ส 33101 1 เอกสารประกอบการสอน หนว่ ยการเรียนรู้ที่ 2 ปฏิสมั พนั ธ์ภูมิศาสตร์ เรื่อง ลกั ษณะทางกายภาพของพน้ื ผิวโลก รายวชิ า สังคมศกึ ษาฯ (ส33101) ภาคเรยี นที่ 1 ปีการศกึ ษา 2563 ระดบั ชั้นมธั ยมศึกษาปีท่ี 6 ครผู ูส้ อน นางสาวดวงพร ครุธสวา่ ง ********************************************************************************** 1. ธรณีภาค ( Lithosphere ) คือ แก่นโลกและเปลอื กโลกสว่ นทีร่ วมตัวเป็นของแขง็ ประกอบด้วยหนิ และดิน ปรากฏการทางธรณีภาค ดงั นี้ ทวีปเลอื่ น เปลือกโลกที่มีการเปล่ียนแปลงจากการเคล่ือนตัวของหินหนืดใต้เปลือกโลก ความรุนแรง ต่อเนื่องของภเู ขาไฟ แผ่นดนิ ไหว โดยการเคลอ่ื นทอ่ี อกจากกัน การเคลื่อนทชี่ นกันหรอื มุดกัน ทาให้เกดิ ลักษณะ โก่งตัวและบีบอัดเปลือกโลกตรงนั้นให้กลายเป็นเทือกเขาสูงใหญแ่ ผ่นเปลือกโลกอีกแผ่นเลื่อนเข้าไปอยใู่ ต้เปลือก โลกอีกแผ่น ซึ่งการเปลยี่ นแปลงดังกลา่ วสอดคล้องกบั ทฤษฎขี องลลิ เฟรด เวเกเนอร์ ( Alfred Weganer ) ทวี่ ่า เม่ือ 225 ล้านปแี ผน่ ดินใหญ่ติดต่อกันเพียงแผน่ เดยี ว เรยี กวา่ พันเจยี ( Pangen ) และเรียกมหาสมทุ รทัง้ หมด ว่า พันทาลัสธา ( Panthalassa ) มีทะเลเขาทิส ( Tethys sea ) อยู่ระหว่างแผ่นดินทวีปยูเรเซียกับแอฟริกา ( ดังภาพที่ 12 ) ภาพที่ 12 แสดงลักษณะการเปล่ียนแปลงของ ธรณีภาค
ส 33101 2 ผนื แผ่นดนิ พนั เจยี ไดแ้ ยกออกกลายเป็นทวีปต่าง ๆ แบง่ ออกเป็น 2 ส่วนคอื 1. ลอเรเชีย แผ่นดินซกี โลกเหนอื ได้แก่ทวีปอเมริกาเหนอื ยุโรป และเอเชีย ( ดงั ภาพที่ 3 ) 2. กอนดว์ านา แผน่ ดนิ ซีกโลกใต้ ได้แก่ ทวปี อเมริกาใต้ แอฟรกิ า อินเดยี ออสเตรเลยี และแอนตาร์กติกา ( ดงั ภาพท่ี 3 ) ทวีปต่าง ๆ เร่ิมแยกออกจากกนั โดยอนิ เดยี ค่อย ๆ เลอื่ นไปชนกับทวีปเอเชียจนกลายเป็นผนื แผ่นดินและ ทวปี ตา่ ง ๆ เชน่ ในปจั จุบัน ( ดงั ภาพท่ี 12 ) แนวแบ่งเขตเปลือกโลก มี 3 แนว คอื 1 ) สันเขากลางมหาสมุทร เป็นบริเวณท่ีเกิดจากแรงท่ีดึงให้เปลือกโลกแยกออกจากกัน และ หนิ ละลายปะทุจากเปลอื กโลกช้ันในข้นึ มาระหว่างแผ่นเปลอื กโลกใตท้ ะเล 2 ) บริเวณที่เปลือกโลกชนกัน ทาให้เกิดการมุดตัวกันของเปลือกโลก เกิดร่องลึกบาดานที่ มหาสมทุ ร และหนิ หลอมเหลวถกู ดันเข้าไปอยูใ่ นภูเขาไฟ เชน่ การเกิดเทือกเขาหิมาลยั เมอื่ 45 ลา้ นปกี ่อน 3 ) รอยเลื่อนแปลง เป็นบรเิ วณท่เี ปลือกโลก 2 แผน่ เลอ่ื นออกจากกันในทศิ ทางตรงกนั ขา้ ม ภาพท่ี 13 ลกั ษณะการเปล่ียนแปลงเปลือกโลก
ส 33101 3 2. อุทกภาค ( Hydrosphere ) คือสว่ นเป็นพนื้ ทท่ี มี่ นี ้าปกคลุม เช่น แม่นา้ ลาคลอง ทะเล มหาสมทุ ร รวมถงึ นา้ ใตด้ ิน ไอนา้ ในอากาศ น้าแขง็ ขั้วโลกด้วย น้า เป็นปัจจัยสาคัญในการดารงชีวิตของสิ่งมีชีวิตบนโลก ถึงแม้น้าจะมีโดยทั่วไปบนโลก แต่น้าท่ี สามารถนามาบรโิ ภคหรอื ปุ โลกนม์ ีอยู่ไม่ถงึ รอ้ ยละ 1 ของน้าทง้ั หมด 2 .1 ปริมาณน้าท้ังโลก ประกอบด้วย น้า จืด ( อยู่ใต้ดินและผิวดิน ) คิดเป็นร้อยละ 3 และ น้าเค็ม ( อยู่ในทะเล มหาสมุทร ) คิดเป็นร้อยละ 97 ภาพท่ี 13 แหลง่ นา้ จืด (แมน่ ้าอะเมซอน) ประเทศบราซิล ภาพที่ 14 แหลง่ น้าเคม็ (มหาสมุทรอนิ เดยี )
ส 33101 4 2. 2 วัฎจักรของน้า การหมุนเวียนเปลี่ยนสถานะของน้า ซ่ึงผ่านกระบวนการ 5 ประการ ดังน้ี ( ดังภาพท่ี 15 ) 1 ) การระเหย เป็นการเปลี่ยนแปลงสภาพของน้า จากของเหลวเป็นไอนา้ ปนอยู่ในอากาศ 2 ) การกล่ัน เป็นการเปล่ียนแปลงสภาพของนา้ จากไอนา้ ในอากาศเป็นนา้ 3 ) การไหล เป็นการที่นา้ เข้าไปสู่ที่ต่าง ๆ ทางผิว ดนิ 4 ) การหายใจ เป็นการที่น้าเข้าไปสู่ร่างกาย สิ่งมชี ีวติ จากการหายใจ 5 ) การคายน้า เป็นการลดระดับของน้าใน ส่วนประกอบขอสิง่ มีชีวิต ภาพที่ 15 วัฎจักรของน้า การไหลเวยี นของกระแสน้าในมหาสมุทร เกิดจาก 1. ลมประจาฤดู / ลมประจาถิ่น ที่กระทาต่อผิวน้าในมหาสมุทรโดยการหมุนเวียนของกระแสน้าจะ เบีย่ งเบนของลม คอื ทามมุ 45 กบั ทศิ ทางลม 2. ความหนาแน่นและอุณหภูมิของน้าในมหาสมุทรที่แตกต่างกนั คือ น้าที่เย็นและน้าท่ีเค็มมาก จะมี ความหนาแนน่ มาก 3. การลดระดับและเพิม่ ระดบั ของนา้ ในมหาสมุทร 4. ระดับนา้ ในมหาสมุทรแตล่ ะแห่งแตกตา่ งกนั 5. การเกิดแผ่นดินไหวหรอื ภเู ขาไฟระเบิดใตม้ หาสมุทร น้าที่มอี ณุ หภมู ิต่าในเขตขั้วโลกจะมีความหนาแน่นมากกว่าน้าท่ีมีอุณหภูมิสูงในเขตทรอปกิ ดังนน้ั นา้ จาก ขวั้ โลกจะไหลมายังบริเวณเขตศูนย์สูตร ซ่ึงมีความหนาแนน่ น้อยทาให้เกิดการไหลเวียนของกระแสน้า ( ดงั ภาพท่ี 16 )
ส 33101 5 ภาพท่ี 16 การไหลเวียนของกระแสน้าในมหาสมุทร กระแสนนา้ ศนู ยส์ ตู ร กระแสนา้ ทีเ่ ริม่ จากศูนย์สตู ร เคลื่อนไปตามแรงของลมช้า เมอ่ื ไปพบชายฝ่ังตะวันตกจะถูก ผักดันให้ไปทางเหนือจนไปพบแนวลมตะวันตกจึงเคลื่อนที่ข้ามมหาสมุทรจนกระทั่งพบชายฝ่ังจะถูกผักดันและ ชายฝงั่ มาบรรจบกบั กระแสนา้ ที่ศนู ย์สูตรเดิม มผี ลทาให้กระแสนา้ ที่ออกจากศนู ย์สูตรจะเปน็ กระแสนา้ อนุ่ แต่เมื่อ ออกจากชายฝั่งด้านตะวนั ตกของทวปี อุณหภูมนิ า้ จะต่า จงึ กลายเป็นกระแสน้าเยน็ ลงมาทางละตจิ ดู ตา่ อทิ ธิพลของกระแสน้าในมหาสมุทร มดี ังน้ี 1) กระแสนา้ ในมหาสมุทร มีอทิ ธพิ ลต่ออุณหภมู ขิ องโลก 1.1 กระแสน้าอ่นุ ช่วยเพิ่มระดับอุณหภูมิบริเวณชายฝั่งในเขตละติจูดสูงให้สูงข้ึน เช่น ชายฝั่ง องั กฤษมีอณุ หภมู ไิ ม่ลดตา่ มาก 1.2 กระแสนา้ เย็น ช่วยลดระดบั อุณหภมู ิบริเวณชายฝ่ังในเขตละติจูดต่าใหเ้ ยน็ ลง เช่น ชายฝ่ัง แคลฟิ ฟอรเ์ นยี มอี ณุ หภมู ิไม่สงู มากนักทั้ง ๆ ที่เปน็ ฤดรู อ้ น 2) กระแสน้าต่างชนิดกัน ถึงแม้จะไหลผ่านในละติจูดเดียวกัน อาจก่อให้เกิดภูมิอากาศแห้งแล้งแบบ ทะเลทราย ( ทะเลทรายคาลารี ประเทศนามิเบีย ) ส่วนตะวันออกของทวีปมีกระแสน้าอุ่นไหลผ่าน ทาให้มี ภูมอิ ากาศแบบทุง่ หญา้ สะวนั นา มีความชมุ ชืน่ มาก 3) บริเวณท่ีกระแสน้าอุ่นและกระแสน้าเย็นไหลปะทะกัน จะมีแพลงตอนที่เป็นอาหารของปลาอยู่เปน็ จานวนมาก จึงเป็นแหล่งปลาชุกชุม เช่น บริเวณคูริแบงส์ ประเทศญี่ปุ่น ( กระน้าอุ่นกุโรชิโวและกระแสนา้ เย็นโอยาชิโว ไหลมาปะทะกนั )
ส 33101 6 อิทธิพลของอุทกภาคท่มี ตี ่อโลก มีดงั น้ี 1 ) น้าข้ึน – น้าลง เป็นปรากฏการณ์ที่เกิดข้ึนทุกวัน เน่ืองจากความสัมพันธ์ของดวงอาทิตย์ โลก และดวงจนั ทร์ เนื่องจากแรงดึงดดู ทเ่ี กิดจากแรงโนม้ ถ่วงของดวงจันทรข์ ณะโคจรรอบโลก โดยดา้ นท่โี ลกหัน เข้าหาดวงจันทร์ ทาให้เกดิ นา้ ข้นึ และเมื่อแรงเหวี่ยงของโลกมากกว่าแรงโน้มถ่วงของจันทร์ มวลน้าจะถูกดันออก จากดวงจันทร์ทาใหเ้ กิดนา้ ลง ( นา้ ขนึ้ – น้าลงสลบั กันวันละ 2 ครัง้ เกิดหา่ งกัน 6 ชั่งโมง ) ( ดงั ภาพท่ี 17 ) ภาพที่ 17 อทิ ธพิ ลของอุทกภาคท่มี ตี อ่ โลก 2 ) นา้ เกดิ – นา้ ตาย น้าเกิด : เป็นปรากฏการณ์ที่น้าลงต่าสุด เน่ืองจากดวงอาทิตย์ ดวงจันทร์และโลก โคจรมาอย่ใู นแนวเดียวกนั ( ช่วงวนั ขน้ึ 14 - 15 ค่า / แรม 14 – 15 ค่า ) น้าตาย : เป็นปรากฏการณ์ที่น้าลงต่าสุด เน่ืองจากดวงจันทร์และดวงอาทิตย์เคลื่อนท่ี มาอยู่แนวต้ังฉากกับโลก แรงดึงดูดจากแรงโน้มถ่วงทั้งดวงอาทิตย์และดวงจันทร์จะคานกัน ( ช่วงวันข้ึน 8 คา่ และแรม 8 คา่ ) มนุษย์กับแหล่งน้ามีความสัมพันธ์กันทั้งในเรื่องการดาลงชีวติ การประกอบอาชีพและการตัง้ ถ่นิ ฐาน และการใช้ประโยชน์ในด้านต่าง ๆ คือ อุปโภค บริโภค ชลประทาน เกษตรกรรม อุตสาหกรรม ผลิต พลงั งานไฟฟา้ แหล่งอาหาร การคมนาคมขนสง่ พักผ่อน และนนั ทนาการ 3. บรรยากาศ ( Atmosphere ) คือ ส่วนของอากาศทหี่ ุ้มโลก ประกอบด้วยก๊าซชนดิ ต่าง ๆ ไอน้าและ ฝุ่นละออง
ส 33101 7 ส่วนประกอบของอากาศ มีดังนี้ ไนโตรเจน ร้อยละ 78.084 ออกซิเจน ร้อยละ 20.946 อาร์กอน รอ้ ยละ 0.934 คารบ์ อนไดออกไซด์ ร้อยละ 0.033 และนอี่ อน ฮเี ล่ียม คริปทอน ซีนอน ไฮโดรเจน มีเทน ไนตรสั ออกไซด์ รอ้ ยละ 0.003 ความสา้ คัญของบรรยากาศ มดี งั นี้ 1. มีกา๊ ซออกซเิ จนท่ใี นการหายใจของสิ่งมชี ีวิต คาร์บอนไดออกไซด์ใช้ในการสังเคราะห์แสงของพืช เก็บความร้อนจากดวงอาทิตย์ ป้องกันไม่ใหค้ วามร้อนที่ได้รับจากดวงอาทิตย์ออกไปจากโลก ทาให้อุณหภูมิของ กลางวนั – กลางคนื ไมต่ า่ งกันมาก 2. เป็นแหล่งสะสมไอน้า ทาให้เกิดหยาดน้าฟ้า เช่น ฝน หิมะ ลูกเห็บ น้าค้าง น้าค้างแข็ง สร้างความชุมชื้นใหแ้ กโ่ ลก 3. ชว่ ยกรองรังสีเอก็ ซ์ แกมมา และอัตราไวโอเลตที่เปน็ อันตรายตอ่ มนษุ ย์ ชันบรรยากาศของโลก ประกอบไปดว้ ย 1. ชันโทรโพสเฟียร์ ( troposphere) ลกั ษณะของบรรยากาศชนั โทรโพสเฟียร์ มีดังนี 1.1 อุณหภมู จิ ะลดลงอยา่ งสม่าเสมอ เมอ่ื ระดับสงู ขึ้น ( 6.4 องศาเซลเซียสตอ่ เมตร ) 1.2 บรเิ วณแนวโทรโพพอส จะมีอณุ หภมู ปิ ระมาณ - 570 องศาเซลเซยี ส 1.3 มฝี ุน่ ละออง / ไอน้าเป็นสว่ นประกอบ ทาให้เกิดหมอก หิมะ ฝน 1.4 มีการเคลอื่ นทข่ี องมวลอากาศทงั้ แนวนอน/แนวยืน ทาให้เกิดลมหรอื พายุ 1.5 เป็นชนั้ ที่มีสง่ิ มีชีวติ อาศัยอยู่ 2. ชันสแตรโทรเฟียร์ ( stratosphere ) อยู่ถ้าจากโทรโพพอสขึ้นไปสูงจากผิวโลกระหว่าง 16- 50 กิโลเมตรบรเิ วณนี้สน้ิ สุด เรียกวา่ สแตรโทพอส ( stratopause )( ดงั ภาพท่ี 18 ) ลกั ษณะของชนั บรรยากาศชนั สแตรโทรเฟียร์ มดี ังนี้ 2.1 อุณหภูมิของบรรยากาศจะเพ่มิ ขน้ึ ตามความสูง 2.2 บรเิ วณสแตรโทพอส จะมอี ณุ หภูมิเพ่ิมข้ึนถึง 0 องศาเซลเซียส 2.3 ตอนบนของช้ันบรรยากาศมีอุณภูมิสงู เน่อื งจากเป็นแนวโอโซนซ่ึงดูดรงั สีอลั ตราไวโอเลตไว้ 2.4 ไมม่ ีฝุ่นละออง / ไอนา้ จึงไมม่ เี มฆและพายุ เหมาะสาหรบั กิจการการบิน 3. ชันเมโซสเฟียร์ ( mesophere ) อยู่ถัดจากช้ันสแตรโทพอสขึ้นไป สูงจากผิวโลกประมาณ 50-80 กิโลเมตร บรเิ วณส้นิ สุด เรียกวา่ เมโซพอส ( mesopause ) ลกั ษณะบรรยากาศชนั เมโซสเฟียร์ มดี ังน้ี 1.1 อณุ หภูมขิ องบรรยากาศลดลงตามความสูง 1.2 บรเิ วณเมโซพอส จะมีอุณหภูมิลดลงถงึ – 83 องศาเซลเซยี ส 4. ชันเทอริโมเฟยี ร์ ( themosphere) อยู่ถัดจากชั้นเมโซพอสข้ึนไป สูงจากผิวโลกประมาณ 80 กิโลเมตรขึ้นไป เป็นชั้นทีม่ ีอุณหภมู ิสูงขน้ึ ไปอกี ( ดังภาพที่ 18 )
ส 33101 8 ภาพท่ี 18 ชนั บรรยาการศของโลก อิทธิพลทางบรรยากาศทมี่ ตี ่อโลก 1. ปรากฏการณจ์ ากโลกโคจรรอบดวงอาทิตย์ โลกหมุนรอบตวั เอง ใช้เวลา 24 ชั่วโมง / 1 วัน และโคจรรอบดวงอาทิตย์ใช้เวลา 365 วนั / 1 ปี การหมุนรอบตัวเองเอียงทามุม 23 องศา จากแนวต้ังฉากกับระนาบวงโคจรของโลก ( หมุนทวนเข็ม นาฬิกา / จากทิศตะวันตกไปทศิ ตะวันออก ) ( ดงั ภาพท่ี 19 ) ซึ่งกอ่ ให้เกิดปรากฏการณ์ดังน้ี กลางวัน – กลางคืน เกิดจากในขณะที่โลกหมุนรอบตัวเอง / โคจรรอบดวงอาทิตย์ ส่งผลให้พ้ืนผิวของโลกด้านทหี่ นั เขา้ หาดวงอาทติ ยไ์ ด้รับแสง เรยี กวา่ กลางวนั ส่วนพืน้ ผิวโลกทอี่ ยตู่ รงกนั ขา้ มไมไ่ ด้รับแสงอาทติ ย์จะมดื เรียกวา่ กลางคนื ฤดกู าล เกิดจากการี่โลกโคจรรอบดวงอาทิตย์ในรอบ 1 ปี การหมุนรอบตังเองของโลกเอียงทามุม 23 องศา ทาให้ตาแหน่งต่าง ๆ บนพื้นผิวโลกได้รับแสงและความรอ้ นจากดวงอาทิตย์ไม่เท่ากัน บริเวณท่ีได้รับแสง มากตอ่ เนอ่ื งเปน็ เวลานาน เรียกว่า ฤดรู ้อน ( ดังภาพท่ี 20 )
ส 33101 9 ภาพที่ 19 ปรากฏการณ์จากโลกโคจรรอบดวงอาทิตย์ ภาพท่ี 20 ฤดกู าล
ส 33101 10 2. ปรากฏการณจ์ ากดวงจันทรโ์ คจรรอบโลก ดวงจันทร์เป็นดาวบริวารของโลก ขนาดเล็กกว่าประมาณ 50เท่าและโคจรรอบโลกใช้เวลา 1 เดอื น / 29 วนั 6 ชัว่ โมง เรยี กวา่ เดอื นจันทรคติ ซ่งึ การโคจรของดวงจนั ทรร์ อบโลกทาให้เกดิ ปรากฏการณ์ดังน้ี ขา้ งขึน – ข้างแรม ขา้ งขนึ้ เปน็ ปรากฏการณท์ เ่ี หน็ ดา้ นสวา่ งของดวงจนั ทร์คอ่ ย ๆ เพิม่ ขน้ึ ในแตล่ ะคืน เริ่มตัง้ แต่ขึ้น 1 ค่าถึง ขนึ้ 15 คา่ ข้างแรม เป็นปรากฏการณ์ท่ีเห็นด้านสว่างของดวงจันทร์ค่อย ๆ ลดลงในแต่ละคืน เร่ิมต้ังแต่วันแรม 1 คา่ ถงึ แรม 15 คา่ ภาพท่ี 21 ข้างขึน – ขา้ งแรม
ส 33101 11 สรุ ยิ ุปราคา เป็นปรากฏการณ์ท่ีเกิดข้ึนในเวลากลางวัน เนื่องจากดวงจันทรโ์ คจรมาอยู่ในตาแหน่ง ระหว่างโลกและ ดวงอาทิตยใ์ นแนวเสน้ ตรง ดวงจันทรโ์ คจรมาบดบงั แสงของดวงอาทิตย์ ทาให้เกิดขนึ้ ตกลงมายงั โลกเกิดความมืด มิดขนึ้ ในชว่ งระยะเวลาหน่ึง ( ดังภาพท่ี 22 ) ภาพที่ 22 แสดงสรุ ิยปุ ราคา จนั ทรุปราคา เป็นปรากฏการณ์ทเ่ี กดิ ขน้ึ ในเวลากลางคนื เน่ืองจากโลกโคจรมาอยูใ่ นตาแหนง่ ระหว่างดวงจันท์และดวง อาทติ ยเ์ ปน็ เส้นตรง ( ขึ้น 14 - 15 ค่าและแรม 1ค่า) แสงจากดวงอาทิตย์ที่ส่องกระทบโลก ทาให้เกิดเงา ทอดไปในอากาศ เม่ือดวงจันทรโ์ คจรเข้ามาอยู่ในเงาของโลก ทาใหเ้ กิดเงาทอดไฟในอากาศ เมื่อดวงจันทร์โคจร เข้ามาอยูใ่ นเงาของโลก ดวงจนั ทร์จะคอ่ ย ๆ มดื ลง ( ดงั ภาพที่ 23 ) ภาพท่ี 23 แสดงจันทรุปราคา
ส 33101 12 3. ปรากฏการณจ์ ากการเคลือ่ นไหวและหมุนเวยี นของอากาศ การเคล่อื นไหวและการหมนุ เวยี นของอากาศในทางราบตามผิวโลก เรยี กกวา่ ลม ซ่ึงทาใหเ้ กิด ปรากฏการณ์ดังน้ี ลมบก – ลมทะเล ลมทะเล เกดิ ในเวลากลางวนั พ้ืนดนิ ไดร้ ับแสงแดด พ้ืนดินจะร้อนข้ึนรวดเร็ว ทาให้พื้นดินมีอณุ หภมู ทิ ส่ี งู เกิดความกดอากาศต่า ในขณะท่ีพื้นน้าเม่ือได้รับ ความร้อนจะเฉลี่ยความร้อนทั่วไปทั่ว ทาให้ร้อนช้า อุณหภูมิไม่สูงมากนัก เกิดความกดอากาศสูงเท่า บริเวณพ้ืนดิน จึงเกิดลมพัดจากพ้ืนน้าเข้าสู่พื้นดิน ( ดงั ภาพที่ 24) ภาพท่ี 24 ลมทะเล ลมบก เกิดในเวลากลางคืน ในเวลา กลางคนื พืน้ ดนิ จะคายความรอ้ นออกไปอย่างรวดเร็ว ในขณะที่พื้นน้าจะคายความร้อนช้ากว่า ดังน้ัน อุณหภูมิบนพ้ืนดินจะเย็นเร็วกว่าพ้ืนน้าโดยรอบ ส่งผลให้พื้นดินมีความกดอากาศสูงกว่าพ้ืนน้า จึง เกิดลมพัดจากพืน้ ดินไปสู่พน้ื นา้ ( ดงั ภาพที่ 25 ) ภาพที่ 25 ลมบก 5. ชวี ภาค ( Biosphere ) คอื ส่งิ มีชวี ิตที่อยบู่ นพน้ื โลก ท้ังบนบก ในดนิ ในน้าและอากาศ ซ่งึ ทง้ั หมด มีความสัมพนั ธก์ นั และปรับตวั ใหเ้ ข้ากับสภาพแวดล้อม 1. พชื พรรณธรรมชาติ ลักษณะทางกายภาพของพืช แบง่ ออกเปน็ 1.) ประเภทของพชื เช่นไมย้ นื ต้น ไมพ้ ุ่ม เถา หญา้ กาฝาก 2.) ขนาดคามสงู ของลาตน้ พืช 3.) การแผร่ ่มเงาของพืช 4.) การทาหน้าทขี่ องพืช 5.) ลักษณะ ขนาด และรปู ร่างของใบ 2. การกระจายของพชื พรรณธรรมชาติในโลก แบง่ ได้ 3 ประเภท ดงั นี้
ส 33101 13 1 ) พืชน้าเค็ม : พืชท่ีเจริญเติบโตได้ในน้าเค็ม เช่น สาหร่าย หญ้าทะเล สามารถสังเคราะห์ แสงจากดวงอาทิตย์เพ่อื สร้างอาหารเองได้ 2 ) พชื น้าจืด : พชื ทเ่ี จริญเติบโตได้ในนา้ จดื เชน่ บวั แหน ผักตบชวา ตน้ อ้อ ต้นทองหลาง นอกจากนบ้ี ริเวณระหว่างน้าจืดและนา้ เค็มหรือนา้ กร่อย จะมปี า่ ชายเลน พืชพรรณได้แก่ โกงกาง แสม ลาพู ตะบนู 3 ) พชื บนบก : พชื ทีเ่ จรญิ เติบโตบนแผ่นดิน อยตู่ ามส่วนตา่ ง ๆ ของโลก เช่น ปา่ ไม้ ป่าสลับ ทุ่งหญ้า ทุ่งหญ้า และพืชทะเลทราย ซ่ึงข้ึนอยู่กับสภาพแวดล้อมทางธรรมชาติ คือ ลักษณะภูมิอากาศความ สมบรูณข์ องดิน ลักษณะภมู ิอากาศ และองค์ประกอบทางชวี ภาพ 3. สัตว์ ซึ่งอาศยั อยู่ในสว่ นต่าง ๆ ของโลก แบ่งออกเป็น 7 เขต ดังนี้ 1 ) สตั ว์ในขั้วโลก เช่น หมขี าว กวางคาริบ กระต่ายป่า วาฬ 2 ) สัตวใ์ นเขตปา่ อบอุ่น เช่น หมี กวางชนิดตา่ ง ๆ หมโี คอาลา นกกวี ี 3 ) สัตวใ์ นเขตป่าดิบ เช่น ลิง คา้ งคาว เสอื สมเสร็จ ชมิ แปนซี 4 ) สตั วใ์ นเขตทุ่งหญา้ เช่น สงิ โต แรด ชา้ ง เสอื ชีตาห์ ม้าลาย กวางเรเดียร์ หมีแพนดา 5 ) สตั ว์ในเขตทะเลทราย เชน่ อฐู แมงปอ่ ง ตะขาบ และสตั วเ์ ลอื่ ยคลาน 6 ) สัตว์ในเขตภูเขา เชน่ จามรี กวาง แพะ แกะ ลามา 7 ) สตั วใ์ นมหาสมทุ ร เช่น กุ้งหอย ปู ปลา วาฬ ฉลาม ปลากระเบน *******************************
Search
Read the Text Version
- 1 - 13
Pages: