Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore แผนจัดการเรียนรู้ วิชาออกแบบและเทคโนโลยี ชั้น ม.3

แผนจัดการเรียนรู้ วิชาออกแบบและเทคโนโลยี ชั้น ม.3

Published by pm.punnatat, 2022-08-14 01:40:52

Description: แผนจัดการเรียนรู้ วิชาออกแบบและเทคโนโลยี ชั้น ม.3

Search

Read the Text Version

แผนการจัดการเรียนรู้ รายวิชาพืน้ ฐาน การออกแบบและเทคโนโลยี ม.3 ตามมาตรฐานการเรยี นรู้และตวั ชวี้ ัด สาระเทคโนโลยี (ฉบบั ปรบั ปรุง พ.ศ. 2560) กลมุ่ สาระการเรยี นรู้วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ตามหลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาขนั้ พน้ื ฐาน พุทธศักราช 2551 พระมหาปัณณทตั อภวิ ฑฺฒโน ครผู สู้ อน / ผจู้ ดั ทาแผนการจดั การเรยี นรู้

คำนำ ตามที่กระทรวงศึกษาธิการได้ประกาศใช้มาตรฐานการเรียนรู้และตัวช้ีวัด สาระเทคโนโลยี กลุ่มสาระ การเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 เพ่ือให้สถานศึกษานำไปใช้เป็นกรอบทิศทางในการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา วางแผนการ จัดการเรียนการสอนและจัดกิจกรรมการเรียนรู้เพ่ือพัฒนาผู้เรียนให้มีความรู้ความสามารถ และคุณลักษณะอันพึง ประสงค์ตามเป้าหมายของหลักสูตร ตลอดจนให้เกิดผลสำเร็จตามเจตนารมณ์ของการปฏิรูปการศึกษา ดังน้ัน ข้นั ตอนการนำหลกั สตู รสถานศึกษาไปปฏบิ ตั ิจริงในช้ันเรียนของครผู ู้สอน จึงจัดเป็นหัวใจสำคญั ในการพฒั นาผู้เรยี น แผนการจัดการเรียนรู้ รายวิชาพื้นฐาน เทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลยี) ช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 3 ได้จัดทำขึ้น เพื่อให้ครูผู้สอนใช้เป็นแนวทางวางแผนจัดการเรียนรู้แก่ผู้เรียน โดยจัดทำเป็นหน่วยการเรียนรู้อิงมาตรฐานและ ออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้ตามแนวคิดการออกแบบย้อนกลับ (Backward Design) ตลอดจนเน้นกิจกรรมแบบ Active Learning อันจะช่วยใหผ้ ู้ปกครองและหน่วยงานท่ีเก่ียวข้องกับการประเมินคุณภาพการศึกษา สามารถมัน่ ใจ ในผลการเรียนรูแ้ ละคุณภาพของผเู้ รยี นทม่ี หี ลกั ฐานตรวจสอบผลการเรยี นรอู้ ย่างเปน็ ระบบ แผนการจัดการเรียนรู้เล่มนี้ ได้จัดทำข้ึนเป็นแนวทางวางแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ประกอบการใช้ หนังสือเรียน รายวิชาพ้ืนฐาน เทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลยี) ชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 3 โดยทัง้ น้ีการออกแบบ การเรียนรู้ (Instructional Design) ได้ดำเนินการตามกระบวนการ ดังน้ี 1 หลกั การจัดการเรียนรู้อิงมาตรฐาน หน่วยการเรียนรู้แต่ละหน่วยจะกำหนดผลการเรียนรู้ไว้เป็นเป้าหมายในการจัดการเรียนการสอน ผู้สอน จะต้องศึกษาและวิเคราะห์รายละเอยี ดของมาตรฐานการเรียนรู้และตัวชวี้ ัดทกุ ข้อว่า ระบุใหผ้ ู้เรียนต้องมคี วามรู้ความ เข้าใจเก่ียวกับเรอ่ื งอะไร และต้องสามารถลงมือปฏิบัติอะไรได้บ้าง และมาตรฐานการเรียนรู้และตัวช้ีวัดท่ีเกิดข้ึนกับ ผ้เู รยี นจะนำไปสูก่ ารเสรมิ สร้างสมรรถนะสำคญั และคณุ ลักษณะอนั พึงประสงค์ดา้ นใดแก่ผู้เรียน มาตรฐานการเรยี นรแู้ ละตวั ช้วี ดั ผู้เรยี นรูอ้ ะไร ผู้เรยี นทำอะไรได้ นำไปสู่ สมรรถนะสำคญั ของผเู้ รยี น คุณลักษณะอันพึงประสงค์

2 หลักการจัดกจิ กรรมการเรียนรูท้ ่ีเนน้ ผู้เรยี นเปน็ สำคัญ เม่ือผู้สอนวิเคราะหร์ ายละเอียดของมาตรฐานการเรียนรแู้ ละตัวช้ีวัด และได้กำหนดเป้าหมายการจดั การเรียน การสอนเรียบร้อยแล้ว จึงกำหนดขอบข่ายสาระการเรียนรู้และแนวทางการจัดการเรียนการสอนให้ผู้เรียนลงมือ ปฏิบตั ติ ามขัน้ ตอนของกจิ กรรมการเรียนร้ทู อ่ี อกแบบไว้จนบรรลมุ าตรฐานและตัวชีว้ ัดทุกข้อ มาตรฐานการเรียนรแู้ ละตัวช้ีวัด เปา้ หมาย หลกั การจดั การเรยี นรู้ การเรียนรู้ สมรรถนะสำคญั ของผเู้ รียน และการพัฒนา เนน้ ผเู้ รียนเปน็ สำคญั คณุ ภาพ สนองความแตกต่างระหวา่ งบุคคล คณุ ลกั ษณะอันพึงประสงค์ ของผู้เรยี น เนน้ พัฒนาการทางสมอง ของผเู้ รียน กระตุ้นการคิด เนน้ ความรคู้ คู่ ณุ ธรรม 3 หลกั การบรู ณาการกระบวนการเรียนรสู้ ่ผู ลการเรียนรู้ เมื่อผู้สอนกำหนดขอบข่ายสาระการเรียนรู้ และแนวทางการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนไว้แล้ว จึงกำหนด รปู แบบการเรยี นการสอนและกระบวนการเรยี นรู้ ท่ีจะฝึกฝนให้ผูเ้ รยี นเกดิ การเรยี นรู้ บรรลุตามมาตรฐานการเรียนรู้ และตัวช้ีวัด โดยเลือกใช้กระบวนการเรยี นรู้ท่ีสอดคล้องกับมาตรฐานการเรียนรู้และตัวช้ีวัดท่ีเป็นเป้าหมายในหน่วย น้ัน ๆ เชน่ กระบวนการเรียนร้แู บบบูรณาการ กระบวนการสรา้ งความรู้ กระบวนการเรียนรู้ด้วยตนเอง กระบวนการ เผชิญสถานการณ์และการแก้ปัญหา กระบวนการเรียนรู้จากประสบการณ์จริง กระบวนการพัฒนาลักษณะนิสัย กระบวนการปฏบิ ัติ กระบวนการคิดวิเคราะหอ์ ย่างมีวิจารณญาณ กระบวนการทางสังคม ฯลฯ กระบวนการเรียนรู้ท่ี มอบหมายให้ผูเ้ รียนลงมือปฏิบตั ินนั้ จะต้องนำไปสูก่ ารเสรมิ สร้างสมรรถนะสำคญั และคณุ ลักษณะอนั พงึ ประสงค์ของ ผู้เรยี นตามสาระการเรยี นรู้ที่กำหนดไว้ในแตล่ ะหน่วยการเรียนรู้ 4 หลักการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน การจัดกิจกรรมการเรียนการสอน และกิจกรรมการเรียนรู้ในแต่ละหน่วย ผู้สอนต้องกำหนดข้ันตอนและ วิธปี ฏิบตั ิใหช้ ดั เจน โดยเนน้ ให้ผ้เู รียนไดล้ งมือฝกึ ฝนและฝกึ ปฏบิ ัตมิ ากทส่ี ุด ตามแนวคิดและวธิ ีการสำคัญ คอื 1) การเรียนรู้ เป็นกระบวนการทางสติปัญญา ที่ผู้เรียนทุกคนต้องใช้สมองในการคิดและทำความเข้าใจ ในส่ิงต่างๆ ร่วมกับการลงมือปฏิบัติ ทดลองค้นคว้า จนสามารถสรุปเป็นความรู้ได้ด้วยตนเอง และ สามารถนำเสนอผลงาน แสดงองค์ความรทู้ ี่เกิดขนึ้ ในแต่ละหนว่ ยการเรยี นร้ไู ด้

2) การสอน เป็นการเลือกวิธีการหรือกิจกรรมที่เหมาะสมกับการเรียนรู้ในหน่วยน้นั ๆ และท่ีสำคัญ คือ ต้อง เป็นวธิ ีการที่สอดคล้องกบั สภาพผเู้ รียน ผ้สู อนจึงต้องเลอื กใช้วธิ ีการสอน เทคนิคการสอน และรูปแบบการ สอนอย่างหลากหลาย เพอื่ ช่วยใหผ้ ูเ้ รยี นปฏิบตั กิ ิจกรรมการเรยี นรู้ได้อย่างราบร่นื จนบรรลตุ ัวชวี้ ดั ทุกข้อ 3) รูปแบบการสอน ควรเป็นวิธีการและข้ันตอนฝึกปฏิบัติที่ส่งเสริมหรือกระตุ้นให้ผู้เรียนสามารถคิดอย่าง เป็นระบบ เช่น รูปแบบการสอนแบบสืบเสาะหาความรู้ (5Es) รูปแบบการสอนโดยใช้การคิดแบบ โยนิโสมนสิการ รูปแบบการสอนแบบ CIPPA Model รูปแบบการเรียนการสอนตามวัฏจักรการเรียนรู้ แบบ 4MAT รูปแบบการเรยี นการสอนแบบร่วมมอื เทคนคิ JIGSAW, STAD, TAI, TGT 4) วิธกี ารสอน ควรเลือกใช้วธิ ีการสอนทส่ี อดคล้องกบั เนื้อหาของบทเรยี น ความถนัด ความสนใจ และสภาพ ปัญหาของผู้เรียน วิธสี อนท่ดี ีจะช่วยให้ผู้เรียนสามารถบรรลุผลการเรยี นรู้ตามในระดบั ผลสมั ฤทธ์ิที่สงู เช่น วิธีการสอนแบบบรรยาย การสาธิต การทดลอง การอภิปรายกลุ่มย่อย การแสดงบทบาทสมมติ การใช้ กรณตี ัวอยา่ ง การใช้สถานการณจ์ ำลอง การใชศ้ นู ย์การเรยี น การใช้บทเรยี นแบบโปรแกรม เปน็ ตน้ 5) เทคนิคการสอน ควรเลือกใชเ้ ทคนิคการสอนทส่ี อดคล้องกับวธิ ีการสอน และช่วยให้ผเู้ รยี นเขา้ ใจเนอ้ื หาใน บทเรียนได้ง่ายข้ึน สามารถกระตุ้นความสนใจและจูงใจให้ผู้เรียนร่วมปฏิบัติกิจกรรมการเรียนรู้อย่างมี ประสิทธิภาพ เช่น เทคนิคการใช้ผังกราฟิก (Graphic Organizers) เทคนิคการเล่านิทาน การเล่นเกม เทคนิคการใชค้ ำถาม การใช้ตัวอยา่ งกระตุน้ ความคิด การใชส้ ่อื การเรียนรทู้ นี่ ่าสนใจ เป็นตน้ 6) สื่อการเรียนการสอน ควรเลือกใช้สื่อหลากหลายกระตุ้นความสนใจ และทำความกระจ่างให้เน้ือหา สอดคล้องกับสาระการเรียนรู้ และเป็นเครื่องมือช่วยให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้บรรลุตัวช้ีวัดอย่างราบร่ืน เช่น ส่ือสิ่งพิมพ์ เอกสารประกอบการสอน แถบวีดิทัศน์ แผ่นสไลด์ คอมพิวเตอร์ VCD LCD Visualizer เปน็ ต้น ควรเตรียมส่อื ให้ครอบคลมุ ท้งั ส่ือการสอนของครูและสื่อการเรียนรขู้ องผูเ้ รยี น 5 หลกั การจดั กจิ กรรมการเรียนรู้แบบยอ้ นกลับตรวจสอบ เมื่อผู้สอนวางแผนออกแบบการจัดการเรยี นรู้ รวมถึงกำหนดรูปแบบการเรียนการสอนไว้เรียบร้อยแล้ว จึงนำ เทคนิควิธีการสอน วิธีจัดกิจกรรมการเรียนรู้ และส่ือการเรียนรู้ไปลงมือจัดการเรียนการสอน ซึ่งจะนำผู้เรียนไปสู่ การสร้างช้ินงานหรือภาระงาน เกิดทักษะกระบวนการและสมรรถนะสำคัญตามธรรมชาติวิชา รวมท้ังคุณลักษณะ อันพึงประสงค์ให้บรรลุตามมาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัดท่ีเป็นเป้าหมายของหน่วยการเรียนรู้ ตามลำดับขั้นตอน การเรียนรทู้ ี่กำหนดไว้ ดงั น้ี

จากเปา้ หมายและ เปา้ หมายการเรียนรู้ของหน่วย หลักฐาน คิดย้อนกลบั หลกั ฐานชิ้นงาน/ภาระงาน แสดงผลการเรยี นรขู้ องหน่วย สจู่ ดุ เรม่ิ ต้น ของกิจกรรมการเรียนรู้ 4 กจิ กรรม คำถามชวนคดิ แสดงผลการเรยี นร้ขู องหนว่ ย 3 กิจกรรม คำถามชวนคดิ จากกจิ กรรมการเรียนรู้ 2 กจิ กรรม คำถามชวนคดิ ทลี ะขนั้ บนั ได 1 กิจกรรม คำถามชวนคดิ สูห่ ลกั ฐานและ เป้าหมายการเรยี นรู้ การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่มีประสิทธิภาพ นอกจากจะเปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้ลงมือปฏิบัติจริงแล้ว จะต้อง ฝึกฝนกระบวนการคิดทุกขั้นตอน โดยใช้เทคนิคการตั้งคำถามกระตุ้นความคิด และใช้ระดับคำถามให้สัมพันธ์กับ เนื้อหาการเรียนรู้ ตั้งแต่ระดับความรู้ ความจำ ความเข้าใจ การนำไปใช้ การวิเคราะห์ การประเมินค่า และ การสร้างสรรค์ นอกจากจะช่วยให้ผู้เรียนเกิดความเข้าใจบทเรียนอย่างลึกซึ้งแล้ว ยังเป็นการเตรียมความพร้อม เพ่อื สอบ O-NET ซงึ่ เปน็ การทดสอบระดบั ชาตทิ ่ีเน้นกระบวนการคิดระดับวิเคราะห์ด้วย และในแต่ละแผนการเรยี นรู้ จึงมีการระบุคำถามเพื่อกระตุ้นความคิดของผู้เรียนไว้ด้วยทุกกิจกรรม ผู้เรียนจะได้ฝึกฝนวิธีการทำข้อสอบ O-NET ควบคไู่ ปกับการปฏิบัติกจิ กรรมการเรยี นรู้ตามผลการเรยี นรู้ท่สี ำคัญ ท้ังน้ีการออกแบบกิจกรรมการเรียนการสอนในแต่ละหน่วยจะครอบคลุมกิจกรรมการเรียนรู้ และการ ประเมินผลด้านความรู้ความเข้าใจ (K) ด้านทักษะกระบวนการ (P) และด้านคุณลักษณะอันพึงประสงค์ (A) ตาม มาตรฐานการเรียนรู้และตัวช้ีวัด สาระเทคโนโลยี กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560) ตามหลักสูตรแกนกลางฯ การศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 พร้อมท้ังออกแบบเครื่องมือการวัด และประเมินผล ตลอดจนแบบบันทึกผลการเรียนรู้ด้านต่าง ๆ ไว้ครบถ้วน สอดคล้องกับมาตรฐานด้านคุณภาพ ผู้เรียน เช่น แบบบันทึกผลด้านการคิดวิเคราะห์ ด้านการอ่านและแสวงหาความรู้ ด้านสมรรถนะและคุณลักษณะ อันพึงประสงค์ตามหลักสูตร เป็นต้น ผู้สอนสามารถนำไปประยุกต์ใช้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ และใช้ประกอบการ จัดทำรายงานการประเมินตนเอง (Self Assessment Reports) จึงม่ันใจอย่างยิ่งว่า การนำแผนการจัดการเรียนรู้ เล่ ม น้ี ไป เป็ น แ น ว ท า ง จั ด ก า ร เรี ย น ก า ร ส อ น จ ะ ช่ ว ย พั ฒ น า ผ ล สั ม ฤ ท ธ์ิ ท า ง ก า ร เรี ย น ข อ ง นั ก เรี ย น ให้ สู ง ข้ึ น ตามมาตรฐานการศกึ ษาและการประกนั คุณภาพภายในสถานศึกษาทุกประการ

คณะผจู้ ดั ทำ สารบัญ สรปุ หลกั สูตรฯ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี หนา้ พิเศษ 1-3 มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชวี้ ดั สาระการเรยี นรู้แกนกลาง วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี พเิ ศษ 4-5 คำอธิบายรายวิชา เทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลยี) ม.3 พิเศษ 6 โครงสรา้ งรายวิชา เทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลยี) ม.3 พิเศษ 7-8 Pedagogy พิเศษ 9-10 โครงสร้างแผนการจดั การเรยี นรู้ เทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลยี) ม.3 พเิ ศษ 12-16 หนว่ ยการเรยี นรทู้ ่ี 1 เทคโนโลยีกับชวี ิต แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 สาเหตหุ รอื ปัจจยั ทส่ี ่งผลต่อการเปลีย่ นแปลงของเทคโนโลยี 1 แผนการจดั การเรยี นรู้ที่ 2 ความสัมพนั ธ์ของเทคโนโลยีกบั ศาสตร์อ่ืน 10 แผนการจดั การเรยี นรู้ที่ 3 การนำเทคโนโลยีไปสร้างนวัตกรรมใหม่ 16 24 หนว่ ยการเรียนรทู้ ่ี 2 เทคโนโลยกี บั การพฒั นางานอาชพี ภายในชมุ ชนหรอื ท้องถน่ิ 39 แผนการจดั การเรียนรู้ท่ี 1 ปัญหาหรือความต้องการภายในชมุ ชนหรอื ทอ้ งถน่ิ 50 แผนการจัดการเรยี นรู้ที่ 2 การใชเ้ ทคโนโลยีในการแก้ปัญหา 59 หน่วยการเรียนรทู้ ี่ 3 วสั ดุ อุปกรณ์ เครอื่ งมอื และความรใู้ นการแกป้ ญั หาหรอื พฒั นางาน 74 แผนการจดั การเรยี นรู้ท่ี 1 ความรูเ้ ก่ียวกบั วัสดุสำหรับการพัฒนาชิน้ งาน 85 แผนการจดั การเรียนรู้ที่ 2 อุปกรณ์และเครอื่ งมือช่างพ้ืนฐานในการแก้ปัญหาและสรา้ งช้ินงาน 93 แผนการจดั การเรียนรู้ท่ี 3 ความรู้ในการแก้ปัญหาหรือพัฒนาชิ้นงาน 99 หนว่ ยการเรียนรทู้ ี่ 4 การแกป้ ัญหาชุมชนหรือทอ้ งถิ่นด้วยกระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรม 115

แผนการจดั การเรยี นรู้ที่ 1 กระบวนการออกแบบเชงิ วิศวกรรมกับการแกป้ ญั หาชมุ ชนหรือท้องถิ่น 127 แผนการจัดการเรยี นรู้ที่ 2 กรณีศกึ ษาการนำวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวตั กรรมไปพัฒนาชมุ ชน 152

สรุปหลักสตู รฯ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี* ตัวช้ีวัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 นี้ ได้กำหนดสาระการเรียนรู้ออกเป็น 4 สาระ ได้แก่ สาระที่ 1 วิทยาศาสตร์ชีวภาพ สาระที่ 2 วิทยาศาสตรก์ ายภาพ สาระท่ี 3 วิทยาศาสตร์โลก และอวกาศ และสาระที่ 4 เทคโนโลยี มีสาระเพ่ิมเติม 4 สาระ ได้แก่ สาระชีววิทยา สาระเคมี สาระฟิสิกส์ และสาระโลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ องค์ประกอบของหลักสูตรทั้งในด้านของเน้ือหา การจัดการเรียนการสอน และการวัดและประเมินผลการ เรียนรู้น้ัน มีความสำคัญอย่างยิ่งในการวางรากฐานการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ของผู้เรียนในแต่ละระดับช้ันให้มีความ ต่อเน่ืองเช่ือมโยงกันตั้งแต่ชั้นประถมศึกษาปีท่ี 1 จนถึงชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 สำหรับกลุ่มสาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีได้กำหนดตัวช้ีวัดและสาระการเรียนรู้แกนกลางท่ีผู้เรียนจำเป็นต้องเรียนเป็นพ้ื นฐาน เพื่อให้สามารถนำความรู้น้ีไปใช้ในการดำรงชีวิต หรือศึกษาต่อในวิชาชีพท่ีต้องใช้วิทยาศาสตร์ได้ โดยจัดเรียงลำดับ ความยากง่ายของเน้ือหาในแต่ละระดับชั้นให้มีการเช่ือมโยงความรู้กับกระบวนการเรียนรู้ และการจัดกิจกรรมการ เรียนรู้ท่ีส่งเสริมให้ผู้เรียนพัฒนาความคิด ท้ังความคิดเป็นเหตุเป็นผล คิดสร้างสรรค์ คิดวิเคราะห์วิจารณ์ มีทักษะท่ี สำคัญ ทั้งทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์และทักษะในศตวรรษท่ี 21 ในการค้นคว้าและสร้างองค์ความรู้ด้วย กระบวนการสืบเสาะหาความรู้ สามารถแก้ปัญหาอย่างเป็นระบบ สามารถตัดสินใจโดยใช้ข้อมูลหลากหลายและ ประจักษ์พยานทตี่ รวจสอบได้ ตวั ช้ีวัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง กลุ่มสาระการเรยี นร้วู ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (ฉบับปรับปรงุ พ.ศ. 2560) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 น้ี ได้ปรับปรุงเพื่อให้มีความสอดคล้องและ เชื่อมโยงกันภายในสาระการเรียนรู้เดียวกัน และระหว่างสาระการเรียนรู้ในกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ตลอดจนการเช่ือมโยงเน้ือหาความรู้ทางวิทยาศาสตร์กับคณิตศาสตร์ด้วย นอกจากน้ี ยังได้ปรับปรุงเพ่ือให้มีความ ทันสมยั ตอ่ การเปลีย่ นแปลงและความเจรญิ กา้ วหน้าของวทิ ยาการตา่ ง ๆ ใหท้ ัดเทยี มกบั นานาชาติ ซง่ึ สรุปได้ ดงั แผนภาพ พเิ ศษ 1

*สถาบันสง่ เสริมการสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี กระทรวงศกึ ษาธกิ าร, ตวั ช้ีวดั และสาระการเรียนรแู้ กนกลาง กลุม่ สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ (ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ. 2560) ตามหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขัน้ พ้ืนฐาน พ.ศ. 2551 (กรุงเทพมหานคร : โรงพมิ พช์ มุ นุมสหกรณ์การเกษตรแห่ง ประเทศไทย, 2560), หนา้ 1-2. พิเศษ 2

หมายเหตุ : ปกี ารศกึ ษา 2563 ช่ือกลุม่ สาระการเรียนรวู้ ทิ ยาศาสตร์ จะเปลย่ี นช่อื ใหม่เปน็ “กลุ่มสาระการเรยี นรู้วทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลย”ี พเิ ศษ 3

พเิ ศษ 4

ตวั ชีว้ ัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง วิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลย*ี สาระท่ี 4 เทคโนโลยี มาตรฐาน ว 4.1 เขา้ ใจแนวคิดหลักของเทคโนโลยีเพื่อการดำรงชีวติ ในสังคมท่มี ีการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเรว็ ใช้ความรแู้ ละทักษะทางดา้ นวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ และศาสตร์อืน่ ๆ เพ่ือแก้ปญั หาหรอื พัฒนางานอยา่ งมีความคิดสร้างสรรค์ดว้ ยกระบวนการออกแบบเชิงวศิ วกรรม เลอื กใช้เทคโนโลยี อย่างเหมาะสมโดยคำนึงถงึ ผลกระทบต่อชีวิต สงั คม และส่ิงแวดลอ้ ม ชั้น ตวั ชวี้ ดั สาระการเรียนรู้แกนกลาง ม.3 1. วเิ คราะห์สาเหตุ หรอื ปัจจัยท่ีสง่ ผลต่อ  เทคโนโลยมี กี ารเปล่ยี นแปลงตลอดเวลาตั้งแต่อดีตจนถึง การเปล่ียนแปลงของเทคโนโลยี และ ปจั จบุ ัน ซงึ่ มีสาเหตุหรือปัจจัยมาจากหลายดา้ น เชน่ ความสมั พันธข์ องเทคโนโลยกี บั ศาสตร์อื่น ปัญหาหรือความต้องการของมนุษย์ ความก้าวหนา้ โดยเฉพาะวทิ ยาศาสตร์ หรือคณติ ศาสตร์ ของศาสตรต์ ่าง ๆ การเปลีย่ นแปลงทางด้านเศรษฐกจิ เพือ่ เปน็ แนวทางการแก้ปัญหาหรือพัฒนา สังคม วัฒนธรรมสง่ิ แวดลอ้ ม งาน  เทคโนโลยมี คี วามสัมพันธ์กบั ศาสตร์อ่ืน โดยเฉพาะ วิทยาศาสตร์ โดยวิทยาศาสตร์เปน็ พ้ืนฐานความรู้ท่ี นำไปสกู่ ารพัฒนาเทคโนโลยี และเทคโนโลยีที่ไดส้ ามารถ เป็นเครอ่ื งมือท่ใี ชใ้ นการศกึ ษา ค้นคว้าเพื่อให้ได้มาซ่ึง องค์ความร้ใู หม่ 2. ระบุปัญหาหรอื ความต้องการของชุมชน  ปัญหาหรอื ความต้องการอาจพบได้ในงานอาชีพของชุมชน หรอื ท้องถิน่ เพ่ือพฒั นางานอาชีพ หรือท้องถิ่น ซึ่งอาจมหี ลายด้าน เชน่ ด้านการเกษตร สรุปกรอบของปญั หา รวบรวม วเิ คราะห์ อาหาร พลังงาน การขนส่ง ขอ้ มูลและแนวคิดที่เกย่ี วข้องกับปญั หา  การวเิ คราะหส์ ถานการณ์ปัญหาชว่ ยให้เข้าใจเงื่อนไข โดยคำนงึ ถึงความถูกตอ้ งด้านทรัพย์สิน และกรอบของปญั หาไดช้ ดั เจน จากนน้ั ดำเนินการสืบคน้ ทางปัญญา รวบรวมข้อมลู ความรจู้ ากศาสตรต์ ่าง ๆ ที่เก่ยี วข้อง เพื่อนำไปสู่การออกแบบแนวทางการแก้ปญั หา 3. ออกแบบวิธีการแกป้ ญั หา โดยวิเคราะห์  การวเิ คราะห์ เปรยี บเทียบ และตดั สนิ ใจเลือกข้อมลู เปรยี บเทยี บ และตดั สนิ ใจเลือกข้อมูล ทีจ่ ำเป็น โดยคำนงึ ถงึ ทรัพยส์ ินทางปัญญา เงื่อนไขและ ทีจ่ ำเปน็ ภายใต้เงื่อนไขและทรพั ยากร ทรพั ยากร เช่น งบประมาณ เวลา ขอ้ มลู และสารสนเทศ ท่มี อี ยู่ นำเสนอแนวทางการแก้ปัญหา วัสดุ เครอ่ื งมือและอปุ กรณช์ ว่ ยใหไ้ ด้แนวทาง ให้ผ้อู น่ื เข้าใจดว้ ยเทคนิคหรือวิธกี าร การแก้ปัญหาทเ่ี หมาะสม ท่ีหลากหลาย วางแผนขัน้ ตอนการทำงาน  การออกแบบแนวทางการแก้ปญั หาทำไดห้ ลากหลายวิธี และดำเนนิ การแก้ปัญหาอย่างเป็นข้ันตอน เช่น การร่างภาพ การเขียนแผนภาพ การเขยี นผังงาน พิเศษ 5

ชั้น ตัวช้วี ัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง  เทคนคิ หรือวิธกี ารในการนำเสนอแนวทางการแกป้ ญั หา มีหลากหลาย เชน่ การใช้แผนภูมิ ตาราง ภาพเคลอ่ื นไหว  การกำหนดขนั้ ตอนและระยะเวลาในการทำงานกอ่ น ดำเนนิ การแก้ปัญหาจะช่วยใหก้ ารทำงานสำเรจ็ ตาม เปา้ หมาย และลดขอ้ ผิดพลาดของการทำงานที่อาจ เกดิ ขึน้ 4. ทดสอบ ประเมินผล วิเคราะห์ และ  การทดสอบและประเมินผลเปน็ การตรวจสอบชิ้นงาน ใหเ้ หตผุ ลของปัญหาหรือข้อบกพร่อง หรือวธิ ีการว่า สามารถแก้ปัญหาได้ตามวตั ถปุ ระสงค์ เกิดขน้ึ ภายใต้กรอบเง่อื นไข พรอ้ มทั้ง ภายใตก้ รอบของปญั หา เพ่ือหาขอ้ บกพร่อง และ หาแนวทางการปรบั ปรุงแก้ไข และ ดำเนินการปรบั ปรุง โดยอาจทดสอบซำ้ เพ่ือให้สามารถ นำเสนอผลการแกป้ ญั หา แกไ้ ขปญั หาได้  การนำเสนอผลงานเป็นการถ่ายทอดแนวคิดเพ่ือใหผ้ ู้อน่ื เขา้ ใจเก่ยี วกับกระบวนการทำงานและช้ินงานหรือวิธีการ ที่ได้ ซง่ึ สามารถทำไดห้ ลายวิธี เช่น การเขียนรายงาน การทำแผน่ นำเสนอผลงาน การจดั นทิ รรศการ การนำเสนอผา่ นส่ือออนไลน์ 5. ใช้ความรู้ และทักษะเกี่ยวกับวสั ดุ อุปกรณ์  วสั ดุแต่ละประเภทมสี มบัติแตกตา่ งกัน เช่น ไม้ โลหะ เคร่ืองมือ กลไก ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ พลาสติก เซรามิก จงึ ต้องมีการวิเคราะห์สมบัติ ใหถ้ กู ต้องกับลักษณะของงาน และ เพอื่ เลือกใช้ให้เหมาะสมกับลักษณะของงาน ปลอดภัยเพื่อแก้ปัญหาหรือพัฒนางาน  การสร้างช้ินงานอาจใช้ความรู้ เรื่องกลไก ไฟฟ้า อเิ ลก็ ทรอนิกส์ เชน่ LED LDR มอเตอร์ เฟือง คาน รอก ลอ้ เพลา  อปุ กรณ์และเคร่อื งมอื ในการสร้างชิ้นงานหรอื พฒั นา วิธีการมหี ลายประเภท ตอ้ งเลือกใช้ให้ถกู ต้อง เหมาะสม และปลอดภยั รวมทั้งรู้จักเกบ็ รกั ษา พิเศษ 6

คำอธิบายรายวิชา รายวชิ าพ้ืนฐาน เทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลยี) กลุม่ สาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชั้นมธั ยมศกึ ษาปที ่ี 3 เวลา 20 ช่ัวโมง ศกึ ษาสาเหตุหรอื ปัจจัยที่ส่งผลตอ่ การเปล่ยี นแปลงของเทคโนโลยี และผลกระทบต่อมนษุ ย์ สังคม เศรษฐกิจ สิ่งแวดล้อม และอาชีพในชุมชน เพื่อสำรวจและระบุปัญหาที่เกิดขึ้นได้ตรงตามความจริง กระบวนการแก้ปัญหาโดย ใช้ความรู้ทางวิทยาศาสตร์ และศาสตร์อื่น ๆ ร่วมกัน ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับประเภท และสมบัติของวัสดุต่าง ๆ เช่น ไม้ เหล็ก พลาสติก ยางพารา เครื่องมือในการสร้างช้ินงาน เช่น ค้อน ประแจ สว่าน คีมประเภทต่าง ๆ เพื่อให้ สามารถตดั สินใจเลือกแนวทางในออกแบบการแก้ปัญหาได้อย่างเหมาะสม โดยอาศัยกระบวนการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐาน ( Problem – based Learning) วิธีการสอนโดยเน้นรูปแบบ การสอนแบบใช้โครงงานเป็นฐาน (Project-based Learning) วัฏจักรการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้ (5Es Intructional Model) และวิธีการสอนโดยเน้นรูปแบบการสอนแบบอุปนัย (Induction) เพื่อเน้นให้ผู้เรียนได้ลงมือปฏิบัติ ฝึกทักษะการคิด เผชิญสถานการณ์การแก้ปัญหา วางแผนการเรียนรู้ ตรวจสอบการเรียนรู้ และสร้างองค์ความรู้ใหม่ด้วย ตนเองผา่ นกระบวนการคิดและปฏิบัติ โดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ เพือ่ ให้ผเู้ รยี นมีความรู้ความเข้าใจ มีทักษะเกีย่ วกบั การใช้ความร้ดู ้านวิทยาศาสตร์และศาสตรอ์ น่ื ๆ ในการ ออกแบบและพัฒนาเทคโนโลยีในดา้ นตา่ ง ๆ ทีส่ ามารถนำไปใช้ในชีวิตจริงได้อยา่ งมปี ระสิทธิภาพ และเกดิ ประโยชน์ ต่อสังคม และการดำรงชวี ติ จนสามารถพัฒนากระบวนการคิดและจนิ ตนาการ ความสามารถในการแก้ปัญหาและ การจัดการทักษะในการสื่อสาร และความสามารถในการตัดสินใจ และเป็นผทู้ ่มี จี ิตวทิ ยาศาสตร์ มีคณุ ธรรม จริยธรรม และค่านยิ มในการใชว้ ิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยีอยา่ งสรา้ งสรรค์ ตัวชี้วดั ว 4.1 ม.3/1 ม.3/2 ม.3/3 ม.3/4 ม.3/5 รวม 5 ตัวชวี้ ดั พเิ ศษ 6

โครงสร้างรายวชิ า เทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลยี) ชั้น ม.3 ลำดบั ท่ี ชอ่ื หน่วยการเรยี นรู้ มาตรฐาน มโนทัศน์สำคัญ เวลา 1. เทคโนโลยีกับชีวติ การเรียนรู้/ตัวชีว้ ดั (ชม.) ว 4.1 ม.3/1 ความต้องการของมนุษย์เกิดขึ้นอยู่ตลอดเวลา 5 และยังทำให้เกิดการเปลยี่ นแปลงในด้านตา่ ง ๆ คือ การเปลีย่ นแปลงด้านเศรษฐกจิ ด้านสังคม ด้านวัฒนธรรม และด้านส่ิงแวดล้อม ปัจจบุ นั มีการนำเทคโนโลยขี ั้นสงู มาใชใ้ นทุก ภาคส่วน ดงั นั้น เทคโนโลยจี ึงเกีย่ วข้องกบั การนำความรจู้ ากศาสตร์ต่าง ๆ มาประกอบกับ ความรูด้ า้ นวิทยาศาสตร์และด้านคณิตศาสตร์ เพ่ือแก้ปัญหาหรือพัฒนางานอาชพี ต่าง ๆ ในชุมชนอย่างสร้างสรรค์ เพ่ือตอบสนองต่อ ตลาดแรงงาน โดยมุ่งส่งเสริมเทคโนโลยีพื้นฐาน ท้ัง 4 ดา้ น ได้แก่ เทคโนโลยีชวี ภาพ นาโน เทคโนโลยี เทคโนโลยวี ัสดศุ าสตร์พลังงาน และสิง่ แวดล้อม และเทคโนโลยีสารสนเทศ การสอ่ื สาร และดจิ ิทัล 2. เทคโนโลยีกบั ว 4.1 ม.3/2 การสำรวจชมุ ชน เปน็ ศึกษาข้อเทจ็ จริง 4 เกยี่ วกับลักษณะและสภาพของสงั คม เศรษฐกจิ การพฒั นางานอาชีพ ม.3/3 วฒั นธรรม ความต้องการ และปญั หาในชุมชน เพ่ือใหท้ ราบลักษณะและขอบเขตของปัญหา ภายในชมุ ชนหรอื ตา่ ง ๆ ที่มีอย่ใู นชุมชน และเป็นพื้นฐาน ในการศึกษาหาสาเหตุของแตล่ ะปัญหา และ ทอ้ งถนิ่ หาแนวทางในการปรับปรงุ แก้ไข ซ่ึงปัญหาหรือ ความต้องการภายในชมุ ชนหรือท้องถน่ิ นั้น สามารถแบ่งเป็นประเภทต่าง ๆ ไดด้ ังน้ี คือ ปัญหาด้านเศรษฐกจิ ด้านสังคม ด้านวฒั นธรรม และดา้ นสง่ิ แวดล้อม พเิ ศษ 7

ลำดบั ท่ี ช่ือหน่วยการเรียนรู้ มาตรฐาน มโนทศั นส์ ำคญั เวลา การเรยี นรู้/ตวั ช้ีวัด (ชม.) เทคโนโลยี เปน็ สิ่งที่มนุษยส์ ร้างสรรค์ขน้ึ มาใชเ้ พื่อการแกป้ ัญหาพ้ืนฐานทเี่ กิดขนึ้ ในการดำรงชวี ิตต้ังแต่สมัยโบราณ โดยมีการ แบ่งระดบั ของเทคโนโลยีที่ใช้ในการแกป้ ัญหา ออกเปน็ 3 ระดบั 3. วัสดุ อุปกรณ์ ว 4.1 ม.3/5 วัสดุ หมายถงึ สง่ิ ของหรือวตั ถทุ นี่ ำมาใช้ 4 ประกอบกันเป็นชิน้ งานตามการออกแบบ 7 เครอื่ งมอื และความรู้ มสี มบตั ิเฉพาะตวั ทางฟิสิกส์ ทางเคมี ทาง ไฟฟ้า หรือสมบตั ิเชิงกลแตกต่างกันไป โดย ในการแกป้ ญั หาหรอื วสั ดแุ บ่งเป็น 2 ประเภท คือ โลหะและอโลหะ โดยการเลือกใชว้ ัสดุควรพจิ ารณาจากสมบัติ พฒั นางาน ของวสั ดุใหต้ รงกบั งานท่อี อกแบบหรือตาม วตั ถุประสงค์ท่ีต้องการ รวมถึงการใชง้ าน 4. การแกป้ ัญหาชุมชน ว 4.1 ม.3/1 อปุ กรณ์และเครอ่ื งมือช่างพ้ืนฐานถอื วา่ เป็น ตัวช่วยทสี่ ำคญั ในการออกแบบกระบวนการ หรือทอ้ งถน่ิ ดว้ ย ม.3/2 ผลติ กระบวนการออกแบบ ม.3/3 การแกป้ ัญหาโดยการพฒั นางานจำเปน็ ตอ้ ง อาศัยกลไกให้ทำงานประสานสอดคล้องกันใน เชิงวศิ วกรรม ม.3/4 การพัฒนาชิน้ งาน ได้แก่ ล้อและเพลา รอก เฟืองตรง คาน และสปรงิ รวมถงึ กระบวนการ ไฟฟ้าที่ก่อใหเ้ กดิ พลังงานอ่นื ๆ เชน่ แสงสว่าง ความร้อน พลังงานกล การควบคุมหรือออกแบบ การไหลของกระแสไฟฟ้าในวงจรไฟฟา้ กระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรมเป็น กระบวนการแก้ปัญหาหรือพัฒนาชิ้นงาน อยา่ งเป็นข้นั ตอนภายใต้ทรัพยากรท่มี ีอยู่ โดยวิเคราะหส์ ถานการณ์ของปัญหา ผลกระทบ ของการแก้ปัญหา เพื่อนำไปสกู่ ารออกแบบ แนวทางการแกป้ ญั หา โดยใช้ความรูด้ ้าน พเิ ศษ 8

ลำดบั ที่ ช่ือหน่วยการเรียนรู้ มาตรฐาน มโนทศั น์สำคัญ เวลา การเรยี นร/ู้ ตวั ชวี้ ัด (ชม.) วิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ และศาสตร์อ่ืน ๆ สำหรบั กระบวนการออกแบบเชงิ วิศวกรรม โดยการพฒั นาชุมชนอย่างยัง่ ยืนนั้น จะม่งุ เน้น พฒั นาชมุ ชนให้พึง่ พาตัวเองได้ผา่ นการสรา้ ง ผนู้ ำชมุ ชนทีเ่ ขม้ แข็ง ทำงานตอบสนองต่อ สภาพแวดล้อมทเ่ี ปน็ เอกลักษณข์ องแตล่ ะ ชุมชน นำวธิ ีการพฒั นาที่ได้ผลมาใช้แก้ปญั หา ทีส่ ำคญั ของชุมชน และกระตุ้นให้เกดิ การลง มอื ทำ ตลอดจนมีการสรา้ งเศรษฐกิจใหก้ บั ชมุ ชนโดยอาศัยกระบวนการออกแบบเชิง วิศวกรรมมาช่วยในการสรา้ งงาน เพ่ือนำไปสู่ การแก้ปัญหาที่เกิดข้ึนในชุมชนอย่างยง่ั ยืน Pedagogy สื่อการเรียนรู้รายวิชาพ้ืนฐาน เทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลยี) ม.3 ผู้จัดทำได้ออกแบบการสอน (Instructional Design) อันเป็นวิธีการจัดการเรียนรู้และเทคนิคการสอนที่เปี่ยมด้วยประสิทธิภาพและมีความ หลากหลายให้กับผู้เรียน เพ่ือให้ผ้เู รยี นสามารถบรรลุผลสัมฤทธ์ติ ามมาตรฐานการเรียนรู้และตัวช้ีวัด รวมถึงสมรรถนะ และคณุ ลักษณะอันพึงประสงค์ของผเู้ รียนที่หลักสูตรกำหนดไว้ โดยครูสามารถนำไปใช้สำหรับจัดการเรยี นรู้ในชั้นเรยี น ได้อย่างมีประสิทธิภาพ ซึ่งในรายวิชาน้ี ได้นำรูปแบบการสอนแบบอุปนัย (Induction) รูปแบบการสอนแบบ สืบเสาะหาความรู้ (5Es Instructional Model) รูปแบบการสอนแบบใช้ปัญหาเป็นฐาน (Problem - Based learning) และรูปแบบการสอนแบบใช้โครงงานเป็นฐาน (Project Based Learning) มาใช้ในการออกแบบการสอน ดงั นี้ พิเศษ 9

กระบวนการเรียนรู้ เลอื กใชว้ ิธีการสอนโดยใช้การอุปนยั (Induction) เนอื่ งจากเปน็ กระบวนการสอนทีผ่ ูส้ อนใช้ในการช่วยให้ ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ตามวัตถุประสงค์ที่กำหนด โดยการนำตัวอย่าง ข้อมูล ความคิด เหตุการณ์ สถานการณ์ ปรากฏการณ์ ทม่ี ีหลกั การหรือแนวคิดท่ีต้องการสอนให้แกผ่ ู้เรยี น มาให้ผเู้ รยี นศึกษาวิเคราะห์จนสามารถดึงหลกั การ หรือแนวคิดท่ีแฝงอยู่ออกมา เพ่ือนำไปใช้ในสถานการณ์อ่ืน ๆ ต่อไป กล่าวอย่างสั้น ๆ ได้ว่า เป็นการสอนที่ให้ผู้เรียน สรุปหลักการจากตัวอยา่ งตา่ ง ๆ ด้วยตนเอง วิธีการสอนโดยใช้การอุปนัยเป็นวิธีการที่มุ่งช่วยให้ผู้เรียนได้ฝึกทักษะการคิดวิเคราะห์ สามารถจับหลักการ หรือประเด็นสำคญั ได้ดว้ ยตนเอง ทำใหเ้ กดิ การเรยี นรู้หลักการ แนวคิด หรือขอ้ ความร้ตู ่าง ๆ อยา่ งเขา้ ใจ เลือกใช้รูปแบบการสอนแบบใช้โครงงานเป็นฐาน (Project - Based Learning) เพื่อเน้นให้ผู้เรียนเข้าสู่ กระบวนการสืบสอบ (process of inquiry) และใช้การคิดข้ันสูงท่ีซับซ้อนขึ้นโดยใช้การจัดการเรียนการสอนแบบ โครงงานเป็นหลัก ช่วยให้ผู้เรียนได้ผลิตงานที่เป็นรูปธรรมออกมา ผลผลิตท่ีแสดงออกถึงความรู้ความคิดของผู้เรียน สามารแสดงผลงานต่อสาธารณชน สามารถสร้างแรงจูงใจในการเรียนรู้และการทำงานให้แก่ผู้เรียนได้ อีกทั้งยัง สามารถดึงศักยภาพในด้านต่าง ๆ ที่มีอยู่ในตัวผู้เรียนออกมาใช้ประโยชน์อีกด้วย ซ่ึงกระบวนการปฏิบัติมีขั้นตอน ดงั น้ี 1. ขั้นใหค้ วามรพู้ ืน้ ฐาน ให้ความรู้พื้นฐานเก่ียวกบั การทำโครงงานก่อนการเรยี นรู้ 2. ขน้ั กระตนุ้ ความสนใจ กระต้นุ ความสนใจของผู้เรียน ดึงดดู ใหผ้ ู้เรยี นสนใจ ใครร่ ู้ ถึงความสนุกสนานในการ ทำโครงงานหรือกิจกรรมร่วมกนั 3. ข้ันจัดกลุ่มร่วมมือ ผู้เรียนแสวงหาความรู้ ใช้กระบวนการกลุ่มในการวางแผนดำเนินกิจกรรม โดยระดม ความคิดและหารอื แบ่งหน้าท่ีเพือ่ เปน็ แนวทางปฏบิ ัตริ ่วมกนั 4. ขั้นแสวงหาความรู้ ผูเ้ รียนลงมอื ปฏบิ ัตกิ ิจกรรมหรอื โครงงานตามหวั ขอ้ ท่ีแต่ละกลุม่ สนใจ 5. ขัน้ สรุปสิ่งที่เรยี นรู้ สรุปสง่ิ ท่เี รยี นรู้จากการทำกจิ กรรม โดยใช้คำถามทนี่ ำไปสกู่ ารสรปุ สง่ิ ทีเ่ รียนรู้ 6. ขั้นนำเสนอผลงาน ผู้เรียนนำเสนอผลการเรียนรู้ เพ่ือให้เพ่ือนร่วมชั้นได้ชมผลงานและเรียนรู้กิจกรรมที่ ผเู้ รียนไดป้ ฏิบตั ใิ นการทำโครงงาน เลือกใช้รูปแบบการสอนแบบใช้ปัญหาเป็นฐาน (Problem - Based Learning) เพ่ือเน้นให้ผู้เรียนเกิด การเรียนรู้จากการฝึกแก้ปัญหาต่าง ๆ ผ่านกระบวนการคิด การปฏิบัติอย่างมีระบบ และสร้างองค์ความรู้ใหม่จาก การใช้ปัญหาท่ีเกิดขึ้นจริงในชีวิตประจำวันได้ ซ่ึงการสอนโดยใช้ปัญหาเป็นฐานเป็นการจัดการเรียนรู้โดยใช้ปัญหา เปน็ เคร่ืองมอื ในการกระตุ้นให้ผ้เู รียนมีความสนใจและต้องการศึกษาค้นควา้ ข้อมลู เพอื่ นำไปสู่การแกป้ ญั หา ซ่งึ ผู้เรยี น จะได้วเิ คราะห์และแกป้ ัญหาและทำให้เกิดความเข้าใจปัญหาอย่างชัดเจนและสามารถใชท้ ักษะกระบวนการท่ีนำไปสู่ การแกป้ ัญหาได้ โดยผา่ นกระบวนการจดั กิจกรรมทส่ี ำคญั ดงั น้ี พเิ ศษ 10

1. กำหนดปัญหา ผู้สอนจดั สถานการณ์ต่าง ๆ กระตนุ้ ให้ผเู้ รียนเกดิ ความสนใจ มองเหน็ ปญั หา และเกดิ ความ สนใจท่ีจะคน้ หาคำตอบ 2. ทำความเข้าใจกับปญั หา ผู้เรียนจะตอ้ งทำความเข้าใจปัญหาที่ต้องการเรียนรู้ ซง่ึ ผเู้ รียนจะตอ้ งอธบิ ายสิ่ง ตา่ ง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับปญั หาได้ 3. ดำเนนิ การศกึ ษาค้นคว้า ผเู้ รียนต้องกำหนดส่งิ ทีต่ ้องเรียน ดำเนินการศึกษาคน้ คว้าด้วยตนเองโดยใช้ วธิ กี ารทหี่ ลากหลาย 4. สังเคราะหค์ วามรู้ ผเู้ รยี นนำความรู้ทไ่ี ด้ค้นควา้ มาแลกเปลยี่ นเรียนรรู้ ว่ มกัน อภปิ รายผล และสังเคราะห์ ความรู้ทไ่ี ด้มาวา่ มีความเหมาะสมหรอื ไม่ 5. สรปุ และประเมนิ คา่ ของคำตอบ ผู้เรียนสรุปผลงานของกลุ่ม หรือผลงานของตนเอง และประเมินผลงานว่า ข้อมลู ที่ได้ศึกษาค้นควา้ มคี วามเหมาะสมหรอื ไม่ โดยตอ้ งตรวจสอบแนวคิดอยา่ งอสิ ระ และสรปุ เป็นองค์ความรู้ใน ภาพรวมของปัญหาอีกคร้ัง 6. นำเสนอและประเมินผลงาน ผู้เรียนนำข้อมลู ที่ได้มาจัดระบบองค์ความรู้และนำเสนอเป็นผลงานใน รปู แบบที่หลากหลาย ผู้เรยี นทกุ กลุ่มรวมทง้ั ผู้ท่ีเกย่ี วข้องกับปัญหาร่วมกันประเมินผลงาน เลือกใช้รูปแบบการสอนแบบสืบเสาะหาความรู้ (5Es Instructional Model) เน่ืองจากเป็นรูปแบบการ สอนแบบท่ีมุ่งให้ผ้เู รียนไดส้ รา้ งองคค์ วามรู้ใหม่ โดยเชื่อมโยงส่ิงทเ่ี รียนรเู้ ข้ากบั ประสบการณ์หรือความเดิมให้เป็นองค์ ความรู้หรือแนวคิดของผู้เรียนเอง ดงั นั้น การจัดกิจกรรมการเรียนรู้จงึ สามารถพัฒนาผเู้ รียนให้มีความสามารถในการ แก้ปัญหาโดยเน้นการปฏิบัติจริง มีการแลกเปล่ียนความรู้ระหว่างกัน เสริมสร้างความรู้ด้วยตนเองผ่านกระบวนการ ขั้นตอนอยา่ งเปน็ วฏั จักร ซ่ึงกระบวนการปฏิบตั ิมีขั้นตอนดงั นี้ 1. กระต้นุ ความสนใจ ให้ผเู้ รียนสนใจใคร่รู้ในเร่อื งทเ่ี รียน มลี ักษณะเป็นการนำเข้าสู่บทเรียน 2. สำรวจและค้นหา เปดิ โอกาสให้ผู้เรยี นได้รบั ประสบการณ์ตรง รว่ มกนั สรา้ งและพฒั นาความคดิ รวบยอด 3. อธิบายความรู้ นำเอาความรู้จากการสำรวจและค้นหา ท่ีพัฒนาเป็นความคิดรวบยอดมาอภิปราย แลกเปลี่ยนความคดิ เหน็ ซ่งึ กนั และกัน 4. ขยายความเขา้ ใจ ผ้เู รยี นได้ขยายความรคู้ วามเขา้ ใจในความคิดรวบยอดใหก้ ว้างขวางและลึกซึ้งยิง่ ขนึ้ 5. ตรวจสอบผล ผเู้ รียนได้ตรวจสอบแนวความคิดทไ่ี ดเ้ รยี นรมู้ าแลว้ ว่าถูกตอ้ งและได้รับการยอมรบั เพียงใด พเิ ศษ 11

วธิ ีการสอน (Teaching Method) ผู้จัดทำเลือกใช้วิธีสอนท่ีหลากหลาย เช่น การอภิปราย การใช้สถานการณ์จำลอง การใช้เกม เป็นต้น เพื่อส่งเสริม การเรียนรู้แบบอุปนัย (Induction) แบบสืบเสาะหาความรู้ (5Es Instructional Model) การเรียนรู้แบบใช้ปญั หาเป็น ฐาน (Problem - Based Learning) และแบบใช้โครงงานเป็นฐาน (Project Based Learning) ให้เกิดประสิทธิภาพ มากท่ีสุด และยังมุ่งพัฒนาให้ผู้เรียนเกิดองค์ความรู้จากประสบการณ์ต่าง ๆ โดยการคิดและลงมือปฏิบัติ ซึ่งจะช่วยให้ ผเู้ รียนมีความรู้และเกิดทกั ษะทีค่ งทน เทคนคิ การสอน (Teaching Technique) ผู้จัดทำเลือกใช้เทคนิคการสอนท่ีหลากหลายและเหมาะสมกับเรื่องท่ีเรียน เช่น การต้ังคำถาม การยกตัวอย่าง การใช้สื่อการเรียนรู้ที่น่าสนใจ เพ่ือส่งเสริมวิธีการสอนและรูปแบบการสอนให้มีประสิทธิภาพในการจัดการเรียนรู้ให้ มากข้ึน ซึ่งจะช่วยให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้อย่างมีความสุข สามารถปฏิบัติกิจกรรมการเรียนรู้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ และสามารถฝึกทกั ษะการเรยี นรู้และทกั ษะการปฏบิ ตั ิเก่ยี วกับงานต่าง ๆ ในศตวรรษที่ 21 ได้ พิเศษ 12

โครงสรา้ งแผนการจัดการเรยี นรู้ รายวิชาพนื้ ฐานวิทยา หน่วยการเรยี นรู้ แผนการจดั การเรยี นรู้ วธิ สี อน/วธิ ีการจดั 1. เทคโนโลยีกบั ชีวติ กิจกรรมการเรียนรู้ แผนที่ 1 สาเหตุหรือปจั จยั ที่สง่ ผล แบบสืบเสาะหาความรู้ 5Es ตอ่ การเปล่ียนแปลงของ (5Es Instructional Model) เทคโนโลยี แผนท่ี 2 ความสัมพันธ์ของ แบบสบื เสาะหาความรู้ 5Es เทคโนโลยกี ับศาสตร์อนื่ (5Es Instructional Model) พิเศษ

าศาสตร์ เทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลยี) ม.3 เวลา 20 ชวั่ โมง ทกั ษะท่ีได้ การประเมิน เวลา (ชว่ั โมง) 1. ทักษะการสอ่ื สาร 1. ตรวจแบบทดสอบกอ่ นเรยี น 2 ) 2. ทกั ษะการใหเ้ หตผุ ล หนว่ ยการเรียนรทู้ ี่ 1 เทคโนโลยีกบั ชีวติ 3. ทักษะการแกป้ ญั หา 2. ตรวจแบบฝกึ หดั 4. ทักษะการสงั เกต 3. ประเมินการนำเสนอผลงาน 5. ทักษะการประยุกตใ์ ช้ความรู้ 4. สังเกตพฤตกิ รรมการทำงานรายบคุ คล 6. ทกั ษะการทำงานรว่ มกนั 5. สงั เกตพฤตกิ รรมการทำงานกลุม่ 7. ทักษะการใช้เทคโนโลยี 6. สงั เกตความมวี ินัย ความรับผดิ ชอบ สารสนเทศ ใฝเ่ รียนรู้ มงุ่ ม่ันในการทำงาน 1. ทกั ษะการสือ่ สาร 1. ตรวจใบงานท่ี 1.2.1 เรือ่ ง เทคโนโลยีกับ 2 ) 2. ทกั ษะการให้เหตผุ ล ศาสตร์ตา่ ง ๆ 3. ทักษะการแก้ปัญหา 2. ตรวจแบบฝึกหัด 4. ทกั ษะการสังเกต 3. ประเมินการนำเสนอผลงาน 5. ทกั ษะการประยุกต์ใช้ความรู้ 4. สงั เกตพฤติกรรมการทำงานรายบคุ คล 6. ทกั ษะการทำงานร่วมกัน 5. สงั เกตพฤตกิ รรมการทำงานกลุ่ม 7. ทกั ษะการใชเ้ ทคโนโลยี 6. สังเกตความมีวินัย ความรบั ผดิ ชอบ สารสนเทศ ใฝ่เรียนรู้ มุง่ มนั่ ในการทำงาน ษ 13

หนว่ ยการเรยี นรู้ แผนการจดั การเรียนรู้ วธิ สี อน/วิธกี ารจัด กจิ กรรมการเรียนรู้ แผนที่ 3 การนำเทคโนโลยี แบบสืบเสาะหาความรู้ 5Es ไปสรา้ งนวัตกรรม (5Es Instructional Model) 2. เทคโนโลยีกบั การพฒั นา แผนท่ี 1 ปัญหาหรอื ความต้องการ แบบใชป้ ญั หาเปน็ ฐาน งานอาชีพภายในชุมชน ภายในชมุ ชนหรอื ท้องถ่นิ (Problem-Based Learning หรอื ท้องถ่นิ พิเศษ

ทกั ษะที่ได้ การประเมิน เวลา (ชัว่ โมง) 1. ทักษะการสือ่ สาร 1. ตรวจแบบฝึกหัด 1 ) 2. ทักษะการให้เหตผุ ล 2. ประเมนิ การนำเสนอผลงาน 2 3. ทักษะการแก้ปัญหา 3. สังเกตพฤติกรรมการทำงานรายบคุ คล 4. ทกั ษะการสงั เกต 4. สังเกตพฤติกรรมการทำงานกลุ่ม 5. ทกั ษะการประยุกต์ใช้ความรู้ 5. สงั เกตความมวี ินัย ความรบั ผดิ ชอบ 6. ทกั ษะการทำงานรว่ มกนั ใฝเ่ รียนรู้ ม่งุ มั่นในการทำงาน 7. ทกั ษะการใชเ้ ทคโนโลยี 6. ตรวจแบบทดสอบหลงั เรยี น สารสนเทศ หน่วยการเรยี นรทู้ ี่ 1 เทคโนโลยีกบั ชวี ติ 7. ตรวจช้นิ งาน/ภาระงาน (รวบยอด) เรือ่ ง เทคโนโลยีและนวตั กรรม 1. ทกั ษะการส่ือสาร 1. ตรวจแบบทดสอบกอ่ นเรยี น g) 2. ทักษะการใหเ้ หตผุ ล หน่วยการเรยี นร้ทู ่ี 2 เทคโนโลยีกบั 3. ทกั ษะการแก้ปญั หา การพัฒนางานอาชีพภายในชุมชนหรอื 4. ทกั ษะการสงั เกต ท้องถิ่น 5. ทกั ษะการประยุกตใ์ ช้ความรู้ 2. ตรวจแบบฝกึ หัด 6. ทกั ษะการทำงานร่วมกัน 3. ประเมนิ การนำเสนอผลงาน 7. ทกั ษะการใชเ้ ทคโนโลยี 4. สังเกตพฤติกรรมการทำงานรายบคุ คล สารสนเทศ 5. สังเกตพฤติกรรมการทำงานกลมุ่ 6. สังเกตความมวี นิ ยั ความรับผดิ ชอบ ใฝ่เรยี นรู้ มงุ่ มน่ั ในการทำงาน ษ 14

หน่วยการเรยี นรู้ แผนการจัดการเรียนรู้ วธิ ีสอน/วธิ ีการจดั กจิ กรรมการเรียนรู้ แผนที่ 2 การใชเ้ ทคโนโลยี แบบใชป้ ัญหาเปน็ ฐาน ในการแกป้ ัญหา (Problem-Based Learning 3. วัสดุ อปุ กรณ์ แผนท่ี 1 ความรเู้ กยี่ วกบั วสั ดุ แบบสบื เสาะหาความรู้ 5Es เคร่อื งมือ และความรู้ สำหรบั การพฒั นาช้ินงาน (5Es Instructional Model) ในการแกป้ ัญหาหรอื พฒั นางาน พเิ ศษ

ทักษะท่ีได้ การประเมิน เวลา (ชั่วโมง) 1. ทกั ษะการสอ่ื สาร 1. ตรวจแบบฝกึ หดั 2 g) 2. ทักษะการใหเ้ หตผุ ล 2. ประเมนิ การนำเสนอผลงาน 1 3. ทักษะการแก้ปญั หา 3. สังเกตพฤตกิ รรมการทำงานรายบคุ คล 4. ทกั ษะการสงั เกต 4. สังเกตพฤติกรรมการทำงานกลุ่ม 5. ทกั ษะการประยกุ ตใ์ ช้ความรู้ 5. สังเกตความมีวินัย ความรับผดิ ชอบ 6. ทกั ษะการทำงานรว่ มกนั ใฝ่เรียนรู้ มงุ่ มน่ั ในการทำงาน 7. ทักษะการใชเ้ ทคโนโลยี 6. ตรวจแบบทดสอบหลังเรยี น สารสนเทศ หนว่ ยการเรยี นรู้ที่ 2 เทคโนโลยกี บั การพัฒนางานอาชีพภายในชุมชนหรือ ทอ้ งถิน่ 7. ตรวจช้นิ งาน/ภาระงาน (รวบยอด) เรอื่ ง การพฒั นางานอาชีพภายในชมุ ชน หรอื ทอ้ งถนิ่ โดยใช้เทคโนโลยี 1. ทักษะการสอ่ื สาร 1. ตรวจแบบทดสอบก่อนเรยี น ) 2. ทกั ษะการให้เหตผุ ล หน่วยการเรียนรู้ท่ี 3 วัสดุ อุปกรณ์ 3. ทกั ษะการแกป้ ัญหา เคร่ืองมอื และความรูใ้ นการแกป้ ญั หา 4. ทกั ษะการสงั เกต หรอื พฒั นางาน 5. ทกั ษะการประยุกตใ์ ช้ความรู้ 2. ตรวจใบงานที่ 3.1.1 เร่อื ง สำรวจวัสดุ 6. ทกั ษะการทำงานรว่ มกนั ภายในบา้ น 7. ทักษะการใช้เทคโนโลยี 3. ตรวจแบบฝึกหดั 4. ประเมินการนำเสนอผลงาน สารสนเทศ 5. สงั เกตพฤติกรรมการทำงานรายบคุ คล 6. สังเกตพฤติกรรมการทำงานกลุ่ม ษ 15

หน่วยการเรียนรู้ แผนการจดั การเรยี นรู้ วิธสี อน/วธิ ีการจัด กจิ กรรมการเรยี นรู้ แผนท่ี 2 อุปกรณแ์ ละเคร่อื งมอื ช่าง แบบสืบเสาะหาความรู้ 5Es พืน้ ฐานในการแก้ปัญหา (5Es Instructional Model) และสร้างช้นิ งาน แผนที่ 3 ความรใู้ นการแก้ปญั หา แบบใชป้ ัญหาเปน็ ฐาน หรือพัฒนาช้นิ งาน (Problem-Based Learning พิเศษ

ทกั ษะท่ีได้ การประเมิน เวลา (ช่วั โมง) 7. สังเกตความมีวินยั ความรับผดิ ชอบ ใฝ่เรียนรู้ มุง่ ม่ันในการทำงาน 1 1. ทักษะการสอ่ื สาร 1. ตรวจแบบฝึกหดั 2 ) 2. ทกั ษะการให้เหตผุ ล 2. ประเมินการนำเสนอผลงาน 3. ทกั ษะการแกป้ ญั หา 3. สงั เกตพฤติกรรมการทำงานรายบคุ คล 4. ทกั ษะการสงั เกต 4. สังเกตพฤตกิ รรมการทำงานกล่มุ 5. ทกั ษะการประยุกต์ใช้ความรู้ 5. สงั เกตความมวี ินยั ความรับผดิ ชอบ 6. ทักษะการทำงานร่วมกัน 7. ทักษะการใชเ้ ทคโนโลยี ใฝ่เรยี นรู้ มุง่ มัน่ ในการทำงาน สารสนเทศ 1. ทักษะการสื่อสาร 1. ตรวจใบงานที่ 3.3.1 เรือ่ ง กลไก ไฟฟา้ g) 2. ทกั ษะการให้เหตผุ ล และอปุ กรณอ์ ิเลก็ ทรอนกิ ส์ 3. ทกั ษะการแก้ปญั หา 2. ตรวจแบบฝกึ หัด 4. ทักษะการสงั เกต 3. ประเมนิ การนำเสนอผลงาน 5. ทกั ษะการประยกุ ตใ์ ช้ความรู้ 4. สังเกตพฤตกิ รรมการทำงานรายบคุ คล 6. ทกั ษะการทำงานรว่ มกัน 5. สังเกตพฤติกรรมการทำงานกลุม่ 7. ทกั ษะการใชเ้ ทคโนโลยี 6. สงั เกตความมีวนิ ยั ความรบั ผดิ ชอบ สารสนเทศ ใฝ่เรียนรู้ มุ่งมน่ั ในการทำงาน 7. ตรวจแบบทดสอบหลงั เรียน หน่วยการเรยี นรทู้ ่ี 3 วัสดุ อปุ กรณ์ เครื่องมอื และความร้ใู นการแก้ปญั หา หรือพัฒนางาน ษ 16

หน่วยการเรยี นรู้ แผนการจัดการเรียนรู้ วธิ สี อน/วธิ กี ารจดั กิจกรรมการเรยี นรู้ 4. การแก้ปญั หาชมุ ชน แผนที่ 1 กระบวนการออกแบบ แบบใชโ้ ครงงานเป็นฐาน หรือทอ้ งถนิ่ ดว้ ย เชิงวิศวกรรมกบั (Project-Based Learning) กระบวนการออกแบบ การแก้ปัญหาชุมชน เชิงวศิ วกรรม หรอื ทอ้ งถนิ่ พเิ ศษ

ทกั ษะที่ได้ การประเมิน เวลา (ช่วั โมง) 1. ทักษะการสอ่ื สาร 8. ตรวจชน้ิ งาน/ภาระงาน (รวบยอด) 2. ทักษะการใหเ้ หตผุ ล เรอ่ื ง การพัฒนาชน้ิ งานเพอื่ แกป้ ัญหา 4 3. ทกั ษะการคิดอยา่ งเป็นระบบ โดยใชค้ วามรเู้ ก่ียวกบั วสั ดุ อปุ กรณ์ 4. ทักษะการแก้ปญั หา 5. ทกั ษะการสงั เกต 1. ตรวจแบบทดสอบก่อนเรยี น 6. ทักษะการประยกุ ต์ใช้ความรู้ หน่วยการเรียนรทู้ ่ี 4 การแกป้ ญั หาชมุ ชน 7. ทกั ษะการทำงานร่วมกนั หรือท้องถนิ่ ด้วยกระบวนการออกแบบ 8. ทกั ษะการใช้เทคโนโลยี เชิงวิศวกรรม สารสนเทศ 2. ตรวจใบงานท่ี 4.1.1 เรอ่ื ง การระบุปัญหา 9. ทักษะการสืบค้นขอ้ มลู 3. ตรวจใบงานท่ี 4.1.2 เรอ่ื ง การรวบรวม ข้อมูลและแนวคดิ ท่เี กี่ยวข้อง 4. ตรวจใบงานท่ี 4.1.3 เรอื่ ง การออกแบบ วธิ กี ารแก้ปัญหา 5. ตรวจใบงานที่ 4.1.4 เรอ่ื ง การวางแผน และดำเนนิ การแก้ปญั หา 6. ประเมนิ การนำเสนอผลงาน 7. สังเกตพฤตกิ รรมการทำงานรายบคุ คล 8. สังเกตพฤติกรรมการทำงานกลุม่ 9. สงั เกตความมีวนิ ยั ความรับผดิ ชอบ ใฝ่เรียนรู้ มุง่ มั่นในการทำงาน ษ 17

หน่วยการเรยี นรู้ แผนการจัดการเรยี นรู้ วิธสี อน/วธิ กี ารจัด กจิ กรรมการเรยี นรู้ แผนท่ี 2 กรณศี กึ ษาการนำ แบบอุปนัย (Induction) วทิ ยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวตั กรรมไปพัฒนา ชมุ ชน พเิ ศษ

ทกั ษะท่ีได้ การประเมิน เวลา (ชวั่ โมง) 1. ทกั ษะการส่อื สาร 1. ตรวจแบบฝึกหดั 2. ทักษะการใหเ้ หตผุ ล 2. ประเมินการนำเสนอผลงาน 3 3. ทกั ษะการคิดอยา่ งเป็นระบบ 3. สังเกตพฤติกรรมการทำงานรายบคุ คล 4. ทกั ษะการแกป้ ัญหา 4. สงั เกตพฤติกรรมการทำงานกลุม่ 5. ทักษะการสงั เกต 5. สงั เกตความมีวนิ ัย ความรับผดิ ชอบ 6. ทกั ษะการประยุกตใ์ ช้ความรู้ 7. ทักษะการทำงานรว่ มกัน ใฝเ่ รยี นรู้ มงุ่ มัน่ ในการทำงาน 8. ทักษะการใชเ้ ทคโนโลยี 6. ตรวจแบบทดสอบหลงั เรยี น สารสนเทศ หนว่ ยการเรยี นรทู้ ี่ 4 การแก้ปญั หาชุมชน 9. ทักษะการสบื คน้ ข้อมลู หรือท้องถ่ินดว้ ยกระบวนการออกแบบ เชงิ วิศวกรรม 7. ตรวจช้นิ งาน/ภาระงาน (รวบยอด) เรอ่ื ง การแกป้ ญั หาชุมชนหรอื ทอ้ งถน่ิ ดว้ ยกระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรม ษ 18

หนว่ ยการเรยี นร้ทู ่ี 1 เทคโนโลยกี ับชีวิต หนว่ ยการเรยี นรู้ท่ี 1 เทคโนโลยีกับชีวิต เวลา 5 ชั่วโมง 1. มาตรฐานการเรยี นร/ู้ ตวั ช้ีวัด ว 4.1 เข้าใจแนวคดิ หลักของเทคโนโลยีเพ่ือการดำรงชีวติ ในสงั คมท่ีมกี ารเปลย่ี นแปลงอย่างรวดเร็ว ใชค้ วามร้แู ละทักษะทางดา้ นวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ และศาสตร์อ่ืน ๆ เพ่ือแก้ปัญหาหรือ พัฒนางานอยา่ งมีความคดิ สร้างสรรค์ ด้วยกระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรม เลือกใช้ เทคโนโลยีอยา่ งเหมาะสมโดยคำนึงถงึ ผลกระทบต่อชีวติ สังคม และส่ิงแวดล้อม ว 4.1 ม.3/1 วเิ คราะห์สาเหตุ หรอื ปจั จยั ท่ีสง่ ผลตอ่ การเปลย่ี นแปลงของเทคโนโลยี และ ความสัมพนั ธข์ องเทคโนโลยกี ับศาสตรอ์ น่ื โดยเฉพาะวิทยาศาสตร์ หรือ คณิตศาสตร์ เพื่อเปน็ แนวทางการแกป้ ัญหาหรือพัฒนางาน 2. สาระการเรียนรู้ 2.1 สาระการเรยี นรู้แกนกลาง 1) เทคโนโลยมี ีการเปลย่ี นแปลงตลอดเวลาตง้ั แต่อดีตจนถึงปัจจบุ นั ซึ่งมสี าเหตุหรอื ปจั จยั มาจากหลายดา้ น เช่น ปัญหาหรอื ความต้องการของมนุษย์ ความก้าวหน้าของศาสตรต์ ่าง ๆ การเปลย่ี นแปลงทางด้านเศรษฐกิจ สังคม วฒั นธรรม ส่ิงแวดลอ้ ม 2) เทคโนโลยมี ีความสัมพนั ธ์กับศาสตรอ์ ื่น โดยเฉพาะวทิ ยาศาสตร์ โดยวิทยาศาสตร์เป็นพื้นฐาน ความรูท้ ีน่ ำไปสกู่ ารพัฒนาเทคโนโลยี และเทคโนโลยีท่ีได้สามารถเปน็ เครือ่ งมอื ท่ใี ชใ้ นการศกึ ษา ค้นควา้ เพ่ือให้ได้มาซงึ่ องคค์ วามรใู้ หม่ 2.2 สาระการเรียนรูท้ อ้ งถ่นิ (พจิ ารณาตามหลกั สูตรสถานศกึ ษา) 3. สาระสำคัญ/ความคดิ รวบยอด ความต้องการของมนุษย์ก็คอื ความอยากได้ ซึ่งเม่ือมนษุ ย์เกิดความอยากได้ จงึ ตอ้ งพยายาม ดิน้ รนหาสิ่งท่สี ามารถตอบสนองความต้องการนัน้ ๆ เม่ือร่างกายได้รบั การตอบสนองแล้วกจ็ ะเกิด ความต้องการใหม่ ๆ ขน้ึ มาทดแทน ดังน้นั ความต้องการของมนุษย์จึงเกิดขนึ้ อยู่ตลอดเวลา นอกจากน้ัน ความต้องการของมนุษยย์ ังทำให้เกิดการเปลยี่ นแปลงในด้านตา่ ง ๆ คือ การเปลย่ี นแปลงด้านเศรษฐกิจ การเปล่ยี นแปลงดา้ นสังคม การเปล่ียนแปลงดา้ นวัฒนธรรม และการเปลย่ี นแปลงดา้ นส่ิงแวดลอ้ ม เทคโนโลยเี ปน็ วิทยาการทเ่ี กิดขึน้ จากการนำความรูด้ า้ นต่าง ๆ โดยเฉพาะวิทยาศาสตร์และ คณติ ศาสตร์มาประยุกต์ใช้ในการแก้ปัญหา ปจั จบุ นั มกี ารนำเทคโนโลยีขัน้ สูงมาใช้ในทุกภาคส่วน ดังนั้น เทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลยี) 1

หนว่ ยการเรยี นรูท้ ่ี 1 เทคโนโลยกี ับชีวติ เทคโนโลยจี ึงเกีย่ วขอ้ งกบั การนำความร้จู ากศาสตร์ต่าง ๆ มาประกอบกบั ความร้ดู ้านวิทยาศาสตรแ์ ละ คณติ ศาสตร์ เพอื่ แกป้ ญั หาหรือพฒั นางานอาชีพตา่ ง ๆ ในชุมชนอยา่ งสรา้ งสรรค์ และ เทคโนโลยีทีไ่ ด้จาก การพฒั นาสามารถเปน็ เครื่องมอื ที่ใชใ้ นการศึกษาค้นคว้า เพือ่ ให้ไดม้ าซงึ่ องค์ความรใู้ หม่และนวัตกรรมใหม่ อย่างมีความคดิ สรา้ งสรรค์ เพ่ือตอบสนองต่อตลาดแรงงาน โดยมุ่งส่งเสริมเทคโนโลยพี น้ื ฐานทง้ั 4 ด้าน ไดแ้ ก่ เทคโนโลยีชีวภาพ นาโนเทคโนโลยี เทคโนโลยวี ัสดศุ าสตร์พลงั งานและสิง่ แวดลอ้ ม และเทคโนโลยี สารสนเทศ การสื่อสาร และดิจทิ ัล 4. สมรรถนะสำคญั ของผู้เรยี นและคุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ สมรรถนะสำคัญของผูเ้ รยี น คณุ ลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ 1. ความสามารถในการส่อื สาร 1. มีวนิ ยั รบั ผิดชอบ - ทกั ษะการสอ่ื สาร 2. ใฝเ่ รียนรู้ 2. ความสามารถในการคิด 3. มงุ่ ม่นั ในการทำงาน - ทักษะการใหเ้ หตผุ ล 3. ความสามารถในการแกป้ ัญหา - ทักษะการแก้ปญั หา - ทักษะการสงั เกต - ทกั ษะการประยุกต์ใช้ความรู้ 4. ความสามารถในการใช้ทักษะชวี ิต - ทกั ษะการทำงานรว่ มกนั 5. ความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยี - ทกั ษะการใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศ 5. ชน้ิ งาน/ภาระงาน (รวบยอด) - ชนิ้ งาน/ภาระงาน (รวบยอด) เรอื่ ง เทคโนโลยกี บั ชวี ิต 6. การวัดและการประเมนิ ผล รายการวัด วิธวี ัด เครื่องมอื เกณฑก์ ารประเมิน ประเมินตามสภาพจรงิ 6.1 การประเมนิ ก่อนเรียน - แบบทดสอบ กอ่ นเรยี น - แบบทดสอบก่อนเรียน - ตรวจแบบทดสอบ หน่วยการเรียนรูท้ ่ี 1 กอ่ นเรียน เรอื่ ง เทคโนโลยีกบั ชวี ติ เทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลยี) 2

หนว่ ยการเรยี นรทู้ ี่ 1 เทคโนโลยกี บั ชวี ิต รายการวดั วิธีวดั เคร่ืองมอื เกณฑก์ ารประเมนิ 6.2 การประเมินระหว่างการจดั - ตรวจแบบฝึกหัด - แบบฝึกหดั รอ้ ยละ 60 ผา่ นเกณฑ์ กิจกรรม 1) สาเหตุหรือปจั จัย - ตรวจใบงานท่ี 1.2.1 - ใบงานท่ี 1.2.1 ร้อยละ 60 ผา่ นเกณฑ์ - แบบฝึกหดั รอ้ ยละ 60 ผา่ นเกณฑ์ ทสี่ ่งผลต่อ - ตรวจแบบฝกึ หดั การเปลีย่ นแปลง - แบบฝกึ หดั ร้อยละ 60 ผ่านเกณฑ์ ของเทคโนโลยี - ตรวจแบบฝกึ หดั 2) เทคโนโลยีกับศาสตร์ - แบบประเมิน ระดับคุณภาพ 2 ต่าง ๆ - ประเมินการนำเสนอ 3) ความสมั พนั ธข์ อง ผลงาน การนำเสนอผลงาน ผา่ นเกณฑ์ เทคโนโลยีกบั - สังเกตพฤติกรรม ศาสตรอ์ ื่น ๆ การทำงานรายบุคคล - แบบสงั เกตพฤตกิ รรม ระดับคุณภาพ 2 4) การนำเทคโนโลยี - สังเกตพฤติกรรม ไปสร้างนวัตกรรม การทำงานกลมุ่ การทำงานรายบคุ คล ผา่ นเกณฑ์ 5) การนำเสนอผลงาน - สงั เกตความมีวนิ ยั ความรับผิดชอบ - แบบสงั เกตพฤตกิ รรม ระดับคุณภาพ 2 6) พฤติกรรมการทำงาน ใฝเ่ รียนรู้ และมงุ่ มน่ั รายบุคคล ในการทำงาน การทำงานกล่มุ ผา่ นเกณฑ์ 7) พฤติกรรมการทำงาน - ตรวจแบบทดสอบ - แบบประเมนิ ระดับคุณภาพ 2 กลุ่ม หลังเรยี น คณุ ลักษณะ ผ่านเกณฑ์ 8) คณุ ลักษณะ - ตรวจช้ินงาน/ อนั พงึ ประสงค์ ภาระงาน (รวบยอด) อนั พึงประสงค์ 6.3 การประเมินหลังเรียน - แบบทดสอบ ร้อยละ 60 ผา่ นเกณฑ์ 1) แบบทดสอบหลังเรยี น หลงั เรยี น หน่วยการเรียนรู้ท่ี 1 เรื่อง เทคโนโลยีกับชีวติ - แบบประเมนิ ช้ินงาน/ - ระดบั คุณภาพ 2 2) การประเมนิ ชิน้ งาน/ ภาระงาน (รวบยอด) ผา่ นเกณฑ์ ภาระงาน (รวบยอด) เรอ่ื ง เทคโนโลยีกับชีวิต 7. กิจกรรมการเรยี นรู้ นักเรียนทำแบบทดสอบก่อนเรียน หนว่ ยการเรียนร้ทู ี่ 1 เรอื่ ง เทคโนโลยีกบั ชีวิต เทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลยี) 3

หน่วยการเรยี นรูท้ ี่ 1 เทคโนโลยกี ับชวี ติ เรอื่ งท่ี 1: สาเหตุหรอื ปจั จัยทสี่ ง่ ผลต่อการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยี เวลา 2 ช่ัวโมง วิธกี ารสอนโดยเนน้ รปู แบบการสอนแบบสบื เสาะหาความรู้ 5Es (5Es Instructional Model) ข้ันนำ ขั้นที่ 1 กระตุ้นความสนใจ (Engagement) 1. ครูถามคำถามสำคญั ประจำหัวข้อกบั นักเรียนว่า “ในชุมชนที่นกั เรียนอาศัยอยู่ มีการเปลีย่ นแปลงของเทคโนโลยอี ย่างไร เพราะเหตใุ ด” ขน้ั สอน ขั้นที่ 2 สำรวจคน้ หา (Exploration) 1. นกั เรียนแบ่งกลุ่ม กลมุ่ ละ 3-5 คน หรือตามความเหมาะสม เพ่ือสบื คน้ ความหมายของคำวา่ “เทคโนโลยี” และยกตวั อย่างเทคโนโลยใี นดา้ นต่าง ๆ ทน่ี กั เรยี นพบในชีวติ ประจำวัน จากนนั้ ให้นักเรยี นแต่ละกล่มุ สง่ ตวั แทนออกมานำเสนอพร้อมอภิปรายบรเิ วณหนา้ ชั้นเรยี น ขนั้ ท่ี 3 อธบิ ายความรู้ (Explanation) 2. นกั เรียนศกึ ษาเนื้อหา เร่อื ง ปัญหาหรอื ความต้องการของมนษุ ย์ จากหนังสือเรยี น 3. นกั เรียนสังเกตวตั ถุดิบปรงุ อาหารในรูปแบบตา่ ง ๆ เพ่ือตอบสนองความต้องการของมนุษย์ ที่แตกตา่ งกนั จากหนังสือเรยี น 4. นกั เรยี นสงั เกตปญั หาท่ีเกิดข้ึนกับเกษตรกร วธิ ีแกป้ ญั หา และผลลัพธ์จากหนงั สือเรียน 5. นักเรยี นศกึ ษาเนื้อหา เรื่อง ความกา้ วหนา้ ของศาสตรต์ า่ ง ๆ และการเปลย่ี นแปลง ด้านเศรษฐกจิ ด้านสงั คม ด้านวัฒนธรรมจากหนังสอื เรยี น 6. เปิดโอกาสใหน้ ักเรียนซกั ถามข้อสงสัย และครูใหค้ วามรเู้ พ่ิมเตมิ ในสว่ นน้นั ขั้นท่ี 4 ขยายความเข้าใจ (Elaboration) 7. ครูมอบหมายใหน้ ักเรยี นทำกิจกรรมฝึกทักษะจากแบบฝึกหดั และสุม่ นักเรียนออกมา นำเสนอบรเิ วณหน้าช้ันเรยี น ขั้นสรุป ข้ันท่ี 5 ตรวจสอบผล (Evaluation) 1. ครปู ระเมนิ ผลโดยการสังเกตการณ์ตอบคำถามและการนำเสนอผลงานของนักเรยี น 2. นกั เรียนและครูร่วมกันสรปุ ความรูเ้ ก่ียวกับสาเหตหุ รือปัจจัยท่ีสง่ ผลต่อการเปล่ียนแปลงของ เทคโนโลยี เทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลยี) 4

หน่วยการเรยี นรทู้ ่ี 1 เทคโนโลยกี บั ชีวติ เรอื่ งท่ี 2: ความสมั พันธข์ องเทคโนโลยีกับศาสตร์อนื่ เวลา 2 ช่ัวโมง วิธกี ารสอนโดยเนน้ รูปแบบการสอนแบบสบื เสาะหาความรู้ 5Es (5Es Instructional Model) ข้ันนำ ขัน้ ที่ 1 กระตุน้ ความสนใจ (Engagement) 1. ครถู ามคำถามสำคญั ประจำหัวขอ้ กับนักเรยี นวา่ “นักเรยี นเคยเหน็ ตัวอยา่ งการนำเทคโนโลยี เขา้ ไปใช้แกป้ ัญหาร่วมกับศาสตรใ์ ดบา้ ง จงยกตวั อย่างพร้อมอธบิ าย” ขน้ั สอน ขั้นที่ 2 สำรวจค้นหา (Exploration) 1. นกั เรียนแบง่ กลุ่ม กล่มุ ละ 3-5 คน หรือตามความเหมาะสม เพ่อื สบื ค้นวา่ มีเทคโนโลยีใดบา้ ง ท่นี ำเขา้ มาประยุกตใ์ ชใ้ นชีวติ ประจำวัน และใหน้ ักเรียนส่งตัวแทนออกมานำเสนอบรเิ วณ หน้าชัน้ เรียน ขัน้ ที่ 3 อธิบายความรู้ (Explanation) 2. นกั เรยี นศึกษาเน้ือหา เรอ่ื ง ความสัมพันธข์ องเทคโนโลยีกบั วทิ ยาศาสตร์ ความสัมพนั ธ์ของ เทคโนโลยีกบั คณิตศาสตร์ ความสมั พนั ธข์ องเทคโนโลยีกับมนษุ ยศาสตร์ และความสมั พันธ์ ของเทคโนโลยกี บั สังคมศาสตร์จากหนังสอื เรยี น 3. เปดิ โอกาสให้นักเรยี นสืบคน้ ข้อมลู เก่ียวกบั เทคโนโลยที ีเ่ ก่ียวขอ้ งกบั วทิ ยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ มนษุ ยศาสตร์ และสังคมศาสตร์ 4. จากนนั้ ครเู ขยี นคำวา่ เทคโนโลยีกับวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีกบั คณติ ศาสตร์ เทคโนโลยีกบั มนุษยศาสตร์ และเทคโนโลยกี บั สังคมศาสตรล์ งบนกระดานหน้าชั้นเรยี น พรอ้ มให้นักเรียน ร่วมกนั ยกตัวอย่างเทคโนโลยใี นชีวติ ประจำวันทเี่ กี่ยวขอ้ งกบั วทิ ยาศาสตร์ โดยครูคอยบนั ทึก คำตอบของนกั เรียนลงบนกระดานหน้าชนั้ เรียน ข้นั ที่ 4 ขยายความเขา้ ใจ (Elaboration) 5. เปิดโอกาสให้นักเรยี นซักถามข้อสงสัย และครใู ห้ความรู้เพ่ิมเตมิ ในส่วนน้นั 6. ครมู อบหมายใหน้ กั เรียนทำใบงานท่ี 1.2.1 เรอ่ื ง เทคโนโลยีกับศาสตร์ต่าง ๆ 7. ครูสุม่ นกั เรยี น 2-3 คน ออกมานำเสนอหนา้ ชั้นเรียน พรอ้ มกบั อภิปรายร่วมกนั ในห้องเรียน ขั้นสรุป ขน้ั ที่ 5 ตรวจสอบผล (Evaluation) 1. ครูประเมินผลโดยการสงั เกตการตอบคำถามและการนำเสนอผลงานของนกั เรียน 2. ครูตรวจสอบผลการทำงานท่ี 1.2.1 เรื่อง เทคโนโลยีกบั ศาสตรต์ า่ ง ๆ 3. นักเรยี นและครูร่วมกันสรปุ ความรเู้ กย่ี วกบั ความสัมพนั ธข์ องเทคโนโลยกี บั ศาสตรอ์ นื่ 4. ครูมอบหมายใหน้ กั เรียนทำกิจกรรม High Oder Thinking จากแบบฝึกหัด เป็นการบ้านและนำมาสง่ ในช่ัวโมงถดั ไป เทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลยี) 5

หน่วยการเรยี นรู้ท่ี 1 เทคโนโลยกี บั ชวี ติ เรอื่ งท่ี 3: การนำเทคโนโลยไี ปสร้างนวัตกรรมใหม่ เวลา 1 ช่วั โมง วิธกี ารสอนโดยเน้นรูปแบบการสอนแบบสบื เสาะหาความรู้ 5Es (5Es Instructional Model) ข้ันนำ ขน้ั ท่ี 1 กระต้นุ ความสนใจ (Engagement) 1. ครถู ามคำถามสำคัญประจำหัวข้อว่า “นกั เรียนคิดวา่ เทคโนโลยีใหม่ดา้ นใด สามารถแก้ปญั หา ในชมุ ชนหรอื ท้องถ่นิ ของนักเรียนได้ เพราะอะไร” ขน้ั สอน ขั้นที่ 2 สำรวจค้นหา (Exploration) 1. นักเรยี นแบ่งกลุ่ม กลมุ่ ละ 3-5 คน หรอื ตามความเหมาะสม เพื่อสืบคน้ วา่ ปจั จบุ ันมเี ทคโนโลยี ใหม่ ๆ ประเภทใดบ้างทนี่ ักเรียนสามารถพบในชีวิตประจำวนั และเทคโนโลยีเหลา่ นั้นช่วยให้ เกิดประโยชน์อยา่ งไร จากนั้นครูสุม่ นกั เรยี นออกมาตอบคำถามบริเวณหนา้ ช้นั เรยี น ขน้ั ท่ี 3 อธบิ ายความรู้ (Explanation) 2. นักเรียนศึกษาเน้ือหา เรอ่ื ง การนำเทคโนโลยไี ปสรา้ งนวตั กรรมใหม่จากหนังสือเรียน ขน้ั ท่ี 4 ขยายความเข้าใจ (Elaboration) 3. เปิดโอกาสให้นักเรียนซักถามขอ้ สงสัย และครูให้ความรู้เพ่ิมเติมในสว่ นนน้ั 4. ใหน้ กั เรยี นทำกจิ กรรม High Oder Thinking จากแบบฝกึ หดั และสุม่ นักเรียน 2-3 คน ออกมาตอบคำถามบริเวณหน้าช้นั เรยี น ขั้นสรุป ขั้นท่ี 5 ตรวจสอบผล (Evaluation) 1. ครปู ระเมินผลโดยการสงั เกตการณ์ตอบคำถามและการนำเสนอผลงานของนักเรียน 2. นักเรียนและครรู ว่ มกนั สรุปความรเู้ กีย่ วกบั การนำเทคโนโลยไี ปสร้างนวตั กรรมใหม่ 3. นกั เรยี นทำกจิ กรรมทสี่ อดคล้องกบั เนื้อหา โดยใหผ้ ู้เรยี นฝึกปฏบิ ตั เิ พือ่ พัฒนาความรู้และทกั ษะ (Design Activity) และบันทึกลงในสมุดประจำตัว 4 นักเรยี นแต่ละคนทำแบบฝึกหัด (Unit Activity) จากหนังสือเรยี นเพื่อทบทวนความรู้ ความเขา้ ใจ และพฒั นาทกั ษะการคิดของผเู้ รียนโดยการตอบคำถามลงในสมดุ ประจำตวั 5. ครใู หน้ กั เรียนตรวจสอบระดับความสามารถของตนเองจากหนังสอื เรยี น โดยพจิ ารณาขอ้ ความ ว่าถูกหรือผดิ หากนักเรยี นพิจารณาข้อความไม่ถูกต้องให้นักเรียนกลับไปทบทวนเนอ้ื หา ตามหวั ข้อทีก่ ำหนดให้ 6. นักเรียนทำแบบทดสอบหลงั เรยี น หนว่ ยการเรียนร้ทู ่ี 1 เร่อื ง เทคโนโลยกี ับชีวติ หรอื ทำ แบบทดสอบ (Unit Test) จากแบบฝึกหัด เพอ่ื วัดความรทู้ ่ีนักเรียนได้รับหลังจากผา่ น การเรียนรู้ 7. นกั เรยี นทำชน้ิ งาน/ภาระงาน (รวบยอด) เรื่อง เทคโนโลยีกับชวี ิต และนำมาส่งในชว่ั โมงถดั ไป เทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลยี) 6

หน่วยการเรยี นรู้ที่ 1 เทคโนโลยกี บั ชีวิต 8. สือ่ /แหล่งการเรยี นรู้ 8.1 สอ่ื การเรยี นรู้ 1) หนงั สือเรียนรายวชิ าพ้นื ฐาน เทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลย)ี ม.3 หน่วยการเรียนร้ทู ี่ 1 เรอ่ื ง เทคโนโลยกี บั ชีวิต 2) แบบฝึกหัดรายวชิ าพ้ืนฐาน เทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลยี) ม.3 หนว่ ยการเรียนรทู้ ่ี 1 เร่อื ง เทคโนโลยีกบั ชีวิต 3) ใบงานที่ 1.2.1 เรื่อง เทคโนโลยีกับศาสตร์ต่าง ๆ 8.2 แหลง่ การเรียนรู้ 1) ห้องคอมพวิ เตอร์ 2) อินเทอรเ์ นต็ เทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลยี) 7

หน่วยการเรยี นรู้ท่ี 1 เทคโนโลยกี ับชวี ติ แบบทดสอบกอ่ นเรียน หน่วยการเรยี นรู้ที่ 1 คำชแี้ จง : ให้นกั เรียนเลือกคำตอบที่ถูกต้องท่ีสุดเพียงข้อเดียว 1. การเปล่ียนแปลงที่เก่ียวขอ้ งกับการผลิตและ 6. ศาสตร์ในดา้ นใดไม่อยู่ในกลมุ่ วิทยาศาสตรป์ ระยุกต์ การจดั จำหน่าย ถือวา่ เปน็ การเปลีย่ นแปลง ก. ดาราศาสตร์ ข. วิทยาการรบั รู้ ทางด้านใด ค. วิศวกรรมศาสตร์ ง. วทิ ยาการคอมพวิ เตอร์ ก. ดา้ นสังคม ข. ด้านเศรษฐกิจ 7. เวบ็ ไซตก์ ารแปลภาษาอังกฤษถือวา่ เปน็ เทคโนโลยี ค. ด้านวัฒนธรรม ง. ด้านส่งิ แวดล้อม ในดา้ นใด 2. การเปล่ียนแปลงทเ่ี ก่ยี วข้องกับแนวคดิ และแนวทาง ก. ดา้ นภาษา ปฏบิ ตั ิตา่ ง ๆ ถือว่าเป็นการเปลย่ี นแปลงทางด้านใด ข. ดา้ นศลิ ปะ ก. ดา้ นสังคม ข. ด้านเศรษฐกจิ ค. ดา้ นศาสนา ค. ดา้ นวฒั นธรรม ง. ดา้ นสิง่ แวดล้อม ง. ดา้ นวทิ ยาการคอมพิวเตอร์ 3. ข้อใดจดั เป็นการเปล่ยี นแปลงทางด้านวัฒนธรรม 8. เทคโนโลยีในข้อใดถือว่าเกีย่ วขอ้ งกบั ดา้ นภูมิศาสตร์ ก. หนูนาชอบการแต่งกายแบบเกาหลี ก. โปรแกรม Siri ข. ประเทศญ่ีปุน่ ผลิตหนุ่ ยนต์มาใชใ้ นโรงงาน ข. ระบบปัญญาประดิษฐ์ ค. วมิ ลปรับเปล่ยี นการขายสนิ ค้าทางหนา้ รา้ น ค. เทคโนโลยภี าพเสมอื นจริง เปน็ ขายสินค้าทางออนไลน์ ง. ระบบกำหนดตำแหนง่ บนพื้นโลก (GPS) ง. แดนนำแผงโซล่าเซลลม์ าใช้เก็บพลังแสงอาทิตย์ 9. ขอ้ ใดต่อไปนี้ไม่เกีย่ วข้องกบั เทคโนโลยพี ้ืนฐาน 4. ข้อใดจัดเปน็ การเปลย่ี นแปลงทางดา้ นสิ่งแวดล้อม ก. นาโนเทคโนโลยี ก. สมศักดิ์ชอบซอื้ สินคา้ ทางออนไลน์ ข. เทคโนโลยชี ีวภาพ ข. ประเทศไทยนำแผงโซล่าเซลล์มาใชเ้ ก็บ ค. เทคโนโลยีเครือขา่ ย พลังแสงอาทติ ย์ ง. เทคโนโลยวี สั ดศุ าสตร์ ค. โรงพยาบาลผา่ ตดั ผู้ปว่ ยโดยใช้วิธีการส่องกลอ้ ง 10.โปรแกรมทีส่ รา้ งข้ึนในลักษณะของปัญญาประดิษฐ์ ง. ประเทศจีนผลติ หุ่นยนต์มาเป็นพธิ กี รอ่านขา่ ว คือข้อใด 5. ศาสตร์ในดา้ นใดไม่อยู่ในวิทยาศาสตรธ์ รรมชาติ ก. เทคโนโลยีคลาวด์ ก. ฟิสกิ ส์ ข. อนิ เทอรเ์ น็ตทุกสรรพส่ิง ข. ชวี วทิ ยา ค. เทคโนโลยพี นั ธุกรรมสมยั ใหม่ ค. ดาราศาสตร์ ง. โปรแกรมอัจฉริยะทสี่ ามารถคิดและทำงาน ง. วศิ วกรรมศาสตร์ แทนมนษุ ย์ เฉลย 1. ข 2. ค 3. ก 4. ข 5. ง 6. ก 7. ก 8. ง 9. ค 10. ง เทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลยี) 8

หนว่ ยการเรยี นรูท้ ่ี 1 เทคโนโลยกี บั ชีวิต แบบทดสอบหลงั เรยี น หน่วยการเรียนร้ทู ี่ 1 คำชแ้ี จง : ใหน้ ักเรยี นเลือกคำตอบที่ถูกต้องท่ีสุดเพียงข้อเดียว 1. การเปล่ียนแปลงที่เก่ียวขอ้ งกับระเบยี บแบบแผน 6. ศาสตร์ในข้อใดเปน็ การศึกษาที่เกยี่ วข้องกับวัตถุบน ความสัมพันธ์และสถานภาพต่าง ๆ ถอื วา่ เป็น ท้องฟ้า การเปล่ยี นแปลงทางด้านใด ก. ชีววทิ ยา ข. ดาราศาสตร์ ก. ด้านสงั คม ข. ดา้ นเศรษฐกิจ ค. วทิ ยาการรบั รู้ ง. วิศวกรรมศาสตร์ ค. ดา้ นวัฒนธรรม ง. ดา้ นสิง่ แวดล้อม 7. วิทยาการคอมพวิ เตอร์เปน็ ศาสตร์ทางดา้ นใด 2. การเปลย่ี นแปลงท่เี กี่ยวขอ้ งกับสงิ่ ตา่ ง ๆ ทอ่ี ยู่ ก. การใช้วิทยาศาสตรใ์ นการออกแบบ รอบตัวมนุษย์ ถือวา่ เป็นการเปลย่ี นแปลงทาง ข. ความสัมพันธ์ระหวา่ งการคิดและการแสดงออก ดา้ นใด ค. การศกึ ษาเกีย่ วกับสสารและองคป์ ระกอบต่าง ๆ ก. ด้านสงั คม ข. ด้านเศรษฐกจิ ง. การคำนวณหรือการประมวลผลของคอมพวิ เตอร์ ค. ดา้ นวฒั นธรรม ง. ด้านส่ิงแวดลอ้ ม 8. การหาระยะเวลาในการลอยตัวของโดรน จัดเปน็ 3. ข้อใดจัดเปน็ การเปลี่ยนแปลงทางด้านสงั คม ความสัมพนั ธ์ของเทคโนโลยีกบั ศาสตร์ในดา้ นใด ก. ลัดดาชอบการแต่งกายแบบชาวตา่ งชาติ ก. เทคโนโลยกี บั คณติ ศาสตร์ ข. ประเทศไทยนำแผงโซล่าเซลล์มาใช้เก็บ ข. เทคโนโลยีกบั สงั คมศาสตร์ พลังแสงอาทติ ย์ ค. เทคโนโลยีกบั วิทยาศาสตร์ ค. วิมลเปลยี่ นการขายสินค้าทางหน้าร้าน ง. เทคโนโลยีกบั มนุษยศาสตร์ เป็นขายสนิ ค้าผา่ นทางออนไลน์ 9. กลอ้ งตรวจจับความเรว็ บนท้องถนน ถอื วา่ ประยุกต์ ง. ประเทศญี่ปุ่นผลติ ห่นุ ยนต์มาใช้ภายในโรงงาน ใช้ความรใู้ นด้านใด 4. ขอ้ ใดจดั เปน็ การเปลีย่ นแปลงทางดา้ นเศรษฐกิจ ก. ฟสิ ิกส์กับคณติ ศาสตร์ ก. สมศกั ดิช์ อบสง่ั ซอ้ื สินคา้ ทางออนไลน์ ข. ฟสิ กิ ส์กับวิทยาศาสตร์ ข. ประเทศจนี ผลิตห่นุ ยนต์เป็นนักแสดง ค. วศิ วกรรมกบั วิทยาการคอมพิวเตอร์ ค. ประเทศไทยนำแผงโซลา่ เซลลม์ าใชเ้ กบ็ ง. เทคโนโลยีชวี ภาพกับนาโนเทคโนโลยี พลงั แสงอาทิตย์ 10.แผงโซลา่ เซลลจ์ ดั เป็นเทคโนโลยีในดา้ นใด ง. โรงพยาบาลผ่าตดั ผู้ปว่ ยโดยใช้วธิ ีการสอ่ งกล้อง ก. เทคโนโลยคี ลาวด์ 5. ศาสตร์ในข้อใดเป็นการศึกษาท่เี กี่ยวข้องกบั ข. เทคโนโลยีการเก็บพลังงาน สิง่ ไม่มชี ีวิต ค. เทคโนโลยพี นั ธกุ รรมสมยั ใหม่ ก. เคมี ข. ฟิสิกส์ ง. เทคโนโลยหี ุ่นยนตข์ ัน้ ก้าวหน้า ค. ชีววทิ ยา ง. ดาราศาสตร์ เฉลย 1. ก 2. ง 3. ง 4. ก 5. ข 6. ข 7. ง 8. ก 9. ก 10. ข เทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลยี) 9

หน่วยการเรยี นรู้ที่ 1 เทคโนโลยกี ับชีวิต แผนการจดั การเรยี นรทู้ ่ี 1 เรอ่ื ง สาเหตุหรือปจั จยั ทสี่ ่งผลตอ่ การเปลยี่ นแปลงของเทคโนโลยี แผนการจัดการเรียนรทู้ ่ี 1 สาเหตหุ รอื ปัจจัยท่ีส่งผลตอ่ การเปลย่ี นแปลงของเทคโนโลยี เวลา 2 ชั่วโมง 1. มาตรฐาน/ตวั ชวี้ ัด 1.1 ตัวช้ีวดั ว 4.1 ม.3/1 วิเคราะห์สาเหตุ หรอื ปจั จัยที่ส่งผลตอ่ การเปล่ยี นแปลงของเทคโนโลยี และ ความสัมพันธ์ของเทคโนโลยีกบั ศาสตรอ์ ่ืน โดยเฉพาะวทิ ยาศาสตร์ หรือ คณติ ศาสตร์ เพ่ือเป็นแนวทางการแก้ปัญหาหรอื พฒั นางาน 2. จุดประสงคก์ ารเรียนรู้ 1. อธิบายกระบวนการเปลยี่ นแปลงของเทคโนโลยีในด้านตา่ ง ๆ ได้ (K) 2. วิเคราะหส์ าเหตุหรือปจั จัยทีส่ ่งผลต่อการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีได้ (K) 3. ยกตัวอย่างและอธิบายเกย่ี วกับการเปล่ียนแปลงของเทคโนโลยีในดา้ นต่าง ๆ ได้ (K) 4. สืบคน้ ขอ้ มลู เกีย่ วกับเทคโนโลยที ีพ่ บในชีวิตประจำวันได้ (P) 5. เห็นความสำคัญของสาเหตหุ รือปัจจัยท่สี ่งผลตอ่ การเปล่ยี นแปลงของเทคโนโลยี (A) 3. สาระการเรียนรู้ สาระการเรียนรู้ทอ้ งถ่นิ พจิ ารณาตามหลกั สูตรของสถานศึกษา สาระการเรยี นร้แู กนกลาง - เทคโนโลยมี กี ารเปลีย่ นแปลงตลอดเวลาตั้งแต่อดตี จนถงึ ปจั จุบนั ซง่ึ มีสาเหตุหรือปัจจยั มาจากหลาย ด้าน เช่น ปัญหาหรือความต้องการของมนุษย์ ความก้าวหนา้ ของศาสตรต์ า่ ง ๆ การเปลีย่ นแปลง ทางด้านเศรษฐกิจ สงั คม วัฒนธรรม ส่งิ แวดล้อม 4. สาระสำคัญ/ความคดิ รวบยอด ความตอ้ งการของมนุษยก์ ็คอื ความอยากได้ ซึ่งเม่ือมนษุ ยเ์ กิดความอยากได้ จงึ ต้องพยายาม ดนิ้ รนหาสิ่งท่ีสามารถตอบสนองความต้องการนั้น ๆ เม่ือรา่ งกายไดร้ ับการตอบสนองแล้วก็จะเกิด ความต้องการใหม่ ๆ ขึน้ มาทดแทน ดังนน้ั ความต้องการของมนุษยจ์ ึงเกดิ ขึ้นอยู่ตลอดเวลา นอกจากนั้น ความตอ้ งการของมนษุ ย์ยงั ทำให้เกดิ การเปล่ียนแปลงในดา้ นตา่ ง ๆ คือ การเปลย่ี นแปลงด้านเศรษฐกจิ การเปล่ยี นแปลงด้านสังคม การเปลย่ี นแปลงด้านวฒั นธรรม และการเปลีย่ นแปลงด้านส่ิงแวดล้อม เทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลยี) 10

หน่วยการเรยี นรู้ที่ 1 เทคโนโลยกี ับชีวติ แผนการจดั การเรียนรทู้ ี่ 1 เรอ่ื ง สาเหตุหรือปัจจยั ท่ีส่งผลตอ่ การเปลย่ี นแปลงของเทคโนโลยี 5. สมรรถนะสำคัญของผ้เู รียนและคุณลักษณะอนั พึงประสงค์ สมรรถนะสำคัญของผเู้ รียน คณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ 1. ความสามารถในการสอ่ื สาร 1. มวี ินยั รับผิดชอบ - ทกั ษะการสอื่ สาร 2. ใฝ่เรยี นรู้ 2. ความสามารถในการคดิ 3. มุง่ มั่นในการทำงาน - ทักษะการให้เหตุผล 3. ความสามารถในการแก้ปัญหา - ทกั ษะการแกป้ ัญหา - ทกั ษะการสงั เกต - ทักษะการประยกุ ต์ใช้ความรู้ 4. ความสามารถในการใชท้ ักษะชวี ิต - ทกั ษะการทำงานรว่ มกัน 5. ความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยี - ทักษะการใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศ 6. กจิ กรรมการเรยี นรู้  วธิ ีการสอนโดยเน้นรูปแบบการสอนแบบสบื เสาะหาความรู้ 5Es (5Es Instructional Model) ชว่ั โมงท่ี 1 ขนั้ นำ ขัน้ ท่ี 1 กระตุน้ ความสนใจ (Engagement) 1. นักเรียนทำแบบทดสอบก่อนเรียน หนว่ ยการเรียนรทู้ ่ี 1 เรอ่ื ง เทคโนโลยกี ับชีวิต 2. ครูถามคำถามสำคัญประจำหัวข้อกบั นักเรียนวา่ “ในชุมชนที่นกั เรยี นอาศัยอยมู่ ีการเปล่ียนแปลง ของเทคโนโลยอี ยา่ งไร เพราะเหตใุ ด” (แนวตอบ : คำตอบของนกั เรียนขึ้นอย่กู ับดุลยพนิ จิ ของครูผ้สู อน เชน่ การสือ่ สารผ่านไปรษณีย์ อเิ ล็กทรอนกิ ส์ (E-mail) แทนการสง่ จดหมาย เนื่องจากเทคโนโลยีมคี วามก้าวหนา้ อยา่ งรวดเร็ว และตอบสนองต่อความตอ้ งการของมนษุ ย์) ข้นั สอน ข้นั ที่ 2 สำรวจค้นหา (Exploration) 1. นกั เรยี นแบง่ กลุ่ม กลุม่ ละ 3-5 คน หรอื ตามความเหมาะสม เพื่อสบื ค้นความหมายของคำว่า “เทคโนโลยี” และยกตัวอย่างเทคโนโลยีในด้านต่าง ๆ ที่นกั เรยี นพบในชวี ิตประจำวนั เทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลย)ี 11

หนว่ ยการเรยี นรทู้ ่ี 1 เทคโนโลยกี ับชีวติ แผนการจดั การเรยี นรทู้ ่ี 1 เรื่อง สาเหตุหรือปจั จัยท่ีสง่ ผลตอ่ การเปลยี่ นแปลงของเทคโนโลยี 2. นักเรยี นแตล่ ะกล่มุ ส่งตวั แทนออกมานำเสนอเกย่ี วกับความหมายของเทคโนโลยี และ ยกตวั อย่างเทคโนโลยที ่ีนกั เรยี นพบในชีวติ ประจำวนั บริเวณหนา้ ชน้ั เรยี น พร้อมอภปิ ราย ร่วมกบั เพ่ือนในชัน้ เรียน ขั้นท่ี 3 อธบิ ายความรู้ (Explanation) 3. นกั เรยี นศึกษาเนื้อหา เร่อื ง ปัญหาหรือความต้องการของมนุษย์ จากหนังสือเรียนรายวิชา พ้นื ฐาน เทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลยี) ม.3 หน่วยการเรยี นรู้ท่ี 1 เรือ่ ง เทคโนโลยีกบั ชีวติ 4. นักเรยี นสงั เกตวัตถุดิบปรุงอาหารในรปู แบบตา่ ง ๆ เพื่อตอบสนองความต้องการของมนุษย์ ท่ีแตกต่างกัน จากหนงั สือเรียน 5. ครูอธบิ ายกับนักเรียนวา่ “เมื่อมนุษย์มคี วามต้องการมากขึ้นจึงเกดิ เทคโนโลยีใหม่ เพือ่ ตอบสนองความต้องการของมนุษย์ตลอดเวลา และเป็นตัวผลักดันใหเ้ กดิ การพฒั นา เทคโนโลยตี ่อไปเร่ือย ๆ เพ่ือช่วยแก้ปญั หาของมนุษย์ จนกว่าจะตอบสนองต่อความตอ้ งการ ของมนษุ ยไ์ ด้ครบถว้ นสมบรู ณ์” 6. นกั เรียนสงั เกตปญั หาทเี่ กิดข้ึนกับเกษตรกร วิธีแก้ปญั หา และผลลัพธจ์ ากหนงั สือเรยี น 7. ครอู ธบิ ายเกร็ดเสริมความรู้ที่เกีย่ วข้องกับเน้ือหา (Design Focus) เร่ือง ปัญหาของการใช้สินค้า หรือบริการ (Pain Point) จากหนงั สอื เรียน 8. เปิดโอกาสใหน้ ักเรยี นซักถามข้อสงสยั และครใู หค้ วามร้เู พ่ิมเตมิ ในสว่ นนน้ั ชั่วโมงที่ 2 ขัน้ สอน ข้ันที่ 3 อธิบายความรู้ (Explanation) 9. ครูทบทวนเนื้อหาการเรยี นเมื่อช่วั โมงที่แลว้ พอสังเขป 10. นักเรียนศึกษาเนื้อหา เรอ่ื ง ความกา้ วหนา้ ของศาสตรต์ ่าง ๆ จากหนังสอื เรยี น 11. ครอู ธบิ ายกบั นักเรียนเพื่อใหน้ ักเรียนเขา้ ใจมากยงิ่ ขึ้นว่า “ความรดู้ า้ นวทิ ยาศาสตรแ์ ละ เทคโนโลยีทีส่ ่ังสมมาตั้งแต่อดีตอย่างต่อเนือ่ ง ทำให้เกิดการพฒั นาเทคโนโลยใี หม่ ๆ ทส่ี ามารถ พลิกรปู แบบวิถีการดำเนินชวี ิตของผู้คนในสังคมได้ อกี ท้ังยังมีความก้าวหน้าทางวทิ ยาศาสตร์ พ้นื ฐานแขนงใหม่ท่ชี ่วยในการหาคำตอบ” 12. นักเรยี นศึกษาเน้ือหา เรือ่ ง การเปลย่ี นแปลงดา้ นเศรษฐกจิ ดา้ นสงั คม ดา้ นวัฒนธรรม และด้านสิง่ แวดลอ้ ม จากหนงั สือเรียน 13. ครอู ธิบายเกรด็ เสริมความรทู้ ี่เกีย่ วขอ้ งกับเน้ือหา (Design Focus) เรอื่ ง การแก้ปญั หามลพิษ สง่ิ แวดลอ้ มโลกจากหนงั สือเรียน 14. เปิดโอกาสให้นักเรียนซักถามข้อสงสยั และครูให้ความรู้เพิ่มเติมในส่วนน้ัน เทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลย)ี 12

หน่วยการเรยี นรู้ที่ 1 เทคโนโลยกี บั ชีวิต แผนการจดั การเรยี นรทู้ ่ี 1 เรือ่ ง สาเหตหุ รือปัจจัยที่ส่งผลตอ่ การเปลยี่ นแปลงของเทคโนโลยี ขนั้ ที่ 4 ขยายความเข้าใจ (Elaboration) 15. ครมู อบหมายใหน้ ักเรยี นทำกิจกรรมฝึกทักษะกระบวนการคิด และทบทวนเน้ือหาอย่างครบถ้วน ตามตวั ชีว้ ัดจากแบบฝึกหดั รายวชิ าพน้ื ฐาน เทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลย)ี ม.3 หนว่ ยการเรยี นรู้ท่ี 1 เร่ือง เทคโนโลยกี ับชวี ิต 16. ครสู ุม่ นักเรยี นออกมานำเสนอบรเิ วณหน้าชนั้ เรียน ข้นั สรปุ ขัน้ ที่ 5 ตรวจสอบผล (Evaluation) 1. ครปู ระเมินผลโดยการสังเกตการตอบคำถามและการนำเสนอผลงานของนกั เรยี น 2. นกั เรยี นและครรู ่วมกันสรปุ ความรเู้ กย่ี วกับสาเหตหุ รือปจั จัยทส่ี ง่ ผลตอ่ การเปลีย่ นแปลงของ เทคโนโลยี 7. การวัดและประเมนิ ผล รายการวัด วิธีวัด เครอื่ งมอื เกณฑ์การประเมิน 7.1 การประเมินก่อนเรยี น - แบบทดสอบก่อนเรียน - ตรวจแบบทดสอบ - แบบทดสอบก่อนเรยี น ประเมินตามสภาพจริง หนว่ ยการเรียนร้ทู ่ี 1 ก่อนเรียน เรอ่ื ง เทคโนโลยีกับชีวติ 7.2 การประเมินระหว่างการ จัดกจิ กรรม 1) สาเหตุหรอื ปัจจยั - ตรวจแบบฝึกหดั - แบบฝกึ หัด รอ้ ยละ 60 ผา่ นเกณฑ์ ท่สี ง่ ผลต่อ การเปลย่ี นแปลง ของเทคโนโลยี 2) การนำเสนอผลงาน - ประเมินการนำเสนอ - แบบประเมิน ระดับคุณภาพ 2 ผลงาน การนำเสนอผลงาน ผา่ นเกณฑ์ 3) พฤติกรรมการทำงาน - สังเกตพฤตกิ รรม - แบบสังเกตพฤติกรรม ระดับคุณภาพ 2 รายบคุ คล การทำงานรายบคุ คล การทำงานรายบุคคล ผ่านเกณฑ์ 4) พฤติกรรมการทำงาน - สังเกตพฤติกรรม - แบบสังเกตพฤติกรรม ระดับคุณภาพ 2 กลุ่ม การทำงานกลุ่ม การทำงานกลมุ่ ผ่านเกณฑ์ 5) คณุ ลักษณะ - สังเกตความมีวนิ ัย - แบบประเมิน ระดบั คุณภาพ 2 อันพงึ ประสงค์ ความรบั ผดิ ชอบ คณุ ลกั ษณะ ผา่ นเกณฑ์ ใฝ่เรียนรู้ และมงุ่ มัน่ อันพงึ ประสงค์ ในการทำงาน เทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลย)ี 13

หน่วยการเรยี นรทู้ ่ี 1 เทคโนโลยกี ับชวี ิต แผนการจดั การเรียนรทู้ ่ี 1 เร่ือง สาเหตหุ รือปัจจัยท่ีส่งผลตอ่ การเปลย่ี นแปลงของเทคโนโลยี 8. สอ่ื /แหลง่ การเรยี นรู้ 8.1 ส่ือการเรียนรู้ 1) หนงั สอื เรยี นรายวชิ าพน้ื ฐาน เทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลย)ี ม.3 หน่วยการเรียนร้ทู ่ี 1 เรอ่ื ง เทคโนโลยีกบั ชวี ิต 2) แบบฝึกหัดรายวชิ าพนื้ ฐาน เทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลย)ี ม.3 หน่วยการเรยี นรทู้ ่ี 1 เรอ่ื ง เทคโนโลยีกับชีวติ 8.2 แหล่งการเรยี นรู้ 1) ห้องคอมพวิ เตอร์ 2) อนิ เทอร์เน็ต เทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลยี) 14

หนว่ ยการเรยี นรทู้ ่ี 1 เทคโนโลยกี ับชีวติ . แผนการจดั การเรยี นรทู้ ี่ 1 เร่ือง สาเหตหุ รือปจั จยั ท่สี ่งผลตอ่ การเปลยี่ นแปลงของเทคโนโลยี ) ....... 9. ความเห็นของผูบ้ ริหารสถานศกึ ษาหรอื ผ้ทู ีไ่ ด้รับมอบหมาย ข้อเสนอแนะ ลงชือ่ ( ตำแหนง่ 10. บนั ทกึ ผลหลงั การสอน  ดา้ นความรู้  ด้านสมรรถนะสำคัญของผเู้ รียน  ด้านคุณลักษณะอนั พงึ ประสงค์  ด้านความสามารถทางเทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลยี)  ด้านอื่น ๆ (พฤติกรรมเดน่ หรือพฤตกิ รรมทีม่ ปี ญั หาของนกั เรยี นเปน็ รายบุคคล (ถ้าม)ี )  ปัญหา/อปุ สรรค  แนวทางการแก้ไข เทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลย)ี 15

หนว่ ยการเรยี นรูท้ ่ี 1 เทคโนโลยกี บั ชีวติ แผนการจดั การเรียนรทู้ ี่ 2 เรอื่ ง ความสมั พนั ธข์ องเทคโนโลยกี บั ศาสตรอ์ นื่ แผนการจดั การเรียนรทู้ ี่ 2 ความสมั พันธ์ของเทคโนโลยกี ับศาสตรอ์ ่ืน เวลา 2 ช่วั โมง 1. มาตรฐาน/ตวั ชว้ี ดั 1.1 ตัวชว้ี ดั ว 4.1 ม.3/1 วเิ คราะหส์ าเหตุ หรือปัจจยั ท่ีสง่ ผลตอ่ การเปลยี่ นแปลงของเทคโนโลยี และ ความสมั พนั ธ์ของเทคโนโลยีกับศาสตร์อ่ืน โดยเฉพาะวิทยาศาสตร์ หรอื คณติ ศาสตร์ เพือ่ เปน็ แนวทางการแก้ปัญหาหรอื พัฒนางาน 2. จดุ ประสงค์การเรียนรู้ 1. อธบิ ายความสัมพนั ธข์ องเทคโนโลยกี บั ศาสตร์อ่ืน ๆ ได้ (K) 2. ยกตัวอย่างเทคโนโลยที พ่ี บในชวี ิตประจำวันตามศาสตรต์ า่ ง ๆ ได้ (K) 3. สบื คน้ ข้อมูลเก่ียวกบั เทคโนโลยใี นด้านต่าง ๆ ได้ (P) 4. เหน็ ประโยชนข์ องเทคโนโลยใี นศาสตรต์ ่าง ๆ ได้ (A) 3. สาระการเรียนรู้ สาระการเรียนรทู้ อ้ งถนิ่ พจิ ารณาตามหลกั สูตรของสถานศกึ ษา สาระการเรียนรแู้ กนกลาง - เทคโนโลยีมีความสัมพนั ธ์กับศาสตรอ์ ืน่ โดยเฉพาะ วทิ ยาศาสตร์ โดยวิทยาศาสตรเ์ ปน็ พ้ืนฐานความรู้ที่ นำไปสู่การพัฒนาเทคโนโลยี และเทคโนโลยีทีไ่ ด้ สามารถเป็นเครื่องมือเคร่ืองใชใ้ นการศึกษา คน้ คว้า เพอ่ื ให้ไดม้ าซงึ่ องค์ความรู้ใหม่ 4. สาระสำคัญ/ความคดิ รวบยอด เทคโนโลยเี ป็นวิทยาการที่เกดิ ขึ้นจากการนำความร้ดู า้ นตา่ ง ๆ โดยเฉพาะวิทยาศาสตร์และ คณติ ศาสตร์มาประยุกต์ใช้ในการแกป้ ัญหา ปจั จุบนั มีการนำเทคโนโลยขี น้ั สูงมาใชใ้ นทุกภาคส่วน ดังน้นั เทคโนโลยีจึงเกีย่ วขอ้ งกบั การนำความรู้จากศาสตรต์ า่ ง ๆ มาประกอบกับความรดู้ ้านวิทยาศาสตรแ์ ละ คณิตศาสตร์ เพอ่ื แก้ปัญหาหรอื พฒั นางานอาชีพตา่ ง ๆ ในชุมชนอย่างสร้างสรรค์ เทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลยี) 16

หน่วยการเรยี นรู้ท่ี 1 เทคโนโลยกี บั ชวี ติ แผนการจดั การเรยี นรทู้ ี่ 2 เรือ่ ง ความสมั พนั ธ์ของเทคโนโลยกี บั ศาสตรอ์ นื่ 5. สมรรถนะสำคัญของผ้เู รยี นและคณุ ลกั ษณะอนั พึงประสงค์ สมรรถนะสำคญั ของผเู้ รียน คณุ ลกั ษณะอนั พึงประสงค์ 1. ความสามารถในการสื่อสาร 1. มวี ินัย รับผิดชอบ - ทกั ษะการสอ่ื สาร 2. ใฝ่เรียนรู้ 2. ความสามารถในการคิด 3. มุ่งม่นั ในการทำงาน - ทกั ษะการใหเ้ หตุผล 3. ความสามารถในการแกป้ ัญหา - ทักษะการแก้ปญั หา - ทักษะการสงั เกต - ทักษะการประยกุ ต์ใช้ความรู้ 4. ความสามารถในการใชท้ ักษะชวี ติ - ทกั ษะการทำงานร่วมกนั 5. ความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยี - ทักษะการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ 6. กิจกรรมการเรียนรู้  วิธีการสอนโดยเน้นรปู แบบการสอนแบบสืบเสาะหาความรู้ 5Es (5Es Instructional Model) ชัว่ โมงที่ 1 ข้นั นำ ข้นั ที่ 1 กระตนุ้ ความสนใจ (Engagement) 1. ครูถามคำถามสำคัญประจำหัวขอ้ กับนักเรียนว่า “นักเรยี นเคยเหน็ ตวั อย่างการนำเทคโนโลยี เขา้ ไปใชแ้ ก้ปญั หารว่ มกับศาสตร์ใดบา้ ง จงยกตวั อยา่ งพร้อมอธิบาย” (แนวตอบ : คำตอบของนกั เรียนข้ึนอย่กู ับดุลยพนิ จิ ของครูผู้สอน เช่น การใชเ้ ทคโนโลยกี บั วิทยาศาสตร์ในดา้ นดาราศาสตร์ เช่น การถา่ ยภาพหลมุ ดำดว้ ยเครือขา่ ยกลอ้ งโทรทรรศน์ อีเวนตฮ์ อไรซนั โดยใชค้ ลื่นความถี่สงู ของหอดูดาวท้ัง 8 แห่งทวั่ โลกมารวมกนั กำเนิดเปน็ กล้องโทรทรรศนว์ ิทยทุ ม่ี ีขนาดเทา่ กับเสน้ ผา่ นศนู ย์กลางของโลก ทำใหส้ ามารถถา่ ยภาพได้ พรอ้ มกัน เวลาเดียวกัน และตำแหน่งเดยี วกันได้ ภาพที่ได้จึงมคี วามละเอยี ดสงู มาก และ นำขอ้ มลู มาประมวลผลด้วยคอมพวิ เตอร์จนเกิดภาพถ่ายหลมุ ดำ) เทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลยี) 17


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook