บทที่ 1 สอนคร้งั ท่ี 1ชือ่ วชิ า พฤกษศาสตร์ ชัว่ โมงรวม 72ชื่อบท กายวิภาคศาสตร์ จานวนช่ัวโมง 2หัวขอ้ เรอ่ื ง 1. ความสาคัญของพฤกษศาสตร์ 2. การจาแนกสาขาต่าง ๆ ของพฤกษศาสตร์สาระสาคญั พฤกษศาสตร์ (Botany) เปน็ สาขาวิชาหนง่ึ ของชีววิทยาซึ่งศึกษาเกีย่ วกับเรื่องราวของพืชในดา้ นโครงสรา้ ง สว่ นประกอบหน้าทีข่ องเซลล์ ราก ลาต้น ใบ ดอก ผล และเมล็ด ตลอดท้งั ศึกษาถงึ กระบวนการตา่ ง ๆ เพอื่ การดารงชพี ของพืช ไดแ้ ก่ การหายใจ การสงั เคราะหแ์ สง การลาเลียงน้า แร่ธาตุ และอาหารการเจริญเติบโต การจัดหมวดหมู่พืช วิวฒั นาการ รวมทง้ั ความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งพืชและสง่ิ แวดลอ้ มสมรรถนะการเรียนรู้ 1. นกั เรยี นสามารถอธบิ ายความสาคัญทางพฤกษศาสตร์ไดถ้ กู ตอ้ ง 2. นกั เรียนสามารถจาแนกสาขาพฤกษศาสตร์ได้ถกู ต้องเน้อื หาสาระ ความสาคัญของพฤกษศาสตร์ ในชีวิตประจาวันของมนุษย์มีการเกยี่ วขอ้ งกบั พชื ตลอดเวลาทง้ั ทางตรงและทางอ้อมมาตั้งแต่สมัยโบราณ มนุษยไ์ ดอ้ าศัยพชื เปน็ ฐานในการดารงชีพ ด้านอาหาร ท่อี ยู่อาศัย เครอื่ งนุง่ ห่ม และใช้เป็นยารกั ษาโรค ในการศกึ ษาทางพฤกษศาสตร์ ผเู้ รยี นควรได้เรียนรู้จากการปฏิบตั ิ อนั หมายถงึ ศึกษาพืชพรรณทพ่ี บท่วั ไปในทกุ หนทุกแหง่ โดยเรยี นรู้ไปกับธรรมชาติแทนการศกึ ษาเฉพาะในหอ้ งเรียนหรอื การทอ่ งจา เมื่อพบพืชพรรณหรอื ผลติ ผลจากพชื ก็ใหน้ ึกพิจารณาเชือ่ มโยงถงึ หอ้ งเรียนและความสมั พันธ์ตา่ ง ๆ ของพชื นั้นในทุก ๆดา้ นจะช่วยทาให้เขา้ ใจพฤกษศาสตร์ได้ดยี ิง่ ขน้ึ เมื่อพิจารณาถงึ ประโยชน์ทีเ่ ราไดร้ ับจากพืช จะเห็นไดว้ า่ พชื เปน็ ผ้ผู ลิตเบอ้ื งต้นทส่ี าคญั ในกระบวนการสังเคราะหแ์ สง พืชเปล่ยี นสารอนินทรีย์คือคารบ์ อนไดออกไซด์กบั นา้ โดยอาศยั พลังงานแสงไปเป็นสารอนิ ทรีย์คือน้าตาลหรอื แปง้ ซึง่ เป็นประโยชน์ตอ่ มนุษย์และสตั ว์ท่ัวไป พืชหลายชนิดเชน่ ขา้ ว ขา้ วโพด ขา้ วสาลีธญั พืชต่าง ๆ และถั่ว ฯลฯ เป็นอาหารหลักเพอ่ื เลีย้ งประชากรโลก พชื เส้นใยต่าง ๆ ใหป้ ระโยชน์ในการนามาใชเ้ ป็นเครือ่ งนุ่งหม่ วัสดตุ ่าง ๆ ที่ใช้ในการกอ่ สร้างอาคารบา้ นเรือน เครอ่ื งเรือน เคร่อื งใช้ เชอื้ เพลงิถา่ น ฟนื รวมท้งั ก๊าซและนา้ มันเปน็ ผลติ ผลที่ไดจากพืช นอกจากน้ียารักษาโรค ยาปฏิชีวนะ และสมนไุ พรต่าง ๆ หลายอย่างไดม้ าจากพืชทัง้ สนิ้ พืชเป็นสว่ นหน่งึ ของสิง่ แวดล้อมทส่ี าคัญของมนษุ ย์และสตั ว์ พชื ช่วยลดปญั หามลภาวะอากาศเปน็ พิษนา้ เสีย ลดปริมาณคารบ์ อนไดออกไซด์ และเพิม่ ออกซเิ จนใหแ้ กอ่ ากาศ ทาใหเ้ กดิ การหมุนเวยี นของแรธ่ าตุอาหาร นา้ ช่วยเพ่ิมความอุดมสมบูรณ์ให้แกด่ ิน รกั ษาความชุ่มชน้ื ลดปัญหาความแหง้ แล้งตลอดท้ังป้องกันน้าท่วมและพงั ทลายของดนิ ซงึ่ กอ่ ใหเ้ กดิ ความอดุ มสมบรู ณ์ต่อมวลมนุษยแ์ ละสตั วท์ วั่ ไปสาขาตา่ ง ๆ ของพฤกษศาสตร์ ปจั จุบนั พฤกษศาสตรไ์ ด้มีการศึกษาอย่างกว้างขวาง สามารถจาแนกเป็นสาขาย่อยได้หลายสาขาคอื
1. สัณฐานวิทยาของพืช ( Plant Morphology) เป็นวิชาท่ศี ึกษาเกย่ี วกบั รูปร่าง ลกั ษณะและโครงสรา้ งภายนอกของพืชของพืชตลอดจนวงชีพของพืช 2. อนุกรมวธิ านวทิ ยา ( Plant Taxonomy ) เปน็ การศึกษาเกยี่ วกับการจัดจาแนกพืช 3. กายวภิ าคศาสตร์ของพืช (Plant Anatomy ) เปน็ การศกึ ษาเกย่ี วกบั ลกั ษณะโครงสรา้ งภายในของพชื 4. สรีรวิทยาของพชื (Plant Physiology ) เป็นการศกึ ษากระบวนการดารงชีพ กิจกรรมและการเปล่ยี นแปลงทางชวี เคมีของพชื 5. นิเวศวิทยาของพชื ( Plant Ecology ) เปน็ การศกึ ษาความสัมพนั ธร์ ะหว่างพชื และสง่ิ แวดล้อม 6. สาหรา่ ยวิทยา ( Phycology ) เป็นการศึกษาเก่ียวกับเรอื่ งราวของสาหร่าย 7. พืชเศรษฐกจิ ( Economic Botany ) เป็นการศกึ ษาเก่ียวกับพืชทมี่ คี วามสาคัญทางด้านเศรษฐกจิและการนาไปใชป้ ระโยชน์ 8. พันธุศาสตรข์ องพืช ( Plant Genetics) เปน็ การศึกษาเก่ยี วกับการถ่ายทอด ลักษณะพันธกุ รรมการแปรผนั และการผสมพันธพ์ุ ืช นอกจากนี้พฤกษศาสตรย์ ังมแี ขนงยอ่ ยอีกมาก ซึง่ อาจเรยี กชื่อตามรายละเอียดของสงิ่ ที่ศกึ ษานนั้ ๆลกั ษณะสาคญั ของพืช พชื เปน็ ส่ิงที่มีชวี ิตที่มีลกั ษณะสาคญั ดังตอ่ ไปนี้ 1. การเจรญิ เตบิ โตและการสบื พนั ธุ์ พืชมกี ารเจริญเติบโตและโครงสร้างทม่ี ีขนาดเล็ก มเี น้ือเยือ้ เจริญที่สามารถแบ่งตัวขยายขนาดและพฒั นาไปเป็นเนอ้ื เย่อื ถาวรและอวยั วะต่าง ๆ มกี ารสบื พนั ธุ์ทง้ั แบบอาศยั เพศและแบบไมอ่ าศัยเพศ 2. การตอบสนองต่อส่งิ เร้า ไดแ้ ก่การเจริญเข้าหาแสงของส่วนยอด การหนแี สงของส่วนรากหรอื การหุบของใบไมยราพเป็นตน้ 3. ความสามารถในการเคลือ่ นไหว พชื ชัน้ ตา่ เชน่ สาหรา่ ยหลายชนิดสามารถเคลื่อนไหวได้เองในขณะทีพ่ ืชชนั้ สงู มรี ากติดกบั ดิน ไม่สามารถเคลื่อนทีไ่ ดแ้ บบสัตว์หรอื สาหร่าย 4. ด้านโภชนาการ พชื สีเขยี วสร้างอาหารเองไดจ้ ากสารอนินทรีย์ คือ คาร์บอนไดออกไซด์ กบั น้าอาศัยพลงั งานแสงเปล่ยี นเป็นอนิ ทรยี ์สารคือคารโ์ บไฮเดตรใชใ้ นการเจริญเติบโตส่วนสัตว์ไมส่ ามารถสรา้ งอาหารเองได้ 5. การขับถา่ ยของเสยี พืชมีการขับถ่ายของเสยี ในรปู กา๊ ซและไอนา้ ออกสูบ่ รรยากาศทางปากใบและสว่ นอน่ื ๆ ของพืช ในขณะทส่ี ัตวม์ กี ารขบั ถ่ายกากอาหารได้ 6. ดา้ นเมแทบอบซิ มึ พชื มีการหายใจเพื่อสร้างพลงั งานไปใชใ้ นกิจกรรมตา่ ง ๆ เชน่ เดยี วกบั สัตว์ นอกจากน้ีพชื มผี นงั เซลลป์ ระกอบด้วยสารพวกเซลลูโลส เฮมิเซลลูโลส และแพคทิน ทาใหม้ รี ูปทรงที่แข็งแรง ลอ้ มรอบเยือ่ ห้มุ เซลลอ์ กี ช้ันหนึง่
Search
Read the Text Version
- 1 - 2
Pages: