพื่อเคหสงเคราะห์ ดิฉันจึงมีบ้านพร้อมท่ีดินเป็นของตนเอง ดิฉันประทับใจในสถาบันการ เงินทีย่ ิ่งใหญแ่ ละมนั่ คงของเราชาวเกษตร...น.ส.นุชรยี ์ สภุ าพนั ธ์ (2778) เสยี ดายทส่ี มคั รเขา้ เปน็ สมาชกิ สหกรณฯ์ ชา้ ไป ท�ำใหเ้ สยี โอกาสดๆี ไปมากมาย…รศ.ดร.บญั ญตั ิ เศรษฐฐติ ิ (2822) ได้มบี ้าน มรี ถ กเ็ พราะสหกรณ์ ไดร้ ับสวสั ดกิ ารมากมาย...นายสมชาย ทองวิลยั (2910) จากที่เคยไม่มีส่ิงท่ีตนต้องการ ได้เป็นสมาชิกสหกรณ์ของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ท�ำให้ได้เพ่ิมเติม ในส่ิงที่ตนปรารถนา ตามชวี ิตความเปน็ อยตู่ ามอัตภาพ...นายสมาน พรหมหาญ (2948) ในอนาคตที่เป็นห่วงก็คือ ไม่อยากให้สหกรณ์ออมทรัพย์ มก. เส่ียงต่อการลงทุนท่ีจะท�ำให้องค์กรนี้ขาดทุน และเปน็ ทห่ี ว่ันวิตกของสมาชกิ ...ศ.ดร. เดอื น ค�ำดี (3084) ประทบั ใจกบั หลกั การ ทสี่ อนประชาธปิ ไตยอยา่ งยง่ั ยนื พงึ พอใจกบั การใหบ้ รกิ ารทม่ี กี ารพฒั นาอยา่ งตอ่ เนอื่ ง ...วราภรณ์ เทพสมั ฤทธิพ์ ร (3151) คอยชว่ ยท�ำใหส้ มาชิกทุกคนมีหลายๆ อยา่ งท่ีตอ้ งการ ท�ำให้ผมมีบา้ นอยู่ มีที่ดิน มีรถ และอกี หลายอยา่ ง ท่สี หกรณ์ท�ำใหม้ .ี ..นายนิรนั ต์ ญาวชิ ัย (3223) สหกรณฯ์ เป็นแรงบนั ดาลใจใหม้ ีก�ำลังใจเก็บออม ท�ำใหร้ ้จู กั จัดระบบการเงนิ ของครอบครวั ชว่ ยให้รจู้ ัก การบริหารเงิน ใหเ้ งินช่วยท�ำงานไดอ้ ีกแรงหนงึ่ ...ผศ.อารดา เตชะไกศิยวณิช (3244) 135

การออมเปน็ สง่ิ ประเสรฐิ ทส่ี มาชกิ พงึ กระท�ำ แตก่ ารมหี นกี้ เ็ ปน็ คณุ หากมกี ารบรหิ ารจดั การไดอ้ ยา่ งเหมาะสม และพอเพียง...รศ.สพุ ัฒน์ อรรถธรรม (3258) มีบ้าน มคี วามเป็นอย่ทู ีด่ ขี ึ้น สอ.มก. เป็นเสมือนแก้วสารพดั นกึ คอื อยากได้อะไรกไ็ ด้ด่งั ใจทงั้ หมด กพู้ เิ ศษ กสู้ ามญั กู้ ฉ. ใชบ้ รกิ ารจบครบ ขอบคณุ เพอ่ื นรว่ มสถาบนั ฯ ทชี่ ว่ ยเซน็ คำ�้ ประกนั ให.้ .....นายเสาร์ พรหมพนิ จิ (3279) ชว่ ยสรา้ งวนิ ยั ในการออมเงนิ เปน็ ทพ่ี งึ่ ในยามยาก ชว่ ยสรา้ งอนาคต...รศ.กมลพรรณ นามวงศพ์ รหม (3367) ความม่ันคงในชีวติ ของข้าพเจา้ และครอบครัว เกิดขน้ึ ไดท้ ุกวนั นีก้ เ็ พราะเป็นสมาชิกสถาบันการเงนิ ท่ชี อ่ื สหกรณ์ออมทรัพยม์ หาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ จ�ำกัด...นางวนดิ า เจอื พันธ์ (3441) “เป็นแหลง่ เงนิ กู้ในยามเดอื ดรอ้ น” นายสุพจน์ สจั จาพิทักษ์ (3553) เปน็ สถาบนั การเงนิ ทใี่ หส้ มาชกิ ออมเงนิ เพอื่ อนาคตในวนั ขา้ งหนา้ ตอ่ ไป...นางสาวบญุ นาค นวิ ติ านนท์ (3571) เป็นผู้ใหช้ ีวติ ใหมต่ งั้ แตท่ กี่ นิ ที่อยอู่ าศยั (บ้าน) ยานพาหนะ ถ้าไมเ่ ปน็ สมาชิกสหกรณก์ ็คงจะไมม่ วี ันน้ี... นายสามารถ ปลง่ั อุดม (3581) ให้กเู้ งินสร้างบา้ นใหม่ ใหก้ ้เู งนิ ส่งลกู เรยี นจบปริญญาตรี มรี ถยนต์ ได้ใช้เพ่ือประกอบอาชีพหลงั เกษียณ... นายบญุ ชู รารอด (3591) องค์กรทท่ี �ำงานเพอ่ื ผลประโยชน์สูงสุดของสมาชกิ ...รศ.สุภาพร อิสริโยดม (3731) ท�ำใหส้ ามารถสง่ ลกู เขา้ รบั การศกึ ษา มที ด่ี นิ และบา้ นพกั อาศยั เปน็ ของตนเอง...นางขนั ทอง สขุ มน่ั (3888) ผมเคยได้รับความเอ้อื เฟ้ือจากสหกรณอ์ อมทรัพย์ ในการอนุมัตใิ หก้ ูเ้ งินเพือ่ เป็นต้นทนุ ชวี ิต ถ้าไม่มโี อกาส ในวันนน้ั ก็จะไม่ได้โอกาสท�ำงานตา่ งๆ ในวันน้.ี ..นายอดิศักดิ์ บว้ นกียาพันธุ์ (4399) มีสว่ นช่วยเหลือครอบครัวของดิฉันมาก มเี งนิ กู้ เพ่ือใชจ้ า่ ยในครอบครวั เพอื่ การศึกษาบตุ ร ท�ำให้การ ด�ำเนนิ ชวี ติ ครอบครวั ราบรนื่ และมคี วามสขุ มาก มเี งนิ ออมไว้ใชเ้ มอื่ ครบปลดเกษยี ณอายรุ าชการ....นางสทุ นิ ณาณผล (4429) คิดย้อนหลังไปหากไม่มีสหกรณ์ฯ อะไรท่ีเก่ียวกับสวัสดิการชีวิตคงล�ำบาก ก็ต้องขอขอบคุณสหกรณ์ ออมทรัพยม์ หาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์เป็นอย่างสงู ...ดิเรก รุจริ ตั นวรากร (5496) เป็นท่ีพึ่งทางการเงินท่ีดีท่ีสุด เป็นแหล่งเงินออม ได้รับประโยชน์หลายอย่างจากสหกรณ์ฯ ท�ำให้ได้มี โอกาสสร้างความมั่นคงใหก้ ับชีวติ ...นายออ่ น วงษศ์ รที รา (5505) ท�ำใหข้ ้าพเจา้ และครอบครวั ของข้าพเจ้า มีความเป็นอย่ทู ่ีดขี น้ึ อยา่ งมั่นคงดว้ ยการออมทรพั ยแ์ ละเมอ่ื มี ความจ�ำเปน็ เดอื ดร้อนทางการเงนิ ก็ไดส้ หกรณอ์ อมทรัพยข์ องเราช่วยเหลือบรรเทาความเดือดร้อนลงไปได้ และ ยงั ให้สวัสดกิ ารกับมวลสมาชกิ อยา่ งทว่ั ถึง...นายบวั ขาว รสชเอม (5636) 136

มบี า้ นทอี่ ยอู่ าศยั ในทกุ วนั น้ี เนอื่ งจากการกเู้ งนิ จากสหกรณอ์ อมทรพั ยม์ าปลกู บา้ น... นางดวงดาว พมุ่ ประทปี (5910) ดา้ นหนง่ึ ท่ี สอ.มก. ควรให้ความส�ำคัญมากขึ้น คือ การบริหารความเสี่ยงในรปู ของคณะกรรมการ โดย เชญิ ผู้ทรงคณุ วฒุ ิหรอื ผู้เช่ียวชาญเขา้ มาร่วมด้วย เพือ่ ให้โครงสร้างเงนิ ฝาก สินเชือ่ การลงทุนและการใหบ้ ริการ ด้านอน่ื ๆ มีความสอดคลอ้ งกันและมคี วามเส่ียงในระดับและลกั ษณะทบี่ ริหารจัดการได้ โดยไม่สรา้ งปัญหาดา้ น ผลประกอบการและด้านจติ วิทยา เช่น การสร้างทนุ ส�ำรองทเี่ พยี งพอ เปน็ ต้น...อาจารย์จีรศกั ดิ์ พงษพ์ ษิ ณุพจิ ิตร์ (6354) เป็นองค์ประกอบในการสง่ เสรมิ คุณภาพชวี ิตของฉัน...นางละออง รุ่งโรจน์ (7242) สหกรณค์ อื พวกเรา พวกเราคอื สหกรณ์ เราผนกึ มอื กนั ด�ำรงรกั ษาสหกรณเ์ พอื่ มอบสง่ิ ดไี ว้ใหแ้ กพ่ วกเราเอง... นางสาวธัญสตุ า นลิ ก�ำแหง (7350) ขอให้ชว่ ยกนั จรรโลง ปรับปรงุ และสรา้ งสรรค์สง่ิ ทดี่ ีงามเพมิ่ ยง่ิ ๆ ขึ้น เป็นแหลง่ เงนิ ออมทด่ี ี และเป็น แหลง่ สนับสนนุ การเงนิ ให้กบั บคุ ลากร และมหาวิทยาลยั เกษตรศาสตร์อย่างต่อเน่อื ง...นายชเู กยี รติ ทรัพย์ไพศาล (7554) ชว่ ยให้ความเป็นอยขู่ องข้าพเจา้ และครอบครวั มีความมน่ั คงมากขึ้น....รศ.ดร.ธรี ะ วีณนิ (8373) ตอนนผ้ี มมีรถยนต์ มีท่ีดนิ มีบ้านหลงั ใหม่ มีร้านคา้ ขายของเลก็ ๆ ในหมบู่ ้าน สหกรณ์ให้ทกุ สง่ิ ทกุ อย่าง กบั ชวี ิตและครอบครัวของผม...นายสมคดิ ไชยกระโทก (8865) ก่อนเกษยี ณอายุราชการสิบปี ดฉิ นั หมดหน้ีสนิ กบั สหกรณฯ์ และมบี า้ นเปน็ ของตนเอง มีทนุ เรอื นหุ้นเปน็ เงินเก็บ และเงนิ ออมทรพั ย์บ้างพอสมควร นอกจากน้ี ดฉิ ันยังได้รบั สวัสดิการต่างๆ มากมายทงั้ เปน็ แบบตัวเงนิ การเขา้ รว่ มอบรมสมั มนาและกิจกรรมทจี่ ดั โดยสหกรณ์ฯ...นางจไุ ร พุทธิเกษตริน (1729) สหกรณ์ได้ช่วยให้ดิฉันเป็นคนประหยัด อดออม รู้จักใช้จ่ายไม่สุรุ่ยสุร่าย และจะกู้เงินสหกรณ์เมื่อมี ความจ�ำเปน็ เท่านนั้ ครงั้ หลงั สุดไดก้ ู้เงนิ สหกรณเ์ พือ่ สมทบจา่ ยในการซื้อบา้ นเป็นทอ่ี ย่อู าศยั ท�ำให้มสี นิ ทรพั ย์เปน็ ของตนเอง มวี นั นไ้ี ดก้ เ็ พราะสหกรณ์ ดฉิ นั รสู้ กึ ซาบซง้ึ และเปน็ หนบ้ี ญุ คณุ สหกรณเ์ สมอมา...ปนดั ดา ผอ่ งอ�ำไพ (2230) สอ.มก. ชว่ ยให้ข้าพเจ้าได้มที ีอ่ ยูอ่ าศยั เปน็ ของตนเอง และบตุ รข้าพเจา้ ทงั้ สองคนไดม้ กี ารศกึ ษาทด่ี ี ยามที่ เดอื ดรอ้ นเรอ่ื งเงนิ คดิ ถงึ สหกรณอ์ อมทรพั ยช์ ว่ ยเราได้ และยงั ชว่ ยเหลอื ใหส้ วสั ดกิ ารตา่ งๆ กบั สมาชกิ ทกุ ทา่ นอยา่ ง สม่ำ� เสมอ...นางสม้ เชา้ ค�ำสอน (2936) ดฉิ นั เปน็ คนทต่ี อ้ งสชู้ วี ติ ดว้ ยตนเองตลอดมา เรม่ิ ตน้ การท�ำงานดว้ ยเลขศนู ยจ์ รงิ ๆ เพราะไมเ่ คยไดร้ บั ทรพั ย์ มรดกจากทางใด สหกรณอ์ อมทรัพย์เป็นท่ีพง่ึ เปน็ ผูม้ พี ระคุณตอ่ ดฉิ นั ในยามยาก กบั การท่พี ยายามใชช้ ีวติ แบบ เศรษฐกิจพอเพียง ไม่ฟุ้งเฟ้อ ขณะน้ีดิฉันจึงภูมิใจอย่างมากท่ีสามารถมีบ้านและรถเป็นของตนเอง จึงเป็นหลัก ในอนาคตให้ลูกชายของดิฉันได้พอสมควร และไม่ต้องเป็นหน้ีสินใคร (นอกจากสหกรณ์)...นางกฤษณา บริบูรณ์ (2273) 137

มแี ตส่ ่ิงดๆี เกิดขึน้ กบั ชวี ิตและครอบครวั ของกระผม เช่น กระผมมีลูก 2 คน ซ่ึงกระผมกไ็ ด้ส่งเสียใหล้ กู ไดเ้ รียนจนจบ และมงี านทมี่ ัน่ คงท�ำ และตัวกระผมเองก็ไดซ้ ือ้ ท่ดี ินไวท้ �ำกินหลงั เกษียณแล้ว...นายทองเหมาะ เกดิ มนตรี (6817) ผมอยากได้อะไร ผมกไ็ ด้ เช่น มีที่ดิน มบี ้าน และใหก้ ารศกึ ษาบุตรเพราะเงนิ สหกรณท์ ง้ั สน้ิ แต่ถา้ ไม่มี สหกรณผ์ มคดิ ว่าทกุ สิง่ ทุกอยา่ งที่ผมมี คงยากครับท่านทจี่ ะได.้ ..นายบญุ สม ค�ำม่งิ (1037) ผมมามอื เปล่า ไมม่ ที ี่ดนิ บ้าน และรถยนต์ รวมไปถึงทรัพยส์ ินอน่ื ๆ จนเด๋ียวน้ี กระผมมีฟารม์ ววั นม, ท่ีดนิ และเครอ่ื งมอื ทางการเกษตร มีความมน่ั คงในชวี ติ ก็เพราะเงินกขู้ องสหกรณ์ท้งั นั้น...นายประวตั ิ รกั ไท้ (1178) ผมกูเ้ งนิ จากสหกรณ์เพอื่ สรา้ งหลักฐานของตวั เอง ถา้ ไม่มสี หกรณ์ ผมเช่ือเหลือเกนิ วา่ ผมคงไม่มบี ้าน อยู่ ไม่มรี ถใช้ ไมม่ วี ัวเล้ยี งเป็นของตนเองอย่างแน่นอน คอื ผมกู้ตั้งแตเ่ ปน็ สมาชิกจนถงึ วันเกษยี ณ ผมเตรียมตวั เตรยี มใจ ววั มเี ลย้ี ง บ้านมอี ยู่ ก็คงสบายบา้ ง ไม่มากกน็ อ้ ย...ทอง ปลงิ กระโทก (705) เปรียบเสมอื นเพอ่ื นท่ีดีเปน็ ทีพ่ ่ึงแด่มวลสมาชิกในยามตา่ งๆ...รศ.สนิ ชยั พารักษา (1548) ขา้ พเจา้ และครอบครวั สามารถมที ด่ี นิ เพอ่ื ปลกู บา้ นพกั อาศยั เปน็ ของตนเองไดก้ เ็ พราะสหกรณอ์ อมทรพั ย.์ .. นางสวุ ณี คันธพนิต (4164) ชว่ ยใหค้ รอบครวั ของขา้ พเจา้ มคี วามมั่นคงในฐานะการเงนิ ดี รูจ้ ักการออมทรัพยฝ์ ากสหกรณ์ทลี ะน้อยๆ ตามฐานะเงนิ เดือน...รศ.วสิ ตู ร กองจินดา (2858) เปน็ หน่วยงานทีใ่ ห้ความช่วยเหลือด้านการเงินแกส่ มาชกิ ...นายประยงค์ สังขมาลย์ (2536) สหกรณ์ใหท้ กุ อยา่ งทเ่ี ราพงึ จะได้ เชน่ บา้ น-ทดี่ นิ -การศกึ ษาของบตุ ร ตลอดจนความเปน็ อยขู่ องครอบครวั ... สมจิตร์ พลิกกระโทก (1049) สหกรณอ์ อมทรัพย์ไดช้ ว่ ยเหลอื เรือ่ งเงิน ท�ำใหบ้ ตุ รไดม้ กี ารศกึ ษาทด่ี ขี ึ้น และได้รับความสะดวกในการ น�ำเงนิ ไปซื้อทอี่ ยู่อาศยั ท�ำให้ความเป็นอยดู่ ีข้ึน...ลัง แสวงสขุ (1203) ไดช้ ่วยให้ผมเปน็ คนประหยัด รู้จกั อดออม...นายบุญธรรม กิจประชา (6833) ที่พงึ่ แห่งหนงึ่ ของขา้ พเจ้าในชีวติ ราชการ...นายประวตั ิ พัฒนบิ ูลย์ (1794) ช่วยให้ดฉิ นั ต้ังตวั ได้ มีเงนิ ใชย้ ามจ�ำเป็น...รศ.รัชนีวรรณ เวชพฤติ (2068) การจะออมเงินรายได้ไว้เพื่ออนาคตไม่มีทางใดดีไปกว่าการให้หักเงินเดือนเสียแต่ต้นมือ...รศ.ศิริลักษณ์ ลิ้มภักดี (7772) ถือประโยชน์ของสมาชิกเปน็ หน่ึงมาโดยตลอด...กมลพรรณ ช่ังทอง (1859) ใหส้ งิ่ ทดี่ แี ละมปี ระโยชนต์ อ่ สมาชกิ ทกุ คนในดา้ นการเงนิ และสวสั ดกิ ารตา่ งๆ มากมาย...บษุ กร ยวงจอหอ (1416) เป็นแหล่งเงินทุนท่ีช่วยให้ครอบครัวของข้าพเจ้าประสบผลส�ำเร็จนานาประการตลอดมา...ทองอยู่ บุญดวง (6572) 138

ท�ำให้ผมมีโอกาสสร้างตัว สร้างอนาคต ใหเ้ จรญิ กา้ วหนา้ ....นายมานิตย์ ตรีจรูญ (6276) เป็นทีพ่ ึง่ ทางด้านการเงินทด่ี ีทีส่ ดุ ....สุมาศ สกลุ คง (1011) สามารถพง่ึ พาสหกรณย์ ามเดือดรอ้ น...อลิสา นิตธิ รรม (5993) เปน็ ทพ่ี ง่ึ ทางการเงินตลอดชวี ติ การท�ำงานและตลอดไป...รศ.ดร.ไขแสง รักวานชิ (3533) เป็นแหล่งเงินออมและชว่ ยเหลือซ่งึ กันและกันในมวลหมู่สมาชิก...รศ.ดร.สมพงษ์ วัฒกนารา (1591) บริการต่างๆ ท่ี สอ.มก. ได้จัดไวเ้ พอ่ื บริการแกส่ มาชิก หากเลือกใช้ได้อย่างเหมาะสมกบั ตนแล้ว จะเป็น ตัวเร่งท่ีส�ำคัญตัวหน่ึงที่ท�ำให้สมดุลของสมการถึงเร็วกว่าการใช้บริการจากธนาคารพาณิชย์โดยทั่วไป...นายสุรเดช จินตกานนท์ (2260) เป็นแหล่งแกป้ ญั หาทางการเงนิ ใหก้ ับครอบครัวของดฉิ นั เปน็ อย่างดียิง่ ...บรรจง กลน่ิ จันทร์ (3564) เปน็ เหมือน “เพอ่ื นคคู่ ดิ มติ รคู่ใจ” ที่แทจ้ รงิ ของครอบครวั ดฉิ นั ...พชั รินทร์ ภู่ชอ่มุ (1846) เปน็ หลักหนึ่งของชวี ิตขา้ ราชการสว่ นใหญข่ องมหาวทิ ยาลยั ...รศ.ชยั ณรงค์ คันธพนิต (3831) การไดเ้ ขา้ รว่ มเปน็ สมาชกิ ท�ำใหผ้ มมโี อกาสกเู้ งนิ เพอื่ น�ำมาสรา้ งบา้ นไวอ้ ยหู่ ลงั จากทไ่ี ดเ้ กษยี ณไปแลว้ และพอมี เงนิ ไวล้ งทนุ ท�ำสวนบา้ งกเ็ พราะวา่ ไดม้ โี อกาสออมเงนิ ไวก้ บั ทางสหกรณอ์ อมทรพั ย์ มก. ...นายยงยทุ ธ ใหมสนิ งาม (6453) สหกรณเ์ ป็นท่พี ่งึ ยามยาก ทกุ ครง้ั ที่ขัดสนจะนกึ ถงึ สหกรณเ์ ป็นอันดบั แรก...สมานชยั โพธ์ิแก้ว (1554) การให้บริการท่ีเป็นกันเองและอบอุ่น สบายใจที่มีที่พ่ึงยามเดือดร้อน ไร้ความกังวลใจเพราะได้ข้อมูล ข่าวสารครบถว้ นไม่เคยขาดหาย...วไิ ลรัตน์ ศรคี �ำ (8544) สหกรณอ์ อมทรัพยค์ อื ท่ีพง่ึ พายามมีความจ�ำเป็นในเร่ืองการเงิน...ผศ.ดร.จารนัย พณชิ ยกุล (3504) ประทับใจในบรกิ ารของสหกรณ์ออมทรัพย์มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์เสมอ...รศ.บรรลุ พุฒิกร (5826) สอ.มก. เปน็ ทีพ่ ึ่งและทีพ่ กั พงิ ทด่ี ีท่สี ดุ ของขา้ พเจ้า...นางสดศรี จินดาพล (4070) ชาว มก. หลายคน รวมท้ังดิฉันด้วยสามารถสร้างครอบครัวที่ม่ันคงเป็นปึกแผ่นจากโอกาสท่ี สอ.มก. มอบให้...นางปรเี นียม ทองแพ (2199) สมาชกิ มที อ่ี ยู่กิน เพราะเรามี สอ.มก...จ�ำปี เมฆป้นั (6442) เปน็ ท่พี ง่ึ พงิ แก่พวกเราชาวเกษตรศาสตร์ ท้งั ยามสุข และยามทกุ ข์ ยามเดอื ดร้อนและไม่เดอื ดรอ้ น ทัง้ ส่วนตวั และส่วนรวม...เกอ้ื กูล ทาสิทธ์ิ (2058) ความหวงั จะใหส้ หกรณเ์ ปน็ ทส่ี �ำหรบั อ�ำนวยความสะดวกเกย่ี วกบั การเงนิ ...ผศ.ปญั ญา รงั ษกี าญจนส์ อ่ ง (1936) สอ.มก. เป็นหนึ่งในสหกรณ์ออมทรัพย์ของประเทศ ท่ีมีความเจริญก้าวหน้า และมีทุนทรัพย์มาก... รศ.ดร.สุปรียา ตรวี ิจติ รเกษม (1971) ไดร้ ับประโยชน์จากสหกรณ์มากมายในหลายๆ ด้าน...สมคดิ ตนั ติกลุ (6133) 139

อยู่มาจนคอ่ นชวี ิตราชการจึงมีทด่ี นิ ไดห้ นงึ่ แปลง ก็คงมไี ด้แคน่ ี้แหละ จนปีสุดทา้ ยเพราะสหกรณ์ออม ทรพั ย์ มก. จึงสมหวังมบี า้ นอยูอ่ าศัยหลังเกษยี ณ...นายเสน่ห์ ทองเอยี (874) บั้นปลายของชีวิตข้าพเจ้ามีบ้าน มีรถยนต์และมีครอบครัวที่สมบูรณ์ เพราะ สอ.มก. ท�ำให้สมาชิกมี ความม่ันคงในการเป็นอย่ดู ขี ้ึน สอ.มก. จะช่วยท้ังยามสขุ ยามทุกข์ และยามเดือดรอ้ น และไมเ่ ดอื ดรอ้ น ทงั้ สว่ นตวั และสว่ นรวมกพ็ ่ึงพา สอ.มก. ได้ตลอดเวลา “เวลาอว้ นมาออม เวลาผอมมากู้ สอ.มก”...นายชาญชัย ไล้เลศิ (986) ดิฉนั มที ุกอย่าง มรี ถ มบี ้าน เพราะให้ความสะดวกในการกู้ยมื ใหค้ �ำแนะน�ำดี ข้อคิด! กอ่ นกยู้ มื ควรคิด เสียกอ่ นวา่ จะเอาเงนิ มาท�ำอะไรใหเ้ ป็นประโยชน.์ ..นางทองค�ำ แก้วความครัญ (999) กูม้ าซอื้ ทเ่ี พื่อปลูกบา้ น ซ้ือรถยนต์และของใชภ้ ายในบ้าน ซง่ึ มีครบ นับได้ว่า สหกรณเ์ ป็นที่ใหค้ วามอบอนุ่ ความสมบรู ณ์ควบคไู่ ปกบั งานที่ท�ำ...นายฉฐั รตั น์ เลิศประเสริฐ (1238) ท�ำใหข้ ้าพเจา้ มที ด่ี ิน และตอ่ มากม็ บี า้ นเปน็ ของตวั เอง และท�ำใหค้ รอบครัวของข้าพเจ้ามคี วามสขุ และ มอี ะไรหลายๆ อย่างให้กบั ครอบครวั ของข้าพเจ้า...อุไร แกน่ ทอง (1240) ผมมีลูกหลายคน ดงั นน้ั จงึ จ�ำเป็นต้องกู้ และกูส้ หกรณ์ เพื่อใช้จา่ ยในครอบครวั ใช้ในการศกึ ษาของบุตร จนบุตรของผมทุกคนประสบความส�ำเร็จและมีงานท�ำที่ดีทุกคน ผมมีรถยนต์และบ้านหลังใหม่ซ่ึงก็อาศัยเงินยืม สหกรณ.์ ..สหกรณจ์ งึ เป็นสว่ นหนงึ่ ของครอบครัวผม ทใี่ ห้ทุกสงิ่ แกผ่ ม...นายแป้น สดุ กระโทก (1267) สมาชกิ ไดม้ ีโอกาสเขา้ ถงึ แหลง่ ทุน และสร้างชีวิตไดต้ ามความประสงค์...สิทธิชยั เกษตรเกษม (1576) ช่วยเหลอื เกือ้ หนนุ ครอบครัวและสนับสนนุ การศึกษาของลูก ดูแลเรายามเจ็บปว่ ย ชว่ ยแกป้ ญั หาเฉพาะ หนา้ เวลาขัดสน ช่วยผ่อนหนักเป็นเบา เม่ือประสบภยั พบิ ตั ิเดือดรอ้ น สหกรณ์ฯ เปน็ แหล่งออมเงนิ ไว้เป็นทุนเมอ่ื เกษยี ณราชการ และเป็นทป่ี รึกษาการเงินอย่างดีเย่ียม...นายอ�ำนวย ก�ำริสุ (1635) เปน็ ระบบรวมพลงั สามคั คี ดว้ ยความเหน็ ใจจากรนุ่ พท่ี บ่ี กุ เบกิ ไว้ใหร้ นุ่ นอ้ งไดแ้ กป้ ญั หาปากทอ้ ง นานาประการ... ผศ.นลิ วรรณ โรจนสกุล (1719) สหกรณ์ออมทรัพย์ มก. เปน็ ทพ่ี ง่ึ พาอาศยั ของบคุ ลากรมหาวทิ ยาลยั มีบริการใหส้ มาชิกหลายอย่างและ ให้ความช่วยเหลอื เปน็ อยา่ งดี ทส่ี �ำคัญคือเปน็ ทที่ ี่ใหเ้ ราเกบ็ ไว้ใช้หลงั เกษียณ...รศ.ตรีทพิ ย์ รัตนไพศาล (1758) ผมมคี วามสบายใจและอนุ่ ใจทม่ี ที นุ ส�ำรองสว่ นตวั ในรปู หนุ้ และเงนิ ออม พอเพยี งทจ่ี ะด�ำรงชวี ติ และดแู ล ครอบครัวได้ตามสมควรกับอัตภาพ จึงเป็นคุณประโยชน์ของการเป็นสมาชิก สอ.มก. เป็นอย่างยิ่ง...รศ.น.สพ.ดร. ธีระศกั ดิ์ ตรัยมงคลกูล (1881) ขา้ พเจ้าเคยใฝ่ฝันวา่ อยากจะมบี า้ นเปน็ ของตนเอง กไ็ มส่ ามารถซ้อื เองได้ จึงได้มาปรกึ ษากบั ทางเจา้ หน้าท่ี และกรรมการสหกรณ์ จนสหกรณ์ได้ด�ำเนนิ การให้โดยให้ข้าพเจ้าท�ำเร่อื งขออนุมตั ิจัดซอื้ บ้านโดยผ่อนกบั สหกรณ์ จนกระทั่ง ณ บดั นี้ขา้ พเจ้าไดม้ บี ้านเปน็ ของตัวเองหลงั เกษยี ณขา้ พเจ้ามีความสขุ มาก...นายถาวร โหระกลุ (2018) 140

สามารถมีบ้าน รถ เป็นของตนเองได้ก็เพราะสหกรณ์ ท�ำให้ชีวิตมีความมั่นคงข้ึน ยามใดท่ีเดือดร้อน เรือ่ งเงนิ สหกรณ์ช่วยไดเ้ สมอ...นางนิภา ตลบั นาค (2159) ขอฝากข้อคดิ ส�ำหรบั ผู้ทตี่ ้องการจะสรา้ งหน้นี ้นั ต้องมคี วามม่ันใจว่าจะสามารถบริหารหน้ีและการใช้จา่ ย ใหส้ มดลุ กัน ส�ำหรบั ผมน้ัน หนที้ เี่ กิดกบั สหกรณ์ฯ ช่วยใหผ้ มมคี วามแขง็ แรงในสุขภาพ เพราะจะต้องท�ำงานเพ่อื ให้บรหิ ารหนนี้ ไ้ี ด.้ ..รศ.ดร.รวีเสรฐภักดี (2259) รบั ฟงั เสยี งสมาชกิ สว่ นใหญ่ แลว้ น�ำไปบรหิ ารงานอยา่ งรอบคอบ และพฒั นาองคก์ รอยา่ งตอ่ เนอ่ื ง... น.ส.จรยิ า ภักดอี ักษร (2291) ท�ำให้ชวี ติ สมบรู ณย์ ิง่ ขน้ึ เพราะท�ำให้เกิดการออม มีบ้านอยู่ มรี ถใช้ อกี ทั้งสวสั ดกิ ารต่างๆ ทส่ี หกรณฯ์ จดั ใหก้ บั สมาชิกก็ล้วนแต่มีประโยชนท์ งั้ ส้นิ ...นางสเุ ทวี ศุขปราการ (2417) ข่าวสารจาก ขา่ ว สอ.มก. นับเปน็ วารสารทอี่ อกไดส้ ม�่ำเสมอ มีสาระทเ่ี ปน็ ประโยชนแ์ ก่สมาชกิ เอกสาร ประชาสัมพันธ์น้ี ช่วยให้สมาชิกเข้าใจว่าสหกรณ์เป็นองค์กรท่ีไม่หวังผลก�ำไร ผลประโยชน์ท่ีเพ่ิมพูนขึ้นจะเป็น ผลประโยชน์ของสมาชิกทุกคนร่วมกัน และช่วยให้สมาชิกรับรู้การด�ำเนินงานของสหกรณ์มากขึ้น โดยเฉพาะ อย่างย่ิงรายละเอียดในการบริหารสินทรัพยข์ องสหกรณ์...นายบัญชา พนเจรญิ สวสั ด์ิ (3334) นอกจากชว่ ยแกป้ ญั หาทางเศรษฐกจิ แกส่ มาชกิ แลว้ ยงั ชว่ ยสง่ เสรมิ พฒั นาทางสงั คมและจติ ใจแกส่ มาชกิ อีกดว้ ย...นายจ�ำนง อดิวฒั นสทิ ธิ์ (3507) เป็นท่ีพ่ึงของข้าพเจ้าในด้านการเงินเป็นอย่างดี ต้ังแต่แรกเริ่มเข้าเป็นสมาชิก ซื้อท่ีดิน ซ้ือยานพาหนะ ปลกู บา้ น ซอ่ มแซมบ้าน การศกึ ษาของบุตร ค่าใช้จา่ ยในครอบครวั ให้ความรู้ในด้านตา่ งๆ จากการอบรม สัมมนา และข่าวสาร...นายเลย่ี ม ทองดอนเหมอื น (4191) มบี า้ นที่อยู่ ลูกเรียนส�ำเร็จได้ เพราะกู้เงินสหกรณ.์ ..นางหนุน กลอ่ มเกล้ยี ง (4369) อกี สว่ นหนงึ่ ทผี่ มตอ้ งขอชมเชยคอื ขา่ วสหกรณอ์ อมทรพั ย์ มก. เปน็ เอกสารทม่ี สี าระและเปน็ ประโยชนม์ าก ส�ำหรับคนท่ีอ่าน นอกจากได้ทราบการด�ำเนนิ งานของสหกรณ์ออมทรัพย์ มก. แลว้ ยงั ได้ความรู้ต่างๆ ภายในเลม่ อกี มาก และบทความหลายเรอื่ งทผี่ มสามารถน�ำไปปฏบิ ตั แิ ละเกดิ ประโยชนก์ บั ตวั เอง...ศ.ดร.สายชล เกตษุ า (6197) ใหค้ ณุ ประโยชนด์ า้ นการเงนิ แก่ผม และครอบครวั อย่างมากมายมหาศาล ในยามเมอ่ื ผมขัดสน เดอื ดรอ้ น ลูกผม 1 คน หลาน 2 คน ศึกษาจบปริญญา ผมได้เงินต่อเตมิ บ้านจากชั้นเดียวเป็น 2 ช้ัน ได้ปรับปรงุ สวนมะม่วง กล้วย 1 ไรเ่ ศษ จนมีผลิตผลรายได้พอสมควรและคุณประโยชน์อ่ืนๆ อีก ผมพดู ดงั ๆ ไดเ้ ลยวา่ สหกรณ์ฯ ช่วยเหลือ ผมท้งั สนิ้ ...นายสุรกิต คณุ ทุ ัย (6294) ดิฉันสง่ ลูกเรียนหนงั สือและมที ่ดี นิ มีบา้ น มีรถยนตจ์ นทุกวันนี้ ดฉิ นั มีพรอ้ มทุกอย่าง มคี วามสขุ เพราะ การช่วยเหลือที่ไดร้ บั จากสหกรณ์ มก. ...นางมณี เกดิ มนตรี (829) สง่ ลกู จนเรียนจบท้ังสองคน โดยใช้แหลง่ เงินจากสหกรณ์เสยี สว่ นใหญ่...นางชลฤทยั สขุ ก้อน (980) 141

จรรยาบรรณของกรรมการดำ�เนินการ เจ้าหนา้ ท่ี และสมาชิกสหกรณ*์ --------------------- จรรยาบรรณสำ�หรับกรรมการดำ�เนินการสหกรณ์ 1. มุ่งมั่น และอุทิศ เพ่ือพัฒนาการบริหารงานของสหกรณ์ให้ก้าวหน้า ด้วยความเสียสละ ซ่ือสัตย์ และสุจริต โดยยดึ มน่ั อดุ มการณ์ หลกั การ และวิธกี ารสหกรณ์ 2. พงึ รกั ษา ปกป้องผลประโยชน์ของสมาชกิ โดยรวม และตดั สินใจบนพืน้ ฐานประโยชน์สมาชิกอย่างเป็นธรรม 3. พงึ ปฏบิ ัติตามกฎหมาย ข้อบังคับ ระเบยี บของสหกรณ์อยา่ งเครง่ ครัด รวมถึงยึดหลกั จริยธรรม วัฒนธรรม อนั ดีงาม 4. มงุ่ พฒั นาความรู้ ศักยภาพของตนและบคุ ลากรของสหกรณอ์ ย่างจรงิ จัง เพอื่ เพมิ่ ประสทิ ธภิ าพการปฏิบตั ิงาน ในสหกรณ์ 5. กำ�กับ ดูแลการจัดการสหกรณ์ให้มีประสิทธิภาพและประสิทธิผล โดยไม่แทรกแซงสายการบังคับบัญชา แต่จะสรา้ งความยตุ ิธรรมแกเ่ จา้ หนา้ ท่ีสหกรณ์ในการปฏิบตั ิงาน 6. ไมอ่ าศยั หรอื ยอมใหผ้ อู้ น่ื อาศยั ต�ำ แหนง่ หนา้ ท่ี ในสหกรณเ์ พอื่ ให้ไดม้ าซง่ึ ประโยชนส์ ว่ นตน ญาตแิ ละพวกพอ้ ง 7. หลีกเลี่ยงการทำ�ธุรกิจส่วนตนที่มีผลประโยชน์ทับซ้อนกับสหกรณ์ และเปิดเผยผลประโยชน์ส่วนตนที่มีใน องคก์ รหรือธุรกรรมใดทีข่ ัดกบั ประโยชน์ของสหกรณ์ 8. ละเวน้ การให้สัญญาต่างตอบแทนแกบ่ คุ คล องคก์ ร เพื่อให้ได้มาซงึ่ ต�ำ แหนง่ ผลประโยชน์ของตน 9. ไม่นำ�เอาทรัพยส์ ิน อปุ กรณ์ บคุ ลากรของสหกรณ์ไปใช้เพื่อประโยชนข์ องตนและพวกพอ้ ง และไม่กระท�ำ การใดอันเปน็ ปฏิปักษ์ และเปน็ คู่แข่งขนั ต่อการด�ำ เนินงานของสหกรณ์ จรรยาบรรณสำ�หรบั เจ้าหนา้ ทสี่ หกรณ์ 1. พึงปฏิบัติตามนโยบาย ข้อบังคับ ระเบียบของสหกรณ์และค�ำ สั่งของคณะกรรมการด�ำ เนินการอย่างเคร่งครัด ภายใตอ้ ดุ มการณ์ หลกั การและวิธีการสหกรณ์ 2. พึงใหบ้ รกิ ารแก่สมาชิกและผู้ใชบ้ รกิ ารด้วยความเต็มใจ และประทบั ใจ 3. พึงรกั ษาข้อมูลส่วนตวั ของสมาชกิ เป็นความลบั และไมน่ �ำ ไปแสวงหาประโยชน์เพอ่ื ตนและพวกพ้อง 4. ให้บริการแก่สมาชกิ อย่างเท่าเทียมกันและไม่เลอื กปฏิบตั ติ ่อผู้ใดผู้หนึง่ เป็นการเฉพาะ 5. พฒั นาตนเองให้มคี วามรู้ ความสามารถ เพื่อพฒั นาประสทิ ธิภาพในการปฏบิ ตั งิ าน 6. พงึ รักษาและใช้ประโยชน์จากทรพั ย์สิน อุปกรณข์ องสหกรณ์อย่างประหยดั คุ้มค่ามากที่สดุ รวมถึงไม่นำ� เอาไปใชเ้ ป็นประโยชน์ส่วนตน 7. พึงรักษาและเสริมสร้างความสามคั คีระหว่างเจา้ หนา้ ท่สี หกรณ์และหลีกเล่ียงการสรา้ งความขดั แยง้ ปัญหา หรือการกระทำ�อันเปน็ การสร้างความแตกแยก 142 * ที่มา : สมาคมเศรษฐศาสตร์สหกรณ์แห่งประเทศไทย

8. พงึ ใหข้ า่ วสารการด�ำ เนนิ งานสหกรณท์ เ่ี ปน็ ประโยชนแ์ กส่ มาชกิ ในทกุ โอกาสทเ่ี ออ้ื อ�ำ นวย ขณะเดยี วกนั กร็ บั ฟงั ปัญหาความต้องการของสมาชกิ เพ่ือพัฒนาการด�ำ เนนิ งานในโอกาสต่อไป 9. พึงละเว้นการรับทรัพย์สิน ประโยชน์อื่นใดจากสมาชิก หรือบุคคลภายนอกเพื่อแสวงหาประโยชน์ส่วนตน หรือพวกพอ้ งอย่างมีศกั ดศิ์ รี 10. หลีกเลยี่ งการทำ�ธรุ กจิ ที่มีผลประโยชน์ทบั ซ้อน เป็นค่แู ข่งขัน หรือเป็นปฏปิ กั ษ์กบั สหกรณ์ จรรยาบรรณส�ำ หรับสมาชิกสหกรณ์ 1. มงุ่ มั่นและอทุ ิศเพือ่ พฒั นาให้สหกรณ์ก้าวหน้า โดยยึดมั่น อดุ มการณ์ หลักการและวธิ ีการสหกรณ์ 2. ปฏิบัติตามกฎหมาย ข้อบังคับ ระเบียบของสหกรณอ์ ยา่ งเครง่ ครัด 3. สอดส่องดแู ลและส่งเสรมิ สนับสนุนกิจการของสหกรณ์ เพ่อื ให้สหกรณ์เป็นองคก์ รท่เี ขม้ แขง็ 4. รว่ มท�ำ ธุรกิจของสหกรณ์ ในฐานะเจา้ ของสหกรณ์ 5. รว่ มมือกบั คณะกรรมการด�ำ เนนิ การของสหกรณ์ พัฒนาสหกรณ์ใหเ้ จรญิ รงุ่ เรือง มัน่ คง 6. ม่งุ มนั่ ด�ำ รงชวี ติ ตามหลกั ปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพยี ง 143

คณะผู้บริหาร สหกรณอ์ อมทรพั ยม์ หาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ จำ�กดั ประจ�ำ ปี 2553 ท่ีปรึกษาคณะกรรมการดำ�เนินการ 1 ศ.ดร.ก�ำ พล อดลุ วิทย์ 2 ศ.พเิ ศษ ดร.อาบ นคะจัด 3 ดร.วิวฒั น์ แดงสุภา 4 ผศ.ดร.รังสรรค ์ ปติ ิปัญญา 5 นายวิบูลย์ ตงั้ กิตตภิ าภรณ ์ คณะกรรมการดำ�เนนิ การ กปิลกาญจน์ ประธานกรรมการ จารพุ นั ธุ ์ รองประธานกรรมการ คนที่ 1 1 รศ.วุฒิชัย ล้มิ แหลมทอง รองประธานกรรมการ คนที่ 2 2 รศ.บพิธ ทศั นวัฒน ์ รองประธานกรรมการ คนที่ 3 3 นายนพิ นธ์ ลำ�ใย รองประธานกรรมการ คนที่ 4 4 ผศ.ดร.ทวีวฒั น์ ไลเ้ ลศิ รองประธานกรรมการ คนท่ี 5 5 ร.อ.รศ.ปราโมทย ์ ปลหี ะจนิ ดา เลขานกุ าร 6 นายวเิ ชยี ร ระโยธ ี ผชู้ ่วยเลขานกุ าร 7 ผศ.สชุ นิ ไล้เลศิ กรรมการ 8 นายนพดล สิทธกิ รณ์ไกร กรรมการ 9 นายชาญชัย บญุ รำ�พรรณ กรรมการ 10 ดร.ปรีชา วงษ์สงิ ห ์ กรรมการ 11 นางพนู ทรพั ย ์ เหลืองวิไล กรรมการ 12 ผศ.ภคั พร อารีรบ กรรมการ 13 นายพงศ์พนั ธ ์ ตัง้ สวุ รรณเสมา กรรมการ 14 รศ.ดร.วลั ลภ 15 นายสมนึก ผ้ตู รวจสอบกจิ การ เกษมทรัพย ์ ประธานผู้ตรวจสอบกจิ การ สวุ รรณศิลป ์ เลขานกุ ารผตู้ รวจสอบกิจการ 1 ศ.ดร.สมเพยี ร เอือ้ สนุ ทรวัฒนา ผตู้ รวจสอบกิจการ 2 นายมาโนช 3 นางพรรณวิภา 144


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook