Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore best

best

Published by 030 Danusorn Werapisankul, 2021-09-29 13:03:30

Description: best

Search

Read the Text Version

สรุปวิชาการจัดการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ ระดับมัธยม • น า ย ด นุ ส ร ณ์ วี ร ะ พิ ศ า ล กุ ล •

ทฤษฎีพัฒนาการ ซิกมันด์ ฟรอยด์ สัญชาติญาณเพื่อการดำรงชีวิต 5 ขั้น 1.ขึ้นปาก (0-18 เดือน): ดูดนมแม่ดูดนิ้ว 2.ขั้นทวารหนัก (18 เดือน - 3 ปี) : เด็กอาจบัดใจเนื่อง พ่อแม่ต้องฝึกให้ขับถ่ายใส่กระโถน 3.ขั้นอวัยวะเพศ (3-5 ปี): ผู้ชายมีปมเอ็ดดิปุส ผู้หญิง มีปมอิเล็คตรา 4.ปั้ นแฝง (6-12 ปี) : แบ่งกลุ่มเล่นตามเพศ 5.ขั้นสนใจเพศตรงบ้าม (12 ปีขึ้นไป): ระบะเริ่มต้นของ วัยผู้ใหญ่

อิ ริ ค สั นทฤษฎีพัฒนาการ สั ง ค ม วั ฒ น ธ ร ร ม แ ล ะ สิ่ ง แ ว ด ล้ อ ม มี ผ ล ต่ อ ก า ร พั ฒ น า บุ ค ลิ ก ภ า พ ข อ ง คน พั ฒ น า ก า ร ท า ง บุ ค ลิ ก ภ า ค 8 ขั้ น 1 . ไ ว้ ว า ง ใ จ - ไ ม่ ไ ว้ ว า ง ใ จ ( 0 - 1 ปี ) : ต้ อ ง ไ ด้ รั บ ก า ร เ อ า ใ จ ใ ส่ อ ย่ า ง เ ห ม า ะ ส ม ทำ ใ ห้ รู้ สึ ก ป ล อ ด ภั ย 2 . ค ว า ม เ ป็ น ตั ว เ อ ง - ค ว า ม ไ ม่ แ น่ ใ จ ใ น ตั ว เ อ ง ( 2 - 3 ปี ) : ค ร อ บ ค รั ว ต้ อ ง ทำ ใ ห้ เ ด็ ก ก ล้ า ที่ จ ะ เ รี ย น รู้ แ ล ะ ทำ สิ่ ง นั้ น ๆ 3 . คิ ด ริ เ ริ่ ม - รู้ สึ ก ผิ ด ( 4 - 5 ปี ) : ถ้ า ไ ด้ รั บ ก า ร สิ่ ง เ ส ริ ม เ ด็ ก จ ะ ก ล้ า แ ส ด ง อ อ ก แ ต่ เ มื่ อ ถู ก ตำ ห นิ เ ด็ ก จ ะ ไ ม่ ก ล้ า ทำ อ ะ ไ ร ด้ ว ย ต น เ อ ง 4 . ต้ อ ง ก า ร ที่ จ ะ ทำ กิ จ ก ร ร ม - รู้ สึ ก ด้ อ ย ค่ า ( 6 - 1 1 ปี ) : เ มื่ อ ไ ด้ รั บ ก า i ย อ ม รั บ ใ น ผ ล ง า น เ ด็ ก จ ะ เ ชื่ อ นั้ น ใ น ต น เ อ ง แ ต่ ถ้ า ไ ม่ ไ ด้ รั บ ก า ร ย อ ม รั บ เ ข า จ ะ รู้ สึ ก ว่ า ต น เ อ ง ด้ อ ย ค่ า 5 . ก า ร รู้ จั ก ต น เ อ ง - ไ ม่ รู้ จั ก ต น เ อ ง ( 1 2 - 1 8 ปี ) : เ ด็ ก จ ะ เ รี ย น รู้ ต น เ อ ง แ ล ะ ต้ อ ง ป รั บ ตั ว ใ ห้ ไ ด้ ถ้ า ทำ ไ ม่ ไ ด้ แ ส ด ง ว่ า ค้ น ห า ต น เ อ ง ไ ม่ เ จ อ แ ล ะ รู้ สึ ก สั บ ส น

อิ ริ ค สั นทฤษฎีพัฒนาการ 6 . ใ ก ล้ ชิ ด ผู ก พั น - อ้ า ง ว้ า ง ตั ว ค น เ ดี ย ว ( 2 0 - 3 5 ปี ) : มี ก า ร ส ร้ า ง ค ว า ม สั ม พั น ธ์ รู้ สึ ก มั่ น ค ง ถ้ า ทำ ไ ม่ ไ ด้ จ ะ รู้ สิ ก โ ด ด เ ดี่ ย ว 7 . เ ป็ น ห่ ว ง ค น รุ่ น ห ลั ง - คิ ด ถึ ง แ ต่ ต น เ อ ง ( 3 6 - 4 5 ปี ) : วั ย นี้ พ ร้ อ ม มี บุ ต ร มี ค ร อ บ ค รั ว แ ล ะ ค ว า ม มั่ น ค ง แ ต่ ถ้ า ไ ม่ ป ร ะ ส บ ค ว า ม สำ เ ร็ จ ก็ จ ะ คิ ด ถึ ง แ ต่ ต น เ อ ง ไ ม่ ส น ใ จ ผู้ อื่ น 8 . พ อ ใ จ ใ น ต น เ อ ง - สิ้ น ห วั ง แ ล ะ ไ ม่ พ อ ใ จ ใ น ต น เ อ ง ( 4 5 ปี ขึ้ น ไ ป ) : เ รี ย ก วั ย นี้ ว่ า วั ย ช ร า จ ะ ย อ ม รั บ ใ น ชี วิ ต ที่ ผ่ า น ม า แ ล ะ ค อ ย ม อ บ ค ว า ม รั ก ใ ห้ แ ก่ ลู ก ห ล า น แ ต่ ถ้ า ไ ม่ ป ร ะ ส บ ผ ล สำ เ ร็ จ จ ะ รู้ สึ ก สิ้ น ห วั ง แ ล ะ ชี วิ ต ล้ ม เ ห ล ว

ท ฤ ษ ฎี พั ฒ น า ก า ร ฌอง เพียเจต์ พัฒนาการทางความคิด ขึ้นอยู่กับพันธุกรรมและสิ่งแวดล้อม ขั้นที่ 1 การใช้ประสาทสัมผัสและกล้ามเนื้ อ (แรกเกิด - 2 ปี) : เน้นการเคลื่ อนไหวร่างกายเป็นส่วนใหญ่ การรับรู้ ชอบเลียนแบบ ขั้นที่ 2 เตรียมความคิดที่มีเหตุผล หรือคิดก่อนทำ (2 - 7 ปี) : เน้นไปที่การเรียนรู้ การพูดเป็นประโยค สร้างสรรค์คำได้มากขึ้น + ขั้นก่อนเกิดสังกัป : รู้จักการใช้เหตุผล เรียนรู้ภาษาได้เร็ว + ขั้นคิดแบบญาณหยั่งรู้ : นิกออกโดยไม่ต้องใช้เหตุผล คิดรวบ ยอดและแก้ปัญหาเฉพาะหน้าได้ ขั้นที่ 3 คิดอย่างมีเหตุผลและเป็นรูปธรรม (7 - 11 ปี) : ตัดสินใจแก้ปัญหาได้ดีมากขึ้น มีจินตนาการ ขั้นที่ 4 คิดอย่างมีเหตุผลและเป็นนามธรรม (12 ปีขึ้นไป) : คิดแบบเป็นผู้ใหญ่ เข้าใจสิ่งรอบตัว คิดเป็นระบบ

ทฤษฎี พัฒนาการ ลอเรนซ์ โคลเบิร์ก พัฒนาการทางจริบธรรมจะเป็ไปตามลำดั บขั้น ไม่มีการบ้าม ขั้ น ระดั บของกฎเกณฑ์ (2 -10 ปี) ขั้นที่ 1 ยึดหลั กการหลบหลี ก การลงโทษ (2 - 7 ปี) ขั้นที่ 2 ยึดหลั กการแสวงหารางวัลที่ เป็นวัตถุ สิ่งของ (7 - 10 ปี) ระดั บตามเกณฑ์ และประเพณี นิยม (10 - 16 ปี) ขั้นที่ 3 ยึดหลั กการทำตามที่ ผู้อื่ นเห็ นชอบ (10 - 12 ปี) ขั้นที่ 4 ยึดการทำตามหน้าที่ ของสังคม เคารพกฎหมาย (13 - 16 ปี) ระดั บมีจริยธรรมของตนเอง (16 ปีขึ้นไป) ขั้นที่ 5 บิดหลั กการควบคุมโดยการทำตามสัญญา (16 ปี - วัยผู้ใหญ่) ขั้นที่ 6 ยืดหลั กอุ ดพคติ สากล (วัยผู้ใหญ่ขึ้นไป)

วิจัย ประเภทของการวิจัยแบ่งตามระเบียบการวิจัย9 1.1 การวิจัยเชิงประวัติศาสตร์ (Historical Research) เป็นการวิจัยเพื่อค้นหาความรู้ความจริงจากเรื่องราวในอดีต 1.2 การวิจัยเชิงบรรยาย ( Descriptive Research) เป็นการวิจัยเพื่อค้นหาความรู้ ความจริง ในสภาพปัจจุบัน เช่น การสำรวจความคิดเห็น 1.3 การวิจัยเชิงทดลอง ( Experimental Research) เป็นการวิจัยเพื่อค้นหาความรู้ความจริงเฉพาะตัวแปร เพื่อทราบว่า ตัวแปรใดเป็นสาเหตุที่ทำให้เกิดผล ผลที่ได้เกิดจากตัวแปรที่ศึกษา หรือไม่

วิจัย ส่วนประกอบของงานวิจัย ส่วนนำ คือ ส่วนประกอบตอนต้นของวิทยานิพนธ์ ภาคนิพนธ์ เพื่อแสดงข้อมูล เบื้องต้น เกี่ยวกับวิทยานิพนธ์ ภาคนิพนธ์ ดังนี้ 1. ปกนอก ( Cover ) ประกอบด้วยปกหน้า สันปก และปกหลัง 2. ใบรองปก ( Fly leaf ) เป็นกระดาษชนิดเดียวกับกระดาษที่ใช้พิมพ์ วิทยานิพนธ์ ภาคนิพนธ์ ต้องรองทั้งปกหน้าและปกหลังด้านละหนึ่งแผ่น 3. หน้าปกใน ( Title page ) มีข้อความเหมือนปกนอก 4. หน้าอนุมัติ ( Approval page ) จัดไว้เพื่อเป็นเอกสารรับรองว่าวิทยานิพนธ์ ภาคนิพนธ์ ได้ ผ่านการพิจารณาของคณะกรรมการที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์และคณะกรรมการ สอบวิทยานิพนธ์ ภาคนิพนธ์ และได้รับการอนุมัติจากสถาบันแล้ว 5. บทคัดย่อภาษาไทย ( Abstract in Thai ) เป็นข้อความสรุปผลการวิจัย ภาคภาษาไทยที่ ช่วยให้ผู้อ่านทราบถึงเนื้อหาของวิทยานิพนธ์ ภาคนิพนธ์อย่างรวดเร็ว 6. บทคัดย่อภาษาอังกฤษ ( Abstract in English ) คือ ข้อความสรุปผลการ วิจัยเหมือน บทคัดย่อภาษาไทยทุกประการ เพียงแต่ถอดความเป็นภาษาอังกฤษ 7. กิตติกรรมประกาศ ( Acknowledgements ) คือ ข้อความที่ผู้เขียนแสดง ความขอบคุณต่อ ผู้ให้ความช่วยเหลือและให้ความร่วมมือในการศึกษาค้นคว้า เพื่อทำ วิทยานิพนธ์ ภาคนิพนธ์ อัน แสดงถึงจรรยาบรรณทางวิชาการที่ผู้วิจัยพึงถือปฏิบัติ 8. สารบัญ ( Table of contents ) คือ รายการแสดงส่วนประกอบทั้งหมด ของวิทยานิพนธ์ ภาคนิพนธ์ เรียงตามลำดับเลขหน้า 9. สารบัญอื่นๆ (ถ้ามี) เช่น สารบัญตาราง สารบัญภาพหรือสารบัญแผนภูมิ คือ ส่วนที่บอกเลข หน้าของตาราง ภาพ หรือแผนภูมิ

วิจัย ส่วนประกอบของงานวิจัย เนื้อเรื่องของวิทยานิพนธ์ ภาคนิพนธ์ โดยทั่วไปที่นิยมกันอย่างแพร่หลายประกอบ ด้วยบท ต่าง ๆ 5 บท คือ บทที่ 1 บทนำ บทที่ 2 วรรณกรรมที่เกี่ยวข้อง บทที่ 3 วิธีดำเนินการวิจัย บทที่ 4 ผลการวิเคราะห์ข้อมูล บทที่ 5 สรุปผลการวิจัย อภิปรายผล และข้อเสนอแนะ สำหรับงานวิจัยหรือวิทยานิพนธ์ ที่เป็นการวิจัยจากเอกสาร หรือการวิจัย หรือการนิพนธ์ใน ลักษณะอื่นที่ไม่สามารถจัดเป็นห้าบทได้ อาจมีการแบ่งบทแตกต่างไปจากที่นำเสนอไว้นี้

รูปแบบการจัดการ เรียนรู้แบบสืบเสาะ 1.ขั้นสร้าง 4.ขั้นขยายความรู้ ความสนใจ 2.ขั้นสำรวจและ ค้นหา 3.ขั้นอธิบาย 5.ขั้นประเมิน และลงข้อสรุป

ฉบับที่ 1204 I WILL KEEP THE STORIES THAT YOU INSPIRE IN MY MEMORIES


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook