Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ปกรายงาน5-6กลุ่ม4

ปกรายงาน5-6กลุ่ม4

Published by Siraphop Busuwa, 2020-10-16 14:04:02

Description: ปกรายงาน5-6กลุ่ม4

Search

Read the Text Version

1 รายงาน วิชาวิทยาการคานวณ รหัส ว30118 จดั ทาโดย 1.นาย สิรภพ บุสุวะ เลขท่ี 35 2.นาย คชภัค องั คณาวจิ ติ ร เลขท่ี 37 3.นาย พพิ ัฒน์มงคล หอมจนั ทร์ เลขท่ี 42 ช้ันมัธยมศึกษาปี ท่ี5/6 เสนอ ครูจริ ายุ ทองดี รายงานเล่มน้เี ป็ นส่วนหน่ึงของรายวชิ าวิทยาการคานวณ รหสั ว30118 โรงเรียนนวมินทราชินทู ิศ เตรียมอดุ มศึกษาน้อมเกล้า ภาคเรียนที่ 1 ปี การศึกษา 2562 สังกดั กระทรวงศึกษาธกิ าร

2 คานา รายงานฉบบั น้เี ป็นส่วนหน่งึ ของรายวิชาวทิ ยาการคานวณรหัส ว30118 ช้นั มธั ยมศึกษาปีท่ี 5 โดยมีจดุ ประสงค์เพ่อื ศึกษาเกีย่ วกับหลกั การเขียนโปรแกรม ขน้ั ตอนการเขียนโปรแกรม โครงสร้างภาษาคอมพิวเตอร์ กระบวนการเขยี นโปรแกรม ในการจดั ทารายงานประกอบสื่อการเรียนรูใ้ นคร้ังน้ี ผูจ้ ดั ทาขอขอบคณุ ครูจิรายุ ทองดี ผูใ้ หค้ วามรู้ และแนวทางการศกึ ษา และเพ่อื นๆ ท่ใี ห้ความช่วยเหลือมาโดยตลอด คณะผูจ้ ดั ทาหวงั เป็นอยา่ งย่ิงวา่ รายงานฉบบั น้จี ะอานวยประโยชน์ต่อผูท้ สี่ นใจและศึกษาเน้อื หาเพมิ่ เตมิ และพฒั นาศกั ยภาพ และบรรลุตามเปา้ หมาย นาย สิรภพ บสุ ุวะ ผ้จู ดั ทำ

สารบญั 3 เรื่อง หน้า คานา 2 สารบญั 3 1. วทิ ยาการคอมพิวเตอร์ 4 2. กระบวนการเทคโนโลยี 6 3. พืน้ ฐานของภาษาซี 16 4.เทคโนโลยีประยกุ ต์ 17 5.บรรณานกุ รม 24 6.ภาคผนวก 25

4 วทิ ยาการคอมพิวเตอร์ วิทยาการคอมพวิ เตอร์(Computer Science )เป็นศาสตรเ์ กย่ี วกบั การศกึ ษาคน้ ควา้ ทฤษฎีการคานวณสาหรบั คอมพวิ เตอร์และทฤษฎีการ ประมวลผลสารสนเทศท้งั ด้านซอฟต์แวร์ฮาร์ดแวร์และเครือข่ายซ่งึ วทิ ยาการคอมพิวเตอร์น้ั นประกอบดว้ ยหลายหวั ขอ้ ทเ่ี กย่ี วขอ้ งกับคอมพิวเตอรต์ ้งั แต่ระดบั นามธรรมหรือความคดิ เชิ งทฤษฎเี ช่นการวิเคราะหแ์ ละสงั เคราะหข์ น้ั ตอนวิธีไปจนถึงระดับรูปธรรม Internet of Things (IoT) หมายถงึ การท่ีอปุ กรณ์ตา่ งๆ สิ่งต่างๆ ไดถ้ กู เช่ือมโยงทุกส่ิงทุกอยา่ งสู่โลกอินเตอร์เน็ต ทาให้มนุษยส์ ามารถสงั่ การควบคุมการใช้งานอปุ กรณต์ ่างๆ ผ่านทางเครือข่ายอนิ เตอร์เน็ต เชน่ การเปิด-ปิด อุปกรณ์เคร่ืองใชไ้ ฟฟ้า

5 Articficial Intelligence (AI)AI : Artificial Intelligence หรือปัญญาประดษิ ฐเ์ ป็นศาสตรแ์ ขนงหน่งึ ของวทิ ยาศาสตร์ คอมพิวเตอร์ ที่เกย่ี วขอ้ งกับวธิ กี ารทาให้คอมพวิ เตอรม์ คี วามสามารถคล้ายมนษุ ย์หรือเลียน แบบพฤติกรรมมนษุ ย์ โดยเฉพาะความสามารถในการคิดเองได้ หรือมีปัญญานัน่ เอง ปัญญาน้มี นุษยเ์ ป็นผูส้ รา้ งใหค้ อมพวิ เตอร์ จงึ เรียกว่าปัญญาประดษิ ฐ์ Clond Computing ระบบเก็บขอ้ มูลทีน่ าเอาขอ้ มลู ท้งั หมดข้ึนไปเกบ็ ไวบ้ นระบบอินเทอรเ์ นต็ หรือเรียกงา่ ยๆว่าเกบ็ ขอ้ มูลไวบ้ นอากาศ ที่สามารถเรียกออกมาใชง้ านได้ตลอดเวลาท่เี ราต้องการ โดยอาศยั การใชง้ านผา่ น Browser และระบบอินเทอร์เน็ต โดยมผี ูเ้ ชี่ยวชาญคอยดแู ล และบริหารจดั การแทนผูป้ ระกอบการทุกอย่าง ซ่งึ ส่งผลดีต่อนายจ้างในด้านการจ้างบุคลากรในการดูแล Server อย่างท่เี ป็นมา

6 กระบวนการเทคโนโลยี เป็นขน้ั ตอนการแก้ไขปัญหาเพื่อตอบสนองความตอ้ งการการใช้ชวี ิตมนุษย์ ระบบของเทคโนโลยปี ระกอบดว้ ย การรวบขอ้ มูล การจดั เกบ็ ขอ้ มลู การมวลผลขอ้ มลู การจบั เกบ็ ขอ้ มูล การคดิ วิเคราะห์ และการนาขอ้ มูลไปใช้ประโยชนต์ ามทีม่ นษุ ย์ตอ้ งการ และเปลีย่ นแปลงการเพมิ่ ประสิทธิภาพในการทากิจกรรมต่างๆของมนุษย์ การจัดการข้อมูล บทบาทและความสาคญั ของการจดั เกบ็ ขอ้ มลู ข้อมลู (Data) ขอ้ มูลเป็นองคป์ ระกอบท่สี าคญั ส่วนหน่งึ ของระบบสารสนเทศคอมพวิ เตอร์ ขอ้ เท็จจริงที่เกดิ ข้นึ ในเหตุการณ์ต่างๆทไี่ ดจ้ ากการสงั เกตการจดบนั ทกึ การสมั ภาษณ์ และการตอบคาถาม แต่ขอ้ มูลน้ตี อ้ งไม่มีการประมวลผล ไมม่ ีการคดิ วิเคราะหเ์ รียกว่า \"ขอ้ มลู ดิบ\"โดยท่ียงั ไมส่ ามารถนาไปใชป้ ระโยชน์ได้ในทนั ที การจัดการข้อมูล (Data Management) การบริหารการจดั เกบ็ ขอ้ มูล การประมวลขอ้ มูลให้ไดม้ าซ่งึ ขอ้ มูลที่มีประโยชน์และพร้อมท่ีจะนามาใชไ้ ดใ้ นทันที หลักในการจัดการข้อมลู 1.การเขา้ ถงึ ขอ้ มูล = ความสามารถในการเขา้ ถงึ ขอ้ มลู ได้งา่ ย รวดเร็วและถกู ตอ้ ง 2.ความปลอดภยั ขอขอ้ มลู = ขอ้ มูลท่ีจดั เก็บไวจ้ ะตอ้ งมรี ะบบรกั ษาความปลอดภยั เพ่อื ป้องกันการจารกรรมขอ้ มูล

7 3.การแกไ้ ขขอ้ มลู = ความสามารถในการเปล่ยี นแปลง แกไ้ ขในอนาคตไดท้ ้งั น้ีเนอ่ื งจากแผนทว่ี างไวอ้ าจจะตอ้ งมีการเปล่ียนแปลงตามสถานจงึ ทาใ หต้ อ้ งมีการจดั ระเบียบขอ้ มลู แก้ไขขอ้ มลู พรอ้ มท้งั จดั หาขอ้ มลู เพ่มิ เติม 4.การปรบั ปรุง = ขอ้ มูลท่จี ดั เกบ็ อยู่อาจจะมกี ารจดั แบ่งเป็นส่วนหรือสร้างเป็นตาราง เพือ่ งา่ ยแกก่ ารปรับปรุง ประเภทของข้อมลู หลกั เกณฑใ์ นการแบ่ง 1.พิจารณาจากแหล่งข้อมูล 1.1 ข้อมูลปฐมภูมิ (Primary Data) เป็นขอ้ มลู ท่ไี ด้จากการเก็บรวบรวมจากหนอ่ ยศึกษาโดยตรง โดยผูศ้ กึ ษาหรือผูว้ ิจยั ทาการรวบรวมด้วยตนเอง โดยการสารวจ สมั ภาษณ์ สงั เกตและทดลอง ลกั ษณะของขอ้ มลู ปฐมภมู ิมที ้งั ขอ้ มลู ทีเ่ ป็นเทจ็ จริง (Fact) และขอ้ มูลท่เี ป็นความรู้ (Knowledge) ทเ่ี ป็นส่วนบคุ คลทอ่ี าจเป็นจริงหรือไม่จริง และอาจน่าเชอ่ื ถือหรือไม่นา่ เช่ือถอื ก็ได้

8 1.2 ข้อมลู ทุตยิ ภูมิ (Secondary Data) เป็นขอ้ มูลทผ่ี ่านการเกบ็ รวบรวมมาแลว้ โดยบุคคลหรือองค์กรหน่งึ ๆ ขอ้ มูลทุติยภมู อิ าจเป็นขอ้ มลู ภายในองค์กรธรุ กจิ เชน่ ยอดขาย กาไร-ขาดทนุ รายงานต่างๆ แลว้ ขอ้ มลู การตลาด หรือขอ้ มลู ท่ีได้จากสถาบนั หรือองค์กรภายนอก เช่น ขอ้ มลู ประชาชน ขอ้ มูลการตลาด ขอ้ มูลเศรษฐกิจดา้ นต่างๆ เป็นตน้ 2.พิจรณาจากคณุ ลกั ษณะของข้อมลู 2.1 ข้อมูลเชิงปรมิ าณ (Quantitative) เป็นขอ้ มลู ทีเ่ ป็นตวั เลขหรือหน่อยนบั ได้ เชน่ ขอ้ มูลจานวนประชากร รายได้ ยอดขายในแตล่ ะเดือน 2.2 ข้อมลู เชิงคณุ ภาพ (Qualitative Data) เป็นขอ้ มลู ท่ีบรรยายลกั ษณะหรือคณุ สมบตั ขิ องส่ิงต่างๆทไ่ี ม่สามารถระบเุ ป็นหนว่ ยนบั หรือ ตวั เลขได้ เชน่ เพศ เช้อื ชาติ ศาสนา ทศั นคติ ความคิดเหน็ ขอ้ แนะนา 3.พิจรณาจากลกั าณะของการจดั ทาข้อมูล 3.1 ข้อมลู ดิบ (Raw Data) เป็นขอ้ มลู ที่ไดจ้ ากการเก็บรวบรวม ซ่งึ ยงั ไมผ่ ่านการประมวลผลหรือเปลย่ี นแปลงใดๆ จึงทาใหข้ อ้ มูลมีลกั ษณะกระจดั กระจาย ปะปนกนั ทาให้ไม่สะดวกต่อการคานวณหรือนาไปใช้ประโยชน์

9 3.2ข้อมูลจดั กล่มุ (Groupped ) เป็นขอ้ มลู ท่ผี า่ นระบบหรือกระบวนการประมวลขอ้ มลู แลว้ เพื่อให้ขอ้ มลู อยู่ในรูปแบบทเี่ ป็นหมวดหมู่ มีการแจกแจงความถ่ี กะทดั รัด มีความหมาย สะดวกตอ่ การนาไปคานวณเป็นค่าสถิตติ ่างๆจึงเป็นประโยชน์ในการคน้ หาความจริง และนาไปเผยแพร่ 4.พิจรณาจากการเกบ็ ในส่ืออิเล็กทรอนกิ ส์ 4.1 ข้อมลู ตัวอักษร (Text Data) เช่น ตวั หนงั สือ ตวั เลข สัญลกั ษณ์ มกั มนี ามสกลุ ไฟล์เป็น .txt .doc docx 4.2 ข้อมลู ภาพ (Image Data) เช่น ภาพกราฟิกต่างๆ ภาพถา่ ยดิจทิ ลั มกั มนี ามสกุลไฟลเ์ ป็น .bmp .jpg .png .gif 4.3 ข้อมูลเสียง (Sound Data) เชน่ เสียงพูด เสียงดนตรี มกั มีนามสกลุ ไฟลเ์ ป็น .wav .mp3 4.4 ข้อมลู ภาพเคล่อื นไหว (Video Data) เชน่ ภาพยนตร์ คลิปวดิ โี อ มกั มีนามสกลุ ไฟลเ์ ป็น .avi .mov .mp4 5.พิจรณาตามระบบคอมพวิ เตอร์ 5.1 ข้อมูลเชงิ จานวน (Numeric Data)

10 เป็นตวั เลขท่ีสามาาถนามาคานวณดว้ ยคอมพวิ เตอรไ์ ด้ 5.2 ข้อมลู อกั ขระ (Character Data) เป็นตวั อกั ษร ตวั หนังสือ หรือสัญลกั ษณต์ ่างๆ สามารถนามานาเสนอขอ้ มลู และเรียงลาดบั ได้ 5.3 ข้อมลู กราฟิ ก (Graphical Data) เกิดจากจุดพิกดั ทางคอมพวิ เตอร์ทาใหเ้ กิดรูปภาพหรือแผนที่ 5.4 ข้อมูลภาพ (Image Data) แสดงความเขม้ และสีของภาพท่ีเกดิ จากเครื่องสแกนเนอร์หรือกลอ้ งดจิ ิทลั สามารถนาเสนอขอ้ มลู ยอ่ ขยาย และตดั ต่อได้ การประมวลผลข้อมลู การประมวลผลข้อมูล หมายถึง การนาเอาขอ้ มูลท่ีเก็บรวบรวมมาจากแหล่งตา่ งๆมาจดั ประเภท หมวดหมู่ และคานวณ เพอ่ื ใหไ้ ดผ้ ลลพั ธท์ เ่ี หมาะสมและมีรูปแบบตรงตามความตอ้ งการของผูใ้ ช้งาน

11 โดยอาจอยใู่ นรูปของผลสรุปทเ่ี ป็นผลลพั ธท์ ีไ่ ด้จากการประมวลผลในการนาไปใชง้ านได้อย่ างมีประสิทธิภาพ และนาไปใชต้ ดั สินใจดาเนินงานธุรกจิ ข้นั ตอนการประมวลผลข้อมลู ข้นั ตอนท่ี 1 การนาข้อมลู เข้า (Input Data) 1.การเก็บรวบรวมข้อมูล(Data Collections) การเกบ็ รวบรวมขอ้ มลู จากแหลง่ ตา่ ง เช่น แบบสอบถาม การสมั ภาษณ์ งานทะเบยี น รายงานยอดขายของบริษทั ใบส่งั ซ้ือ เป็นตน้ -การรวบรวมข้อมูล (Data Merging) หมายถึงการนาขอ้ มลู ต้งั แตส่ องชดุ ข้นึ ไปมารวมกันให้เป็นชุดเดียว เช่น การนาประวตั สิ ่วนตวั ของพนักงานขายและประวตั ิการศกึ ษามารวมกันใหเ้ ป็นชดุ เดียว 1.1 ความถูกต้องแม่นยา (Accuracy) สามารถควบคมุ ความคลาดเคลอื่ นใหน้ ้อยทส่ี ุด 1.2ความทันเวลา (Timeliness) ขอ้ มูลท่ที นั สมยั และทนั ต่อความตอ้ งการของผูใ้ ช้ 1.3ความสมบรูณ์ครบถ้วน (Completeness) ขอ้ มูลท่ีให้ขอ้ เท็จจริง ครบถว้ นสมบูรณไ์ มข่ าดส่วนใดไป

12 1.4ความกะทดั รัด (Conciseness) ขอ้ มูลทส่ี ะดวกตอ่ การนาไปใช้ และมีความเขา้ ใจไดใ้ นทนั ที 1.5ความตรงกับความต้องการของผ้ใู ช้ (Relevance) ขอ้ มลู ตรงต่อการใชง้ าน 1.6ความต่อเน่ือง (Continuity) ดาเนนิ การอยา่ งสม่าเสมอ 2.การเปล่ยี นแปลงสภาพข้อมลู (Data Conversion) เป็นการจดั เตรียมขอ้ มูลท่รี วบรวมมาได้แลว้ ให้อยใู่ นรูปทีส่ ามารถนาไปประมวลได้สะดวกย่ิ งข้นึ 2.1 การบรรณาธกิ ร (Editing) การตรวจสอบความถูกตอ้ งสมบรู ณ์ของแบบสอบถามแต่ละชุด ต้งั แตก่ ารตรวจนาจานวนแบบสอบถาม จดั เรียงหมายเลขแบบสอบสอบถามแต่ละชุด หลงั จากน้ันจงึ เร่ิมตรวจสอบความสมบูรณ์ คือ คอบครบและตามเงือ่ นไขทีต่ อ้ งการ

13 2.2 การลงรหัส (Coding) การลงรหัสสามารถทาได้ท้งั ในขน้ั ที่ตรวจสอบขอ้ มลู เสร็จเรียบร้อยแลว้ หรือจะทาไปหร้อมกับการตรวจสอบขอ้ มูลกไ็ ด้ รหสั ทใี่ ชอ้ าจอยู่ในรูปของตวั เลขหรือตวั อกั ษรก็ได้ การลงรหสั เป็นการเปลย่ี นคาตอบทีเ่ ป็นคาพูดหรือตวั อกั ษรใหอ้ ยูใ่ นรูปของซ่งึ รหสั จะใช้รหั สบนั ทึกขอ้ มลู ไดน้ ้นั จะตอ้ งมกี ารกาหนดไวล้ ว่ งหน้าว่า จะใช้กลมุ่ เลขหรือตวั อกั ษรเป็นรหัส โดยทวั่ ไปมกั นิยมใชต้ วั เลขเป็นรหัสเพราะสะดวกในการบนั ทึก ข้นั ตอนท่ี 2 การประมวลผล (Process) 1.การจัดแบ่งกล่มุ ข้อมูล (Data Classify) แยกขอ้ มูลออกเป็นกลมุ่ หรือประเภทตา่ งๆ 2.การจัดเรียงข้อมูล (Data Surting) จดั เรียงขอ้ มูลจากน้อยไปมาก หรือมากไปนอ้ ย เพ่ือให้ดงู ่ายข้นึ คน้ หาขอ้ มลู ท่ตี อ้ งการเร็วข้นึ 3.การสรุปผลข้อมูล (Data Summarizing) สรุปส่วนต่างๆของขอ้ มูล โดยย่อเอาเฉพาะส่วนทเ่ี ป็นใจความสาคญั 4.การคานวณข้อมลู (Data Calculation) การนาขอ้ มูลที่เป็นตวั เลขมาทาการบวก ลบ คณู หาร ยกกาลงั 5.การวเิ คราะห์ข้อมูล (Data Analysis)

14 1. การวิเคราะห์ขอ้ มลู ขน้ั ตน้ เป็นการหาค่าสถติ ิพืน้ ฐาน เชน่ คา่ เฉลย่ี 2. การวเิ คราะหข์ อ้ มลู ข้นั สูง มคี วามซับซอ้ น เช่น วิเคราะหค์ วามถดถอย ความแปรปรวน ข้ันตอนท่ี 3 แสดงผลลพั ธ์ (Output Information) ผลลพั ธ์ของขอ้ มูลน้เี รียกว่า สารสนเทศ (Information) เม่ือขอ้ มูลทเี่ ก็บรวบรวมมาผ่านกระบวนการท่เี รียกว่า ประมวลผลขอ้ มลู แลว้ ควรจะดทาหรือหาผลลพั ธท์ ไ่ี ด้รูปแบบที่เขา้ ใจง่ายสะดวกต่อการใช้งาน เชน่ รูปแบบรายงาน 1.กาารดงึ ข้อมลู (Retrieving) นาขอ้ มลู ทต่ี อ้ งการมาจากแหล่งเกบ็ เพอ่ื นามาใช้งาน 2.การทารายงาน (Reporting) นาขอ้ มลู มาจดั พมิ พ์รายงานในรูปแบบต่างๆ 3.การบันทกึ (Recording) คดั ลอกขอ้ มลู จากตน้ ฉบบั เขา้ แฟ้มแลว้ จดั เขา้ แฟม้ 4.การปรบั ปรุงรกั ษาข้อมูล (Updating) เพ่มิ (Add) หรือ ลบ (Delete) และเปลี่ยนค่า (Change) ให้ขอ้ มูลทนั สมยั อยเู่ สมอ เคร่ืองมือที่ใช้ในการประมวลผลข้อมลู

15 เม่ือผ่านการรวบรวมและเตรียมขอ้ มลู แลว้ สามารถใชว้ ธิ กี ารประมวลผลวธิ ใี ดวธิ ีหน่งึ หรือ หลายวิธีดงั ทไ่ี ด้กล่าวมาแลว้ เช่น การคานวณ 1.การประมวลผลข้อมูลด้วยมือถือ (Manual Data Processing) ใชม้ นษุ ยเ์ ป็นหลกั โดยมีอุปกรณ์ชว่ ย 2.การประมวลผลข้อมูลด้วยเคร่ืองจกั รกล (Mechanical Data Processing) ใชแ้ รงงานมนษุ ยแ์ ละเครื่องจกั รกลร่วมกนั 3.การประมวลผลข้อมูลด้วยเคร่ืองอเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ (Electronic Data Processing) ใช้คอมพวิ เตอร์ มขี ้นั ตอนซบั ซ้อนหรือใช้การคานวณจานวนมาก การเปรยี บเทยี บวธิ ีการประมวลผล -การประมวลผลในแต่ละวิธนี ้นั มขี อ้ ดขี อ้ เสียทแ่ี ตกตา่ งกนั ผูร้ วบรวมตอ้ งตดั สินใจเลือกวิธใี ดวธิ หี น่งึ การวเิ คราะห์และการตคี วามหมายข้อมูล (Analysis and Interpretation of Data) -การแยกประเภท การจดั ช้ัน การสังเขป การหาขอ้ สรุปเกี่ยวกบั ลกั ษณะต่างๆของขอ้ มูล การพจิ รณาขอ้ มลู

16 พ้ืนฐานภาษาซี ประวัติของภาษาซี ภาษาซีเป็นภาษาทีม่ คี วามใกลเ้ คยี งกบั ภาษาระดบั ตา่ (Low-Level Language) จึงทาให้นกั พฒั นาโปรแกรม สามารถทจี่ ะกาหนดรายละเอียดของโปรแกรมใหเ้ ข้าถึงการทางานในส่วนตา่ ง ๆ ของคอมพวิ เตอรใ์ ห้มากทสี่ ุดเพอ่ื ใหเ้ กดิ ความเร็วในการทางานสูงสุด และในขณะเดียวกันภาษาซกี ย็ งั มคี วามเป็นภาษาระดับสูง (High-Level Language) ทาใหผ้ ูพ้ ฒั นาสามารถท่จี ะพฒั นาโปรแกรมได้ โดยเนน้ ไปทีก่ ารแก้ปัญหาทีต่ อ้ งการได้อย่างอสิ ระโดยไม่ตอ้ งคานึงถงึ ฮารด์ แวร์ใด ๆ ภาษาซีเกิดข้นึ ในปี ค.ศ. 1972 ผูค้ ิดคน้ คอื นายเดนนิส รทิ ชี่ (Dennis Rittchie) โครงสร้างหลักภาษาซี คาสง่ั ทใ่ี ช้งานในภาษา C น้ันลว้ นเป็นฟังกช์ ่นั ท้งั สิ้น ดังน้ันโปรแกรมทเ่ี ขยี นข้ึนจึงประกอบไปด้วยฟังกช์ ั่นมากมาย ทถี่ ูกกาหนดให้ทาหนา้ ทีใ่ ดหน้าที่หน่งึ ในลกั ษณะของโมดลู ย่อย เพ่ือทางานให้บรรลเุ ป้าหมาย และในเมื่อภาษา C คือภาษาทปี่ ระกอบไปด้วยฟงั ก์ช่นั ดังน้ันจงึ จาเป็นทาความเขา้ ใจเกยี่ วกับความหมายของฟังกช์ ั่นเสียกอ่ น ฟงั ก์ชนั (Function) คอื การเขียนคาสง่ั รวมกันไวเ้ ป็นกลุ่มของคาส่ังเพ่อื ทางานให้สาเร็จ

17 โดยกลุม่ ของคาสั่งทเ่ี ราเขยี นจะอยู่ภายในเคร่ืองหมาย { } เพอื่ บอกขอบเขต และมกี ารต้งั ช่อื ใหก้ บั กล่มุ คาสงั่ น้ัน เพ่ือความสะดวกในการเรียกใช้งาน สง่ั ใหค้ อมพิวเตอรท์ างาน ที่อนุญาตให้สามารถรบั ขอ้ มลู (Input) ประมวลผล (Processes) และแสดงผลขอ้ มูล (Output) เทคโนโลยีประยุกต์ เทคโนโลยีประยุกต์ หมายถึงนาเอาความรูท้ างวทิ ยาศาสตรม์ าใช้ และก่อใหเ้ กดิ ประโยชนใ์ นทางปฏิบตั แิ กม่ วลมนุษย์ กล่าวคือ เทคโนโลยีเป็นการนาเอาความรู้ทางวิทยาศาสตรม์ าใช้ ในการประดิษฐส์ ิ่งของต่าง ๆ ใหเ้ กิดประโยชนส์ ูงสุด และมกี ารประยกุ ต์มาใช้ในสาขาวิชาตา่ งๆดังน้นั ในทกุ สาขาอาชีพจาเป็นตอ้ งได้รบั ขอ้ มูลแล ะสารสนเทศจากแหล่งต่าง ๆ ทน่ี า่ เชอ่ื ถือ เทคโนโลยีเพ่อื การศึกษา (Technology in Education) หมายถึง การนาเทคโนโลยดี า้ นตา่ ง ๆ เขา้ มาประยกุ ตใ์ ชเ้ พอ่ื ประโยชนใ์ นการจดั การศึกษา การจดั การเรียนการสอนเพอ่ื ใหก้ ารศึกษาการสอนการเรียนมคี ณุ ภาพ และมีประสิทธภิ าพ เทคโนโลยีทน่ี ามาใชใ้ นการศึกษาได้แก่เทคโนโลยตี ่าง ๆ

18 1.) เทคโนโลยสี ื่อสารโทรคมนาคม คอื เทคโนโลยีที่เก่ียวกบั การส่ือสารทางไกลโดยผ่านระบบการสื่อสารคมนาคมต่าง ๆ 2.) เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ ซ่งึ ใช้คอมพิวเตอรใ์ นการรับขอ้ มูลประมวลผลขอ้ มูลและนาเสนอขอ้ มูลตามที่ผูใ้ ชต้ อ้ งการ 3.) เทคโนโลยีเครือข่ายคอมพวิ เตอร์ ซ่ึงแบ่งเป็นประเภทใหญ่ ๆ ได้แก่ เครือข่ายเฉพาะที่ (LocalArea Network-LAN) เป็นระบบเครือขา่ ยคอมพวิ เตอรข์ นาดเลก็ ทตี่ อ่ เชื่อม คอมพิวเตอร์กบั อุปกรณ์ไม่มากนกั มกั อย่ใู นอาคารหลงั เดยี ว เครือข่ายบริเวณกวา้ ง (Wide Area Network- WAN)เป็นระบบเครือข่ายทม่ี คี อมพวิ เตอร์กระจายอย่างกวา้ งขวางทวั่ ประเทศช่วยให้สานกั ง านในจงั หวดั ตดิ ตอ่ ส่ือสารและทางานร่วมกบั สานกั งานใหญ่ที่อยู่ในเมืองหลวงได้ 4.)ระบบสานกั งานอตั โนมตั ิเป็นแนวคิดทนี่ าระบบเครือข่ายมาใชเ้ ชอ่ื มโยงคอมพวิ เตอร์กับอุ ปกรณส์ านักงาน เชน่ ระบบไปรษณียอ์ เิ ลก็ ทรอนิกส์ ระบบประชุมทางไกล 5.) เทคโนโลยีระบบสารสนเทศ เป็นการประมวลผลขอ้ มูลในลกั ษณะต่าง ๆ เพือ่ ช่วยในการจดั การและบริหารงาน

19 6.) ระบบมลั ติมเี ดยี เป็นเทคโนโลยที ผ่ี สมผสานภาพ ภาพเคลื่อนไหว เสียงและขอ้ ความเขา้ ดว้ ยกันโดยใช้ระบบคอมพิวเตอร์ช่วยในการแสดงผล นาไปประยกุ ต์ใช้ในการสอน เช่น คอมพวิ เตอรช์ ว่ ยสอน (CAI) กจิ กรรมเพอ่ื การศึกษาท่ใี ชเ้ ทคโนโลยเี ขา้ มาชว่ ย ในปจั จุบนั น้ไี ดแ้ ก่ วิทยุกระจายเสียงเพ่ือการศึกษา วิทยโุ รงเรียน โทรทศั นเ์ พ่ือการศึกษา การสอนทางไกลผา่ นดาวเทียม เทคโนโลยดี ้านการแพทย์(MEDICAL TECHNOLOGY)หมายถงึ วิทยาการที่เกีย่ วกับศลิ ปะในการนาเอาวทิ ยาศาสตร์นามาประยุกตใ์ ช้ เพอื่ ใหเ้ กิดประโยชน์ตอ่ มนุษยใ์ นดา้ นการแพทย์ เช่น การตรวจ การรกั ษาพยาบาล และการป้องกนั โรค ดว้ ยวิธีการต่างๆ เทคโนโลยกี ารแพทยจ์ งึ เปรียบเสมือนเคร่ืองมือท่ใี ชใ้ นการปรับตวั ในการดารงเผ่าพนั ธุ์ เป็นการตอบสนองต่อส่ิงเรา้ ผ่านทางอุปกรณท์ ที่ นั สมยั เพอื่ ความอยรู่ อด 1) ระบบแพทยท์ างไกล (Telemedicine) ระบบแพทยท์ างไกลเป็นการนาเอาความก้าวหน้าด้านการส่ือสารโทรคมนาคมมาประยุกต์ใ ช้กับงานทางการแพทย์ โดยการส่งสัญญาณผา่ นส่ือซ่งึ อาจจะเป็นสัญญาณดาวเทียม

20 (Satellite) หรือใยแก้วนาแสง (Fiber optic) แลว้ แตก่ รณีควบคไู่ ปกับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ แพทยต์ น้ ทางและปลายทางสามารถติดต่อกันดว้ ยภาพ เคลือ่ นไหวและเสียง ทาให้สามารถแลกเปล่ยี นขอ้ มลู คนไขร้ ะหวา่ งกันได้ 2)ระบบการปรึกษาแพทยท์ างไกล (Medical Consultation)ระบบการปรึกษาแพทยท์ างไกลเป็นระบบการปรึกษาระหว่างโรงพยาบาลกบั โรงพยาบาล(One to One) ซ่งึ จะสามารถใชง้ านพร้อม ๆ กันได้ เชน่ ในขณะทโ่ี รงพยาบาลท่ี 1 ปรึกษากับโรงพยาบาล ท่ี 2 อยู่ โรงพยาบาลท่ี 3 สามารถขอคาปรึกษาจากโรงพยาบาลที่ 4 และโรงพยาบาลท่ี 5 สามารถขอคาปรึกษาจาก โรงพยาบาลที่ 6 ได้ 3) ระบบเชอ่ื มเครือข่ายขอ้ มูลและโทรศพั ท์ (Data and Voice Network)ระบบเชือ่ มเครือขา่ ยขอ้ มลู เป็นระบบการใชง้ านเชอ่ื มตอ่ จากโรงพยาบาลต่าง ๆ ซ่ึงเป็นจดุ ติดต้งั ของโครงการฯ มายงั สานักเทคโนโลยสี ารสนเทศ เพื่อใหส้ ามารถใชบ้ ริการทางดา้ นเครือข่ายขอ้ มลู ต่าง ๆ คอื ระบบ Internet ระบบ CD-ROM Server ระบบ ฐานขอ้ มูลกระทรวงสาธารณสุข

21 เทคโนโลยใี นงานธรุ กจิ (BUSINESS TECHNOLO)หมายถึง การประยุกตใ์ ชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศในสาขาธรุ กิจ พาณิชย์ และสานกั งาน มวี ตั ถุประสงค์เพอื่ เพม่ิ ประสิทธภิ าพในการผลิตและการบริการ ตวั อยา่ งการประยุกตใ์ ช้เทคโนโลยสี ารสนเทศด้านธุรกจิ พาณิชย์ และสานักงาน จาแนกได้ 2 อย่างGY) การพาณิชย์อิเลก็ ทรอนกิ ส์ (e-commerce) คอื การทากจิ กรรมทางธุรกิจผา่ นช่องทางอิเล็กทรอนิกส์ ในทุกช่องทางเชน่ อินเทอรเ์ นต็ โทรศพั ท์ วทิ ยุ แฟกซ์ เป็นตน้ ท้งั ในรูปแบบขอ้ ความ เสียง และภาพ โดยกจิ กรรมทางธุรกิจจะเนน้ การขายสินคา้ หรือบริการซ่ึงเริ่มต้ังแตส่ ่วนของผู้ชอื่ สามารถดาเนินการเลอื กซ้อื สินคา้ หรือบริการ คานวณเงิน ชาระเงิน รวมถงึ การไดร้ บั บริการหลงั การขายไดโ้ ดยอตั โนมัติ ส่วนของผูข้ าย สามารถนาเสนอสินคา้ รบั เงินชาระค่าสินคา้ ตดั สินคา้ จากคลงั สินคา้ และประสานงานไปยงั ผูจ้ ดั ส่งสินคา้ รวมถึงการบริหารหลงั การขายได้โดยอตั โนมัติ

22 กจิ กรรมทางธรุ กิจดงั กล่าวในปัจจุบนั นยิ มจดั ทารูปแบบของเว็บไซต์ เช่น www. amazon.com เป็นเวบ็ ไซต์การคา้ ปลกี ออนไลน์ทใ่ี หญ่ทสี่ ุด โดยในชว่ งแรกจะขายหนังสือ แต่ปัจจบุ นั กาลงั พฒั นาการขายสินคา้ เพิม่ เติมโดยลกู คา้ สามารถดาวน์โหลดเพลง ภาพวิดีโอ ประโยชนข์ องการพาณิชยอ์ ิเล็กทรอนกิ ส์ ได้แก่ 1. เพิม่ ชอ่ งทางการขายจากช่องทางปกติ ไดแ้ ก่ การขายหน้ารา้ นค้า เป็นการขายผ่านเว็บไซต์ 2. ลดคา่ ใชจ้ ่าย เช่น ทาเลทต่ี ้งั อาคารประกอบการ โกดังเก็บสินคา้ 3. สามารถใหบ้ ริการขายได้ตลอด 24 ชัว่ โมง ทุกวนั และตลอดเวลา 4. สามารถใหบ้ ริการหลงั การขายและแก้ไขปญั หาทเ่ี กิดข้นึ กบั สินคา้ ได้รวดเร็ว

23 สานกั งานอัตโนมัติ (office automation) เป็นการนาเอาเทคโนโลยีสมยั ใหม่ ไดแ้ ก่ เครื่องคอมพิวเตอร์ ซอฟต์แวร์ โทรศพั ท์ เทเลเทก็ ซ์ เคร่ืองเขยี นตามคาบอกอตั โนมตั ิ (dictating machines) เคร่ืองถา่ ยเอกสารแบบหน่วยความจา เคร่ืองโทรสาร ฯลฯ มาใช้ชว่ ยให้การปฏบิ ตั ิงานในสานักงาน เกดิ ประสิทธิภาพและความสะดวกรวดเร็วมากข้นึ การใช้อุปกรณค์ อมพิวเตอรจ์ ะชว่ ยในเรื่องการประมวลผลขอ้ มูลได้อย่างรวดเร็ว การตดิ ต่อสื่อสารภายในสานกั งานเป็นไปอยา่ งมีประสิทธิภาพ

24 บรรณานกุ รม นายมนสั ชัย กีรตผิ จญ. (2562).เทคโนโลยี. กรุงเทพมหานคร: สานกั พิมพเอมพนั ธ์ https://sites.google.com/a/moeipit.ac.th/kheiyn-porkaerm-phasa-si/prawati-phasa-si https://sites.google.com/site/kroonom/kar-prayukt-chi-the https://nuttinan7006.wordpress.com/category/%E0%B8%81%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B8%9A%E0%B8%A 7%E0%B8%99%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B9%80%E0%B8%97%E0%B8%84%E0%B9%82 %E0%B8%99%E0%B9%82%E 0%B8%A5%E0%B8%A2%E0%B8%B5/ https://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%A7%E0%B8%B4%E0%B8%97%E0%B8%A2%E0%B8%B2%E0%B8%81 %E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%84%E0%B8%AD%E0%B8%A1%E0%B8%9E%E0%B8%B4%E0%B8%A 7%E0%B9%80%E0%B8%95%E0%B8%AD%E0%B8%A3%E0%B9%8C

25 ภาคผนวก 1)ภาพสถติ ิเกย่ี วกบั ผ้เู ข้าชมการ(Live)หรือนาเสนอออนไลน์ https://www.facebook.com/100034055692519/videos/358745678603952/ 2)ยอดผ้เู ข้าดูเว็ปไซต์ของ Admin https://m.facebook.com/story.php?story_fbid=1491365044396110&id= 100005678860222


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook