1 รายงานผลการดาเนนิ งานการจัดการความรู้ เรื่อง การบารงุ รักษาเคร่ืองปรับอากาศเบื้องตน้ โดยคณะกรรมการการจัดการความรู้ COP : การบารุงรกั ษาเคร่ืองอากาศเบื้องตน้ สานกั งานอธกิ ารบดี มหาวิ ทยาลัยราชภฏั นครราชสมี า ประจาปีงบประมาณ 2563
2 คานา รายงานผลการดาเนินงานการจัดการความรู้ เร่ือง การบารุงรักษาเคร่ืองปรับอากาศเบ้ืองต้น ฉบับน้ี จัดทาข้ึนเพ่ือการส่งเสริมด้านการจัดการความรู้ สนับสนุน กากับติดตามการดาเนินการด้าน การบริหารจัดการความรู้ รวมถึงการเผยแพร่ข้อมูลท่ีเป็นประโยชน์ ให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์และ สอดคล้องกับแผนยุทธศาสตร์ของมหาวิทยาลัย รายงานผลการดาเนินงานการจัดการความรู้ ประกอบด้วย ความเป็นมา วัตถุประสงค์ แผนการดาเนินงานการจัดการความรู้ แผนการจัดการ ความรู้ ข้ันตอนกระบวนการดาเนินงานการจัดการความรู้ คลิปวีดีโอคู่มือการ เร่ือง การบารุงรักษา เครื่องปรับอากาศเบื้องต้น แนวปฏิบัติสู่ความสาเร็จ เป็นต้น ในการดาเนินงานได้มีการนาเทคโนโลยี สารสนเทศมาใช้ในการดาเนนิ งานเพอื่ ให้เกิดประสทิ ธภิ าพมากย่ิงขึ้น สานักงานอธิการบดี มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา ได้ดาเนินการจัดกิจกรรม โครงการ การแบ่งปันแลกเปลี่ยนเรียนรู้ เพ่ือให้การดาเนินงานการจัดการความรู้มีความสมบูรณ์ตามขั้นตอน กระบวนการดาเนินงานการจัดการความรู้ สานักงานอธิการบดีหวังเป็นอย่างยิ่งว่ารายงานผลการ ดาเนินงานฉบับนี้ จะเป็นประโยชน์ในการเผยแพร่องค์ความรู้ ข้ันตอนกระบวนการดาเนินงาน ต่อผูบ้ รหิ ารของมหาวทิ ยาลัยทกุ ระดับ คณาจารย์ บุคลากร และผู้สนใจท่ัวไป รวมถึง การนาความรู้น้ี ไปใช้ปรบั ปรงุ งานดา้ นต่างๆ ตอ่ ไป สานักงานอธิการบดี มหาวทิ ยาลัยราชภฏั นครราชสีมา กันยายน 2563
สารบญั 3 คานา หน้า สารบัญ ส่วนที่ 1 บทนา 2 3 ท่มี าและความสาคัญ 4 วัตถุประสงค์ของการจดั โครงการ 4 เปา้ หมายสู่ความสาเร็จ 5 เครอื่ งมอื ที่ใชใ้ นการประเมินผลการนาความร้ไู ปใช้ 5 ประโยชน์ทไ่ี ด้รบั 5 แผนการดาเนนิ งาน 4 ส่วนที่ 2 กระบวนดาเนินงานการจดั การความรู้ 6 การบง่ ชคี้ วามรู้ 9 การสร้างและการแสวงหาความรู้ 9 การจดั การความรูใ้ ห้เปน็ ระบบ 10 การประมวลผลและการกล่นั กรองความรู้ 11 การเข้าถึงความรู้ 15 การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ 16 การนาความรู้ไปใช้และการเผยแพร่ 16 ส่วนท่ี 3 สรปุ ผลการดาเนนิ งาน 18 แนวทางการจดั การความรู้ 20 ปัจจัยและเทคนิคสคู่ วามสาเร็จ (เทคนคิ วิธีการ เคล็ดลับ) 20 เคล็ดลบั สู่ความสาเรจ็ 22 ภาคผนวก 22 25
4 ส่วนที่ 1 บทนา 1.1 ทมี่ าและความสาคัญ มหาวิทยาลยั ราชภฏั นครราชสีมา มีเคร่ืองปรับอากาศเพ่ือสนับสนุนการจัดการเรียนการสอน การปฏิบัติงาน ซ่ึงถือเป็นส่วนหน่ึงในการสร้างบรรยากาศ และสภาพแวดล้อมในการเรียนการสอน และการทางานให้มีอุณหภูมิท่ีเหมาะสม เคร่ืองปรับอากาศจึงได้มีการติดต้ังในอาคารเรียน อาคาร ปฏิบตั กิ าร อาคารสานักงาน จานวนมาก ปัจจุบันพบว่ามีการใช้เครื่องปรับอากาศในชีวิตประจาวันซ่ึง อาจกลา่ วไดว้ ่าเปน็ สว่ นหนงึ่ ในการดารงชวี ิต การดูแลรักษาเคร่ืองปรับอากาศ อย่างต่อเน่ืองถือเป็นสิ่ง สาคัญยิ่ง เพ่ือให้การทางานของเคร่ืองปรับอากาศมีระบบการระบายอากาศท่ีสะอาด ซึ่งส่งผลดีต่อ สขุ ภาพ สานกั งานอธกิ ารบดี มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏนครราชสีมา ไดเ้ ล็งเห็นความสาคัญด้านการจัดการ ความรู้ซึ่งถือเป็นกระบวนการสร้างองค์ความรู้ โดยนาองค์ความรู้ท่ีเป็นประโยชน์ต่อองค์กรมา จัดระบบสร้างวิธีการเข้าถึงได้โดยง่าย มีกิจกรรมที่มุ่งเน้นให้เกิดการนาความรู้ไปใช้ เกิดการแบ่งปัน และการจัดเก็บองค์ความรู้อย่างเป็นระบบ และในกระบวนการทางานหน่วยงานได้มีการนา กระบวนการจัดการความรู้มาบูรณาการใช้ในการทางาน งานดูแลบารุงรักษาเครื่องปรับอากาศเป็น ส่วนงานหนึ่งในสานักงานอธิการบดี ที่ได้มีการนากระบวนการแบ่งปันความรู้ เดิมงาน เครือ่ งปรบั อากาศ มชี ่างบารุงรักษาเครื่องปรับอากาศ เพียง 1 อัตรา ควบคู่กับการจ้างบุคคลภายนอก มหาวิทยาลัย สานักงานอธิการบดี ได้เล็งเห็นภารกิจงานที่ต้องสนับสนุน อานวยความสะดวก ให้ทุก หนว่ ยงานภายในมหาวิทยาลยั จงึ ได้เพ่ิมอัตรากาลังเพอื่ ดูแลบารุงรกั ษาเครือ่ งปรบั อากาศ โดยได้มีการ ถ่ายทอดองค์ความรู้จากบุคลากรท่ีมีประสบการณ์จากการทางานจนเกิดความเชี่ยวชาญมาถ่ายทอด องค์ความรใู้ หก้ ับเพอื่ นร่วมงาน ใหส้ ามารถรู้วิธีปฏิบัติงานในระดับหนึ่ง รวมไปถึงการเข้ารับการอบรม ท่ีเป็นความรู้จากหน่วยงานภายนอกจนได้รับใบประกาศนียบัตร ผ่านการเข้ารับการฝึกอบรม ทาให้ ปัจจุบันงานเครื่องปรับอากาศได้มีบุคลากรผู้ปฏิบัติงานเพ่ิมขึ้น เพื่อรองรับการดูแล บารุงรักษา เคร่ืองปรบั อากาศ ใหค้ รอบคลมุ ภายในมหาวิทยาลยั จากกระบวนการถ่ายทอด แบ่งปัน แลกเปลี่ยนเรียนรู้ จนประสบความสาเร็จท่ีได้กล่าวมา สานักงานอธกิ ารบดี ยงั ได้เล็งเห็นความสาคัญของการต่อยอดเพ่ือถ่ายทอดองค์ความรู้ ลงสู่หน่วยงาน ต่างๆ ภายในมหาวิทยาลัย จึงได้นากลไกสนับสนุนให้บุคลากรได้มีส่วนร่วมในการดาเนินงาน การ จดั การความรู้ เรอ่ื ง การบารงุ รกั ษาเคร่อื งปรับอากาศเบือ้ งตน้ มีวัตถุประสงค์เพ่ือให้บุคลากรท่ีมีความ ชานาญด้านการดูแล ซ่อม บารุงรักษาเคร่ืองปรับอากาศ ได้ถ่ายทอดองค์ความรู้ท่ีเป็นแนวปฏิบัติท่ีดี เกี่ยวกับการดูแลและการใช้งานเครื่องปรับอากาศในเบ้ืองต้นอย่างถูกต้อง เพื่อให้บุคลากรภายใน มหาวิทยาลัยได้มีการนาองค์ความรู้ท่ีได้รับเกี่ยวกับการดูแลบารุงรักษาเคร่ืองปรับอากาศในเบื้องต้น
5 ไปใช้ภายในหน่วยงานของตน เพราะเคร่ืองปรับอากาศเป็นอุปกรณ์สานักงานที่มีการใช้งานในทุก อาคาร และเปน็ อุปกรณ์ไฟฟ้าที่มีกระบวนการทางานทเี่ กีย่ วกับการระบายอากาศ ดังน้ัน เพ่ือเป็นส่วน หน่ึงในการป้องกันเช้ือโรคท่ีอาจเกิดข้ึนจากเครื่องปรับอากาศ รวมไปถึงเพื่อให้เครื่องปรับอากาศ สามารถทางานได้อย่างเต็มประสิทธิภาพหากมีการดูแลบารุงรักษาอย่างต่อเนื่อง เพราะ เครื่องปรับอากาศถือเป็นอุปกรณ์ไฟฟ้าท่ีมีอัตราส่วนในการใช้พลังงานไฟฟ้ามากที่สุดภายใน มหาวิทยาลัย และส่งผลให้มีการปล่อยคาร์บอนฟุตพร้ินท์สู่สภาพแวดล้อมมากที่สุดด้วย การ บารงุ รักษาเคร่ืองปรับอากาศให้สามารถใช้งานได้อย่างเต็มประสิทธิภาพ หรือมีการใช้งานโหมดต่างๆ ได้อยา่ งถูกต้อง จะถือวา่ เปน็ ส่วนสาคญั ในการช่วยประหยดั พลังงานได้ 1.2 วตั ถุประสงค์ของการจัดโครงการ 1) เพ่ือให้เกิดการแบ่งปันแลกเปล่ียนเรียนรู้การจัดการความรู้เก่ียวกับการบารุงรักษา เคร่ืองปรับอากาศ 2) เพ่ือให้บุคลากรของมหาวิทยาลัย ได้รับความรู้เกี่ยวกับการบารุงรักษาเคร่ืองปรับอากาศ และสามารถนาไปประยกุ ตใ์ ช้กับหนว่ ยงานของตนได้อย่างถูกต้อง 3) เพื่อให้บุคลากรของมหาวิทยาลัย สามารถดูแลสภาพแวดล้อมจากการทางานจากระบบ ระบายอากาศท่อี าจส่งผลตอ่ สุขภาพ และเป็นส่วนหน่ึงในการดาเนินงาน Green University Green Office การอนุรักษ์พลังงาน การใช้พลังงานอย่างคุม้ ค่า 1.3 เป้าหมายสู่ความสาเรจ็ เปา้ หมายเชงิ ปริมาณ : คลปิ วดี โี อค่มู อื การบารุงรกั ษาเคร่ืองปรบั อากาศเบ้ืองตน้ เป้าหมายเชงิ คณุ ภาพ : บุคลากรภายในมหาวทิ ยาลัยสามารถนาองคค์ วามรลู้ า้ งบารุงรักษา เครอื่ งปรับอากาศเบ้ืองตน้ ได้ 1.4 เครื่องมอื ที่ใช้ในการประเมินผลการนาความรู้ไปใช้ ลงพ้นื ท่ีติดตามผลการนาองค์ความรู้ พรอ้ มใหค้ าแนะนาเพ่ิมเติมขณะดาเนินงานล้าง บารงุ รักษาเครือ่ งปรับอากาศเบ้อื งต้น 1.5 ประโยชนท์ ไ่ี ดร้ บั 1.5.1 ส่งเสริมให้บุคลากรที่มีความเชี่ยวชาญนาองค์ความรู้มาจัดเก็บเป็นระบบและสามารถ ถา่ ยทอดองคค์ วามรูไ้ ด้ 1.5.2 สง่ เสริมให้บุคลากรภายในมหาวิทยาลัยเป็นส่วนหน่ึงในการช่วยดูแลเคร่ืองปรับอากาศ เบอื้ งต้นได้
6 1.5.3 บุคลากรภายในมหาวิทยาลัยสามารถใช้งานเคร่ืองปรับอากาศได้อย่างถูกต้อง ถูกวิธี และเหมาะสม เพื่อยดื การใช้งานเคร่ืองปรับอากาศ และเครื่องปรับอากาศสามารถทางานได้อย่างเต็ม ประสทิ ธิภาพ 1.6 แผนการดาเนินงาน 1.6.1 แผนการดาเนินงานคณะกรรมการการจดั การความรู้ Cop 3: การบารงุ รกั ษาเครอื่ งปรับอากาศเบ้ืองตน้ ลาดบั กจิ กรรม ระยะเวลา ตัวชวี้ ดั กลุ่มเป้าหมาย ผรู้ ับผิดชอบ นางนิภาเพ็ญ 1 แต่งตัง้ คณะกรรมการจดั การ 3 มี.ค. 63 คาสัง่ ตัวแทนกองใน สนอ. เสาวพันธ์ นางสาวภาณชิ า ความรู้ Cop3 อ่อนท้าว 2 ประชุมคณะกรรมการ Cop 3 10 มี.ค. – Line : Cop 1 คณะกรรมการ คณะกรรมการ Cop3 เพอ่ื เลือกขนั้ ตอนการ 23 เม.ย. 63 Cop3 คณะกรรมการ บารงุ รกั ษาเคร่ืองปรบั อากาศท่ี Cop3 คณะกรรมการ บุคลากรสามารถทาไดด้ ว้ ย Cop3 ตนเอง คณะกรรมการ Cop3 3 ประชุมคณะกรรมการ เพือ่ 24 เม.ย. – รายงานองค์ คณะกรรมการการ รวบรวมแนวปฏิบัติท่ีดี เคล็ด 5 พ.ค. 63 ความรทู้ ไี่ ด้จาก Cop3 ลบั ทด่ี ี เรียบเรียงเป็นข้ันตอนท่ี การคน้ ควา้ จะนามาเขียนเปน็ ลาดบั ถ่ายทอดองคค์ วามรู้ในรูปแบบ คลปิ วีดโี อ เพอ่ื เผยแพร่องค์ ความรู้ท่มี ี 4 จดั ทาคลปิ วีดีโอ คมู่ ือการ 6 พ.ค. - 20 คลปิ วีดโี อ คณะกรรมการการ บารงุ รักษาเคร่อื งปรบั อากาศ ม.ิ ย. 63 เผยแพร่มากกว่า Cop3 และงาน เบอื้ งตน้ เผยแพร่ 2 ชอ่ งทาง ประชาสมั พนั ธ์ 5 จดั อบรมถ่ายทอดความรู้ให้ 26 มิ.ย. 63 รายงานการจดั คณะกรรมการการ บคุ ลากรภายในมหาวิทยาลยั ท่ี โครงการ Cop3 และผูส้ นใจ มคี วามสนใจ และเผยแพร่ ท่ัวไป คลิปวดี โี อ 6 ลงพืน้ ท่ีติดตามผลจากการ 27 มิ.ย. – ภาพถา่ ย คณะกรรมการการ อบรมถา่ ยทอดองคค์ วามรู้ 10 ก.ค. 63 Cop3 พรอ้ มใหค้ าแนะนาเพิ่มเติม เกยี่ วกบั การบารุงรักษา เคร่ืองปรับอากาศ
7 ลาดบั กจิ กรรม ระยะเวลา ตวั ชวี้ ดั กลุ่มเป้าหมาย ผู้รับผดิ ชอบ 7 สังเคราะห์ข้อมลู ในการ 10 – 15 เลม่ รายงาน คณะกรรมการการ คณะกรรมการ ดาเนนิ งานที่ทาใหก้ ลุ่ม ก.ค. 63 บทความ Cop3 Cop3 สามารถดาเนนิ การได้อยา่ ง ประสบความสาเรจ็ สรุป รายงานผลการดาเนินงาน 1.6.2 แผนการดาเนินงานพฒั นาองคค์ วามรู้ Cop 3: การบารงุ รักษาเครอ่ื งปรบั อากาศเบอ้ื งตน้ ท่ี กระบวนการ กจิ กรรม เปา้ หมาย/ตวั ชว้ี ัด ระยะเวลา ผ้รู บั ผดิ ชอบ 1 การบง่ ช้คี วามรู้ ประชมุ คณะกรรมการ - คาสงั่ คณะกรรมการ 1-10 ตวั แทนจาก 1 ชดุ ม.ี ค. 63 กอง สนอ. - แผนการดาเนนิ งาน 2 แผน - องคค์ วามรู้ อย่างน้อย 2 องคค์ วามรู้ 2 การสรา้ งและ - ศึกษาค้นคว้าองคค์ วามรู้ องค์ความร้ใู หม่ 23 เม.ย. – คณะกรรมการ การแสวงหา ความรู้ อย่างน้อย 2 องค์ความรู้ 12 มิ.ย. 63 การ Cop3 3 การจดั การ - นาความรจู้ ากการศกึ ษาค้นคว้า คลิปวีดีโอ 13 – 17 คณะกรรมการ ความรูใ้ หเ้ ปน็ มาเรยี บเรยี ง จดั ใหเ้ ปน็ ระบบ มิ.ย. 63 การ Cop3 ระบบ - รวบรวมขอ้ มูลถอดองค์ความรู้ 4 การประมวลผล คณะกรรมการ Cop 3 ประชมุ นา คูม่ อื การบรหิ ารจดั การ 20 - 25 คณะกรรมการ มิ.ย. 63 การ Cop3 และการ ความรจู้ ดั ตามความเหมาะสม และ สานักงานสเี ขียว กลน่ั กรอง ระบแุ นวปฏิบตั ิท่ีดี เพ่ือจดั ทาคลปิ ความรู้ วดี ีโอ คูม่ ือการบารุงรักษา เครื่องปรับอากาศเบื้องตน้ 5 การเข้าถึง การใชส้ อื่ เพอ่ื เผยแพร่องคค์ วามรู้ การรับรู้ข้อมลู ข่าวสาร 1 – 30 คณะกรรมการ ความรู้ ม.ิ ย. 63 การ Cop3 คู่มอื การบารุงรักษา 1 ช่องทาง เคร่อื งปรับอากาศ
8 ท่ี กระบวนการ กจิ กรรม เป้าหมาย/ตวั ชี้วดั ระยะเวลา ผูร้ บั ผิดชอบ 6 การแลกเปล่ียน จัดอบรม การบารุงรักษา ผู้เขา้ รว่ มการอบรม 15 26 ม.ิ ย. 63 คณะกรรมการ คน การ Cop3 เรยี นรู้ เคร่ืองปรบั อากาศเบ้ืองตน้ 7 การนาความรู้ไป นาองค์ความรทู้ ีผ่ า่ นการคัด ผเู้ ขา้ รว่ มโครงการอบรม 26 - 30 คณะกรรมการ มิ.ย. 63 การ Cop3 ใช้และการ กรอง จัดทาเป็นคู่มือ เพอ่ื นาความรไู้ ปใช้ อย่าง เผยแพร่ ดาเนินการเผยแพร่ใหม้ ีการนา นอ้ ย 2 หนว่ ยงาน ความรไู้ ปใช้อย่างมี ประสทิ ธิภาพ
9 สว่ นที่ 2 กระบวนดาเนินงานการจัดการความรู้ 2.1 การบง่ ช้คี วามรู้ สานักงานอธิการบดี ได้แต่งตั้งคณะกรรมการการจัดการความรู้ และได้ประชุมร่วมกัน เพื่อนาผลการดาเนินงาน ประจาปี 2562 สรุป วิเคราะห์ ผลการดาเนินงาน ปัญหา และอุปสรรคใน การทางานที่มีการคิดหัวข้อองค์ความรู้และให้บุคลากรท่ีมีความสนใจในแต่ละองค์ความรู้ได้เข้าร่วม กิจกรรมแลกเปล่ียนเรยี นรู้ จากการประชมุ โดยพจิ ารณาผลสะท้อนของการดาเนินงานในรอบปีที่ผ่าน มา ได้มีการนาข้อเสนอแนะจากที่ปรึกษา คณะกรรมการตรวจประเมินคุณภาพการศึกษา และจาก ข้อเสนอแนะของคณะกรรมการท่ีได้ร่วมกันทางานในแต่ละองค์ความรู้ หลังจากได้ข้อสรุปถึงปัญหา และอุปสรรคในการทางานแล้ว คณะกรรมการซ่ึงเป็นตัวแทนจากหน่วยงานภายในสานักงาน อธิการบดีได้ร่วมกันวิเคราะห์ถึงองค์ความรู้ เกิดการเรียนรู้ ที่ต้องการให้เกิดข้ึน ประจาปีงบประมาณ 2563 โดยคณะกรรมการได้ให้ความสาคัญและมุ่งเน้นเก่ียวกับองค์ความรู้ท่ีเกี่ยวกับสภาพการทางาน การลด การประหยัด รวมไปจนถงึ คณุ ภาพชีวติ ในการทางานด้วย ซึ่งเป็นหัวข้อที่น่าสนใจและต้องการ ให้มีการแลกเปล่ียนเรียนรู้จนอาจต่อยอดไปจนถึงการเป็นแนวปฏิบัติที่ดีท่ี ทุกหน่วยงานสามารถ นาไปใช้ประโยชน์ได้โดยง่าย โดยได้กาหนดหัวข้อองค์ความรู้ แบ่งออกเป็น 4 Cop ดังนี้ 1) Cop : Green Office 2) Cop : การใช้ภาษาในการสื่อสารเพ่ือส่งเสริมภาพลักษณ์องค์กร 3) Cop : การ บารุงรกั ษาเคร่อื งปรบั อากาศเบ้ืองตน้ 4) Cop : ระบบการจัดเก็บเอกสาร
10 2.2 การสร้างและการแสวงหาความรู้ คณะกรรมการการจัดการความรู้ Cop : การบารุงรักษาเคร่ืองปรับอากาศ คณะกรรมการ กลุม่ น้ี มาจากการรวมกลมุ่ ของบุคลากร งานช่างทั่วไป (งานเครื่องปรับอากาศ) ซ่ึงได้มีการปฏิบัติงาน ด้านน้ีโดยเฉพาะ ภายในกลุ่มของช่างรวมตัวกันมาจากบุคลากรของมหาวิทยาลัยท่ีปฏิบัติงานเดิม เกยี่ วกับงานรักษาความปลอดภยั ดว้ ยนโยบายของมหาวทิ ยาลัย บุคลากรเหล่าน้ีได้แสวงหาความรู้ท้ัง จากส่ืออนิ เตอร์เน็ต จากผู้ที่ทางานมากอ่ น คือ นายสุเมธ จันทร์สุดา พร้อมท้ัง ได้แสวงหาความรู้โดย เข้ารับการฝึกอบรมจากสถาบันพัฒนาฝีมือแรงงานภาค 5 นครราชสีมา และได้มีการแลกเปล่ียน ความรู้แนวปฏิบัติต่างๆ วิเคราะห์ สังเคราะห์องค์ความรู้ต่างๆ ที่ได้จากการปฏิบัติงานของงานช่าง ทว่ั ไป (งานเครือ่ งปรบั อากาศ) เพือ่ จัดทาข้นั ตอนทบ่ี ุคคลท่วั ไปสามารถดาเนินการได้จากประสบการณ์ ทางานของตนเองโดยตรง เรียบเรียง รวมถึงเคล็ดลับต่างๆ ท่ีจะทาให้ง่ายต่อการดูแลบารุงรักษา เคร่ืองปรับอากาศ เตรียมเป็นข้อมูลท่ีจะดาเนินการจัดทาเป็นคลิปวีดีโอ ที่จะใช้ในการเผยแพร่ ให้ บุคคลท่วั ไปทีม่ ีความสนใจ เข้าถงึ ขอ้ มูล และนาไปใช้ประโยชนไ์ ดโ้ ดยงา่ ย
11 3. การจดั การความรใู้ หเ้ ปน็ ระบบ คณะกรรมการการจัดการความรู้ Cop : การบารุงรักษาเครื่องปรับอากาศได้ประชุมเพื่อ ร่วมกันวิเคราะห์ สังเคราะห์ องค์ความรู้ กระบวนการทางาน เคล็ดลับท่ีจะสามารถให้ปฏิบัติงานได้ โดยง่าย สะดวก อุปกรณ์ท่ีสามารถใช้ทาแทนกันได้ รวมไปจนถึง การใช้งานเครื่องปรับอากาศให้มี ความเหมาะสมกับการใช้งาน เพื่อยืดอายุการใช้งานเครื่องปรับอากาศ ประหยัดพลังงาน และ เคร่ืองปรับอากาศสามารถทางานได้อย่างเต็มประสิทธิภาพ มาเขียนเรียบเรียงกระบวนการ ได้ 2 กระบวนการ ได้แก่ 1) การเรียนรู้โหมดการใช้งานของรีโมทเครื่องปรับอากาศท่ีถูกต้องเหมาะสม 2) วธิ กี ารถอดล้างและทาความสะอาดฟลิ เตอรเ์ คร่ืองปรบั อากาศ
12
13
14
15 4. การประมวลผลและการกลัน่ กรองความรู้ หลงั จากคณะกรรมการ Cop : การบารงุ รักษาเครอื่ งปรบั อากาศได้ดาเนินการวิเคราะห์ข้อมูล ให้เป็นภาษาและข้ันตอนท่ีเข้าใจง่ายตามลาดับ ปรับเปล่ียนข้อความ ภาษาให้ส่ือสารได้เข้าใจง่าย จัดเรียงข้อมูลอย่างเป็นระบบเรียบร้อยแล้วน้ัน คณะกรรมการร่วมกับงานประชาสัมพันธ์ ของ มหาวิทยาลัยได้ดาเนินการ อัดเป็นคลิปวีดีโอ คู่มือการบารุงรักษาเครื่องปรับอากาศเบ้ืองต้น โดยมี จุดมุ่งหมายเพ่ือให้บุคคลท่ัวไปสามารถเข้าถึงข้อมูลได้โดยง่าย และเข้าใจการดาเนินการตามขั้นตอน ต่างๆ ได้โดยงา่ ย
16 5. การเขา้ ถงึ ความรู้ หลังจากดาเนินการอัดคลิปวีดีโอการบารุงรักษาเคร่ืองปรับอากาศเบื้องต้น เสร็จเรียบร้อย แล้ว คณะกรรมการได้คานงึ ถึงการเข้าถึงองค์ความรู้ของผู้ท่ีมีความสนใจเก่ียวกับกระบวนการขั้นตอน การทางานนี้ จึงได้นาไปเผยแพร่ใน Face book : โครงการจัดตั้งกองอาคารสถานที่และบริการ เว็ปไซต์ : โครงการจัดต้ังกองอาคารสถานท่ีและบริการ (https://www.nrru.ac.th/public/bgm/) รวมถึงนาคลิปวีดีโอเผยแพร่สาหรับผู้เข้าร่วมโครงการอบรมการบารุงรักษาเครื่องปรับกาอากาศ เบ้ืองตน้ ได้นาไปจัดเก็บและสามารถเขา้ ถึงองคค์ วามรู้ได้โดยงา่ ยและเปิดใชง้ านได้ตลอด 6. การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ คณะกรรมการการจัดการความรู้ Cop : การบารงุ รกั ษาเคร่ืองปรับอากาศเบื้องต้น ได้ประชุม เพ่ือวิเคราะห์ และสังเคราะห์ จากประสบการณ์การทางานในกลุ่มงานช่างเคร่ืองปรับอากาศ จาก ปัญหา ท่ีพบ และสิ่งท่ีสามารถแก้ไขได้แบบง่าย ไม่ยุ่งยาก จนได้มาซึ่งหัวข้อองค์ความรู้เก่ียวกับการ บารงุ รักษาเครอ่ื งปรบั อากาศที่จะสามารถเป็นหัวข้อที่จะทาการเผยแพร่ เพ่ือให้ผู้ที่สนใจ บุคคลท่ัวไป สามารถนาไปปฏิบตั ิเองได้โดยง่ายด้วยตนเอง และเป็นแนวปฏิบัติท่ีมีคุณประโยชน์ต่อสภาพแวดล้อม การทางาน อปุ กรณ์สานักงานประเภทเครื่องปรบั อากาศ โดยมแี นวปฏบิ ตั ิ 2 แนวปฏบิ ตั ิ ดงั นี้ 1. เรียนรู้โหมดการใชง้ านของรีโมทเคร่อื งปรบั อากาศท่ถี ูกต้องเหมาะสม 2. วธิ กี ารถอดล้างและทาความสะอาดฟลิ เตอรเ์ คร่ืองปรับอากาศ เม่ือได้ 2 แนวปฏิบัติที่ดีแล้ว คณะกรรมการได้จัดทาแผนการจัดอบรมเผยแพร่ความรู้แนว ปฏิบัติที่ดีสู่บุคลากรในหน่วยงานของมหาวิทยาลัย โดยได้จัดทาแบบสารวจผู้ที่มีความสนใจเข้าร่วม
17 กิจกรรม การแบ่งปันแลกเปล่ียนเรียนรู้การจัดการความรู้ เรื่อง การบารุงรักษาเคร่ืองปรับอากาศ เบื้องตน้ ในวันศุกร์ที่ 26 มิถุนายน 2563 เวลา 13.00 น. – 16.30 น. ณ ห้องประชุมสานักงานกอง อาคารสถานที่และบริการ ช้ัน 2 อาคาร 37 มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา โดยคุณเทอดศักดิ์ วีระเท่า และทีมงานช่างทั่วไป (เครื่องปรับอากาศ) ดาเนินการเป็นวิทยากรให้ความรู้ เพื่อถ่ายทอด องค์ความรู้ แนวปฏิบัติ เทคนิค ที่ดี สาหรับบุคลากรให้ความสนใจเข้าร่วมกิจกรรม ได้นาองค์ความรู้ กลับไปใช้ประโยชน์ท้ังต่อตนเองและมหาวิทยาลัย การจัดกิจกรรมในครั้งน้ีจานวน 31 คน จาก 12 หน่วยงาน ภายในมหาวิทยาลัย นอกจากน้ี ยังได้มีการเรียบเรียง ขั้นตอนแนวปฏิบัติท่ีดีที่สามารถ นาไปใช้ประโยชน์ทั้งกับเคร่ืองปรับอากาศท่ีทางาน และท่ีบ้าน โดยจัดทาเป็นคลิปวีดีโอ เพ่ือเผยแพร่ อีกด้วย
18 7. การนาความรไู้ ปใชแ้ ละการเผยแพร่ 7.1 การนาความรู้ไปใช้ประโยชน์ หลังจากการจัดกิจกรรม การแบ่งปันแลกเปลี่ยนเรียนรู้การจัดการความรู้ เร่ือง การ บารุงรักษาเคร่ืองปรับอากาศเบื้องต้น แล้ว การคณะกรรมการการจัดการความรู้ Cop ได้ใช้เวลาว่าง จากการทางานประจา ติดตามผลการนาองค์ความรู้ แนวปฏิบัติท่ีได้ให้ความรู้ จากการสอบถาม ติดตามผู้ท่ใี ห้ความสนใจท่ีเป็นกลุ่มเป้าหมายของคณะกรรมการ Cop ที่ต้องการต่อยอด เผยแพร่ องค์ ความรู้ ได้นาไปฝึกใช้ ฝึกปฏิบัติ ผู้เข้าร่วมกิจกรรม ได้แนวปฏิบัติกลับไปใช้ที่ทางาน และท่ีบ้านได้ใน เบ้อื งตน้ 7.2 การเผยแพร่องค์ความรู้ คณะกรรมการได้ดาเนินการประชุมวิเคราะห์สังเคราะห์ข้อมูลการดาเนินงานต่างๆ ท่ีได้จาก การจัดกิจกรรมการจัดการความรู้ การบารุงรักษาเคร่ืองปรับอากาศ เพื่อเขียนเป็นบทความนาเสนอ บทความเผยแพร่องค์ความรู้ ในกิจกรรม การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ NRRU Show & Share 2020 ของ มหาวทิ ยาลัยราชภัฏนครราชสีมา ประจาปีงบประมาณ 2563
19
20 สว่ นท่ี 3 สรุปผลการดาเนนิ งาน 3.1 แนวทางการจัดการความรู้ จากกระบวนการดาเนินงานตามแผนคณะกรรมการ Cop : การบารงุ รกั ษาเครื่องปรับอากาศ ได้นาองคค์ วามรมู้ าประชมุ เพื่อสังเคราะหก์ ระบวนการทางานทท่ี าให้กลมุ่ สามารถประสบความสาเร็จ ในการดาเนินงาน ในรูปแบบของการเขียนบทความเพ่ือให้สามารถเผยแพร่องคค์ วามรู้ไปส่กู ารตอ่ ยอด การดาเนนิ งานท่จี ะเกบ็ กระบวนการทางาน ขน้ั ตอนการทางาน มาจดั การให้เป็นระบบ สามารถเข้าถึง ขอ้ มูลกระบวนการต่างๆ ไดอ้ ยา่ งเข้าใจไดง้ า่ ยและสะดวก ข้นั ที่ 1 “ระดมสมอง” สานักงานอธิการบดี ได้แต่งตั้งคณะกรรมการการจัดการความรู้ และได้ประชุมร่วมกัน เพื่อนาผลการดาเนินงาน ประจาปี 2562 สรุป วิเคราะห์ ผลการดาเนินงาน ปัญหา และอุปสรรคใน การทางานที่มกี ารคิดหวั ข้อองคค์ วามรู้ ขัน้ ท่ี 2 “สรา้ งผ้ปู ฏิบัติ” การดาเนินงานคณะกรรมการได้มีมติเห็นพร้องกัน เกี่ยวกับสร้างผู้ปฏิบัติงานใหม่ในการดูแล รับผิดชอบโดยไม่มุ่งเน้นไปที่ผู้อาวุโส แต่จะมองถึงการมีประสบการณ์ ความรู้ใหม่ หรือการมีความรู้ เบ้ืองต้น เก่ียวกับองค์ความรู้ท่ีจะสร้างขึ้น เพ่ือให้เกิดส่ิงใหม่ๆ ในการเรียนรู้ เพื่อให้สามารถถ่ายทอด ความรู้จากประสบการณ์ จากการค้นหา รวมไปจนถึงการหาผู้เช่ียวชาญ หรือองค์ความรู้ภายนอก เม่ือได้ผู้รับผิดชอบหลักในแต่ละองค์ความรู้ ขั้นตอนต่อไปคือการประชาสัมพันธ์ไปยังหน่วยงานผู้ที่มี ความสนใจที่จะเข้าร่วมแลกเปลี่ยนเรยี นรู้ ร่วมการดาเนนิ งานกิจกรรม ในแตล่ ะ Cop ขั้นที่ 3 “การบรรลผุ ลลัพธ์” คณะกรรมการการจดั การความรู้ Cop : การบารุงรักษาเครื่องปรับอากาศ ได้ประชุมเพื่อวาง แผนการการทางาน ได้มีการกาหนดกระบวนการ กิจกรรม ระยะเวลา เป้าหมาย ตัวช้ีวัด รวมถึงผู้รับผิดชอบในแต่ละ ขั้นตอนการทางาน เพื่อให้สามารถติดตาม ประเมินผลการ ทางานได้อย่างต่อเนื่อง โดยกาหนดเป็น 2 แผนการดาเนินงาน ดงั นี้ 1. แผนการดาเนนิ งาน ประกอบดว้ ย - การแตง่ ตัง้ คณะกรรมการ - การจดั ต้ังกลุม่ Cop
21 - การประชุม - การจดั กจิ กรรมแลกเปล่ยี นเรียนร้/ู อบรม/จัดทาคลปิ วดี ีโอ - การวิเคราะห์ การสงั เคราะห์ การตดิ ตาม 2. แผนการจัดการความรู้ ประกอบดว้ ย - การบง่ ชีค้ วามรู้ - การสรา้ งและการแสวงหาความรู้ - การสอื่ สาร - การจัดการความร้ใู ห้เป็นระบบ/การคดั เลอื กความรู้ - การแลกเปล่ยี นเรียนรู้ - การประมวลผลและการกลั่นกรองความรู้ - การนาความรไู้ ปใช้และการเผยแพร่ ขัน้ ที่ 4 “ต่อยอดเติมเตม็ ” คณะกรรมการการจัดการความรู้ Cop : การบารงุ รักษาเครอ่ื งปรับอากาศเบื้องต้น ได้ประชุม เพื่อวิเคราะห์ และสังเคราะห์ จากประสบการณ์การทางานในกลุ่มงานช่างเครื่องปรับอากาศ จาก ปัญหา ท่ีพบ และส่ิงท่ีสามารถแก้ไขได้แบบง่าย ไม่ยุ่งยาก จนได้มาซ่ึงหัวข้อองค์ความรู้เก่ียวกับการ บารงุ รกั ษาเครอื่ งปรับอากาศที่จะสามารถเป็นหัวข้อที่จะทาการเผยแพร่ เพ่ือให้ผู้ที่สนใจ บุคคลทั่วไป สามารถนาไปปฏิบัติเองได้โดยง่ายด้วยตนเอง และเป็นแนวปฏิบัติท่ีมีคุณประโยชน์ต่อสภาพแวดล้อม การทางาน อุปกรณ์สานกั งานประเภทเครื่องปรับอากาศ โดยมีแนวปฏิบตั ิ 2 แนวปฏบิ ัติ ดังนี้ แนวปฏบิ ตั ทิ ่ีดี 2 แนวปฏิบัติ 1. เรยี นรโู้ หมดการใชง้ านของรีโมทเคร่อื งปรบั อากาศท่ีถูกต้องเหมาะสม 2. วิธกี ารถอดล้างและทาความสะอาดฟลิ เตอร์เครื่องปรับอากาศ ขัน้ ท่ี 5 “ใสใ่ จผลลพั ธ์” หลังจากการจัดกิจกรรม การแบ่งปันแลกเปล่ียนเรียนรู้การจัดการความรู้ เรื่อง การ บารุงรักษาเครื่องปรับอากาศเบ้ืองต้น แล้ว การคณะกรรมการการจัดการความรู้ Cop ได้ใช้เวลาว่าง จากการทางานประจา ติดตามผลการนาองค์ความรู้ แนวปฏิบัติท่ีได้ให้ความรู้ จากการสอบถาม ติดตามผทู้ ่ใี หค้ วามสนใจท่ีเปน็ กล่มุ เปา้ หมายของคณะกรรมการ Cop ที่ต้องการต่อยอด เผยแพร่ องค์ ความรู้ ได้นาไปฝึกใช้ ฝึกปฏิบัติ ผู้เข้าร่วมกิจกรรม ได้แนวปฏิบัติกลับไปใช้ท่ีทางาน และท่ีบ้านได้ใน เบื้องตน้
22 3.2 ปจั จยั และเทคนิคส่คู วามสาเรจ็ (เทคนิค วิธีการ เคล็ดลบั ) คณะกรรมการได้นาหลักการและเครื่องมือต่างๆ มาใช้เป็นแนวทางการทางานให้ประสบ ความสาเร็จหลากหลายกระบวนการ ดงั น้ี 3.2.1 การใช้หลักการ OKR เพือ่ ใหก้ ารดาเนินงานบรรลุเป้าหมายสคู่ วามสาเรจ็ และเกิดประสิทธิผล คณะกรรมการจึงนา นา OKR มาใช้ให้เกิดประโยชน์ โดยการต้ังเป้าหมายท่ีสามารถท้าทายให้ทุกคนอยากบรรลุเป้าหมาย สู่ความสาเร็จได้ มกี ารต้ังเปา้ หมายท่ชี ดั เจน เขา้ ใจได้ และมกี รอบเวลาทช่ี ดั เจน ประเมนิ ผลได้ 3.2.2 การใชห้ ลกั การ PDCA เพื่อให้กระบวนการทางานเป็นไปตามข้ันตอน และมีการดาเนินงานอย่างเป็นระบบ คณะกรรมการได้มีการวางแผนโดยกาหนดเป้าหมายการทางานทุกขั้นตอน เพ่ือให้มีผลลัพธ์ที่ชัดเจน มีการดาเนินการโดยใช้ความรู้ในการลงมือปฏิบัติ เพื่อให้บรรลุตามแผนที่กาหนดไว้ มีการประชุม ตดิ ตามงานอยา่ งตอ่ เน่อื ง เพือ่ ตรวจสอบความกา้ วหนา้ และแก้ไขปญั หา ปรบั เปล่ียนแผนการทางานท่ี มีความเหมาะสมกับเฉพาะหน้าท่ีเกิดขึ้น นอกจากนี้ ในทุกกระบวนการทางานได้มีการรวบรวม เอกสารการทางานจัดทารายงาน เพือ่ นากลบั มาใช้ในการวางแผนการดาเนินงานโครงการต่อไป 3.2.3 การใช้หลักการ KM ในการดาเนินงาน คณะกรรมการได้มีแสวงหาความรู้ มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ในกิจกรรมมี การสร้าง Note ในกลุ่ม Line Application เพ่ือให้สมาชิกสามารถเข้ามาดูข้อมูลย้อนหลัง หรือการ การแลกเปล่ยี นแนวคดิ ในการตงั้ ขอ้ คาถามในใบงาน และแบบสอบถามต่างๆ 3.3 เคล็ดลบั สู่ความสาเร็จ คณะกรรมการดาเนินการ CoP : การบารุงรักษาเคร่ืองปรับอากาศเบ้ืองต้น จากจุดเร่ิมต้น ของการต่อยอดองค์ความร้ขู องงานเคร่อื งปรับอากาศ ในการนาแนวปฏิบัติท่ดี ีเกย่ี วกับการบารุงรักษา เครื่องปรับอากาศเบ้ืองต้น เผยแพร่ และการจัดกิจกรรมรวมกลุ่มเพ่ือแลกเปล่ียนเรียนรู้ในคร้ังน้ี เกิด กระบวนการทางานข้นึ 5 อย่าง ทน่ี าไปสกู่ ารเดนิ ทางของกิจกรรมท่ีเป็นไปในทิศทางเดียวกันของกลุ่ม ดังนี้ 3.3.1 ปัจจยั สคู่ วามสาเร็จ ระดมสมอง การบรรลุ ผลลพั ธ์ สานักงานอธกิ ารบดี ใส่ใจผลลัพธ์ สรา้ งผปู้ ฏิบตั ิ ตอ่ ยอดเติมเต็ม
23 1. ระดมสมอง เปน็ ข้ันตอนท่ถี ือเปน็ สว่ นสาคัญของจุดเริ่มต้นในการทากิจกรรม โดยได้มีการ สรุปผลการดาเนินงานที่ผ่านมา ทบทวน หาปัญหา และแนวทางการทางานเพ่ือให้เกิดการเผยแพร่ องค์ความรู้ทีม่ ีอยู่ในตัวบคุ คล 2. สร้างผู้ปฏิบัติ การสร้างผู้ปฏิบัติสิ่งสาคัญในขั้นตอนนี้ ได้มีการวิเคราะห์แล้วว่านอกจาก คุณวฒุ ิ วัยวฒุ ิ และส่งิ สาคญั ในการมอบหมายงานเพอ่ื ให้การดาเนินงานเป็นไปอย่างเกิดผลคือ อาจจะ ไม่เกยี่ วกบั คณุ วฒุ ิ หรอื วัยวุฒิ แตอ่ าจจะหมายถงึ ประสบการณใ์ นการทางาน กลุ่มคนที่มีความชานาญ ในงานน้นั ร่วมกันทางาน 3. การบรรลุผลลัพธ์ การที่จะได้มาซึ่งผลลัพธ์ที่เกิดผล ข้ันตอนน้ีเป็นสิ่งสาคัญ คือ การ วางแผนการทางานร่วมกัน กาหนดเป้าหมาย ตัวช้ีวัด ระยะเวลา ผู้รับผิดชอบ ให้มีความเหมาะสม มี การประชมุ เพอ่ื ปรับแผนการทางานอย่างสม่าเสมอ ในช่วงเวลาการดาเนินกิจกรรมในครั้งน้ี เป็นช่วง สถานการณ์ปดิ สถานท่รี าชการ เพือ่ ป้องกันการแพรร่ ะบาดของเชือ้ ไวรัสโคโรน่า กล่มุ ผู้ดาเนินกิจกรรม ได้มีการพูดคุยผ่าน Line App เพ่ือขยับ ขยาย ปรับเปลี่ยนแนวทาง วิธีการทางาน ให้มีความ เหมาะสม และตอ้ งเปน็ ไปตามระยะเวลาท่กี าหนด 4. ต่อยอดเติมเต็ม ข้ันตอนนี้ถือว่าเป็น ข้ั น ต อ น ที่ ก ลุ่ ม ง า น เ ค รื่ อ ง ป รั บ อ า ก า ศ ต้ อ ง ก า ร เผยแพร่องค์ความรู้ แนวปฏิบัติท่ีดี เกร็ดความรู้ เล็กๆ ลงสบู่ คุ ลากรทมี่ คี วามสนใจ จะได้สามารถนา ความรไู้ ปใช้ในสานกั งาน หอ้ งเรียน ห้องปฏิบัติการ รวมถึงที่บ้าน เพ่ือให้บุคลากรได้เป็นส่วนหนึ่ง หรือ มีสว่ นรว่ มในการดูแลสภาพแวดล้อมการทางาน บรรยากาศท่ีปลอดภัยจากเช้ือโรค และการดูแลวัสดุ อปุ กรณไ์ ปดว้ ยกัน 5. ใส่ใจผลลัพธ์ การติดตามการให้ความรู้ถือว่าเป็นส่วนสาคัญ เน่ืองจากอย่างน้อยเพ่ือกลุ่ม งานเครื่องปรับอากาศจะได้ทราบว่าความรู้ท่ไี ดน้ าเสนอ หรือสร้างเป็นองคค์ วามรู้ท่ีเป็นคลิปวีดีโอแบบ สนั้ ๆ น้ัน ผู้เข้าร่วมกิจกรรมสามารถนาไปใช้ได้มากน้อยแค่ไหน จึงได้มีการสอบถาม และขอเข้าดูการ ทดลองทาในหน่วยงาน ใช้เครื่องมือติดตามแบบโดยตรง กลุ่มงานเครื่องปรับอากาศเห็นควรว่าน่าจะ เหมาะสมกบั กลมุ่ งานตนเองมากทส่ี ดุ และในขณะการทดลองทา กลุ่มงานได้ใหค้ าแนะนาเพ่ิมเติมดว้ ย
24 3.3.2 เทคนิค วธิ กี าร เคลด็ ลบั 1. องค์ความรู้จากตัวบุคคล ประสบการณ์การทางาน การแก้ไขปัญหาต่างๆ ที่เจอระหว่าง การปฏบิ ตั งิ านเกย่ี วกับเครื่องปรบั อากาศ หาความรู้ภายนอกจากการฝึกอบรม สามารถนาองค์ความรู้ ท่ไี ดม้ าเรียบเรียง ลาดับขั้นตอน และสามารถจัดทาเป็นคลิปวดี ีโอแบบงา่ ยเผยแพร่ส่ผู ูท้ ่มี คี วามสนใจ 2. สานักงานอธิการบดี ได้เล็งเห็นความสาคัญ ในการให้โอกาสในการนาองค์ความรู้ที่เป็น ประโยชน์ต่อองคก์ รมุ่งเน้นให้เกิดการนาความรู้ไปใช้ เกิดการแบง่ ปนั เพอ่ื ใหเ้ กดิ การเรียนรู้
25 ภาคผนวก
26
27
28
29
30
31
32
33
34
35
36
37
38
39 เคลด็ ลับสู่ความสาเรจ็ ระดมสมอง การบรรลุ ผลลพั ธ์ สานักงานอธิการบดี ใสใ่ จผลลัพธ์ สรา้ งผูป้ ฏิบตั ิ ตอ่ ยอดเติมเตม็
Search
Read the Text Version
- 1 - 39
Pages: