รายงานผลการดำ�เนนิ งาน สภามหาวิทยาลยั ศลิ ปากร ปี พ.ศ. 2563 ( มกราคม - ธนั วาคม 2563 ) Annual Report Silpakorn University Council 2020 จดั ท�ำ โดยส�ำ นักงานสภามหาวทิ ยาลยั ศิลปากร รายงานผลการดำ�เนินงาน สภามหาวทิ ยาลยั ศิลปากร ปี พ.ศ. 2563 Annual Report Silpakorn University Council 2020
รายงานผลการดำ�เนนิ งาน สภามหาวทิ ยาลัยศลิ ปากร ปี พ.ศ. 2563 Annual Report Silpakorn University Council 2020
รายงานผลการดำ�เนินงาน สภามหาวทิ ยาลัยศิลปากร ปี พ.ศ. 2563 Annual Report Silpakorn University Council 2020
รายงานผลการดำ�เนนิ งาน สภามหาวทิ ยาลัยศลิ ปากร ปี พ.ศ. 2563 Annual Report Silpakorn University Council 2020
สาสรารจจาากกนนาายยกสกภสามภหาามวทิหยาาวลทิ ยั ยาลัย รายงานผลการดาเนินงานของสภามหาวิทยาลัยศิลปากร ในรอบปี พ.ศ. 2563 ฉบับนี้เป็นฉบับท่ี 11 ที่สานักงานสภามหาวิทยาลัยจัดทาขึ้น เพ่ือรวบรวมการดาเนินงานของสภามหาวิทยาลัยในรอบปี พ.ศ. 2563 (มกราคม – ธันวาคม 2563) ซ่ึงทาให้เห็นภาพรวมการทางานของ สภามหาวิทยาลัยในด้านต่างๆ ในรอบปีท่ีผ่านมา และใช้เป็นข้อมูลในการ ค้นคว้าอ้างอิง รวมท้ังการปรับปรุงและพัฒนาการทางานของสภา มหาวิทยาลัยต่อไป ผลการดาเนิ นงานของสภามหาวิทยาลัยฉบั บนี้ อยู่ในช่วงที่ นายภราเดช พยัฆวิเชียร ทาหน้าที่นายกสภามหาวิทยาลัย และเป็นสภา มหาวิทยาลัยชุดแรกเมื่อมหาวิทยาลัยศิลปากรปรับเปลี่ยนสถานภาพเป็น มหาวิทยาลัยในกากับของรัฐ ตามพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยศิลปากร พ.ศ.2559 โดยนายกสภามหาวิทยาลยั และกรรมการสภามหาวทิ ยาลัยชุดที่ แล้วได้เข้ามาปฏิบัติหน้าท่ีเม่ือวันที่ 21 สิงหาคม 2560 มีวาระการดารง ตาแหน่ง 3 ปี ถึงวันท่ี 20 สิงหาคม 2563 และได้ปฏิบัติหน้าที่ต่อเนื่องถึง วันที่ 8 กุมภาพันธ์ 2564 จนกระทั่งได้มีพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ แต่งต้ังนายกสภามหาวิทยาลัยและกรรมการสภามหาวิทยาลัยผู้ทรงคุณวุฒิ ชุดใหมใ่ นวนั ที่ 9 กุมภาพันธ์ 2564 ดิฉันขอถือโอกาสน้ีขอบคุณนายภราเดช พยัฆวิเชียร อดีตนายกสภามหาวิทยาลัยและกรรมการ สภามหาวิทยาลัยศิลปากรทุกท่านในชุดที่ผ่านมาท่ีได้เสียสละเวลา ทุ่มเททางาน และกาหนดนโยบาย ให้ คาปรึกษา ข้อเสนอแนะและช่วยแก้ไขปัญหาต่างๆ ของมหาวิทยาลัย ทาให้มหาวิทยาลัยมีความก้าวหน้า ตามลาดบั ผลการดาเนินงานของสภามหาวิทยาลัยในรอบปี พ.ศ. 2563 สภามหาวิทยาลัยได้ทาหน้าท่ี ตามอานาจหน้าที่ที่กาหนดไว้ในพระราชบัญญัติ ระเบียบ ข้อบังคับต่างๆ เอกสารฉบับน้ีได้รวบรวมผลการ ดาเนินงานของสภามหาวิทยาลัยในรอบ 3 ปีที่ผ่านมา ระหว่างปี พ.ศ.2560-2563 ซ่ึงมีประโยชน์มากต่อสภา มหาวิทยาลัยชุดนี้ ในการใช้เป็นข้อมูลวางแผนการทางาน การกาหนดนโยบายทิศทางการพัฒนามหาวิทยาลัย รวมทั้งการกากับตดิ ตามการทางานในด้านต่างๆ ต่อไป สาหรับแนวทางการดาเนินการของสภามหาวิทยาลัยในปี พ.ศ. 2564 ที่สาคัญๆ เช่น การทบทวน ปรบั ปรุงระเบียบ ข้อบังคับ ที่มีจานวนมาก และใช้มาระยะหนึ่งแล้วให้ทันสมัย คล่องตัว การพัฒนาพื้นที่ส่วน ขยายการศึกษาท่ีเมืองทองธานี เพื่อรองรับจานวนนักศึกษาและภารกิจท่ีเพ่ิมข้ึน การขับเคล่ือนการเลือกกลุ่ม มหาวิทยาลัยในกลุ่มที่ 1 การพัฒนา การวิจัยระดับแนวหน้าของโลก (Global & Frontier Research) โดย จุดเน้น คือ เพิ่มศักยภาพมหาวิทยาลัยศิลปากรสู่อันดับโลก ด้านศิลปะ การออกแบบ และศิลปวัฒนธรรม ให้ เป็นไปตามทิศทางที่สภามหาวิทยาลัยให้ความเห็นชอบ รวมถึงกาหนดนโยบาย กากับติดตามและการ สนับสนุนให้มหาวิทยาลัยได้ริเร่ิมพัฒนานวัตกรรม เทคโนโลยีใหม่ๆ เพื่อให้การทางาน การบริหารจัดการทัน ต่อความเปล่ยี นแปลง ดิฉันและกรรมการสภามหาวิทยาลัยทุกคนพร้อมจะทางานร่วมกับผู้บริหารในทุกระดับ และ บุคลากรทุกฝ่าย เพื่อพัฒนามหาวิทยาลัยศิลปากรให้เป็น “มหาวิทยาลัยแห่งการสร้างสรรค์ศิลปะ วิทยาการ และภูมิปญั ญาเพื่อสังคม” ดังปณธิ านของมหาวิทยาลยั ต่อไป (ศาสตราจารยเ์ กียรตคิ ณุ คุณหญงิ ไขศรี ศรอี รุณ) นายกสภามหาวทิ ยาลัยศิลปากร 31 สงิ หาคม 2564 ก กรายงานผลการด�ำ เนนิ งาน สภามหาวิทยาลยั ศลิ ปากร ปี พ.ศ. 2563 Annual Report Silpakorn University Council 2020
สารบญั ญ หน้า ก สารจากนายกสภามหาวิทยาลยั ข สารบญั ง บทสรปุ ผู้บริหาร 1 สว่ นท่ี 1 ข้อมูลเกี่ยวกับสภามหาวิทยาลัยศิลปากร 1 6 1. กรรมการสภามหาวทิ ยาลัยศิลปากร 8 2. อานาจหน้าทีข่ องสภามหาวทิ ยาลัย 9 3. อานาจหน้าที่ของนายกสภามหาวิทยาลัย อุปนายกสภามหาวทิ ยาลัย 14 14 และเลขานุการสภามหาวิทยาลยั 33 4. สถิติเก่ียวกับการประชุมสภามหาวิทยาลัย ส่วนท่ี 2 ผลการดาเนินงานของสภามหาวทิ ยาลัยศิลปากร ในรอบปี พ.ศ. 2563 40 1. การดาเนนิ การตามอานาจ หน้าที่ในพระราชบญั ญัติมหาวทิ ยาลัยศิลปากร 49 พ.ศ. 2559 มาตรา 22 2. การดาเนนิ การตามอานาจหน้าท่ีอน่ื ๆ ท่ีกาหนดในข้อบังคับ ระเบยี บ ประกาศ 55 56 ของมหาวทิ ยาลยั และทไี่ ดร้ บั มอบหมายจากหนว่ ยงานท่เี กี่ยวข้อง 58 ส่วนท่ี 3 การดาเนนิ งานของคณะกรรมการชุดต่างๆ ท่สี ภามหาวิทยาลัยแต่งต้งั 65 71 สว่ นท่ี 4 การประมวลผลการดาเนินการของสภามหาวทิ ยาลยั ศลิ ปากร ปี พ.ศ. 2560 – 2563 73 ภาคผนวก ภาคผนวก 1 ขอ้ บังคบั ระเบียบ ประกาศ ภาคผนวก 2 จานวนและรายชื่อหลักสูตร การปรับปรงุ หลักสตู ร และการเปิด-ปดิ หลักสูตร ภาคผนวก 3 คณะกรรมการชุดต่างๆ ทส่ี ภามหาวิทยาลยั แต่งต้งั ภาคผนวก 4 ข้อตกลงความร่วมมือทางวิชาการของมหาวิทยาลยั ศลิ ปากรกับ มหาวทิ ยาลัยในต่างประเทศ ภาคผนวก 5 สรปุ กจิ กรรมสาคัญของสภามหาวิทยาลัย ในปี พ.ศ. 2563 ข รายงานผลการด�ำ เนินงาน สภามหาวิทยาลัยศลิ ปากร ปี พ.ศ. 2563 ข Annual Report Silpakorn University Council 2020
สสาารรบัญตาารราางง หน้า ตารางท่ี 1 จานวนระเบียบวาระการประชุม ในปี พ.ศ. 2563 9 ตารางท่ี 2 จานวนกรรมการสภามหาวิทยาลัยท่ีเข้ารว่ มประชมุ ในปี พ.ศ. 2563 12 ตารางที่ 3 แสดงเป้าประสงค์ของแผนพัฒนามหาวทิ ยาลัย ระยะ 5 ปี พ.ศ. 2562 – 2566 ตารางท่ี 4 (ฉบับปรบั ปรุง : เป้าหมาย ประจาปีงบประมาณ พ.ศ.2564) 15 ตารางที่ 5 การจดั สรรงบประมาณเพ่ือขับเคลือ่ นในแต่ละยทุ ธศาสตร์ ประจาปีงบประมาณ พ.ศ.2564 17 ตารางที่ 6 แสดงการปรบั ปรุงหลกั สูตร และเปดิ -ปิดหลกั สูตร จาแนกตามระดบั การศึกษา 25 แสดงจานวนหลกั สตู รทค่ี ณะกรรมการกล่นั กรองหลกั สตู รได้พจิ ารณาดาเนินการ 40 สสาารรบัญแผผนนภภมู มู ิ ิ 10 10 แผนภูมทิ ี่ 1 แสดงรอ้ ยละของระเบียบวาระการประชุมแตล่ ะประเภท ในปี พ.ศ. 2563 11 แผนภมู ิท่ี 2 แสดงจานวนระเบยี บวาระการประชุมสภามหาวิทยาลยั ตั้งแตป่ ี พ.ศ. 2559-2563 11 แผนภมู ทิ ่ี 3 แสดงจานวนระเบียบวาระโดยเฉลย่ี ในแตล่ ะครงั้ ตงั้ แตป่ ี พ.ศ. 2559-2563 13 แผนภมู ทิ ี่ 4 แสดงจานวนระเบียบวาระการประชุมแตล่ ะประเภท ตงั้ แต่ปี พ.ศ. 2559-2563 แผนภูมทิ ี่ 5 แสดงรอ้ ยละของกรรมการสภามหาวิทยาลัยท่ีเขา้ รว่ มประชมุ ต้ังแต่ปี พ.ศ. 2559-2563 ครายงานผลการดำ�เนนิ งาน สภามหาวิทยาลัยศิลปากร ปี พ.ศ. 2563 ค Annual Report Silpakorn University Council 2020
บทสรปุ ผบู้ ริหาร สภามหาวิทยาลัยชุดน้ีมีกรรมการสภามหาวิทยาลัย จานวน 31 คน เข้ามาปฏิบัติหน้าที่เม่ือวันท่ี 21 สิงหาคม 2560 มีวาระการดารงตาแหน่ง 3 ปี ครบวาระการดารงตาแหน่งเม่ือวันที่ 20 สิงหาคม 2563 และไดป้ ฏิบัตหิ น้าที่ต่อเนอื่ งถงึ วันท่ี 8 กุมภาพันธ์ 2564 จนกระทงั่ ไดม้ ีพระบรมราชโองการโปรดเกลา้ ฯ แต่งต้ัง นายกสภามหาวทิ ยาลัยและกรรมการสภามหาวทิ ยาลัยผทู้ รงคุณวุฒิชดุ ใหม่ ในวนั ท่ี 9 กุมภาพนั ธ์ 2564 ในปี พ.ศ. 2563 (มกราคม – ธันวาคม 2563) สภามหาวิทยาลัยมีการประชุมจานวน 11 ครั้ง มีระเบียบวาระการประชุมจานวน 203 เรื่อง โดยเฉล่ียมีวาระการประชุมครั้งละประมาณ 19 เรื่อง กรรมการ สภามหาวิทยาลัยเข้าร่วมประชุม เฉลี่ยร้อยละ 92.81 การดาเนินงานของสภามหาวิทยาลัย ในปี พ.ศ. 2563 มสี าระสาคัญโดยสรปุ ดังน้ี 1. ผลการดาเนินงานตามอานาจ หน้าที่ท่ีกาหนดไว้ในมาตรา 22 ของพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัย ศิลปากร พ.ศ. 2559 มดี งั นี้ 1.1 ให้ความเห็นชอบแผน ดังน้ี (1) แผนพัฒนามหาวทิ ยาลัย ระยะเวลา 5 ปี พ.ศ. 2562 - 2566 (ฉบับปรับปรงุ : เปา้ หมาย ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564) (2) แผนปฏิบัตกิ าร ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 มหาวิทยาลัยศิลปากร (3) แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา มหาวิทยาลัยศิลปากร ปีการศึกษา 2562 - 2566 และ (4) แผนพัฒนาคณะวิชา ส่วนงาน ในระยะเวลา 4 ปี ของคณบดี และหัวหน้าส่วนงาน ที่ได้รับการแต่งตั้งใหม่ จานวน 5 ส่วนงาน 1.2 ให้ความเห็นชอบ (1) ทิศทางการวิจัย นวัตกรรม และการสร้างสรรค์ของมหาวิทยาลัย ศิลปากร และ (2) คุณลักษณะบัณฑิตที่พึงประสงค์มหาวิทยาลัยศิลปากร และปรัชญาการศึกษา มหาวิทยาลัย ศลิ ปากร 1.3 ให้ความเห็นชอบระเบียบ ขอ้ บังคับ และประกาศของมหาวิทยาลัย จานวน 22 ฉบับ ดังน้ี (1) ระเบยี บ จานวน 5 ฉบบั (2) ขอ้ บงั คับ จานวน 11 ฉบับ และ (3) ประกาศ จานวน 6 ฉบบั 1.4 อนุมัติเกี่ยวกับหลักสูตร จานวน 217 หลักสูตร ดังน้ี (1) การปรับปรุงหลักสูตรที่ไม่กระทบ โครงสรา้ งหลกั สูตรและสาระสาคัญ จานวน 188 หลกั สูตร (2) การปรับปรุงหลักสตู รที่มีผลกระทบต่อโครงสรา้ ง และสาระสาคัญของหลักสูตร จานวน 14 หลักสูตร (3) การเปิดหลักสูตรใหม่ จานวน 4 หลักสูตร (4) การปิด หลกั สตู ร จานวน 7 หลักสูตร และ (5) การเปดิ สอนหลกั สูตรในลักษณะโครงการพเิ ศษ จานวน 4 หลักสูตร 1.5 ทูลเกล้าฯ ถวายปริญญาปรัชญาดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักด์ิ สาขาวิชาประวัติศาสตร์ศิลปะ แด่สมเด็จพระอริยวงศาคตญาณ (อมฺพรมหาเถร) สมเด็จพระสังฆราชสกลมหาสังฆปรณิ ายก 1.6 เห็นชอบรายชื่อผู้ทรงคุณวุฒิเพ่ือขอพระราชทานปริญญาดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักด์ิ จานวน 5 ราย 1.7 อนุมัติปริญญาแก่ผู้สาเร็จการศึกษา จานวน 5,630 ราย ดังนี้ (1) ดุษฎีบัณฑิต จานวน 175 ราย (2) มหาบณั ฑติ จานวน 523 ราย และ (3) ปรญิ ญาบัณฑิต จานวน 4,932 ราย 1.8 อนมุ ัติการตั้งงบประมาณงบประมาณรายจ่ายจากเงนิ รายได้ ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 จานวน 2,200.4192 ลา้ นบาท 1.9 พิจารณาดาเนินการเพื่อทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ แต่งตั้ง ดังน้ี (1) นายกสภามหาวิทยาลัย (2) กรรมการสภามหาวทิ ยาลยั ผ้ทู รงคุณวฒุ ิ จานวน 15 ราย และ (3) ศาสตราจารย์ จานวน 7 ราย 1.10 เหน็ ชอบรายชอื่ ผู้สมควรไดร้ บั ตาแหน่งศาสตราจารย์เกียรติคุณ จานวน 2 ราย 1.11 แต่งตงั้ ผูบ้ รหิ าร คอื คณบดี หัวหน้าส่วนงาน จานวน 6 ส่วนงาน ง รายงานผลการดำ�เนินงาน สภามหาวิทยาลยั ศิลปากร ปี พ.ศ. 2563 ง Annual Report Silpakorn University Council 2020
1.12 เห็นชอบผลการประเมินการขอกาหนดตาแหน่งทางวิชาการ จานวน 159 ราย ดังน้ี (1) ศาสตราจารย์ จานวน 13 ราย (2) รองศาสตราจารย์ จานวน 42 ราย และ (3) ผู้ช่วยศาสตราจารย์ จานวน 104 ราย 1.13 แต่งตั้งคณะกรรมการชุดต่างๆ เพ่ือช่วยกลั่นกรอง ให้ความคิดเห็น ข้อเสนอแนะต่อการ ดาเนินงานของสภามหาวทิ ยาลยั อาทิ (1) สภาวชิ าการ (2) คณะกรรมการท่ีปรกึ ษาเก่ียวกับนโยบายการบรหิ าร และพัฒนาทรัพยากรบุคคล (3) คณะกรรมการที่ปรึกษาเกี่ยวกับการเงินและทรัพย์สินของมหาวิทยาลัย (4) คณะกรรมการวิเคราะห์โครงสร้างส่วนงานและหน่วยงาน (5) คณะกรรมการศิลปวัฒนธรรมแห่งมหาวิทยาลัย ศลิ ปากร 1.14 เห็นชอบ (1) ร่าง รายงานผลการติดตาม และประเมินผลการดาเนินงานของมหาวิทยาลัย และการปฏิบัติหน้าที่ของอธิการบดี (ผู้ช่วยศาสตราจารย์ชัยชาญ ถาวรเวช) ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 (1 ตุลาคม 2561 – 30 กันยายน 2562) และ (2) เห็นชอบ ร่าง รายงานผลการติดตาม และประเมินผลการ ดาเนินงานของส่วนงาน และการปฏิบัติหน้าท่ีของคณบดีและหัวหน้าส่วนงานที่เรียกช่ืออย่างอ่ืนที่มีฐานะ เทียบเทา่ คณะ ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2562 (1 ตุลาคม 2561 – 30 กนั ยายน 2562) 2. การดาเนินการตามอานาจหน้าที่อื่นๆ ท่ีกาหนดในข้อบังคับ ระเบียบ ประกาศของมหาวิทยาลัย และ ทไ่ี ด้รับมอบหมายจากหน่วยงานท่เี กยี่ วขอ้ ง 2.1 อนุมัติการปรับแผนอัตรากาลังมหาวิทยาลัยศิลปากร ระยะ 4 ปี พ.ศ. 2563 - 2566 จานวน 5 อัตรา 2.2 กาหนดนโยบาย เป้าหมาย ผลสมั ฤทธ์ิของคณะ ส่วนงานที่เรียกชอื่ อย่างอ่ืนที่มฐี านะเทียบเท่า คณะ ท่ีจะดาเนินการสรรหาคณบดี หัวหน้าส่วนงาน เพ่ือมอบให้คณะกรรมการสรรหานาไปใช้ประกอบการ สรรหาฯ จานวน 7 สว่ นงาน 2.3 เห็นชอบรายงานผลการพิจารณาเรื่องอุทธรณ์และร้องทุกข์ที่บุคลากรของมหาวิทยาลัย รอ้ งมา จานวน 1 ราย 2.4 อนุมัติอัตราเงินเดือน และเงินประจาตาแหน่งของผู้ดารงตาแหน่งผู้บริหาร คือ คณบดี และ หวั หน้าส่วนงานทมี่ ีฐานะเทยี บเทา่ คณะ ที่ไดร้ บั การแต่งตั้งใหม่ จานวน 7 ราย 2.5 เห็นชอบการทาข้อตกลงความร่วมมือทางวิชาการระหว่างมหาวิทยาลัยศิลปากรกับ มหาวิทยาลยั /สถาบนั ในตา่ งประเทศ จานวน 20 ฉบบั 2.6 แต่งต้ังคณะกรรมการพิจารณากลั่นกรองการต่อเวลาราชการของข้าราชการพลเรือน ใน สถาบันอุดมศึกษา และการต่อการจ้างของพนักงานมหาวิทยาลัยสายวิชาการ ประเภทพนักงานประจา ที่จะ เกษียณอายุครบหกสิบปีบริบูรณ์ สังกัดมหาวิทยาลัยศิลปากร ประจาปีงบประมาณ พ.ศ.2564 (ณ วันที่ 1 ตุลาคม 2563) และเห็นชอบการต่อการจ้างพนักงานมหาวิทยาลัย สายวิชาการ ประเภทพนักงานประจา ที่จะ เกษียณอายุครบหกสิบปีบริบูรณ์ สังกัดมหาวิทยาลัยศิลปากร ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 (ณ วันท่ี 1 ตุลาคม 2563) จานวน 4 ราย จรายงานผลการดำ�เนินงาน สภามหาวทิ ยาลัยศิลปากร ปี พ.ศ. 2563 Annual Report Silpakorn University Council 2020 จ
3. นโยบายการปฏิรปู มหาวทิ ยาลัยศิลปากร (Reform Agenda) สภามหาวิทยาลัยได้มอบนโยบายการปฏิรูปมหาวิทยาลัยศิลปากร (Reform Agenda) ตั้งแต่ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2560 และได้กากับติดตามการดาเนินการมาโดยตลอด โดยในปี พ.ศ. 2563 ท่ีปรึกษา ชาวญี่ปุ่น ได้สรุปผลการวิเคราะห์ สภาพปัจจุบันของมหาวิทยาลัยศิลปากร และสภามหาวิทยาลัยได้เห็นชอบ รายงานผลการวเิ คราะหฯ์ แลว้ 4. การดาเนินงานของคณะกรรมการชดุ ตา่ งๆ ทสี่ ภามหาวทิ ยาลัยแตง่ ตัง้ สภามหาวิทยาลัยได้แต่งตั้งคณะกรรมการชุดต่างๆ เพ่ือช่วยกล่ันกรองการทางาน ซ่ึง คณะกรรมการชดุ ต่างๆ ไดร้ ายงานผลการดาเนนิ งานโดยสรปุ ดังน้ี 4.1 คณะกรรมการกลั่นกรองหลักสตู ร ศาสตราจารย์เกียรติคุณ ดร.สันติ เล็กสุขุม ประธานกล่มุ สาขาสงั คมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ ศาสตราจารยเ์ กยี รติคุณ อรศิริ ปาณินท์ ประธานกลุ่มสาขาศิลปะและการออกแบบ ศาสตราจารย์ ดร.สนิท อกั ษรแก้ว ประธานกลมุ่ สาขาวทิ ยาศาสตร์ คณะกรรมการทั้ง 3 ชดุ ได้พิจารณากล่ันกรองหลักสูตร จานวน 18 หลักสูตร ดังน้ี (1) ระดับ ปรญิ ญาตรี จานวน 3 หลักสตู ร (2) ระดับปริญญาโท จานวน 7 หลักสตู ร และ (3) ระดับปริญญาเอก จานวน 8 หลกั สูตร 4.2 คณะกรรมการตรวจสอบประจามหาวิทยาลัยศิลปากร (นางพรรณขนิตตา บุญครอง กรรมการสภามหาวิทยาลยั ผู้ทรงคณุ วฒุ ิ ประธานกรรมการ) คณะกรรมการ ได้ดาเนินการ อาทิ (1) ตรวจสอบรายงานการเงินของมหาวิทยาลัย และ ตรวจสอบบัญชีของหน่วยงานในกากับ (2) ติดตามให้ข้อเสนอแนะเกี่ยวกับการควบคุมภายในสาหรับข้ันตอน การทางานของระบบ SU-ERP ของมหาวิทยาลัย (3) ติดตามผลการดาเนินการตามแผนบริหารความเส่ียงของ มหาวิทยาลัยศิลปากร ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 และการกาหนดแผน บริหารความเส่ียงของ มหาวิทยาลัยศิลปากร ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 (4) ตรวจเย่ียมวิทยาเขตพระราชวังสนามจันทร์ และ วิทยาเขตสารสนเทศเพชรบุรี และให้ข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะในการพัฒนาการทางาน และ (5) ติดตามให้ ขอ้ เสนอแนะ การปรับปรุง และพัฒนางานตรวจสอบภายใน 4.3 คณะกรรมการท่ีปรึกษาเกี่ยวกับการเงินและทรัพย์สินของมหาวิทยาลัย (นางดวงสมร วรฤทธิ์ กรรมการสภามหาวิทยาลัยผู้ทรงคุณวฒุ ิ ประธานกรรมการ) คณะกรรมการ ได้ดาเนินการ อาทิ (1) เสนอแนะให้มหาวิทยาลัยดาเนินการ อาทิ การวิเคราะห์ สถานะและแนวโน้มทางการเงินของแต่ละคณะ จัดทาแผนหารายได้ จัดทาแผนค่าใช้จ่ายบุคลากร (2) กลั่นกรองงบประมาณรายจ่ายจากเงินรายได้ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 (3) พิจารณาการนาเงินของ มหาวิทยาลัยไปลงทุนในกองทุนส่วนบุคคลกับ บลจ. ไทยพาณิชย์ และ บลจ. กสิกรไทย (4) พิจารณาวงเงิน งบประมาณ และแนวทางการช่วยเหลือเยียวยานักศึกษาเพือ่ รองรับการแพร่ระบาดของโรคตดิ เช้ือไวรัสโคโรนา 2019 (5) พิจารณาแผนการใช้เงินกองทุนพัฒนามหาวิทยาลัยประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 (6) พิจารณาให้ ความเห็นชอบการกาหนดอัตราคา่ ธรรมเนยี มการศึกษาของคณะตา่ งๆ จานวน 10 หลกั สูตร 4.4 คณะกรรมการพิจารณาตาแหน่งทางวิชาการ (ศาสตราจารย์กิตติคุณ ดร.บวรศักดิ์ อวุ รรณโณ กรรมการสภามหาวทิ ยาลัยผทู้ รงคุณวุฒิ ประธานกรรมการ) คณะกรรมการ ได้ดาเนินการ (1) ประเมินผลงานทางวิชาการของคณาจารย์ที่เสนอขอกาหนด ตาแหน่งทางวิชาการ ในปี พ.ศ. 2563 จานวน 9 ราย (2) จัดทา ข้อบังคับมหาวิทยาลัยศิลปากรว่าด้วย ฉ รายงานผลการดำ�เนนิ งาน สภามหาวิทยาลัยศลิ ปากร ปี พ.ศ. 2563 ฉ Annual Report Silpakorn University Council 2020
หลักเกณฑ์และวิธีการพิจารณาแต่งตั้งบุคคลให้ดารงตาแหน่งผู้ช่วยศาสตราจารย์ รองศาสตราจารย์ และ ศาสตราจารย์ (ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2563 4.5 คณะกรรมการกล่ันกรองด้านกฎหมายของสภามหาวิทยาลัยศิลปากร (ศาสตราจารย์ กิตติคุณ ดร.บวรศักด์ิ อุวรรณโณ กรรมการสภามหาวทิ ยาลยั ผ้ทู รงคณุ วฒุ ิ ประธานกรรมการ) คณะกรรมการ ได้พิจารณากล่ันกรอง ร่าง ข้อบังคับมหาวิทยาลัยศิลปากรว่าด้วยหลักเกณฑ์และ วิธีการพิจารณาแต่งต้ังบุคคลให้ดารงตาแหน่งผู้ช่วยศาสตราจารย์ รองศาสตราจารย์ และศาสตราจารย์ (ฉบับที่ ... ) พ.ศ. .... 4.6 คณ ะกรรมการกล่ันกรองข้อกฎหมายด้านบริหาร เพื่อการขับเคล่ือน และพัฒนา มหาวิทยาลัย ของสภามหาวิทยาลัย (นายอนุชาติ คงมาลัย กรรมการสภามหาวิทยาลัยผู้ทรงคุณวุฒิ ประธาน กรรมการ) คณะกรรมการ ได้พิจารณากลั่นกรองข้อกฎหมายเกยี่ วกบั ด้านบรหิ าร จานวน 20 ฉบับ ดังน้ี (1) ขอ้ บงั คับ จานวน 11 ฉบบั (2) ประกาศ จานวน 2 ฉบับ และ (3) ระเบียบ จานวน 7 ฉบับ 4.7 คณะกรรมการพิจารณากลั่นกรองข้อกฎหมายเพื่อการปรับเปลี่ยนสถานะของ มหาวิทยาลัยเป็นมหาวิทยาลัยในกากับของรัฐ เกี่ยวกับด้านวิชาการและวิจัย (นายสุมนต์ สกลไชย กรรมการสภามหาวทิ ยาลัยผ้ทู รงคณุ วุฒิ ประธานกรรมการ) คณะกรรมการ ได้พจิ ารณากลน่ั กรองข้อกฎหมายเก่ยี วกับด้านวิชาการ วจิ ัย จานวน 6 ฉบบั ดังน้ี (1) ขอ้ บังคบั จานวน 2 ฉบับ และ (2) ประกาศ จานวน 4 ฉบบั 4.8 คณะกรรมการวิเคราะห์โครงสร้างส่วนงานและหน่วยงาน (นายสมุ นต์ สกลไชย กรรมการ สภามหาวิทยาลยั ผู้ทรงคณุ วฒุ ิ ประธานกรรมการ) คณะกรรมการ ได้ดาเนินการ อาทิ (1) พิจารณากาหนดขั้นตอนและแบบฟอร์มการประเมิน ภาควิชา และการรายงานผลการประเมิน (2) พิจารณาสรุปสภาพปัจจุบัน ปัญหาอุปสรรค และข้อเสนอแนะ แนวการพัฒนาคณะ สว่ นงาน สว่ นงานเทยี บเท่าคณะ หน่วยงานภายในและหน่วยงานย่อย 4.9 คณะกรรมการยกร่างแนวทางการปฏิรูปมหาวิทยาลัยศิลปากร (คุณหญิงกษมา วรวรรณ ณ อยธุ ยา กรรมการสภามหาวิทยาลัยผทู้ รงคุณวุฒิ ประธานกรรมการ) คณะกรรมการ ได้ดาเนินการ (1) แต่งต้ังคณะอนุกรรมการ คณะทางานที่เกี่ยวข้อง เพ่ือ ดาเนินการปฏิรูปมหาวิทยาลยั จานวน 3 ชดุ (2) ให้ข้อเสนอแนะตอ่ การปฏิรูปมหาวทิ ยาลัย อาทิ มอบนโยบาย แนวทางการดาเนินงาน และ (3) ให้ข้อเสนอแนะต่อรายงานผลการวิเคราะห์ 1st Scanning Silpakorn Model ของท่ีปรึกษาชาวญปี่ ่นุ 4.10 คณะกรรมการติดตาม และประเมินผลการดาเนินงานของมหาวิทยาลัย และการปฏิบัติ หน้าทข่ี องอธกิ ารบดี (นายสุมนต์ สกลไชย กรรมการสภามหาวทิ ยาลัยผูท้ รงคณุ วฒุ ิ ประธานกรรมการ) คณะกรรมการ ได้ดาเนินการเรอ่ื งการตดิ ตาม และประเมนิ ผลฯ อาทิ (1) พิจารณากล่นั กรองแผน ต่างฯ ที่มหาวิทยาลัยเสนอ (2) จัดทารายงานผลการติดตาม และประเมินผลการดาเนินงานของมหาวิทยาลัย และการปฏิบัตหิ น้าที่ของอธิการบดีมหาวิทยาลยั ศลิ ปากร ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2562 (1 ตุลาคม 2561 - 30 กันยายน 2562) และ (3) จดั ทาคมู่ ือ การตดิ ตาม และประเมนิ ผลการดาเนินงานของมหาวทิ ยาลัย และการ ปฏิบัติหน้าท่ีของอธิการบดีมหาวิทยาลัยศิลปากร ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 และประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 ชรายงานผลการดำ�เนนิ งาน สภามหาวทิ ยาลัยศิลปากร ปี พ.ศ. 2563 ช Annual Report Silpakorn University Council 2020
4.11 คณะกรรมการติดตาม และประเมินผลการดาเนินงานของส่วนงาน และการปฏิบัติ หน้าท่ีของคณบดีและหัวหน้าส่วนงานที่เรียกช่ืออย่างอื่นที่มีฐานะเทียบเท่าคณะ (ศาสตราจารย์ ดร.จตุรนต์ ถริ ะวัฒน์ กรรมการสภามหาวิทยาลยั ผทู้ รงคณุ วุฒิ ประธานกรรมการ) คณะกรรมการ ไดด้ าเนินการเร่ืองการติดตาม และประเมินผลฯ อาทิ (1) รายงานผลการตดิ ตาม และประเมินผลการดาเนนิ งานของส่วนงาน และการปฏบิ ัติหนา้ ที่ของคณบดีและหวั หนา้ สว่ นงานท่ีเรยี กชอ่ื อยา่ งอื่นทม่ี ฐี านะเทยี บเท่าคณะ ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2562 (1 ตุลาคม 2561 - 30 กันยายน 2562) และ (2) หลักเกณฑ์การติดตาม และประเมินผลการดาเนินงานของสว่ นงาน และการปฏิบตั หิ นา้ ท่ขี องหัวหนา้ สว่ นงาน ประจาปงี บประมาณ พ.ศ.2563 4.12 คณะกรรมการอุทธรณ์และร้องทุกข์ (ศาสตราจารย์กิตติคุณ ดร.บวรศักด์ิ อุวรรณโณ กรรมการสภามหาวทิ ยาลยั ผู้ทรงคุณวฒุ ิ ประธานกรรมการ) คณะกรรมการ พิจารณาคาร้องทุกข์ จานวน 2 เร่ือง โดยเป็นเร่ืองร้องทุกข์ของข้าราชการ จานวน 1 เร่อื ง และเร่ืองรอ้ งทกุ ขข์ องพนักงานมหาวิทยาลัย จานวน 1 เรือ่ ง 4.13 คณะกรรมการพิจารณากล่ันกรองการต่อเวลาราชการของข้าราชการพลเรือนใน สถาบันอุดมศึกษาและต่อการจ้างของพนักงานมหาวิทยาลัยสายวิชาการ ประเภทพนักงานประจา ที่จะเกษียณอายุครบหกสิบปีบริบูรณ์ สังกัดมหาวิทยาลัยศิลปากร ประจาปีงบประมาณ พ.ศ.2564 (ณ วันที่ 1 ตุลาคม 2563) (ศาสตราจารย์เกียรติคุณอรศิริ ปาณินท์ กรรมการสภามหาวิทยาลัยผู้ทรงคุณวุฒิ ประธานกรรมการ) คณะกรรมการ ได้พิจารณากล่ันกรองการต่อเวลาการจ้างของพนักงานมหาวิทยาลัยสายวิชาการ ประเภทพนักงานประจา ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 (ณ วันที่ 1 ตุลาคม 2563) เสนอสภามหาวิทยาลัย พิจารณา จานวน 4 ราย ซ รายงานผลการดำ�เนินงาน สภามหาวทิ ยาลยั ศลิ ปากร ปี พ.ศ. 2563 ซ Annual Report Silpakorn University Council 2020
ส่วนที่ 1 ข้อมูลเกี่ยวกับสภามหาวทิ ยาลยั ศลิ ปากร 1. กรรมการสภามหาวทิ ยาลัยศลิ ปากร ตามมาตรา 20 ของพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยศิลปากร พ.ศ. 2559 สภามหาวิทยาลัยศิลปากร ประกอบดว้ ย กรรมการสภามหาวิทยาลัย จาํ นวน 31 คน โดยมาจาก (1) นายกสภามหาวทิ ยาลยั ซึ่งจะทรงพระกรณุ าโปรดเกล้าฯ แตง่ ต้งั (2) กรรมการสภามหาวิทยาลัยผู้ทรงคุณวุฒิ จํานวน 15 คน ซึ่งจะทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ แตง่ ตง้ั จากบคุ คลภายนอกมหาวิทยาลัย (3) อธกิ ารบดี (4) ประธานสภาคณาจารย์และพนักงาน และนายกสมาคมนักศึกษาเก่ามหาวทิ ยาลัยศลิ ปากร (5) กรรมการสภามหาวิทยาลัย จํานวน 6 คน ซึ่งเลือกจากผู้ดํารงตําแหน่งรองอธิการบดี จํานวน 1 คน จากผู้ดํารงตําแหน่งคณบดี จํานวน 4 คน และจากผู้ดํารงตําแหน่งหัวหน้า ส่วนงานที่เรยี กชอื่ อย่างอนื่ ทม่ี ฐี านะเทยี บเทา่ คณะ จํานวน 1 คน (6) กรรมการสภามหาวิทยาลยั จาํ นวน 6 คน ซึ่งเลือกจากคณาจารย์ประจําผู้ซ่ึงทําการสอนใน มหาวทิ ยาลัยมาแล้วไมน่ ้อยกว่า 5 ปีและมิใช่ผูด้ ํารงตาํ แหนง่ ตาม (5) สําหรับอุปนายกสภามหาวิทยาลัย ให้สภามหาวิทยาลัยเลือกกรรมการสภามหาวิทยาลัย ผ้ทู รงคุณวุฒคิ นหนึ่งเปน็ อุปนายกสภามหาวทิ ยาลัย ท้ังน้ีมีพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ แต่งต้ังนายกสภามหาวิทยาลัยและกรรมการสภา มหาวิทยาลัยผู้ทรงคุณวุฒิมหาวิทยาลัยศิลปากร (จํานวน 16 คน) เม่ือวันท่ี 21 สิงหาคม 2560 และ มหาวิทยาลัยได้ดําเนินการเลือกกรรมการสภามหาวิทยาลัยประเภทผู้บริหาร จํานวน 6 คน กรรมการสภา มหาวิทยาลัยประเภทคณาจารย์ประจํา จํานวน 6 คน และมีกรรมการสภามหาวิทยาลัยโดยตาํ แหน่ง จํานวน 3 คน รวมกรรมการสภามหาวิทยาลยั จํานวน 31 คน สภามหาวิทยาลัยชุดน้ีมีวาระการดํารงตําแหน่ง 3 ปี คือ ตั้งแต่วันที่ 21 สิงหาคม 2560 ถึงวันท่ี 20 สิงหาคม 2563 และได้ปฏิบัติหนา้ ท่ตี ่อเนื่องถึงวันท่ี 8 กุมภาพันธ์ 2564 จนกระทั่งได้มพี ระบรมราชโองการ โปรดเกล้าฯ แต่งตั้งนายกสภามหาวิทยาลัยและกรรมการสภามหาวิทยาลัยผู้ทรงคุณวุฒิชุดใหม่ ในวันที่ 9 กมุ ภาพันธ์ 2564 1รายงานผลการดำ�เนินงาน สภามหาวทิ ยาลยั ศิลปากร ปี พ.ศ. 2563 Annual Report Silpakorn University Council 2020
นายกสภามหาวิทยาลัยและกรรมการสภามหาวิทยาลัยผู้ทรงคุณวุฒิ นายภราเดช พยฆั วิเชยี ร นายกสภามหาวทิ ยาลยั ศลิ ปากร คุณหญงิ กษมา วรวรรณ ณ อยุธยา ศ.ดร.จตรุ นต์ ถิระวฒั น์ นายชัยณรงค์ อนิ ทรมีทรัพย์ กรรมการสภามหาวทิ ยาลัยผทู้ รงคณุ วฒุ ิ กรรมการสภามหาวิทยาลัยผู้ทรงคณุ วฒุ ิ กรรมการสภามหาวิทยาลยั ผูท้ รงคณุ วุฒิ และอุปนายกสภามหาวิทยาลัยศลิ ปากร นางดวงสมร วรฤทธิ์ นายณรงค์ โชควัฒนา ศ.กติ ตคิ ณุ ดร.บวรศกั ด์ิ อวุ รรณโณ กรรมการสภามหาวิทยาลยั ผทู้ รงคณุ วฒุ ิ กรรมการสภามหาวิทยาลัยผทู้ รงคณุ วุฒิ กรรมการสภามหาวทิ ยาลยั ผู้ทรงคณุ วฒุ ิ 2 รายงานผลการด�ำ เนนิ งาน สภามหาวิทยาลัยศลิ ปากร ปี พ.ศ. 2563 2 Annual Report Silpakorn University Council 2020
นายบญุ ชยั เบญจรงคกลุ นายปัญญา วิจินธนสาร นางพรรณขนิตตา บญุ ครอง กรรมกานราสยภบาุญมชหัยาวเิทบยญาจลรยั งผคู้ทกรุลงคณุ วุฒิ กรรมกานรสายภปามญั หญาาวทิ วยจิ าินลธัยนผสทู้ ารรงคณุ วฒุ ิ กรรมกนาารงสพภรารมณหขานวิตทิ ตยาาลบัยญุ ผคทู้ รรองคงณุ วุฒิ กรรมการสภามหาวิทยาลัยผู้ทรงคณุ วฒุ ิ กรรมการสภามหาวิทยาลยั ผทู้ รงคณุ วฒุ ิ กรรมการสภามหาวิทยาลัยผทู้ รงคณุ วุฒิ ศ.ดร.สนิท อักษรแก้ว ศ.เกยี รติคณุ ดร.สนั ติ เล็กสขุ ุม นายสุมนต์ สกลไชย กรรมการศส.ภดารม.สหนาิทวทิ อยกั าษลรยั แผกู้ทว้ รงคณุ วฒุ ิ กรรมศก.เากรยี สรภตาคิ มณุ หาดวริท.สยนัาลตยัิ เผล้ทู ็กรสงุขคมุ ณุ วฒุ ิ กรรมการสนภาายมสหุมานวติท์ ยสากลลัยไชผยู้ทรงคณุ วฒุ ิ กรรมการสภามหาวิทยาลัยผทู้ รงคณุ วุฒิ กรรมการสภามหาวิทยาลยั ผทู้ รงคณุ วุฒิ กรรมการสภามหาวทิ ยาลยั ผทู้ รงคณุ วฒุ ิ นายอนุชาติ คงมาลัย นายอภิสทิ ธ์ิ ไล่สตั รไู กล ศ.เกียรตคิ ุณ อรศริ ิ ปาณนิ ท์ กรรมการนสาภยาอมนหชุ าาวติทิ ยคางลมัยาผลทู้ยั รงคณุ วฒุ ิ กรรมกานรสายภอามภหิสิทาวธทิิ์ ไยลาส่ ลตั ยั รผไู ู้ทกลรงคณุ วฒุ ิ กรรมกศา.เรกสียภราตมคิ หณุ าวอทิ รยศาริ ลิ ยัปผาณทู้ รนิ งทค์ณุ วฒุ ิ กรรมการสภามห(ขา้อวมิทูลยาณลัยวผนั ้ทู ทรี่ ง3ค1ณุ ธวันฒุ วิาคมก2รร5ม6ก3า) รสภามหาวทิ ยาลยั ผูท้ รงคณุ วุฒิ กรรมการสภามหาวทิ ยาลัยผ้ทู รงคณุ วุฒิ (ข้อมูล ณ วนั ที่ 31 ธันวาคม 2563) รายงานผลการด�ำ เนินงาน สภามหาวทิ ยาลัยศิลปากร ปี พ.ศ. 2563 3 Annual Report Silpakorn University Council 2020 33
กรรมการสภามหาวิทยาลัยโดยตาแหน่ง ผศ.ชยั ชาญ ถาวรเวช อ.ดร.คณุ ัตว์ พธิ พรชัยกุล นายลลติ เลศิ ไมไ้ ทย อธิการบดีมหาวิทยาลัยศลิ ปากร ประธานสภาคณาจารยแ์ ละพนักงาน นายกสมาคมนกั ศกึ ษาเกา่ มหาวทิ ยาลยั ศลิ ปากร กรรมการสภามหาวิทยาลัยประเภทผบู้ รหิ าร ผศ.ดร.จรุงแสง ลกั ษณบญุ สง่ ผศ.ดร.อรณุ ศรี ลจี รี จาเนียร ผศ.ชวลติ ขาวเขยี ว รองอธิการบดฝี า่ ยบริหาร คณบดคี ณะวศิ วกรรมศาสตร์ คณบดคี ณะโบราณคดี และเทคโนโลยีอตุ สาหกรรม รศ.ดร.จไุ รรตั น์ นันทานชิ ผศ.วุฒชิ ยั เลศิ สถากจิ (ตาแหนง่ ว่างเมื่อวนั ที่ 1 พฤศจิกายน 2563) คณบดีบณั ฑิตวิทยาลัย คณบดคี ณะดุรยิ างคศาสตร์ หมายเหตุ กรรมการสภามหาวิทยาลยั ประเภทผบู้ รหิ าร คอื ผศ.ฉตั รชยั เผา่ ทองจนี ครบวาระการดารงตาแหนง่ ผู้อานวยการสานกั ดิจิทัลเทคโนโลยี เมื่อวันท่ี 1 พฤศจิกายน 2563 และมหาวิทยาลัยไม่ได้ดาเนินการเลือกผู้ใดมาดารงตาแหน่งกรรมการสภา มหาวิทยาลัยประเภทผ้บู ริหารแทน เน่ืองจากอยู่ระหว่างขั้นตอนการดาเนินการเพื่อทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ แต่งต้ังนายกสภา มหาวิทยาลยั และกรรมการสภามหาวิทยาลัยผ้ทู รงคณุ วุฒิชุดใหม่ (ขอ้ มลู ณ วนั ท่ี 31 ธนั วาคม 2563) 4 รายงานผลการดำ�เนินงาน สภามหาวิทยาลัยศิลปากร ปี พ.ศ. 2563 4 Annual Report Silpakorn University Council 2020
กรรมการสภามหาวิทยาลัยประเภทคณาจารย์ประจา ศ.ดร.ศักดิ์ชยั สายสงิ ห์ ผศ.สพุ ิชญา เขม็ ทอง ผศ.ดร.ดิเรกฤทธิ์ บัวเวช คณะโบราณคดี คณะมณั ฑนศลิ ป์ คณะวทิ ยาศาสตร์ ผศ.ดร.สเุ ชษฐ์ สมุหเสนโี ต อ.ดร.นิรทุ ธ์ วัฒโนภาส (ตาแหน่งว่างเมอ่ื วนั ท่ี 1 ตุลาคม 2563) คณะวิศวกรรมศาสตร์ คณะศึกษาศาสตร์ และเทคโนโลยีอตุ สาหกรรม ฝ่ายเลขานุการสภามหาวิทยาลยั อ.ปญั จพล เหล่าพูนพัฒน์ นางสาวญาณิฐา หลิมวฒั นา รองอธิการบดฝี า่ ยวางแผนและพฒั นา ผู้อานวยการสานกั งานสภามหาวทิ ยาลัย เลขานุการสภามหาวิทยาลยั ผูช้ ว่ ยเลขานกุ ารสภามหาวทิ ยาลัย หมายเหตุ กรรมการสภามหาวทิ ยาลัยประเภทคณาจารยป์ ระจา คอื ผศ.ดร.เอกราช เจริญนติ ย์ เกษียณอายุเมอ่ื วันท่ี 1 ตุลาคม 2563 และมหาวิทยาลยั ไมไ่ ดด้ าเนนิ การเลือกผู้มาดารงตาแหนง่ กรรมการสภามหาวทิ ยาลยั ประเภทคณาจารยป์ ระจาแทน เน่ืองจากอยู่ ระหวา่ งขน้ั ตอนเพื่อทรงพระกรุณาโปรดเกลา้ ฯ แตง่ ตั้งนายกสภามหาวทิ ยาลัยและกรรมการสภามหาวิทยาลัยผ้ทู รงคณุ วุฒชิ ุดใหม่ (ข้อมลู ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2563) 5รายงานผลการดำ�เนนิ งาน สภามหาวิทยาลยั ศลิ ปากร ปี พ.ศ. 2563 5 Annual Report Silpakorn University Council 2020
2. อํานาจหนา้ ที่ของสภามหาวิทยาลยั สภามหาวิทยาลัยมีอํานาจหน้าที่ตามที่กาํ หนดในพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยศิลปากร พ.ศ. 2559 และ ตามข้อบงั คบั ระเบยี บ ประกาศของมหาวิทยาลัย รวมทงั้ ตามท่ไี ด้รบั มอบหมายจากหน่วยงานทเ่ี ก่ยี วข้อง โดยสรุปดังน้ี 2.1 อํานาจหน้าที่ตามพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยศิลปากร พ.ศ. 2559 มาตรา 22 สภามหาวิทยาลัยมี อาํ นาจหนา้ ทีค่ วบคุมดูแลกจิ การทั่วไปของมหาวทิ ยาลัยอาํ นาจหนา้ ทีเ่ ชน่ ท่ีว่าน้ใี ห้รวมถงึ มาตรา อํานาจหน้าทขี่ องสภามหาวทิ ยาลัย 22 (1) กาํ หนดนโยบายในการบริหารมหาวทิ ยาลยั และแผนพัฒนาของมหาวิทยาลัย (2) ออกข้อบังคบั ระเบียบ และประกาศของมหาวิทยาลัยเพ่ือประโยชน์ในการปฏบิ ัตงิ านของมหาวิทยาลัย และอาจ มอบหมายให้มหาวิทยาลัยหรือส่วนงานใดในมหาวิทยาลัยเป็นผู้ออกข้อบังคับ ระเบียบ และประกาศสําหรับ มหาวิทยาลยั หรอื ส่วนงานน้นั เปน็ เร่อื งๆ ไปก็ได้ (3) ออกขอ้ บงั คับว่าด้วยการบรหิ ารงานบคุ คลของมหาวิทยาลยั (4) ออกข้อบังคบั เกยี่ วกบั การบริหารการเงนิ การพัสดุ และทรัพย์สินของมหาวิทยาลยั (5) ออกข้อบังคับว่าด้วยการประกันคุณภาพการศึกษา การวิจัย และการประเมินผลการปฏิบัติงานของอธิการบดี และผูป้ ฏบิ ตั ิงานในมหาวิทยาลยั (6) อนมุ ตั ิหลกั สตู รการศึกษาและการเปดิ สอน รวมทั้งการปรับปรุง การยบุ รวมหรือการยกเลิกหลกั สตู รการศึกษา (7) อนมุ ัติการรบั เขา้ สมทบและการยกเลิกการสมทบของสถานศึกษาช้นั สงู หรอื สถาบันอ่ืน (8) อนุมตั ิการจัดการศกึ ษารว่ มและการยกเลกิ การจดั การศกึ ษารว่ มกบั สถานศกึ ษาชั้นสูงหรอื สถาบันอ่ืน (9) อนุมัติการให้ปริญญา อนุปริญญา และประกาศนียบัตรชั้นหนึ่งชัน้ ใด ทั้งของมหาวิทยาลัยและที่มหาวิทยาลัยจดั การศกึ ษารว่ มกบั สถานศกึ ษาชนั้ สงู หรอื สถาบนั อืน่ รวมท้ังอนุมตั ิการใหป้ รญิ ญากติ ตมิ ศกั ด์ิ (10) อนมุ ัตกิ ารจัดตง้ั และยบุ เลิกวทิ ยาเขต (11) อนุมัติการจัดต้ัง การรวม และการยุบเลิกส่วนงานของมหาวิทยาลัย รวมท้ังการแบ่งหน่วยงานภายในของส่วน งานดงั กลา่ ว (12) อนมุ ตั ิการตัง้ งบประมาณรายรบั และอนุมตั งิ บประมาณรายจ่ายของมหาวิทยาลัย (13) กาํ หนดนโยบายและวิธีการเกี่ยวกบั การจดั หารายได้ จดั หาแหล่งทุนและทรพั ยากรอน่ื (14) อนุมัติการกู้ยืมเงิน การให้กู้ยืมเงิน การถือหุ้น การเข้าเป็นหุ้นส่วน และการลงทุนหรือการร่วมลงทุนตามมาตรา 14 (8) (15) อนุมัติการจัดต้ังหรือร่วมกับบุคคลอ่ืนในการจัดตั้งองค์กรท่ีเป็นนิติบุคคล หรือยกเลิกนิติบุคคลท่ีจัดต้ังข้ึนตาม มาตรา 14 (11) (16) พิจารณาดําเนินการเพื่อทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ แต่งต้ัง และพิจารณาถอดถอนนายกสภามหาวิทยาลัย กรรมการสภามหาวทิ ยาลยั ผู้ทรงคณุ วฒุ ิ อธกิ ารบดี ศาสตราจารย์ และศาสตราจารย์พเิ ศษ (17) แต่งตั้งและถอดถอนรองอธิการบดี คณบดี หัวหน้าส่วนงานที่เรียกชื่ออย่างอื่นท่ีมีฐานะเทียบเท่าคณะ ศาสตราจารย์เกียรติคุณ รองศาสตราจารย์ รองศาสตราจารย์พิเศษ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ผู้ช่วยศาสตราจารย์พิเศษ ผู้ดํารงตําแหน่งทางวชิ าการท่ีเรียกช่ืออย่างอื่นตามมาตรา 58 วรรคสาม และกรรมการสภาวชิ าการ (18) แต่งตั้งกรรมการ คณะอนุกรรมการ หรือบุคคลใดบุคคลหนึ่งเพ่ือกระทําการใดๆ อันอยู่ในอํานาจหน้าที่ของสภา มหาวิทยาลัย รวมท้ังมอบอํานาจให้คณะกรรมการ คณะอนุกรรมการ หรือบุคคลดังกล่าวทําการแทนแล้ว รายงานให้สภามหาวทิ ยาลยั ทราบ (19) ติดตามและประเมินผลการปฏิบัติหน้าที่ของอธิการบดี คณบดี และหัวหน้าส่วนงานที่เรียกชื่ออย่างอื่นที่มีฐานะ เทยี บเทา่ คณะ (20) รบั รองรายงานประจาํ ปีของมหาวทิ ยาลัยและเสนอรายงานน้นั ตอ่ รัฐมนตรีเพื่อทราบ (21) ปฏิบัตหิ นา้ ท่อี นื่ เก่ยี วกบั กิจการของมหาวทิ ยาลยั ท่ีมิได้ระบใุ ห้เป็นหน้าท่ขี องสว่ นงานใดหรือของผู้ใดโดยเฉพาะ 6 รายงานผลการดำ�เนนิ งาน สภามหาวิทยาลัยศลิ ปากร ปี พ.ศ. 2563 6 Annual Report Silpakorn University Council 2020
2.2 อานาจหน้าทีต่ ามพระราชบญั ญตั มิ หาวิทยาลยั ศิลปากร พ.ศ. 2559 ในมาตราอ่นื ๆ มาตรา อานาจหน้าที่ของสภามหาวิทยาลัย 48 ให้สภามหาวทิ ยาลยั จัดให้มีการประเมินผลการปฏิบัตหิ น้าที่ของอธิการบดี คณบดีและหวั หนา้ สว่ นงานที่เรียกชื่อ อยา่ งอนื่ ท่มี ีฐานะเทยี บเท่าคณะ ตามหลกั เกณฑ์ วธิ กี าร และระยะเวลาทีก่ าหนดในขอ้ บงั คับของมหาวทิ ยาลยั 52 ให้สานักงานการตรวจเงินแผ่นดินหรือบุคคลภายนอกซึ่งสภามหาวิทยาลัยแต่งต้ังโดยความเห็นชอบของ สานักงานการตรวจเงินแผ่นดินเป็นผู้สอบบัญชีของมหาวิทยาลัย และให้ทาการตรวจสอบรับรองบัญชีและ การเงนิ ทุกประเภทของมหาวิทยาลยั ทุกรอบปีบญั ชี 54 ใหผ้ ู้สอบบัญชีจดั ทารายงานผลการสอบบัญชแี ละการเงนิ เสนอตอ่ สภามหาวิทยาลยั ภายในหน่ึงร้อยหา้ สบิ วันนับ แต่วันสิน้ ปบี ัญชี เพอื่ ให้สภามหาวทิ ยาลยั เสนอต่อรัฐมนตรี 58 ศาสตราจารย์ จะไดท้ รงพระกรณุ าโปรดเกลา้ ฯ แต่งต้งั โดยคาแนะนาของสภามหาวทิ ยาลัย สภามหาวิทยาลัยอาจกาหนดให้มีตาแหน่งทางวิชาการที่เรียกช่ืออย่างอื่นได้ โดยทาเป็นประกาศของ มหาวทิ ยาลยั และประกาศในราชกจิ จานุเบกษา 59 ศาสตราจารย์ซง่ึ มคี วามรคู้ วามสามารถและความชานาญเปน็ พเิ ศษและพน้ จากตาแหน่งไปโดยไม่มคี วามผิด สภา มหาวิทยาลัยอาจแต่งตั้งให้เป็นศาสตราจารย์เกียรติคุณในสาขาวิชาที่ศาสตราจารย์ผู้น้ันมีความเช่ียวชาญเพื่อ เป็นเกียรติยศได้ 60 ศาสตราจารยพ์ ิเศษนน้ั จะไดท้ รงพระกรุณาโปรดเกลา้ ฯ แต่งตัง้ จากผ้ซู ่ึงมิไดเ้ ปน็ ผปู้ ฏบิ ัติงานในมหาวทิ ยาลยั โดย คาแนะนาของสภามหาวทิ ยาลยั 61 สภามหาวิทยาลัยอาจแต่งต้ังผู้ซ่ึงมีคุณสมบัติเหมาะสมและมิได้เป็นคณาจารย์ประจาของมหาวิทยาลัยเป็นรอง ศาสตราจารยพ์ ิเศษหรือผ้ชู ่วยศาสตราจารยพ์ ิเศษได้ 65 สภามหาวิทยาลัยอาจออกข้อบังคับกาหนดให้ผู้สาเร็จการศึกษาชั้นปริญญาตรีได้รับปริญญาเกียรตินิยมอันดับ หนึง่ หรอื ปริญญาเกียรตินยิ มอนั ดบั สองได้ 66 สภามหาวิทยาลัยอาจออกข้อบงั คบั กาหนดให้มีประกาศนียบตั รช้นั ต่างๆ และอนปุ ริญญาได้ดงั ตอ่ ไปนี้ (1) ประกาศนียบัตรช้ันสงู ออกให้แก่ผู้สาเร็จการศึกษาในสาขาวิชาใดสาขาวชิ าหนึ่งภายหลังได้รับปริญญาโท หรอื เทียบเท่าแลว้ (2) ประกาศนียบัตรบัณฑิต ออกให้แก่ผู้สาเร็จการศึกษาในสาขาวิชาใดสาขาวิชาหนึ่งภายหลังได้รับปริญญา ตรหี รอื เทียบเท่าแล้ว (3) อนุปริญญา ออกให้แกผ่ สู้ าเร็จการศึกษาในสาขาวชิ าใดสาขาวชิ าหนงึ่ ก่อนถงึ ขัน้ ได้รบั ปรญิ ญาตรี (4) ประกาศนยี บตั รประเภทอืน่ ออกใหแ้ ก่ผู้สาเรจ็ การศึกษาเฉพาะวิชา 67 มหาวิทยาลัยมีอานาจให้ปริญญากิตติมศักดิ์แก่ผซู้ ่ึงสภามหาวิทยาลัยเห็นว่าทรงคุณวุฒิและคุณธรรมสมควรแก่ ปริญญาน้นั ๆ 2.3 อานาจหน้าที่ตามท่ีได้รับมอบหมายจากกระทรวงศึกษาธิการ สานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.) (ปัจจบุ ันคือกระทรวงการอดุ มศึกษา วทิ ยาศาสตร์ วิจัย และนวตั กรรม (อว.)) อาทิ ประกาศตา่ งๆ อานาจหนา้ ที่ทไ่ี ด้รับมอบหมาย 1. ประกาศกระทรวงศกึ ษาธกิ าร เรอ่ื ง ให้ความเห็นชอบการดาเนินการทาความตกลงทางวิชาการของมหาวิทยาลัยกับ แนวทางความตกลงร่วมมือทาง มหาวทิ ยาลัยในตา่ งประเทศ วิชาการระหว่างสถาบันอุดมศึกษา ตาม ข้อ 5.2 การดาเนินการความตกลงทางวิชาการใดๆ ต้องได้รับการ ไทยกับสถาบันอุดมศึกษาต่างประเทศ เห็นชอบจากสภาสถาบันอุดมศึกษา โดยต้องแจ้งให้คณะกรรมการการอุดมศกึ ษา พ.ศ. 2550 ทราบ ภายในระยะเวลา 30 วัน นับจากวันที่สภาสถาบันอุดมศึกษาให้ความ เหน็ ชอบ 2. ประกาศ ก.พ.อ. เร่ือง หลักเกณฑ์ พิจารณาแต่งตั้งคณะกรรมการพิจารณาการต่ออายุราชการ และพิจารณาอนุมัติ วิธีการ และเงื่อนไขการต่อเวลา การตอ่ เวลาราชการของอาจารย์ ราชการของข้าราชการพลเรือนใน ตามขอ้ 7 สถาบนั อุดมศึกษา พ.ศ. 2557 (1) ให้สถาบันอุดมศึกษาแต่งต้ังคณะกรรมการพิจารณากล่ันกรองการต่อ เ ว ล า ร า ช ก า ร ใ ห้ แ ก่ ข้ า ร า ช ก า ร ค ณ ะ ห น่ึ ง ป ร ะ ก อ บ ด้ ว ย ผู้ ท ร ง คุ ณวุ ฒิ ในส ภ า สถาบันอุดมศึกษาเป็นประธาน อธิการบดีเป็นรองประธาน และกรรมการอื่นตาม จานวนที่สภาสถาบนั อดุ มศกึ ษาเหน็ สมควร 7รายงานผลการด�ำ เนินงาน สภามหาวิทยาลยั ศิลปากร ปี พ.ศ. 25637 Annual Report Silpakorn University Council 2020
ประกาศตา่ งๆ อานาจหน้าที่ทไ่ี ดร้ บั มอบหมาย 3. ประกาศกระทรวงศึกษาธิการ (3) ให้สถาบันอุดมศึกษาโดยความเห็นชอบของสภาสถาบันอุดมศึกษา เรื่อง การจัดการศกึ ษานอกสถานที่ตง้ั ดาเนินการต่อเวลาราชการให้แก่ข้าราชการให้แล้วเสร็จก่อนสิ้นปีงบประมาณท่ี ข อ ง ส ถ า บั น อุ ด ม ศึ ก ษ า ข อ ง รั ฐ ขา้ ราชการนัน้ จะเกษียณอายุ พ.ศ. 2560 การอนุมัติหรือไม่อนุมัติให้ต่อเวลาราชการของสภาสถาบันอุดมศึกษาให้ เป็นทีส่ ดุ การพิจารณาเร่ืองการจดั การศึกษานอกที่ตั้ง ตามข้อ 6 เมื่อสภาสถาบันอุดมศึกษาของรัฐให้ความเห็นชอบให้จัด การศึกษานอกทต่ี ้ังตามข้อ 5 แล้ว อธิการบดีสถาบันอุดมศกึ ษาของรัฐต้องแจ้งให้ คณะกรรมการการอุดมศึกษาทราบภายในสามสบิ วนั ..... 3. อานาจหนา้ ท่ขี องนายกสภามหาวิทยาลัย อุปนายกสภามหาวทิ ยาลัย และเลขานกุ ารสภามหาวิทยาลัย ตามขอ้ บงั คับมหาวิทยาลยั ศลิ ปากรวา่ ด้วยการประชมุ และวิธีการดาเนินงานของสภามหาวิทยาลัย ศิลปากร พ.ศ. 2560 กาหนดอานาจ หน้าท่ีของนายกสภามหาวิทยาลัย อุปนายกสภามหาวิทยาลัย และ เลขานกุ ารสภามหาวิทยาลยั ไวด้ ังน้ี 3.1 นายกสภามหาวิทยาลัย มีอานาจหนา้ ท่ี (1) เปน็ ประธานในทปี่ ระชุม และรกั ษาระเบยี บการประชมุ ให้เป็นไปตามข้อบงั คับ (2) ดาเนินกิจการและเปน็ ผ้แู ทนของสภามหาวทิ ยาลัย (3) ลงนามในขอ้ บงั คับ ระเบียบ ประกาศ คาสัง่ ทม่ี หาวทิ ยาลยั มีมตใิ หอ้ อก (4) อานาจหน้าที่อื่นตามที่กฎหมายบัญญัติ หรือตามที่สภามหาวิทยาลัยได้กาหนดไว้ในข้อบังคับ ระเบียบ ประกาศ หรือมตขิ องสภามหาวิทยาลัยกาหนดไวใ้ ห้เปน็ อานาจและหน้าท่ีของนายกสภามหาวทิ ยาลยั 3.2 อุปนายกสภามหาวิทยาลัย มอี านาจหนา้ ที่ ทาหน้าท่ีแทนนายกสภามหาวิทยาลัยเม่ือนายกสภามหาวทิ ยาลัยไม่อาจปฏิบัติหน้าที่ได้ หรือเม่ือ ไม่มีผู้ดารงตาแหน่งนายกสภามหาวิทยาลัย หากอุปนายกสภามหาวิทยาลัยไม่อาจปฏิบัติหน้าท่ีได้ หรือไม่มีผู้ ดารงตาแหน่งอุปนายกสภามหาวิทยาลยั ให้สภามหาวิทยาลัยเลือกกรรมการสภามหาวิทยาลยั ผทู้ รงคุณวฒุ คิ น หน่ึงทาหน้าทแี่ ทนนายกสภามหาวิทยาลยั 3.3 เลขานกุ ารสภามหาวิทยาลัย มีอานาจหน้าท่ี (1) เชิญประชมุ สภามหาวิทยาลัยตามทีน่ ายกสภามหาวทิ ยาลัยกาหนด (2) จัดระเบียบวาระการประชุม เตรียมรายละเอียดและเอกสารท่ีเกี่ยวข้องกับวาระการประชุม ตามท่ีประธานมอบหมาย รวมทั้งอาจให้หน่วยงานที่เก่ียวข้องจัดหาข้อมูลเอกสารเพิ่มเติมเพื่อประกอบการ พิจารณาของสภามหาวทิ ยาลัย 8 รายงานผลการดำ�เนินงาน สภามหาวิทยาลยั ศิลปากร ปี พ.ศ. 2563 8 Annual Report Silpakorn University Council 2020
(3) แจ้งระเบียบหรือเรอ่ื งที่เกย่ี วขอ้ งตอ่ ที่ประชมุ (4) จัดทารายงานการประชมุ (5) ลงนามรับรองรายงานการประชุมท่สี ภามหาวิทยาลัยได้ให้ความเห็นชอบแล้ว (6) แจ้งมตขิ องสภามหาวิทยาลัยไปยงั ผู้ทีเ่ กยี่ วขอ้ ง (7) พิจารณาเปิดเผยเอกสารหรือข้อมูลข่าวสารท่ีอยู่ในความครอบครองของสภามหาวิทยาลัย ตามท่กี าหนดไว้ในกฎหมาย ข้อบังคับ ระเบียบ หรือประกาศทีเ่ ก่ยี วขอ้ ง (8) ปฏิบตั ิการอืน่ ใดตามทสี่ ภามหาวทิ ยาลัยหรือประธานมอบหมาย (9) ปฏิบตั กิ ารอื่นใดตามท่ีกาหนดไวใ้ นขอ้ บังคับ 4. สถติ เิ กย่ี วกบั การประชมุ สภามหาวิทยาลัย 4.1 จานวนระเบียบวาระการประชุม ในปี พ.ศ. 2563 สภามหาวิทยาลัยกาหนดการประชุมจานวน 12 คร้ัง แต่เนื่องจากเกิด สถานการณ์การแพร่ระบาดของเชื้อโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ในระลอกแรก สภา มหาวิทยาลัยจึงให้งดประชุมในเดือนเมษายน 2563 จึงมีการประชุมสภามหาวิทยาลัยจานวน 11 คร้ัง มี ระเบียบวาระการประชุมจานวนท้ังหมด 203 เร่อื ง จาแนกได้ดงั นี้ ตารางที่ 1 จานวนระเบยี บวาระการประชมุ ในปี พ.ศ. 2563 จานวนวาระปกติ (เรอ่ื ง) จานวนวาระลบั (เร่ือง) รวมวาระ เพื่อ เพอื่ การ ครง้ั ท่ี เพื่อ สบื พิจารณา เพือ่ เชงิ เพอื่ สบื พิจารณา เพอื่ ประชมุ ทราบ เนือ่ ง ทกั ท้วง พิจารณา นโยบาย ทราบ เนอื่ ง ทักท้วง พิจารณา แตล่ ะครั้ง 1/2563 2 1 4 4 - -- 1 2 14 2/2563 4 - 6 5 2-- - 3 20 3/2563 2 - 3 7 111 - 3 18 4/2563 6 1 4 6 5-- - 4 26 5/2563 2 - 4 5 311 - 4 20 6/2563 1 - 4 1 1-- - 4 11 7/2563 3 - 2 6 - -- - 2 13 8/2563 4 - 2 7 42- 1 4 24 9/2563 3 - 5 5 12- - 5 21 10/2563 5 - 5 4 - -- - 3 17 11/2563 5 - 3 3 3-- - 5 19 รวม ทัง้ หมด 37 2 42 53 20 6 2 2 39 203 เฉลีย่ 3.36 0.18 3.81 4.81 1.81 0.54 0.18 0.18 3.54 18.45 คดิ เป็น รอ้ ยละ 18 1 21 26 10 3 1 1 19 100 จากตารางท่ี 1 สภามหาวิทยาลัยมีการประชุมทั้งหมด 11 ครั้ง มีระเบียบวาระการประชุมรวม ท้ังหมด 203 เร่ือง เฉลี่ยคร้ังละประมาณ 19 เรื่อง มีวาระการประชุมแต่ละประเภท (ร้อยละ) ตามแผนภูมิท่ี 1 9รายงานผลการดำ�เนินงาน สภามหาวิทยาลัยศิลปากร ปี พ.ศ. 25639 Annual Report Silpakorn University Council 2020
จำนวนร้อยละของระเบียบวำระกำรประชุมแตล่ ะประเภท วาระลับ เพือ่ พจิ ารณา วาระลับ เพื่อพิจารณา วาระปกติ เพอ่ื ทราบ ทักท้วง 19% 18% วาระลับ เรือ่ งสบื เน่อื ง 1% วาระปกติ เรอ่ื งสืบเนอ่ื ง 1% 1% วาระลับ เพอ่ื ทราบ 3% วาระปกติ เชิงนโยบาย วาระปกติ เพอ่ื พจิ ารณาทักทว้ ง 10% 21% วาระปกติ เพอื่ พิจารณา วาระปกติ เร่ืองสบื เน่อื ง วาระปกติ เพ่อื พิจารณาทกั ทว้ ง 26% วาระปกติ เชิงนโยบาย วาระลบั เพ่ือทราบ วาระลบั เพ่ือพิจารณาทกั ทว้ ง วาระลบั เพ่ือพิจารณา วาระปกติ เพ่อื ทราบ วาระปกติ เพ่ือพจิ ารณา วาระลบั เร่อื งสบื เน่อื ง แผนภูมิที่ 1 แสดงร้อยละของระเบยี บวาระการประชุมแตล่ ะประเภท ในปี พ.ศ. 2563 นอกจากน้ันได้นาข้อมูลสถิติจานวนระเบียบวาระย้อนหลัง 5 ปี คือ ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2559 -2563 มานาเสนอ ดังนี้ 1. เปรียบเทยี บจานวนระเบยี บวาระในแต่ละปี ต้ังแต่ปี พ.ศ.2559-2563 แ ผ น ภู มิ เ ป รี ย บ เ ที ย บ จำ น ว น ร ะ เ บี ย บ ว ำ ร ะ ใ น แ ต่ ล ะ ปี ต้ั ง แ ต่ ปี พ . ศ . 2 5 5 9 - 2 5 6 3 จำนวนวำระ (เ ่ืรอง) 300 จานวนเร่อื ง 227 203 250 233 2562 2563 200 241 150 200 100 2560 2561 50 ปี พ.ศ. 0 2559 แผนภมู ิที่ 2 แสดงจานวนระเบียบวาระการประชุมสภามหาวทิ ยาลยั ต้งั แตป่ ี พ.ศ. 2559-2563 10 รายงานผลการด�ำ เนินงาน สภามหาวทิ ยาลัยศิลปากร ปี พ.ศ. 2563 10 Annual Report Silpakorn University Council 2020
เปรยี บเทียบจำนวนระเบยี บวำระโดยเฉล่ียในแตล่ ะครัง้ ตั้งแต่ปี พ.ศ.2559-2563 จานวนวาระเฉล่ีย (เร่ือง) 22 21.18 20.83 18.82 18.92 18.45 21 2560 2562 2563 2561 20 ปี พ.ศ. 19 18 17 2559 แผนภมู ทิ ่ี 3 แสดงจานวนระเบยี บวาระโดยเฉล่ยี ในแตล่ ะครงั้ ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2559-2563 2. เปรียบเทยี บจานวนระเบยี บวาระการประชมุ สภามหาวิทยาลยั ในแตล่ ะประเภท ต้งั แต่ปี พ.ศ. 2559-2563 เปรยี บเทยี บจานวนระเบยี บวาระการประชมุ แตล่ ะประเภท ตงั้ แตป่ ี พ.ศ. 2559-2563 120 100 100 จานวนระเ ีบยบวาระ (เร่ือง) 80 65 48424342 76 60 504550 6165 40 37 53 20 688 1720 2022 107 6 4234323539 03122 0 00172 00012 0 ประเภทระเบียบวาระ พ.ศ.2559 พ.ศ.2560 พ.ศ.2561 พ.ศ.2562 พ.ศ.2563 แผนภูมทิ ี่ 4 แสดงจานวนระเบียบวาระการประชุมแต่ละประเภท ตง้ั แตป่ ี พ.ศ. 2559-2563 11รายงานผลการดำ�เนนิ งาน สภามหาวทิ ยาลยั ศิลปากร ปี พ.ศ. 256311 Annual Report Silpakorn University Council 2020
4.2 จาํ นวนกรรมการสภามหาวทิ ยาลัยทเี่ ข้ารว่ มประชมุ กรรมการสภามหาวิทยาลัย มีจํานวน 31 คน จํานวนกรรมการสภามหาวิทยาลัยที่เข้าร่วมประชุม ในปี พ.ศ. 2563 (คร้งั ที่ 1/2563 – 11/2563) สรปุ ดงั น้ี ตารางที่ 2 จํานวนกรรมการสภามหาวิทยาลยั ท่ีเขา้ ร่วมประชุม ในปี พ.ศ. 2563 นายกสภาฯ จํานวนกรรมการสภามหาวิทยาลยั ท่ีเขา้ รว่ มประชมุ (คน) กรรมการสภา กรรมการสภา กรรมการสภา การประชุม มหาวิทยาลยั มหาวิทยาลัย มหาวิทยาลยั กรรมการสภา รวม จํานวน คร้ังท่ี ผูท้ รงคุณวุฒิ ประเภทคณาจารย์ มหาวิทยาลยั ผู้เขา้ ประชมุ 1/2562 ประเภท โดยตําแหนง่ 2/2562 (16 คน) ผูบ้ ริหาร ประจํา คิดเป็น 3/2562 14 (6 คน) (6 คน) (3 คน) ร้อยละ 4/2562 15 90.32 5/2562 15 65 3 28 93.54 6/2562 15 65 3 29 93.54 7/2562 15 65 3 29 96.77 8/2562 15 66 3 30 93.54 9/2562 15 65 3 29 96.77 15 66 3 30 93.54 10/2562 15 65 3 29 96.77 11/2562 15 66 3 30 96.66 14 65 3 29 96.55 เฉล่ีย 14.82 55 3 28 82.75 43 3 24 92.81 5.72 5.09 3 28.63 หมายเหตุ - ประชมุ ครั้งที่ 1/2563-8/2563 มีกรรมการสภามหาวิทยาลัย จํานวน 31 คน - ประชุมครั้งท่ี 9/2563 มีกรรมการสภามหาวิทยาลัย จํานวน 30 คน (กรรมการสภามหาวิทยาลัย ประเภทคณาจารยป์ ระจาํ คงเหลอื 5 คน) - ประชุมคร้ังท่ี 10/2563-11/2563 มีกรรมการสภามหาวิทยาลัย จํานวน 29 คน (กรรมการสภา มหาวิทยาลัยประเภทผ้บู ริหาร คงเหลอื 5 คน และกรรมการสภามหาวิทยาลยั ประเภทคณาจารย์ประจาํ คงเหลอื 5 คน) จากตารางท่ี 2 จํานวนกรรมการสภามหาวิทยาลัยที่เข้าร่วมประชุม โดยเฉลี่ยครั้งละประมาณ 28.63 คน คดิ เป็นร้อยละ 92.81 ทั้งนี้ได้นําข้อมูลสถิติจํานวนกรรมการสภามหาวิทยาลัยที่เข้าร่วมประชุม ต้ังแต่ปี พ.ศ. 2559- 2563 มานําเสนอดงั น้ี 12 รายงานผลการด�ำ เนินงาน สภามหาวิทยาลยั ศิลปากร ปี พ.ศ. 2563 12 Annual Report Silpakorn University Council 2020
เปรยี บเทียบร้อยละของกรรมกำรสภำมหำวทิ ยำลยั ท่ีเขำ้ รว่ มประชมุ ตัง้ แตป่ ี พ.ศ. 2559-2563 95 91.1 92.78 92.81 90 86.49 ร้อยละ 85 81.05 80 75 2560 2561 2562 2563 2559 ปี พ.ศ. แผนภูมิท่ี 5 แสดงร้อยละของกรรมการสภามหาวิทยาลยั ที่เขา้ ร่วมประชมุ ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2559-2563 13รายงานผลการดำ�เนินงาน สภามหาวิทยาลัยศลิ ปากร ปี พ.ศ. 256313 Annual Report Silpakorn University Council 2020
สว่ นท่ี 2 ผลการดําเนนิ งานของสภามหาวทิ ยาลัยศิลปากร ในรอบปี พ.ศ. 2563 ในรอบปี พ.ศ. 2563 (มกราคม – ธันวาคม 2563) มีการประชุมสภามหาวิทยาลัย จํานวน 11 ครัง้ การดาํ เนนิ การของสภามหาวิทยาลัย สรปุ ไดด้ งั นี้ 1. การดาํ เนนิ การตามอํานาจ หนา้ ทท่ี กี่ าํ หนดในพระราชบญั ญตั ิมหาวทิ ยาลยั ศลิ ปากร พ.ศ. 2559 มาตรา 22 1.1 กาํ หนดนโยบายในการบรหิ ารงานมหาวิทยาลัยและแผนพฒั นามหาวทิ ยาลัย (มาตรา 22 (1)) สภามหาวิทยาลัยได้พิจารณาให้ความเห็นชอบแผนพัฒนามหาวิทยาลัย แผนพัฒนาคณะ สว่ นงาน และแผนอืน่ ๆ ทีม่ หาวทิ ยาลัยเสนอมา รวมทงั้ ใหข้ ้อสังเกต ข้อเสนอแนะ โดยสรุป ดังนี้ 1.1.1 แผนพฒั นามหาวทิ ยาลัย ระยะเวลา 5 (พ.ศ. 2562-2566) พระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยศิลปากร พ.ศ. 2559 มาตรา 36 (2) กําหนดให้อธิการบดี มีอํานาจหน้าที่ในการจัดทาํ นโยบายและแผนพัฒนามหาวิทยาลยั เสนอต่อสภามหาวิทยาลัย รวมท้ังติดตามและ ประเมนิ ผลการดําเนนิ งานดา้ นต่างๆ ของมหาวิทยาลัย สภามหาวิทยาลัยในการประชุมคร้ังท่ี 8/2563 เมื่อวันที่ 9 กันยายน 2563 มีมติเห็นชอบ แผนพฒั นามหาวทิ ยาลยั ศลิ ปากร ระยะ 5 ปี พ.ศ.2562-2566 (ฉบับปรับปรุง : เปา้ หมาย ประจําปงี บประมาณ พ.ศ.2564) โดยมีสาระสาํ คญั ดังนี้ รายละเอีดยตาม QR-Code (1)วสิ ัยทศั น์ (Vision) “มหาวิทยาลัยชน้ั นาํ แห่งการสรา้ งสรรค์”(Leading creative university) (2) เปา้ หมายมหาวทิ ยาลยั (ระยะกลาง 5 ปี) (2.1) มหาวิทยาลัยศิลปากร ข้ึนสู่อันดับโลกด้านศิลปะและการออกแบบ (ติดอันดับ QS World University Rankings by Subject in Art & Design (World Top 200)) ภายในส้ินปีงบประมาณ พ.ศ. 2568 (2.2) มหาวิทยาลัยศิลปากร เป็นองค์กรท่ีมีคุณภาพความเป็นเลิศ ด้วย มาตรฐานสากล 14 รายงานผลการด�ำ เนนิ งาน สภามหาวิทยาลัยศลิ ปากร ปี พ.ศ. 2563 14 Annual Report Silpakorn University Council 2020
ปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 (2.3) มีผลประเมินในภาพรวม QS Stars Ratings ในระดับ 5 ดาว ภายในสิ้น (2.4) ด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี THE World University Rankings by Subjects ในสาขาวิชาด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มีผลผลิต/ผลงานตีพิมพ์บนฐานข้อมูล Scopus อย่าง น้อยคณะละ 100 ผลงานต่อปี ภายในสิ้นปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 (ได้แก่ คณะวิทยาศาสตร์ คณะ วศิ วกรรมศาสตร์และเทคโนโลยีอตุ สาหกรรม และคณะเภสัชศาสตร)์ (2.5) หลักสูตรทุกหลักสูตรผ่านเกณฑ์การประเมินมาตรฐานระดับสากล AUN QA ภายในปกี ารศกึ ษา 2565 (2.6) ทุกคณะ ส่วนงาน และมหาวิทยาลัยผ่าน EdPEx 200 ภายในส้ินปีงบประมาณ พ.ศ.2570 (2.7) มีคณะ ส่วนงาน มหาวิทยาลัยผ่าน EdPEx 300 หรือได้รับรางวัล Thailand Quality Award (TQA)/TQC ภายในสิ้นปงี บประมาณ พ.ศ. 2567 อย่างน้อย 1 คณะ/ส่วนงาน/สถาบัน (3) เป้าหมายมหาวทิ ยาลัย (ระยะยาว 10 ปี) (3.1) เป็นผู้นาด้านการบูรณาการศาสตร์และศิลป์ ภายในสิ้นปีงบประมาณ พ.ศ. 2573 (3.2) เปน็ ผ้ชู ีน้ านโยบายระดับชาติ (โดยเฉพาะด้านศิลปะและวัฒนธรรม) ภายในสิน้ ปงี บประมาณ พ.ศ.2573 (4) การปรบั ปรุงตัวชีว้ ัดเป้าประสงค์ และคา่ เปา้ หมายระดับเปา้ ประสงคข์ องแผนพัฒนา มหาวทิ ยาลยั ระยะ 5 ปี พ.ศ.2562 – 2566 (ฉบบั ปรบั ปรุง : เปา้ หมาย ประจาปงี บประมาณ พ.ศ.2564) แผนพัฒนามหาวิทยาลัย ระยะ 5 ปี พ.ศ. 2562 – 2566 (ฉบับปรับปรุง : เป้าหมาย ประจาปี งบประมาณ พ.ศ.2564) ประกอบด้วย 5 ยุทธศาสตร์ 14 กลยุทธ์ 24 มาตรการ 16 ตัวชี้วัด ในระดับ เป้าประสงค์ยุทธศาสตร์ และ 50 ตัวชี้วัดในระดับมาตรการ กรอบงบประมาณ จานวน 1,878 ล้านบาท หรือ ประมาณปลี ะ 376 ล้านบาท ตารางที่ 3 แสดงเป้าประสงค์ของแผนพฒั นามหาวทิ ยาลยั ระยะ 5 ปี พ.ศ. 2562 – 2566 (ฉบับปรับปรงุ : เป้าหมาย ประจาปีงบประมาณ พ.ศ.2564) เป้าประสงค์ที่ เป้าหมาย จานวนตวั ชว้ี ดั 1 เป็นมหาวิทยาลัยท่ีมีความเป็นเลิศ (Academic Excellence) เป็นอันดับ 1 ใน สาขาวิชาด้านศิลปะและการออกแบบ ระดับประเทศ มีชื่อเสียงด้านวิชาการตาม 4 ตวั ชว้ี ดั มาตรฐานสากล ไดร้ บั การยอมรับ social values : ACADEMIC REPUTATION 2 เป็นทพี่ ึง่ พงิ ของชมุ ชน ทอ้ งถิ่น และประเทศชาติ : RESEARCH AND CREATIVIT 3 ตัวช้ีวัด 3 เปน็ Smart University บรหิ ารจัดการดว้ ยนวัตกรรมและใสใ่ จสิง่ แวดลอ้ ม : SMART AND GREEN ADMINISTRATION 5 ตัวชี้วัด 4 ผลิตบัณฑิตท่ีมีคุณภาพ เพ่ือพัฒนากาลังคนในระดับสูงให้กับสังคม ประเทศชาติ มี ทักษะที่จาเป็นสาหรับศตวรรษที่ 21 สร้างคนด้วยนวัตกรรมและการสร้างสรรค์ : 2 ตัวช้วี ัด STUDENT AND ALUMNI 5 มหาวิทยาลัยศิลปากรเป็นที่รู้จักในระดับนานาชาติภายใต้ “ศิลปากร มหาวิทยาลัย ชั้นนาแห่งการสร้างสรรค์” (Silpakorn : A Leading Creative University) : 2 ตวั ชวี้ ดั SILPAKORN BRANDING รวม 16 ตวั ช้วี ัด 15รายงานผลการด�ำ เนนิ งาน สภามหาวทิ ยาลยั ศลิ ปากร ปี พ.ศ. 256315 Annual Report Silpakorn University Council 2020
สภามหาวทิ ยาลัยในการประชุมคร้ังท่ี 8/2563 เมอื่ วันที่ 9 กันยายน 2563 เหน็ ชอบแผนพัฒนามหาวิทยาลยั ระยะเวลา 5 (พ.ศ. 2562-2566) โดยมีขอ้ สังเกต ขอ้ เสนอแนะ สรุปได้ดังนี้ 1. ควรกําหนดตัวชี้วัด ให้สอดคล้องกับแผน/นโยบายต่างๆ ของรัฐบาล และกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและ นวตั กรรม อาทิ 1.1 นโยบายของรัฐบาลท้ังแผนปฏิรูปประเทศ แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 (พ.ศ.2560-2564) ฯลฯ รวมถึง เน้นตัวช้ีวัดในด้านการพัฒนาเชิงพ้ืนท่ี การพัฒนาที่ยั่งยืน การยกระดับเศรษฐกิจ สังคม ส่ิงแวดล้อม เพ่ือให้มหาวิทยาลัยมีบทบาท/มีส่วนร่วม ในการพัฒนาประเทศมากขึ้น 1.2 นโยบายของรัฐมนตรวี ่าการกระทรวงการอดุ มศกึ ษา วิทยาศาสตร์ วจิ ัยและนวัตกรรมทา่ นใหม่ อาทิ ด้านการพัฒนา งานวิจัย ท่ีต้องการให้มหาวิทยาลัยจัดทําโครงการขนาดใหญ่ในการนําองค์ความรู้ในอดีตมาพัฒนาอนาคต ซ่ึงจะเป็นโอกาส ของมหาวิทยาลยั ศลิ ปากร คณะตา่ งๆ ทมี่ อี งค์ความรู้ และจุดแขง็ ในด้านน้ีจะนําไปดําเนินการ และเสนอของบประมาณตอ่ ไป 2. ควรนําแผนพัฒนาของมหาวิทยาลัยไปสื่อสาร รวมถึงรับฟังความคิดเห็นจากบุคลากรให้มากขึ้น เพ่ือความเข้าใจร่วมกันใน การทํางาน 3. ควรมีการบูรณาการพันธกิจ งานต่างๆ ทั้งระบบร่วมกัน ทั้งหลักสูตร การเรียนการสอน สหกิจศึกษา กิจกรรมนักศึกษา ฯลฯ ซึง่ จะเปน็ ประโยชนต์ อ่ การพัฒนามหาวิทยาลัยมากขึ้น 4. ควรเนน้ เรอ่ื งวธิ ีการในการขบั เคลอ่ื นแผน และการทํางานทเี่ ชอ่ื มโยงสมั พันธ์กันในทุกระดับเพอื่ ใหง้ านสําเร็จตามทีก่ ําหนดไว้ 1.1.2 แผนปฏบิ ตั กิ ารประจําปีของมหาวทิ ยาลัย พ.ศ. 2564 ขอ้ บงั คบั ฯ กาํ หนดวา่ ในแตล่ ะปีงบประมาณ ให้อธกิ ารบดีนาํ เสนอแผน ตัวชี้วัด คา่ เปา้ หมาย และคํารับรองการปฏิบัติหน้าที่ในแต่ละปีงบประมาณที่ได้ปรับปรุงแล้ว ต่อคณะกรรมการ (คณะกรรมการ ตดิ ตาม และประเมนิ ผลฯ) ภายในเก้าสิบวนั กอ่ นสน้ิ ปีงบประมาณ สภามหาวิทยาลัยในการประชุมครั้งที่ 8/2563 เม่ือวันที่ 9 กันยายน 2563 มีมติเห็นชอบ แผนปฏิบตั ิการ ประจาํ ปีงบประมาณ พ.ศ.2564 มหาวิทยาลยั ศิลปากร มีสาระสําคัญดังนี้ รายละเอดี ยตาม QR-Code (1) งบประมาณขบั เคลอื่ นการดาํ เนนิ งานตามยทุ ธศาสตร์ของมหาวทิ ยาลยั มหาวิทยาลัยได้จัดสรรงบประมาณในการขับเคล่ือนการดําเนินงานตามยุทธศาสตร์ของ แผนปฏิบัติการ มหาวิทยาลัยศิลปากร ประจําปีงบประมาณ พ.ศ.2564 จํานวน 3,878,450,100 บาท ประกอบด้วยเงินงบประมาณแผ่นดิน จํานวน 1,678,030,900 บาท และงบประมาณเงินรายจ่ายจากเงินรายได้ 2,200,419,200 บาท โดยจาํ แนกตามยทุ ธศาสตร์ ได้ดังน้ี 16 รายงานผลการดำ�เนนิ งาน สภามหาวิทยาลยั ศลิ ปากร ปี พ.ศ. 2563 16 Annual Report Silpakorn University Council 2020
ตารางที่ 4 การจัดสรรงบประมาณเพื่อขบั เคลือ่ นในแต่ละยุทธศาสตร์ ประจาปีงบประมาณ พ.ศ.2564 ยทุ ธศาสตร์ งบประมาณเงินแผน่ ดนิ งบประมาณเงินรายได้ (บาท) รวม ยุทธศาสตร์ที่ 1 สร้างความโดดเด่น เป็นเลิศ (บาท) (ร้อยละ) เฉพาะทาง และความมีช่ือเสียงด้านวิชาการ : ภารกจิ ประจา ภารกิจนโยบาย ACADEMIC REPUTATION ภารกจิ ประจา (รอ้ ยละ) (ร้อยละ) 1,723,510,810 ยุทธศาสตร์ท่ี 2 ยกระดับการบูรณาการผลิตผล (รอ้ ยละ) 1,376,968,810 (44.43) งานวิจัยและงานสร้างสรรค์ การบริการวิชาการ 1,289,086,030 87,882,780 ก า ร ท า นุ บ า รุ ง ศิ ล ป วั ฒ น ธ ร ร ม ที่ เ ช่ื อ ม โ ย ง กั บ 346,542,000 (93.62) (6.38) 117,562,230 ท้องถ่ินหรืออุตสาหกรรม ตอบโจทย์การ (20.65) 117,145,930 (3.03) เปล่ียนแปลงของประเทศ เกิดคุณค่าทาง 416,300 30,440,590 86,705,340 เศรษฐกิจ เพ่ิมขีดความสามารถทางการแข่งขัน (0.03) (25.99) (74.01) ของประเทศ และเพือ่ แก้ปญั หาของชมุ ชน สงั คม : RESEARCH AND CREATIVITY 1,331,072,600 522,319,040 1,853,391,640 ยทุ ธศาสตรท์ ี่ 3 นาระบบบรหิ ารจัดการที่ทันสมัย (79.32) 346,675,940 175,643,100 (47.79) น วั ต ก ร ร ม ใ น ก า ร บ ริ ห า ร ม า ใ ช้ อ ย่ า ง มี (66.37) (33.63) ประสิทธภิ าพ : SMART ADMINISTRATION ยุทธศาสตร์ท่ี 4 พัฒนานักศึกษาและส่งเสริม 158,165,370 158,165,370 ความสัมพันธ์ที่เข้มแข็งกับศิษย์เก่า : SMART 30,122,450 128,042,920 (4.08) STUDENT AND ALUMNI (19.04) (80.96) ยุทธศาสตร์ที่ 5 สร้างและเผยแพร่ภาพลักษณ์ 25,820,050 25,820,050 ศิลปากรสสู่ าธารณะ : SILPAKORN BRANDING 100,000 25,720,050 (0.67) (0.39) (99.61) รวม 1,678,030,900 2,200,419,200 3,878,450,100 (100) 1,696,425,010 503,994,190 (100) (77.10) (22.90) (2) ตัวช้ีวดั ค่าเป้าหมาย แผนปฏบิ ัติการประจาปีงบประมาณ พ.ศ.2564 แผนปฏบิ ตั ิการ ประจาปงี บประมาณ พ.ศ.2564 ประกอบดว้ ย 5 ยทุ ธศาสตร์ จานวน 49 ตัวชี้วัด 1.1.3 แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา มหาวทิ ยาลยั ศิลปากร ปีการศึกษา 2562-2566 แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา มหาวิทยาลัยศิลปากร ปีการศึกษา 2562 – 2566 นี้ เชื่อมโยงกับแผนพัฒนามหาวิทยาลัยศิลปากร ระยะ 5 ปี พ.ศ.2562 - 2566 และเกณฑ์คุณภาพการศึกษาเพ่ือ การดาเนินการที่เป็นเลิศ (Education Criteria for Performance Excellence: EdPEx) มีจานวน 6 หมวด โดยกาหนดมาตรการทส่ี าคัญของแตล่ ะหมวด ดังน้ี 1. การวิเคราะห์และทบทวนเพ่ือการพัฒนามหาวิทยาลัย โดยใช้ข้อมูลสารสนเทศที่ สาคัญ ซ่ึงรวมถึงข้อมูลสารสนเทศจากโครงการ SU Transformation เพ่ือจัดทาโครงร่างองค์กร ผู้บริหาร ระดบั สูงกาหนดกลยุทธ์การถ่ายทอดแนวคดิ ตามเกณฑ์ EdPEx สผู่ บู้ รหิ ารมหาวทิ ยาลยั ทุกระดบั (หมวด 1 การ นาองค์กร) 2. การตอบสนองความต้องการของผู้เรียนและลูกค้ากลุ่มอื่นมุ่งเน้นการปรับปรุง กระบวนการให้บริการและการจดั กิจกรรมทีเ่ หมาะสม และตรงตามความต้องการของผู้เรียนและลูกค้ากลุ่มอนื่ 17รายงานผลการด�ำ เนินงาน สภามหาวทิ ยาลยั ศลิ ปากร ปี พ.ศ. 215673 Annual Report Silpakorn University Council 2020
รวมทั้งการพัฒนาผู้เรียนตามลักษณะบัณฑิตพึงประสงค์ที่มหาวิทยาลัยกาหนด ซึ่งจะส่งผลให้ผู้เรียนและลูกคา้ กลุ่มอื่นพงึ พอใจและผูกพันกับมหาวิทยาลัย (หมวด 3 ลูกค้า) 3. การวิเคราะห์และทบทวนปัจจัยนาเข้าในกระบวนการจัดทาแผนกลยุทธ์ รวมถึง การวิเคราะห์และทบทวนตัวชี้วัดความสาเร็จและเป้าประสงค์ของวัตถุประสงค์เชิงกลยุทธ์ และการกาหนด ระบบงานท่ีสาคัญตามแผนกลยุทธ์ อีกท้ังการกาหนดยุทธศาสตร์ด้านวิจัย และยุทธศาสตร์ด้านการทานุบารุง ศิลปวัฒนธรรม ซ่ึงเป็นส่ิงสาคัญที่จะสนับสนุนมหาวิทยาลัยในการบรรลุเป้าหมายตามวิสัยทัศน์ของมหาวิทยาลัย (หมวด 2 แผนกลยทุ ธ์) 4. การวิเคราะห์ขีดความสามารถของบุคลากรสายวิชาการและสายสนับสนุน ท้ังท่ีมี อยู่ในปัจจุบันและท่ีพึงมีในอนาคต ให้สอดคล้องกับพันธกิจและแผนกลยุทธ์ของมหาวิทยาลัย รวมถึงการสร้าง ระบบพัฒนาบุคลากร และการคน้ หาปัจจัยความผูกพันของบุคลากร ตลอดจนการสนับสนุนที่เหมาะสม ซึง่ เป็น สิง่ สาคัญทีจ่ ะส่งผลต่อการดาเนินการท่ีมีประสิทธิภาพของมหาวิทยาลยั และความผูกพนั ของบุคลากร (หมวด 5 บุคลากร) 5. การวิเคราะห์และทบทวนแผนหลักสูตร และการพัฒนาระบบและกลไกการจัด การศึกษาที่ใช้ผลลัพธ์การเรียนรู้เป็นฐาน (outcome based education) รวมถึงการวิเคราะห์และปรับปรุง งาน เพอื่ เพิ่มประสิทธภิ าพของระบบปฏิบัตกิ าร (หมวด 6 ระบบปฏิบตั ิการ) 6. การวิเคราะหแ์ ละทบทวนนโยบายและระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ โดยเฉพาะด้าน ความม่ันคงปลอดภัยทางไซเบอร์ (cyber security) รวมทั้งพัฒนาระบบการจัดการความรู้ซ่ึงเป็นทรัพย์สินท่ีมี คุณค่าของมหาวิทยาลัย (หมวด 4 การวัด การวเิ คราะห์ และการจดั การความรู้) โดยมรี ายละเอดี ยตาม QR-Code สภามหาวทิ ยาลยั ในการประชุมครั้งที่ 6/2563 เม่อื วันท่ี 8 กรกฎาคม 2563 มติเห็นชอบ แผนพัฒนาคณุ ภาพการศกึ ษา มหาวิทยาลัยศลิ ปากร ปีการศกึ ษา 2562-2566 โดยมีข้อสงั เกต ข้อเสนอแนะ โดยสรุปดงั น้ี 1. ควรกาหนดเป้าหมาย ผลลัพธ์ที่มหาวิทยาลยั ตอ้ งการเมื่อสิน้ ปีการศึกษา 2566 ให้ชัดเจน แล้วนามากาหนดเป็นกลยทุ ธ์ มาตรการ ตัวชว้ี ัด ค่าเป้าหมาย กิจกรรม/โครงการทีจ่ ะดาเนินการในแตล่ ะปกี ารศึกษา เพ่ือให้สาเร็จตามเป้าหมาย ผลลัพธท์ ี่ กาหนดไว้ 2. ควรปรบั ตวั ชี้วัด คา่ เป้าหมายทส่ี ่วนใหญ่เนน้ เชิงปรมิ าณ ให้เปน็ เชิงผลสมั ฤทธิ์ ผลลพั ธ์ และคณุ ภาพมากข้ึน เพื่อให้ทราบ วา่ เมอื่ ดาเนนิ การในเรอ่ื งนน้ั ๆ แลว้ จะเกิดผลอย่างไร 3. ควรมีระบบ กลไกการขับเคลื่อนแผน การกากับติดตาม และประเมินผลด้วย เพ่ือให้การดาเนินการบรรลุผลตามแผนที่ กาหนดไว้ รวมถึงการรายงานผลการดาเนินการใหส้ ภามหาวิทยาลยั ทราบเปน็ ระยะๆ อยา่ งต่อเนื่อง 4. แผนพฒั นาคณุ ภาพการศึกษานเี้ ป็นเครอ่ื งมือสาคัญในการช่วยสนับสนุน ขับเคลอื่ นนโยบายด้านวิชาการของมหาวทิ ยาลยั และสิ่งสาคัญท่ีจะช่วยให้แผนนี้สาเร็จ คือ บุคลากรทุกคนต้องร่วมมือกันทางาน และปรับตัว ปรับความคิด ปรับวิธีการ ทางาน ใหท้ ันกบั สถานการณแ์ ละบริบททีเ่ ปลี่ยนแปลงไป 5. ควรจัดลาดบั ความสาคญั ของการจดั กจิ กรรม/โครงการ 6. ควรพจิ ารณาและวิเคราะหเ์ รอื่ งการจัดการเรียนการสอนระดับบณั ฑิตศึกษาใหร้ อบคอบ เน่ืองจากปัจจุบนั นักศึกษาสนใจ ศึกษาต่อระดับบัณฑิตศึกษาลดลง ทาให้เกือบทุกสถาบันนักศกึ ษาระดบั บณั ฑิตศึกษามแี นวโน้มลดลงอยา่ งตอ่ เนอื่ ง ในขณะ ทม่ี หาวทิ ยาลยั มุ่งสคู่ วามเป็นนานาชาติ มหาวทิ ยาลัยวจิ ยั เพิ่มจานวนผลงานตพี ิมพ์ระดับชาต/ิ นานาชาติ ฯลฯ มหาวทิ ยาลัย จึงควรหากลยุทธ์ รูปแบบวิธีการใหม่ๆ ในการเพิ่มจานวนนักศึกษาระดับบัณฑิต อาทิ การผลิตบัณฑิตเพื่อสนับสนุนนโยบาย ของรฐั บาล การสนบั สนนุ ให้นักศกึ ษามีส่วนรว่ มในงานวิจยั และได้รบั คา่ ตอบแทน จดั การศึกษาแบบระบบคลงั หน่วยกิต เป็นต้น 18 รายงานผลการดำ�เนนิ งาน สภามหาวิทยาลยั ศิลปากร ปี พ.ศ. 2563 18 Annual Report Silpakorn University Council 2020
7. ควรมีการระดมความคิดร่วมกันของสภามหาวิทยาลัย และผู้บริหารมหาวิทยาลัย เก่ียวกับการวางแผนพัฒนาคุณภาพ การศึกษา โดยนาข้อมูลสถานภาพของมหาวิทยาลัย คณะ อาทิ จานวนหลักสูตรนานาชาติ การปิดหลักสูตร การจัดต้ัง โรงเรียนนานาชาติ การต้ัง International office ฯลฯ มาระดมความคิดร่วมกัน ซ่ึงจะได้ แนวทาง ข้อเสนอแนะท่ีเป็น ประโยชน์ต่อการวางแผนพัฒนาคณุ ภาพการศกึ ษามากข้นึ 1.1.4 ทศิ ทางการวจิ ยั นวัตกรรม และการสร้างสรรค์ของมหาวทิ ยาลยั ศิลปากร มหาวิทยาลัยได้จัดทาทิศทางการวิจัย นวัตกรรม และการสร้างสรรค์ของมหาวิทยาลัย ศลิ ปากร ภายใต้ยทุ ธศาสตร์การวิจัย นวตั กรรม และการสร้างสรรค์ ว่า “Creativity in Reality for Life and Sustainability การสรา้ งสรรคบ์ นพนื้ ฐานความจรงิ เพือ่ คุณภาพชีวิตและการพฒั นาที่ยั่งยนื ” โดยมีรายละเอียดตาม QR-Code สภามหาวทิ ยาลัยในการประชมุ คร้ังท่ี 5/2563 เมอื่ วนั ที่ 10 มถิ ุนายน 2563 มมี ตเิ ห็นชอบ ทศิ ทางการวจิ ยั นวัตกรรม และการสร้างสรรคข์ องมหาวทิ ยาลัยศลิ ปากร โดยมขี อ้ สงั เกต ขอ้ เสนอแนะ สรปุ ไดด้ งั นี้ 1. ควรเขียนขยายความทิศทางการวิจัย นวัตกรรม และการสร้างสรรค์ของมหาวิทยาลัยศิลปากร เพ่ิมเติมเพ่ือความชัดเจน ความ เข้าใจท่ีตรงกนั รวมถึงการนาไปปฏบิ ตั ิ 2. ควรนางานวจิ ัยจากโครงการต่างๆ มาวิเคราะหค์ วามเชอื่ มโยง ความสอดคล้อง แลว้ พจิ ารณาวา่ จะสามารถตอ่ ยอด จดั ทา เปน็ โครงการวิจยั เพมิ่ เตมิ ได้อย่างไรบ้าง ซึง่ จะเป็นประโยชนม์ ากขึ้น 3. ควรสื่อสารเร่ืองกระบวนการขอทุนการวิจัย การจัดสรรงบประมาณด้านการวิจัย รวมถึงนโยบายของรัฐ ฯลฯ ท่ีปรับ เปล่ียนไปให้อาจารย์ บุคลากรได้รับทราบและเข้าใจมากข้ึน เพ่ือให้สามารถดาเนินการได้อย่างถูกต้อง และการดาเนินการ การตดิ ตอ่ ประสานมปี ระสทิ ธภิ าพมากข้นึ 4. ควรเนน้ ให้บคุ ลากรทางานวจิ ยั ท่สี ามารถนาไปใช้/ประยุกต์ใชไ้ ดจ้ รงิ รวมท้งั นากรณตี ัวอย่างที่ประสบความสาเรจ็ มาแสดง ให้เหน็ เปน็ ตัวแบบ เพ่ือความเขา้ ใจและใหเ้ ห็นถงึ ประโยชนร์ วมทัง้ ผลทเ่ี กดิ ขนึ้ จากงานวิจยั 5. ควรพัฒนากระบวนการ กลไกในการรวบรวมงานวิจัยท่ีกระจายอยู่ที่ต่างๆ ท้ังอาจารย์แต่ละท่าน คณะ ภาควิชา และอ่ืนๆ รวมถึง ข้อมูลความเช่ียวชาญของอาจารย์แต่ละท่าน อาจารย์ท่ีได้รับเชิญไปร่วมงานวิจัยกับสถาบันอื่น ฯลฯ แล้วจัดทาเป็นคลังข้อมูล ซึ่งจะ เป็นประโยชน์ตอ่ การดาเนินการวิจัย การประสานงานในเรือ่ งดา้ นต่างๆ ของมหาวทิ ยาลยั ต่อไป 6. ควรสร้างแรงจูงใจให้อาจารย์ นักศึกษาทางานวิจัยมากข้ึน แล้วรวบรวมจัดเก็บเปน็ คลังข้อมูล รวมท้ังนาเรื่องท่ีใกล้เคียง สอดคล้องกันมาบูรณาการ เชื่อมโยงจัดทาเปน็ โครงการวิจยั ประเภทต่างๆ ท้ังโครงการขนาดเล็ก ขนาดใหญ่ เชิงพ้ืนท่ี ฯลฯ และเกบ็ สะสมไว้ เมอื่ รฐั บาลใหเ้ สนอเสนอโครงการเพือ่ ขอรบั จดั สรรงบประมาณ จะสามารถดาเนนิ การไดท้ นั การณ์ 7. ควรนาผลงานวิจยั ที่ดาเนินการเสรจ็ สน้ิ แลว้ ไปเผยแพร่ สือ่ สารออกส่ภู ายนอกให้มากขึ้น โดยนาเสนอใหเ้ หน็ ถึงการพฒั นา ประโยชน์ ผลลัพธ์ท่ีเกิดขึ้นจากโครงการ ซึ่งจะช่วยให้มหาวิทยาลัยได้รับงบประมาณในการต่อยอด ขยายพื้นท่ีในการ ดาเนนิ การมากขนึ้ 8. ควรสนับสนุนการทางานวิจัยของบุคลากรสายสนับสนุนด้วย เพื่อประโยชน์ในการพัฒนาการทางานในหน้าที่ คณะ รวมถงึ มหาวิทยาลัย 19รายงานผลการด�ำ เนนิ งาน สภามหาวทิ ยาลัยศลิ ปากร ปี พ.ศ. 256319 Annual Report Silpakorn University Council 2020
1.1.5 คณุ ลกั ษณะบณั ฑติ ที่พงึ ประสงคม์ หาวทิ ยาลยั ศลิ ปากร และปรัชญาการศกึ ษา มหาวิทยาลัยศลิ ปากร มหาวิทยาลัยได้กาหนดคุณลักษณะบัณฑิตที่พึงประสงค์มหาวิทยาลัยศิลปากร และ ปรัชญาการศึกษา มหาวิทยาลัยศิลปากร และสภามหาวิทยาลัยในการประชุมครั้งที่ 8/2563 เม่ือวันท่ี 9 กันยายน 2563 มีมติเห็นชอบ โดยคุณลักษณะบัณฑิตที่พึงประสงค์มหาวิทยาลัยศิลปากร และปรัชญา การศกึ ษา มหาวทิ ยาลยั ศิลปากร สรุปได้ดังนี้ (1) คุณลกั ษณะบัณฑิตที่พงึ ประสงคม์ หาวทิ ยาลัยศิลปากร (1.1) ผู้นาแหง่ การสรา้ งสรรค์ (Creative leader) (1.2) ความรบั ผิดชอบ (Responsibility) (1.3) ความรู้ความชานาญ (Expertise) (1.4) ตระหนักซง้ึ ในคุณค่าแห่งศลิ ปะ (Art Appreciation) (1.5) ความเป็นไทย (Thainess) (1.6) ความซ่ือสตั ย์และคุณธรรมจรยิ ธรรม (Integrity and Ethics) (1.7) จติ อาสาและจติ สาธารณะ (Volunteer spirits and public consciousness) (1.8) ทักษะสาคญั สาหรบั พลเมอื งอนาคต (Essential skills for future citizen) (2) ปรัชญาการศึกษา มหาวิทยาลัยศิลปากร จดั การศกึ ษาใหผ้ ู้เรยี นเกดิ ผลสมั ฤทธ์ิทางการเรยี นโดยใชก้ ารศึกษาทเี่ นน้ ผลลพั ธ์การ เรียนรู้ โดยบณั ฑติ เปน็ ผู้นา ผสานศาสตรแ์ ละศิลป์ สร้างสรรค์คุณค่าสสู่ ังคม โดยมีรายละเอียดตาม QR-Code สภามหาวทิ ยาลยั ในการประชมุ คร้ังท่ี 8/2563 เม่อื วันที่ 9 กนั ยายน 2563 มติเห็นชอบในหลกั การ คุณลักษณะบณั ฑติ ท่ีพงึ ประสงค์มหาวิทยาลยั ศิลปากร และปรัชญาการศึกษา มหาวิทยาลยั ศิลปากร โดยมขี อ้ สงั เกต ขอ้ เสนอแนะ สรุปไดด้ งั น้ี 1. ควรศึกษา วิจัย หาขอ้ มลู จากแหล่งตา่ งๆ เพ่ิมเติม และนามาวิเคราะห์เพ่อื ประกอบในการกาหนด/ปรับคณุ ลักษณะบณั ฑติ ทีพ่ งึ ประสงคม์ หาวทิ ยาลัยศิลปากร ตามที่นาเสนอ อาทิ 1.1 ศษิ ย์เก่าทป่ี ระสบความสาเร็จ มีคุณลกั ษณะอย่างไร 1.2 ควรรวบรวมและวิเคราะห์ว่าเม่อื บริษทั /หน่วยงานองค์กร ช้ันนาท้ังในประเทศและต่างประเทศ เปิดรับสมคั รงาน ตอ้ งการบัณฑติ ทีม่ คี ุณลกั ษณะอยา่ งไร 1.3 การวิจยั บณั ฑิตของมหาวิทยาลัยศิลปากร ยอ้ นหลังประมาณ 3 ปี ว่ามีคุณลักษณะอยา่ งไร 1.4 ผใู้ ช้บัณฑิตต้องการบัณฑติ /คาดหวังบัณฑิตจากมหาวิทยาลยั ศลิ ปากรท่มี คี ณุ ลักษณะอยา่ งไร 2. ควรฝึกใหน้ กั ศกึ ษามที ักษะ ประสบการณจ์ รงิ ในการทางานใหม้ ากขึน้ เพ่อื ใหส้ ามารถปรับตัว ปรับทศั นคติ และมีความสุข ในการทางาน 3. ควรกาหนดคุณลกั ษณะของบัณฑิตในแต่ละระดบั ให้ชัดเจน เพ่ือประโยชน์ในการออกแบบหลกั สูตร การจัดการเรียนการ สอน การจดั กิจกรรมของมหาวทิ ยาลัย ฯลฯ 1.1.6 แผนพฒั นาของคณะ สว่ นงาน ข้อบังคับฯ กาหนดให้หัวหน้าส่วนงานจัดทาแผนพัฒนาส่วนงาน ในรอบ 4 ปีงบประมาณท่ีครอบคลุมระยะเวลาดารงตาแหน่ง พร้อมตัวช้ีวัด ค่าเป้าหมาย และเสนอสภามหาวิทยาลัย พจิ ารณาภายใน 90 วันนบั ตั้งแตว่ นั ท่ีได้รับแตง่ ตง้ั ใหด้ ารงตาแหน่งหัวหนา้ ส่วนงาน 20 รายงานผลการดำ�เนินงาน สภามหาวิทยาลยั ศลิ ปากร ปี พ.ศ. 2563 20 Annual Report Silpakorn University Council 2020
ในรอบปี พ.ศ. 2563 มีคณบดี หัวหน้าส่วนงาน จานวน 5 ส่วนงาน ได้เสนอแผนพัฒนาสว่ นงาน ในรอบ 4 ปีงบประมาณที่ครอบคลุมระยะเวลาทีด่ ารงตาแหน่ง ใหส้ ภามหาวทิ ยาลัยพิจารณา ซึ่งสภามหาวิทยาลัยมีมติ เห็นชอบแผนพฒั นาสว่ นงานตามทค่ี ณบดี หวั หนา้ ส่วนงาน เสนอ ดงั นี้ แผนพัฒนาคณะ ส่วนงาน คณบดี หวั หนา้ ส่วนงาน 1. แผนพฒั นาสานักหอสมดุ กลาง มหาวิทยาลัยศลิ ปากร ระยะเวลา 4 ปี ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2563-2566 สภามหาวิทยาลัยในการประชุมคร้ังที่ 2/2563 เมื่อวันที่ 12 กุมภาพันธ์ 2563 เห็นชอบแผนพัฒนาสานักหอสมุดกลาง มหาวิทยาลัยศิลปากร ระยะเวลา 4 ปี ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2563-2566 โดยมขี อ้ สงั เกต ข้อเสนอแนะ สรปุ ได้ดังน้ี 1. ควรทาข้อตกลงความร่วมมอื กับหน่วยงานองค์กร ทัง้ ภาครัฐและเอกชนที่จะช่วยส่งเสริม สนับสนุนงบประมาณ การทางาน การให้บริการ การสร้างเครือข่าย ฯลฯ ของ สานักหอสมุดกลางให้มีประสิทธิภาพมากข้ึน อาทิ ศูนย์ สร้างสรรค์งานออกแบบ TCDC 2. ควรนาทรัพยากร องค์ความรู้ของสานักหอสมุดกลาง มาสร้างมูลค่า อาทิ การให้บริการยืมรูปภาพ การรับ ผู้ช่วยศาสตราจารย์นนั ทพล จ่ันเงิน ออกแบบ/จัดห้องสมุดแก่หน่วยงาน องค์กรภาครัฐ เอกชน ผอู้ านวยการสานักหอสมุดกลาง นาเสนอแผนพฒั นาสานัก บคุ คลทวั่ ไป หอสมุดกลาง มหาวิทยาลยั ศลิ ปากร ระยะเวลา 4 ปี 3. สานักหอสมุดกลางควรมีการเตรียมวางแผน และมี ปีงบประมาณ พ.ศ.2563-2566 รูปแบบการบริหารจัดการ ท่ีจะสามารถรองรับบริบทความ เปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นอย่างรวดเร็วท้ังจากการจัดการศึกษา หลักสูตร รูปแบบการเรียนการสอน นโยบายต่างๆ เพื่อให้ สามารถตอบสนองกับความเปลี่ยนแปลงดังกล่าวได้อย่างทัน การณ์ และมีประสทิ ธิภาพ 2. แผนพฒั นาคณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ระยะเวลา 4 ปี ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2563-2566 สภามหาวิทยาลัยศิลปากร ในการประชุมคร้ังท่ี 3/2563 เมื่อวันที่ 11 มีนาคม 2563 เห็นชอบแผนพัฒนาคณะ ศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ระยะเวลา 4 ปี ปีงบประมาณ พ.ศ.2563-2566 โดยมีข้อสังเกต ข้อเสนอแนะ สรุปได้ดงั นี้ 1. ควรมีบทบาทในการช่วยเหลือและพัฒนา โรงเรียน ห่างไกล/นักเรียนท่ดี อ้ ยโอกาส รวมถงึ นกั เรยี นทหี่ ลดุ ออกจาก ระบบการศึกษาซึ่งมีจานวนมาก ให้ได้รับการพัฒนามากขึ้น ซึ่ ง ก า ร ด า เ นิ น ก า ร ดั ง ก ล่ า ว จ ะ เ ป็ น ป ร ะ โ ย ช น์ ต่ อ ค ณ ะ ศึกษาศาสตร์ในการนาความรู้ ประสบการณ์มาถ่ายทอดแก่ นักศึกษา ที่จะต้องไปสอนตามโรงเรียนต่างๆ ให้เข้าใจถึง บริบท วิธีการจัดการเรียนการสอนในสภาพแวดล้อมต่างๆ ผ้ชู ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.มาเรียม นลิ พนั ธ์ุ ดว้ ย คณบดคี ณะศึกษาศาสตร์ 21รายงานผลการด�ำ เนินงาน สภามหาวิทยาลยั ศิลปากร ปี พ.ศ. 2563 21 Annual Report Silpakorn University Council 2020
2.ควรศึกษาแนวทางการขยายการจัดการศึกษาระดับ นาเสนอแผนพัฒนาคณะศึกษาศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั มธั ยมศึกษาในสายศลิ ปะ /การสรา้ งเครอื ขา่ ยความร่วมมือกับ ศิลปากร ระยะเวลา 4 ปี ปีงบประมาณ พ.ศ.2563-2566 โรงเรียนมัธยมศึกษาในจังหวัดนครปฐม และอ่ืนๆ โดยอาจจะ เชิญคณะจิตรกรรม ประติมากรรมและภาพพิมพ์มาร่วมมือ ด้วย เพื่อให้นักเรียนที่มีความสนใจด้านศิลปะได้เข้าศึกษา และเป็นการเตรียมความพร้อมในการเข้าศึกษาระดับอุมด ศึ ก ษ า ด้ า น ศิ ล ป ะ ต่ อ ไ ป ซ่ึ ง จ ะ ท า ใ ห้ นั ก ศึ ก ษ า ใ น ระดับอุดมศกึ ษามคี ุณภาพมากข้ึน 3. ควรเพ่ิมการประชาสัมพันธ์คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศลิ ปากร ให้สาธารณะชนภายนอกรจู้ ักมากขน้ึ 3. แผนพฒั นาคณะเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร มหาวทิ ยาลยั ศิลปากร ระยะเวลา 4 ปี ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2563-2566 สภามหาวทิ ยาลยั ศิลปากรในการประชมุ ครง้ั ท่ี 5/2563 เมอ่ื วันที่ 10 มถิ ุนายน 2563 เห็นชอบแผนพฒั นาคณะ เทคโนโลยสี ารสนเทศและการสอ่ื สาร มหาวทิ ยาลัยศิลปากร ระยะเวลา 4 ปี ประจาปงี บประมาณ พ.ศ.2563-2566 โดยมี ขอ้ สังเกต ขอ้ เสนอแนะ สรุปได้ดงั น้ี 1. ควรนายทุ ธศาสตร์ แผนพฒั นาต่างๆ ของรฐั บาลเกย่ี วกับ ด้านดิจิทัลและเทคโนโลยีเพ่ือการพัฒนาประเทศ รวมทั้ง นโยบายการฟื้นฟูเศรษฐกิจ สังคม การช่วยเหลือเยียวยาภาค ส่วนต่างๆ จากสถานการณ์การแพร่ระบาดของเช้ือไวรัสโคโร นา 2019 (COVID-19) อาทิ ภาคการเกษตร ทอ่ งเทย่ี ว อาหาร ฯลฯ มาวิเคราะห์ และจัดทาแผนพัฒนาคณะ การดาเนินการ ตามพันธกจิ ของคณะ และการสรา้ งความร่วมมอื /เครอื ข่ายกับ ผชู้ ่วยศาสตราจารยณ์ ัฐพร กาญจนภูมิ หน่วยงานภายนอก โดยเฉพาะกระทรวงดิจิทัลเพ่ือเศรษฐกิจ คณบดคี ณะเทคโนโลยสี ารสนเทศและการสอ่ื สาร และสังคม อาทิ การจัดกิจกรรม/โครงการอบรม การทางาน นาเสนอแผนพัฒนาคณะเทคโนโลยสี ารสนเทศและการ วิจัยรว่ มกนั เป็นตน้ สื่อสาร มหาวทิ ยาลัยศลิ ปากร ระยะเวลา 4 ปี ประจาปี 2. ควรวเิ คราะห์ศักยภาพของคณะ และกาหนดทิศทางการ งบประมาณ พ.ศ.2563-2566 พัฒนา การขยายงาน/การเติบโต ต่อไปในอนาคตให้ชัดเจน อาทิ การพฒั นาใหเ้ ปน็ ศนู ย์กลางดา้ นดิจทิ ลั และเทคโนโลยีของ ภูมิภาคตะวันตก การดาเนินภารกิจ/กิจกรรมท่ีเชื่อมโยงกับ การพฒั นาจังหวดั ในภาคใต้ เป็นตน้ 3. ควรพิจารณาอัตลกั ษณค์ วามโดดเด่นของคณะเทคโนโลยี สารสนเทศและการส่ือสาร มหาวิทยาลัยศิลปากร และนามา สร้าง/ปรับปรุงหลักสูตร เพ่ือจูงใจให้นักศึกษาเข้ามาศึกษาต่อ และการผลิตบัณฑิตที่เป็นอัตลักษณ์นาไปสู่โอกาสในการ ประกอบอาชพี การไดง้ านทา ภาพลักษณ์องค์กร เปน็ ตน้ 4. ควรบูรณาการการทางานกบั คณะต่างๆ ในมหาวทิ ยาลัย และหนว่ ยงานภายนอกใหม้ ากขนึ้ อาทิ 4.1 ด้านการเรียนการสอน โดยร่วมกับคณะจิตรกรรม ประติมากรรมฯ ซึ่งจะช่วยให้เกิดองค์ความรู้ การสร้างสรรค์ 22 รายงานผลการดำ�เนนิ งาน สภามหาวิทยาลัยศิลปากร ปี พ.ศ. 2563 22 Annual Report Silpakorn University Council 2020
ผลงานในมิติใหม่ๆ มีรูปแบบวิธีการนําเสนอท่ีทันสมัย และ หลากหลายมากขึ้น ฯลฯ 4.2 การผลิตบัณฑิต โดยร่วมกับคณะกรรมการกิจการ กระจายเสียง กิจการโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคม แห่งชาติ (กสทช.) ซึ่งจะช่วยให้นักศึกษา บัณฑิตมีทักษะ ประสบการณ์ มคี วามสามารถเพิ่มขึน้ 4.3 การบริการวิชาการ ร่วมกับคณะสัตวศาสตร์ฯ ซ่ึงจะ ทําให้การจัดกิจกรรม/โครงการเกิดประโยชน์กับผู้รับบริการใน มิติที่กว้างขวางและหลากหลายมากข้นึ อาทิ Smart Farming 5. ควรเรียงลําดับความสําคัญของกิจกรรม/โครงการท่ีจะ ดําเนินการในแต่ละปี และในระยะ 4 ปี โดยนําข้อมูลด้าน งบประมาณของคณะมาประกอบการพจิ ารณาดว้ ย 6. ควรวางแผน และเร่งหาเงินรายได้เพ่ิมนอกเหนือจากค่า หน่วยกิต เนื่องจากจํานวนนักศึกษาในหลายสาขามีแนวโน้ม ลดลง 7. ควรปรับระบบการบริหารจัดการภายในคณะ ทั้งในส่วน ของบุคลากรสายวิชาการซึ่งมีความหลากหลายให้มีความเป็น เอกภาพและร่วมมือกันทํางานให้มากขึ้น และบุคลากรสาย สนับสนุนท่ีควรปรับ/พัฒนาระบบการทํางาน ทักษะความรู้ ความสามารถ การปรับตัวให้ทันกับความเปล่ียนแปลง และ พัฒนาการทํางานให้มปี ระสิทธภิ าพมากขน้ึ 8. ควรนําข้อสังเกต ข้อเสนอแนะจากท่ีประชุมสภา มหาวิทยาลัยไปสื่อสารให้บุคลากรในคณะทราบ แล้วระดม ความคิด วางแผนการทํางาน และร่วมมือกันทํางานเพ่ือให้ บรรลุเปา้ หมายตามทีก่ าํ หนดไว้ 4. แผนพัฒนาวิทยาลัยนานาชาติ มหาวทิ ยาลัยศิลปากร ระยะเวลา 4 ปี ประจําปงี บประมาณ พ.ศ. 2564-2567 สภามหาวิทยาลยั ศิลปากรในการประชุม คร้งั ท่ี 9/2563 เม่ือวันท่ี 14 ตุลาคม 2563 เห็นชอบแผนพัฒนาวิทยาลัย น า น า ช า ติ ม ห า วิ ท ย า ลั ยศิ ล ป า ก ร ระยะเวลา 4 ปี ปีงบประมาณ พ.ศ.2564-2567 โดยมีข้อสังเกต ข้อเสนอแนะ สรุปไดด้ ังน้ี 1. ควรพิจารณาเปิดรายวิชา/จัดอบรมหลักสูตรระยะส้ัน/ จัดทําหลักสูตรการศึกษา เก่ียวกับปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพียง ของในหลวงรัชกาลท่ี 9 ซ่ึงจะเป็นประโยชน์ใน หลากหลายมิติท้ังในระดับชาติและนานาชาติ อาทิ สอดคล้อง กับหลกั การพัฒนาท่ียง่ั ยนื ขององค์การสหประชาชาติ 2. ควรร่วมมือกบั คณะต่างๆ ในการจดั การเรยี นการสอนซ่ึง จะเกิดประโยชน์มากขึ้น อาทิ รายวิชา Health Care ร่วมกับ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.สมพิศ ขัตตยิ พกิ ุล คณะเภสัชศาสตร์ คณบดีวทิ ยาลัยนานาชาติ 3. ควรวิเคราะห์ความต้องการด้านบุคลากรในโครงการ นาํ เสนอแผนพฒั นาวิทยาลัยนานาชาติ มหาวิทยาลยั ขนาดใหญ่ของรัฐบาล อาทิ โครงการพัฒนาระเบียงเศรษฐกิจ ศลิ ปากร ระยะเวลา 4 ปี ปงี บประมาณ พ.ศ.2564-2567 พิเศษภาคตะวันออก (EEC) และเปิดหลักสูตร ผลิตบัณฑิตใน สาขาท่ีวิทยาลัยนานาชาติมีความพร้อม มีศักยภาพที่ สอดคลอ้ งกบั โครงการดังกลา่ ว 23 23รายงานผลการด�ำ เนินงาน สภามหาวทิ ยาลยั ศิลปากร ปี พ.ศ. 2563 Annual Report Silpakorn University Council 2020
4. ควรเพิ่มบทบาท ศักยภาพของวิทยาลยั นานาชาติในการ สนับสนุนนโยบายที่สาคัญของประเทศ อาทิ ด้านการเป็น ศนู ยก์ ลางอาหารของโลก ด้านการทอ่ งเทย่ี ว ดา้ นสุขภาพ 5. ควรร่วมกับมหาวิทยาลัยในการดาเนินการซ่อมแซม ผลงานศิลปกรรมของมหาวิทยาลัย ซ่ึงมีจานวนมาก และเป็น ทรัพย์สินที่มีค่าของมหาวิทยาลัยและประเทศชาติ โดย จุดเริ่มต้นนี้จะนาไปสู่การสร้างชื่อเสียง แก่วิทยาลัยนานาชาติ มหาวทิ ยาลัยศิลปากร รวมถงึ ประชาสัมพันธ์หลักสูตร การเชญิ ชวนให้ผู้สนใจได้เข้ามาเรียน ในหลักสูตรการอนุรักษ์และการ จัดการมรดกทางวัฒนธรรม และหลักสูตรอ่ืนๆ ของ มหาวิทยาลัยมากข้ึน 6. ควรร่วมมือกับหน่วยงานภายนอกทั้งภายในประเทศและ ต่างประเทศ เช่น กรมศิลปากร ในการสนับสนุนบุคลากรเข้า มาศึกษาในหลักสูตรต่างๆ การแลกเปลี่ยน การทางานวิจัย การทานุบารงุ ศลิ ปวัฒนธรรม ฯลฯ ซ่งึ จะเกิดประโยชน์มากขนึ้ 5. แผนพฒั นาคณะวทิ ยาการจัดการ มหาวทิ ยาลยั ศิลปากร ระยะเวลา 4 ปี ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564-2567 สภามหาวิทยาลยั ศิลปากรในการประชมุ คร้ังท่ี 10/2563 เมือ่ วันท่ี 9 ธนั วาคม 2563 เหน็ ชอบแผนพัฒนาคณะ วทิ ยาการจดั การ มหาวิทยาลยั ศลิ ปากร ระยะเวลา 4 ปี ประจาปีงบประมาณ พ.ศ.2564-2567 โดยมขี อ้ สงั เกต ข้อเสนอแนะ สรุปไดด้ งั นี้ 1. ควรให้ความสาคัญกับการพัฒนาด้านเทคโนโลยีให้มาก ขึ้น เนื่องจากยังเป็นจุดอ่อนในภาพรวมของมหาวิทยาลัย และ คณะต่างๆ ตามท่ีท่ีปรึกษาชาวญ่ีปุ่นได้วิเคราะห์ไว้ รวมท้ังจะ เป็นประโยชน์ต่อนักศึกษาในการนาไปประกอบอาชีพ การศกึ ษาค้นคว้าต่อไปในอนาคต ฯลฯ 2. ควรนาข้อมูล สถิติตัวเลขผลการดาเนินงานในด้านต่างๆ ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.วนั ชัย สุทธะนันท์ ที่ผ่านมา นามาวเิ คราะห์ และใช้เปน็ พน้ื ฐานในการแกไ้ ขปัญหา คณบดีคณะวิทยาการจดั การ อุปสรรค รวมถึงการวางแผนพัฒนา อาทิ อาจารย์ในคณะมี นาเสนอแผนพัฒนาคณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัย ตาแหน่งทางวิชาการน้อย ควรวิเคราะห์มูลเหตุ/ปัจจัยท่ี ศลิ ปากร ระยะเวลา 4 ปี อาจารยเ์ หลา่ นั้นไม่ทาผลงาน/เสนอขอกาหนดตาแหนง่ แล้วหา ประจาปีงบประมาณ พ.ศ.2564-2567 แนวทางสง่ เสรมิ วางแผนพัฒนาต่อไป 24 รายงานผลการด�ำ เนินงาน สภามหาวทิ ยาลัยศลิ ปากร ปี พ.ศ. 2563 24 Annual Report Silpakorn University Council 2020
1.2 วางระเบียบและการออกขอ้ บังคบั ของมหาวทิ ยาลยั (มาตรา 22 (2) (3) (4) และ (5)) สภามหาวิทยาลยั ให้ความเห็นชอบข้อบังคบั ระเบยี บ และประกาศ จํานวน 22 ฉบับ จําแนกเปน็ 1. ข้อบังคบั จาํ นวน 11 ฉบับ 2. ระเบียบ จาํ นวน 5 ฉบับ 3. ประกาศ จาํ นวน 6 ฉบบั รวม จํานวน 22 ฉบับ (รายละเอียด ภาคผนวก 1 หน้า 56) 1.3 อนุมตั ิหลกั สตู รการศกึ ษาและการเปิดสอน รวมทั้งการปรบั ปรุง การยบุ รวมหรอื ยกเลกิ หลกั สตู ร การศกึ ษา (มาตรา 22 (6)) สภามหาวิทยาลัยอนุมัติการปรับปรุงหลักสูตร และเปิด-ปิดหลักสูตร จํานวน 217 หลักสูตร จําแนกเป็น การปรบั ปรงุ หลักสูตร และเปิด-ปิดหลักสตู ร จํานวน (หลักสูตร) 1. ปรับปรงุ หลักสูตรทไี่ มก่ ระทบโครงสร้างและสาระสาํ คญั ของหลักสตู ร 188 2. ปรบั ปรุงหลักสูตรท่ีมีผลกระทบต่อโครงสร้างและสาระสําคญั ของหลกั สูตร 14 3. เปิดหลกั สูตรใหม่ 4 4. ปิดหลักสตู ร 7 5. เปิดสอนหลกั สตู รในลกั ษณะโครงการพิเศษ 4 217 รวม ทั้งนเ้ี มื่อนาํ มาจาํ แนกตามระดับการศึกษามีรายละเอียดตามตารางที่ 5 ตารางท่ี 5 แสดงการปรับปรุงหลกั สตู ร และเปดิ -ปดิ หลักสูตร จาํ แนกตามระดับการศกึ ษา จํานวนหลักสูตร ปรับปรุงหลักสูตร ระดับ ทไี่ มก่ ระทบ โผคหสลรลาปกงรักรสระสับะรสูตปทา้ ํารงรบคทแุงตญั ลมี่ ่อะี เปิดหใหลมัก่สูตร โคหรเลลงปกักักิดสษาสรตูณอพรนะใิเศนษ ปิดหลักสูตร รวม โครงสรา้ งและ สาระสาํ คัญ ระดับบณั ฑิตศึกษา 54 5 1 2 5 67 ปริญญาโท 33 5 3 2 2 45 ปรญิ ญาเอก 101 4 - - - 105 188 14 4 4 7 217 ระดบั ปรญิ ญาบณั ฑติ รวม (รายละเอยี ด ภาคผนวก 2 หน้า 58) 25 25รายงานผลการด�ำ เนนิ งาน สภามหาวิทยาลัยศลิ ปากร ปี พ.ศ. 2563 Annual Report Silpakorn University Council 2020
1.4 อนุมัติการให้ปริญญา อนุปริญญา และประกาศนียบัตรชั้นหน่ึงชั้นใด ท้ังของมหาวิทยาลัยและ ท่ีมหาวิทยาลัยจัดการศึกษาร่วมกับสถานศึกษาช้ันสูงหรือสถาบันอื่น รวมทั้งอนุมัติการให้ปริญญา กิตติมศกั ด์ิ (มาตรา 22 (9)) (1) ถวายปริญญาปรัชญาดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักด์ิ สาขาวิชาประวัติศาสตร์ศิลปะ แด่สมเด็จพระ อรยิ วงศาคตญาณ (อมพฺ รมหาเถร) สมเดจ็ พระสังฆราชสกลมหาสังฆปรณิ ายก (2) เห็นชอบรายช่ือผ้ทู รงคณุ วุฒิเพอื่ ขอรับพระราชทานปริญญากิตตมิ ศกั ด์ิ จานวน 5 ราย คือ รองศาสตราจารยช์ ินศกั ด์ิ ตณั ฑิกุล รองศาสตราจารยส์ ทิ ธิพร ภริ มย์รนื่ ปริญญาปรัชญาดษุ ฎีบณั ฑติ กิตตมิ ศกั ดิ์ ปรญิ ญาปรชั ญาดุษฎบี ัณฑิตกิตติมศกั ดิ์ สาขาวิชาสถาปัตยกรรม สาขาวชิ าสถาปตั ยกรรม รองศาสตราจารย์พิศประไพ สาระศาลนิ เภสชั กรสิทธิ์ ถิระภาคภูมอิ นนั ต์ ศาสตราจารย์ ดร. เวอรเ์ นอร์ มลู บาวเออร์ ปรญิ ญาปรัชญาดุษฎีบณั ฑติ กติ ตมิ ศกั ดิ์ ปริญญาปรัชญาดษุ ฎบี ัณฑติ กติ ตมิ ศกั ดิ์ ปรญิ ญาปรชั ญาดุษฎีบณั ฑิตกติ ตมิ ศักดิ์ สาขาวชิ าวิทยาการทางเภสชั ศาสตร์ สาขาวชิ าเทคโนโลยีอาหาร สาขาวชิ าการออกแบบ 26 รายงานผลการดำ�เนินงาน สภามหาวิทยาลยั ศิลปากร ปี พ.ศ. 2563 26 Annual Report Silpakorn University Council 2020
(3) อนุมัติปริญญาแกผ่ ู้สําเรจ็ การศึกษา จํานวน 5,630 ราย โดยมสี ัดสว่ นผูส้ าํ เรจ็ การศกึ ษา ระดบั ปรญิ ญาบัณฑิตตอ่ ระดับบัณฑิตศึกษา = 87.60 : 12.40 ระดบั ปริญญา จาํ นวนผู้สาํ เร็จการศกึ ษา (ราย) รอ้ ยละของ 175 ผสู้ ําเรจ็ การศึกษา 1. ระดบั บัณฑติ ศกึ ษา ดุษฎบี ณั ฑติ 523 2. ระดบั ปรญิ ญาบณั ฑติ มหาบัณฑติ 4,932 3.11 5,630 9.29 รวม 87.60 100.00 1.5 อนมุ ัติการต้งั งบประมาณรายรบั และอนุมัตงิ บประมาณรายจ่ายของมหาวทิ ยาลยั (มาตรา 22 (12)) อนุมตั งิ บประมาณรายจา่ ยจากเงนิ รายได้ ประจําปีงบประมาณ พ.ศ.2564 จาํ นวน 2,200.4192 ลา้ นบาท สภามหาวทิ ยาลัยศิลปากร คร้งั ที่ 8/2563 เมอ่ื วนั ที่ 9 กนั ยายน 2563 มีมติอนุมตั งิ บประมาณรายจา่ ยจากเงนิ รายได้ ประจาํ ปีงบประมาณ พ.ศ.2564 จํานวน 2,200.4192 ลา้ นบาท โดยมีขอ้ สังเกต ข้อเสนอแนะ สรุปได้ดังน้ี 1. งบประมาณรายจ่ายจากเงินรายได้ของมหาวิทยาลัยประมาณร้อยละ 70 มาจากรายรับค่าหน่วยกิตของนักศึกษา ด้วย จํานวนนักศึกษาในบางคณะมีแนวโน้มลดลง ในขณะท่ีงบประมาณด้านบุคลากรมีแนวโน้มเพิ่มข้ึน มหาวิทยาลัยจึงควรเรง่ จัดทําแผนการหารายได้จากแหล่งต่างๆ เพิ่ม รวมถึงการวางแผนบริหารจัดการด้านแผนอัตรากําลัง การควบคุมค่าใช้จ่าย เป็นต้น 2. ปัจจุบันการคํานวณสัดส่วนงบประมาณภารกิจประจํา : ภารกิจนโยบาย ซึ่งกําหนดไว้ท่ีร้อยละ 70:30 ไม่ได้นํา งบประมาณด้านบุคลากรมารวมด้วย คณะกรรมการฯ ให้ข้อเสนอแนะว่าในการคํานวณสัดส่วนดังกล่าวของปีงบประมาณ ตอ่ ไปควรนํางบประมาณด้านบคุ ลากรมารวมดว้ ย เพอื่ สะทอ้ นงบประมาณในการดาํ เนนิ การ และงบประมาณการพฒั นาให้ ชัดเจนขึน้ 27รายงานผลการด�ำ เนนิ งาน สภามหาวิทยาลยั ศลิ ปากร ปี พ.ศ. 256327 Annual Report Silpakorn University Council 2020
1.6 พิจารณาดาเนินการเพ่ือทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ แต่งตั้ง และพิจารณาถอดถอนนายกสภา มหาวิทยาลยั กรรมการสภามหาวิทยาลัยผทู้ รงคณุ วุฒิ อธกิ ารบดี ศาสตราจารย์ และศาสตราจารย์ พิเศษ (มาตรา 22 (16)) 1.6.1 เห็นชอบรายชื่อผสู้ มควรดารงตาแหนง่ นายกสภามหาวิทยาลัย จานวน 1 ราย และกรรมการสภา มหาวิทยาลยั ผู้ทรงคณุ วฒุ ิ จานวน 15 ราย ดังนี้ 1) ผู้สมควรดารงตาแหน่งนายกสภามหาวทิ ยาลัย จานวน 1 ราย คือ ศาสตราจารย์เกียรติคุณ คุณหญิงไขศรี ศรอี รณุ 2) ผู้สมควรดารงตาแหน่งกรรมการสภามหาวิทยาลัยผู้ทรงคุณวุฒิ จานวน 15 ราย เรยี งลาดับตามตวั อักษร ดงั นี้ (1) นายกมล จันทมิ า (2) ดร.คุณหญิงกษมา วรวรรณ ณ อยธุ ยา (3) ศาสตราจารย์ ดร.จตรุ นต์ ถริ ะวัฒน์ (4) นายชัยณรงค์ อนิ ทรมที รัพย์ (5) นางดวงสมร วรฤทธ์ิ (6) ศาสตราจารย์กิตตคิ ุณ ดร.บวรศกั ด์ิ อวุ รรณโณ (7) นายปญั ญา วิจินธนสาร (8) นางพรรณขนิตตา บุญครอง (9) นายเลอศักดิ์ จุลเทศ (10) ศาสตราจารย์ ดร.สนทิ อักษรแก้ว (11) ศาสตราจารยเ์ กียรติคุณ ดร.สนั ติ เล็กสขุ มุ (12) นายสมุ นต์ สกลไชย (13) นายอนชุ าติ คงมาลยั (14) นายอภิสิทธ์ิ ไล่สัตรูไกล (15) ศาสตราจารย์เกยี รติคุณ อรศริ ิ ปาณนิ ท์ 28 รายงานผลการด�ำ เนินงาน สภามหาวทิ ยาลัยศิลปากร ปี พ.ศ. 2563 28 Annual Report Silpakorn University Council 2020
1.6.2 เห็นชอบรายช่ือผู้สมควรได้รับการแต่งต้ังเป็นศาสตราจารย์ จานวน 7 ราย ตามท่ี คณะกรรมการพิจารณาตาแหน่งทางวิชาการ และสภาวิชาการเสนอ และให้ดาเนินการตามขั้นตอนเพ่ือ ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ แตง่ ตง้ั ตอ่ ไป คอื รองศาสตราจารย์ ดร.ธนะเศรษฐ์ ง้าวหิรญั พัฒน์ รองศาสตราจารย์ ดร.สนทยา ลิ้มมทั วาภิรตั ์ิ สาขาวิชาเภสชั ศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี สาขาวิชาเภสชั ศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี คณะเภสชั ศาสตร์ คณะเภสชั ศาสตร์ รองศาสตราจารย์ ดร.นนั ทนติ ย์ วานชิ าชวี ะ รองศาสตราจารย์ ดร.ชัยยศ อิษฎว์ รพันธุ์ สาขาวชิ าเคมอี ินทรยี ์ สาขาวชิ าทัศนศลิ ป์ คณะวิทยาศาสตร์ คณะจติ รกรรม ประตมิ ากรรมและภาพพมิ พ์ รองศาสตราจารย์ปิยะแสง จนั ทรวงศไ์ พศาล รองศาสตราจารยส์ ธุ ี คณุ าวชิ ยานนท์ สาขาวิชาทัศนศลิ ป์ สาขาวิชาทศั นศลิ ป์ คณะจติ รกรรม ประตมิ ากรรมและภาพพิมพ์ คณะจติ รกรรม ประตมิ ากรรมและภาพพมิ พ์ รองศาสตราจารย์ ดร.กฤษณา หงษอ์ เุ ทน สาขาวิชาทศั นศิลป์ คณะจติ รกรรม ประตมิ ากรรมและภาพพิมพ์ 29 29รายงานผลการด�ำ เนนิ งาน สภามหาวิทยาลัยศลิ ปากร ปี พ.ศ. 2563 Annual Report Silpakorn University Council 2020
1.7 แต่งตั้งและถอดถอนรองอธิการบดี คณบดี หัวหน้าส่วนงานท่ีเรียกชื่ออย่างอ่ืนท่ีมีฐานะเทียบเท่า คณะ ศาสตราจารย์เกียรติคุณ รองศาสตราจารย์ รองศาสตราจารย์พิเศษ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ผู้ช่วยศาสตราจารย์พิเศษ ผู้ดารงตาแหน่งทางวิชาการที่เรียกช่ืออย่างอ่ืน และกรรมการสภา วชิ าการ (มาตรา 22 (17)) (1) เหน็ ชอบผสู้ มควรแต่งตง้ั เป็นศาสตราจารยเ์ กียรติคณุ จานวน 2 ราย คอื ศาสตราจารย์ ดร. วีระ อินพันทัง ศาสตราจารย์ ดร. มลิวรรณ บญุ เสนอ ภาควชิ าสถาปัตยกรรม วิทยาศาสตรส์ ิ่งแวดลอ้ ม คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ คณะสถาปตั ยกรรมศาสตร์ (2) แต่งต้ังคณบดี หวั หน้าสว่ นงาน จานวน 6 สว่ นงาน ดงั น้ี ผชู้ ่วยศาสตราจารย์ ดร.สมพิศ ขัตตยิ พิกลุ ผูช้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.วนั ชัย สุทธะนันท์ อาจารย์ ดร.ธนาทร เจยี รกุล ดารงตาแหนง่ คณบดีวิทยาลยั นานาชาติ ดารงตาแหนง่ คณบดีคณะวิทยาการจัดการ ดารงตาแหนง่ คณบดคี ณะมัณฑนศิลป์ ตัง้ แตว่ นั ท่ี 15 กรกฎาคม 2563 เปน็ ต้นไป ตัง้ แตว่ ันท่ี 10 กันยายน 2563 เป็นต้นไป ตั้งแต่วนั ท่ี 9 ตุลาคม 2563 เป็นตน้ ไป รองศาสตราจารย์ ดร.ธนะเศรษฐ์ งา้ วหิรัญพัฒน์ อาจารย์ ดร.สุภาพ เกิดแสง อาจารย์ ดร.วัชราภรณ์ รวมธรรม ดารงตาแหนง่ คณบดคี ณะเภสัชศาสตร์ ดารงตาแหน่งผู้อานวยการสานกั ดจิ ิทัลเทคโนโลยี ดารงตาแหน่งคณบดคี ณะสตั วศาสตรแ์ ละ ต้งั แต่วันท่ี 2 พฤศจกิ ายน 2563 เปน็ ตน้ ไป ตั้งแตว่ นั ท่ี 2 พฤศจิกายน 2563 เปน็ ต้นไป เทคโนโลยกี ารเกษตร ตง้ั แต่วนั ท่ี 1 ธันวาคม 2563 เป็นต้นไป 30 รายงานผลการด�ำ เนนิ งาน สภามหาวิทยาลัยศลิ ปากร ปี พ.ศ. 2563 30 Annual Report Silpakorn University Council 2020
(3) เห็นชอบผลการประเมินการขอกําหนดตําแหน่งทางวิชาการของอาจารย์ จํานวน 159 ราย ตามท่ีคณะกรรมการพิจารณาตาํ แหน่งทางวิชาการ และสภาวิชาการเสนอ จาํ แนกเป็น ตําแหน่ง จํานวน (ราย) 1. ศาสตราจารย์ 13 2. รองศาสตราจารย์ 42 3. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ 104 159 รวม 1.8 แต่งต้ังกรรมการ คณะอนุกรรมการ หรือบุคคลใดบุคคลหน่ึงเพื่อกระทําการใดๆ อันอยู่ในอํานาจ หน้าที่ของสภามหาวิทยาลัย รวมทั้งมอบอํานาจให้คณะกรรมการ คณะอนุกรรมการ หรือบุคคล ดังกล่าวทาํ การแทนแลว้ รายงานให้สภามหาวทิ ยาลัยทราบ (มาตรา 22 (18)) ในรอบปี พ.ศ. 2563 (มกราคม – ธันวาคม 2563) สภามหาวิทยาลัยได้แต่งต้ังคณะกรรมการ ชดุ ต่างๆ เพื่อชว่ ยกลั่นกรอง ใหค้ วามคดิ เห็น ขอ้ เสนอแนะต่อสภามหาวิทยาลัย อาทิ (1) สภาวิชาการ (2) คณะกรรมการท่ีปรกึ ษาเกย่ี วกับนโยบายการบรหิ ารและพฒั นาทรพั ยากรบุคคล (3) คณะกรรมการทปี่ รกึ ษาเกย่ี วกับการเงนิ และทรพั ย์สินของมหาวิทยาลยั (4) คณะกรรมการวิเคราะหโ์ ครงสรา้ งส่วนงานและหนว่ ยงาน (5) คณะกรรมการศลิ ปวัฒนธรรมแห่งมหาวทิ ยาลยั ศิลปากร (6) คณะกรรมการพิจารณากล่ันกรองการต่อเวลาราชการของข้าราชการพลเรือน ใน สถาบันอุดมศึกษา และการต่อการจ้างของพนักงานมหาวิทยาลัยสายวิชาการ ประเภทพนักงานประจํา ที่จะ เกษียณอายุครบหกสิบปีบริบูรณ์ สังกัดมหาวิทยาลัยศิลปากร ประจําปีงบประมาณ พ.ศ.2564 (ณ วันท่ี 1 ตุลาคม 2563) (7) คณะกรรมการพิจารณากล่ันกรองการเสนอขอพระราชทานเหรียญดุษฎีมาลาเข็มศิลปวิทยา ของสภามหาวิทยาลัยศลิ ปากร ประจาํ ปี พ.ศ. 2563 (8) คณะกรรมการสรรหาผู้สมควรดํารงตําแหน่งคณบดี และหัวหน้าส่วนงานท่ีเรียกชื่ออย่างอ่ืน ที่มีฐานะเทยี บเท่าคณะ จํานวน 7 ส่วนงาน ดังน้ี (8.1) คณะกรรมการสรรหาผู้สมควรดํารงตําแหน่งคณบดีวิทยาลยั นานาชาติ (8.2) คณะกรรมการสรรหาผู้สมควรดาํ รงตาํ แหนง่ คณบดีคณะวทิ ยาการจดั การ (8.3) คณะกรรมการสรรหาผสู้ มควรดาํ รงตําแหนง่ คณบดคี ณะมัณฑนศิลป์ (8.4) คณะกรรมการสรรหาผสู้ มควรดาํ รงตาํ แหน่งคณบดคี ณะเภสัชศาสตร์ (8.5) คณะกรรมการสรรหาผูส้ มควรดํารงตาํ แหน่งผู้อํานวยการสาํ นักดิจทิ ลั เทคโนโลยี (8.6) คณะกรรมการสรรหาผู้สมควรดํารงตําแหน่งคณบดีคณะสัตวศาสตร์และ เทคโนโลยีการเกษตร (8.7) คณะกรรมการสรรหาผู้สมควรดํารงตําแหน่งคณบดีคณะจิตรกรรม ประติมากรรมและ ภาพพิมพ์ (รายละเอียดภาคผนวก 3 หนา้ 65) 31รายงานผลการดำ�เนินงาน สภามหาวทิ ยาลยั ศิลปากร ปี พ.ศ. 2563 31 Annual Report Silpakorn University Council 2020
1.9 การติดตาม และประเมินผลการปฏิบัติหน้าที่ของอธิการบดี คณบดี และหัวหน้าส่วนงานท่ีเรียกชื่อ อย่างอนื่ ท่ีมีฐานะเทียบเท่าคณะ (มาตรา 22 (19)) สภามหาวิทยาลัยในการประชุมคร้ังท่ี 8/2560 วันที่ 9 สิงหาคม 2560 ได้แต่งตั้งคณะกรรมการ ติดตาม และประเมินผลการดาเนินงานของมหาวิทยาลัย และการปฏิบัติหน้าท่ีของอธิการบดี (นายสุมนต์ สกลไชย กรรมการสภามหาวิทยาลัยผู้ทรงคุณวุฒิ ประธานกรรมการ) และในการประชุมคร้ังที่ 10/2560 วันที่ 11 ตุลาคม 2560 ไดแ้ ตง่ ตง้ั คณะกรรมการติดตาม และประเมินผลการดาเนินงานของส่วนงาน และการปฏิบัติ หน้าที่ของคณบดีและหัวหน้าส่วนงานที่เรียกช่ืออย่างอื่นที่มีฐานะเทียบเท่าคณะ (ศาสตราจารย์ ดร.จตุรนต์ ถริ ะวัฒน์ กรรมการสภามหาวิทยาลยั ผู้ทรงคุณวฒุ ิ ประธานกรรมการ) ในปี พ.ศ. 2563 คณะกรรมการท้ัง 2 ชุด ได้รายงานผลการดาเนินการติดตาม และประเมินผลฯ ตอ่ สภามหาวทิ ยาลัย โดยสรุปดังนี้ 1. การติดตาม และประเมนิ ผลการดาเนินงานของมหาวิทยาลยั และการปฏบิ ัติหน้าที่ของอธกิ ารบดี เห็นชอบ ร่าง รายงานผลการติดตาม และประเมินผลการดาเนินงานของมหาวิทยาลัย และการปฏิบัติหน้าท่ีของ อธิการบดี (ผู้ช่วยศาสตราจารย์ชัยชาญ ถาวรเวช) ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 (1 ตุลาคม 2561 – 30 กันยายน 2562) ตามที่คณะกรรมการติดตาม และประเมินผลการดาเนินงานของมหาวิทยาลัย และการปฏบิ ัติหน้าท่ีของอธิการบดี (นายสุมนต์ สกลไชย กรรมการสภามหาวทิ ยาลยั ผูท้ รงคุณวุฒิ ประธานกรรมการ) เสนอ รายละเอยี ดตาม QR- Code 2. การติดตาม และประเมินผลการดาเนินงานของส่วนงาน และการปฏิบตั หิ น้าที่ของหวั หนา้ ส่วนงาน เห็นชอบ รา่ ง รายงานผลการตดิ ตาม และประเมนิ ผลการดาเนินงานของสว่ นงาน และการปฏิบตั ิหน้าท่ขี องคณบดี และหัวหน้าส่วนงานที่เรียกช่ืออย่างอื่นที่มีฐานะเทียบเท่าคณะ ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 (1 ตุลาคม 2561 – 30 กันยายน 2562) ตามทค่ี ณะกรรมการติดตาม และประเมินผลการดาเนนิ งานของสว่ นงาน และการปฏบิ ตั หิ นา้ ทขี่ องคณบดี และหัวหน้าส่วนงานที่เรียกชื่ออย่างอ่ืนที่มีฐานะเทียบเท่าคณะ (ศาสตราจารย์ ดร.จตุรนต์ ถิระวัฒน์ กรรมการสภา มหาวทิ ยาลยั ผ้ทู รงคณุ วุฒิ ประธานกรรมการ) เสนอ รายละเอยี ดตาม QR-Code โดยมขี อ้ สงั เกต ข้อเสนอแนะโดยสรุป ดงั นี้ 1.ควรพิจารณาวิธีการเก็บข้อมูล คือ จะดาเนินการอย่างไร หาวิธีการอย่างไร เพ่ือให้คณะกรรมการฯ ได้ข้อมูลใน เชิงลึกทส่ี ะทอ้ นปัญหา อุปสรรค ความเส่ยี งในการบรหิ ารงานของสว่ นงาน หวั หนา้ สว่ นงานมากข้ึน ซึ่งจะเปน็ ประโยชนต์ อ่ การใหข้ อ้ เสนอแนะ แนวทางการแก้ไขปัญหาต่างๆ ของส่วนงานได้ทนั การณแ์ ละมีประโยชน์มากขึ้น อาทิ วิธีการเลือกผู้มา ใหข้ อ้ มูล การสรา้ งความเขา้ ใจกับบคุ ลากรให้เห็นความสาคญั และประโยชน์จากการติดตาม และประเมินผลฯ มากขน้ึ 32 รายงานผลการดำ�เนนิ งาน สภามหาวิทยาลยั ศิลปากร ปี พ.ศ. 2563 32 Annual Report Silpakorn University Council 2020
2.ควรมีกลไกกํากับติดตามให้หัวหน้าส่วนงานนําผลจากการติดตาม และประเมินผลฯ ไปใช้ประโยชน์ในการ ปรับปรุงและพัฒนาอย่างต่อเน่ืองและจริงจัง อาทิ การให้หัวหน้าส่วนงานมานําเสนอปัญหา อุปสรรค ความก้าวหน้าใน การทํางานให้ทีป่ ระชุมสภามหาวิทยาลยั ทราบอยา่ งตอ่ เนอื่ ง อธิการบดชี ่วยกํากับตดิ ตามการดาํ เนินการ เปน็ ตน้ 2. การดําเนินการตามอํานาจหน้าท่ีอ่ืนๆ ท่ีกําหนดในข้อบังคับ ระเบียบ ประกาศของมหาวิทยาลัย และ ท่ไี ดร้ บั มอบหมายจากหนว่ ยงานทีเ่ กยี่ วขอ้ ง 2.1 แผนอัตรากําลงั ของมหาวทิ ยาลัย (ตามข้อบังคับมหาวิทยาลัยศิลปากรว่าด้วยแผนอัตรากําลังบุคลากร การกําหนดกรอบอัตรากําลงั บุคลากร และการบริหารกรอบอตั รากําลัง พ.ศ. 2561) อนุมัตกิ ารปรับแผนอตั รากาํ ลงั มหาวิทยาลยั ศลิ ปากร ระยะ 4 ปี พ.ศ.2563 - 2566 จาํ นวน 5 อัตรา เพ่ือทดแทนอัตราเกษยี ณ เปน็ ขอตอ่ อายุราชการ (ต่อการจ้าง) และการต่อเวลาราชการ โดยสรปุ ดงั น้ี 1. ปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 จํานวน 3 ราย คอื (1) ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร. วรกาญจน์ สขุ สดเขียว คณะศกึ ษาศาสตร์ (2) รองศาสตราจารย์ ดร.ร.ต.อ. อนชุ า แพ่งเกษร คณะมัณฑนศลิ ป์ (3) รองศาสตราจารย์ ดร. สืบสกลุ อยยู่ นื ยง คณะวทิ ยาศาสตร์ 2. ปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 จาํ นวน 1 ราย คือ รองศาสตราจารย์ ดร.มยวุ า ยงทรพั ย์อนนั ต์ คณะวิทยาศาสตร์ 3. ปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 จาํ นวน 1 ราย คอื รองศาสตราจารย์ ดร.มลั ลกิ า ปญั ญาคะโป คณะวทิ ยาศาสตร์ 2.2 การกําหนดนโยบาย เป้าหมาย ผลสัมฤทธิ์ ของคณะ ส่วนงานท่ีเรียกชื่ออย่างอื่นที่มีฐานะเทียบเท่า คณะ เพื่อมอบให้คณะกรรมการสรรหานําไปใช้ประกอบการสรรหาฯ (ตามข้อบังคับมหาวิทยาลัยศิลปากรว่า ด้วยการสรรหาคณบดี พ.ศ. 2560 และข้อบังคับมหาวิทยาลัยศิลปากร ว่าด้วยการสรรหาหัวหน้าส่วนงานที่ เรียกชอ่ื อยา่ งอน่ื ทมี่ ฐี านะเทียบเท่าคณะ พ.ศ. 2560) กําหนดนโยบาย เป้าหมาย ผลสัมฤทธิ์ ของคณะ ส่วนงานท่ีเรียกชื่ออย่างอื่นที่มีฐานะเทียบเท่า คณะ ที่จะดําเนินการสรรหาคณบดี หัวหน้าส่วนงาน เพื่อมอบให้คณะกรรมการสรรหานําไปใช้ประกอบการ สรรหาฯ จํานวน 7 ส่วนงาน คอื (1) คณะจติ รกรรม ประตมิ ากรรมและภาพพิมพ์ (2) คณะมณั ฑนศลิ ป์ (3) คณะเภสัชศาสตร์ (4) คณะวทิ ยาการจัดการ (5) คณะสัตวศาสตรแ์ ละเทคโนโลยกี ารเกษตร (6) วิทยาลัยนานาชาติ (7) สํานกั ดิจทิ ัลเทคโนโลยี 33รายงานผลการด�ำ เนนิ งาน สภามหาวิทยาลยั ศิลปากร ปี พ.ศ. 2563 33 Annual Report Silpakorn University Council 2020
2.3 การอุทธรณร์ ้องทุกข์ รับทราบรายงานผลการพิจารณาเรื่องร้องทุกข์ จานวน 1 ราย ตามที่คณะกรรมการอุทธรณ์และ รอ้ งทุกขเ์ สนอมา 2.4 การพิจารณาเงินเดือนของผู้ดารงตาแหน่งผู้บริหาร (ตามประกาศมหาวิทยาลัยศิลปากร เร่ือง บัญชี เงินเดือนข้ันต่าขั้นสูง เงินประจาตาแหน่ง ค่าตอบแทน และหลักเกณฑ์วิธีการจ่าย ฉบับลงวันที่ 22 กันยายน 2559) พิจารณาอัตราเงินเดือน และเงินประจาตาแหน่งของผู้ดารงตาแหน่งคณบดี ผู้อานวยการศูนย์ สถาบัน สานัก ที่มีฐานะเทียบเท่าคณะ ที่ได้รับการแต่งต้ังใหม่ จานวน 7 ราย คือ คณบดีคณะเทคโนโลยี สารสนเทศและการส่ือสาร คณบดีวิทยาลัยนานาชาติ คณบดีคณะวิทยาการจัดการ คณบดีคณะมัณฑนศิลป์ คณบดีคณะเภสัชศาสตร์ คณบดีคณะสัตวศาสตร์และเทคโนโลยีการเกษตร และผู้อานวยการสานักดิจิทัล เทคโนโลยี 2.5 การทาขอ้ ตกลงความร่วมมือทางวิชาการของมหาวิทยาลัยกับมหาวิทยาลยั ในตา่ งประเทศ เห็นชอบการทาขอ้ ตกลงความรว่ มมือทางวิชาการระหวา่ งมหาวิทยาลัยศิลปากรกับมหาวิทยาลัย/ สถาบันในต่างประเทศ จานวน 20 ฉบับ สรปุ ดังน้ี ประเทศ/องคก์ าร จานวน (ฉบับ ) 1. ญี่ปนุ่ 5 2. สาธารณรฐั ประชาชนจีน 4 3. สาธารณรัฐเกาหลี 4 4.สาธารณรฐั สงั คมนิยมเวียดนาม 1 5 สาธารณรัฐฝรั่งเศส 1 6. สหรัฐอเมรกิ า 1 7. สหพนั ธ์สาธารณรฐั เยอรมนี 1 8. สาธารณรัฐอิตาลี 1 9.สาธารณรัฐจนี (ไตห้ วนั ) 1 10. สาธารณรัฐอนิ เดยี 1 รวม 20 (รายละเอียด ภาคผนวก 4 หนา้ 71) 34 รายงานผลการดำ�เนินงาน สภามหาวทิ ยาลยั ศิลปากร ปี พ.ศ. 2563 34 Annual Report Silpakorn University Council 2020
2.6 แต่งตั้งคณะกรรมการพิจารณาการต่ออายุราชการ และพิจารณาอนุมัติการต่อเวลาราชการของ อาจารย์ (1) สภามหาวิทยาลัยได้แต่งต้ังคณะกรรมการพิจารณากล่ันกรองการต่อเวลาราชการของ ข้าราชการพลเรือน ในสถาบันอุดมศึกษา และการต่อการจ้างของพนักงานมหาวิทยาลัยสายวิชาการ ประเภท พนักงานประจํา ท่ีจะเกษียณอายุครบหกสิบปีบริบูรณ์ สังกัดมหาวิทยาลัยศิลปากร ประจําปีงบประมาณ พ.ศ.2564 (ณ วันท่ี 1 ตุลาคม 2563) (ศาสตราจารย์เกียรติคุณอรศิริ ปาณินท์ กรรมการสภามหาวิทยาลัย ผ้ทู รงคณุ วฒุ ิ ประธานกรรมการ) (2) เห็นชอบการต่อการจ้างพนักงานมหาวิทยาลัย สายวิชาการ ประเภทพนักงานประจํา ท่ีจะเกษียณอายุครบหกสิบปีบริบูรณ์ สังกัดมหาวิทยาลัยศิลปากร ประจําปีงบประมาณ พ.ศ.2564 (ณ วันท่ี 1 ตลุ าคม 2563) จํานวน 4 ราย คอื (2.1) รองศาสตราจารย์ ดร.วรกาญจน์ สุขสดเขยี ว ภาควชิ าการบริหารการศึกษา คณะศกึ ษาศาสตร์ (2.2) รองศาสตราจารย์ ดร.ร.ต.อ.อนชุ า แพ่งเกษร ภาควิชาออกแบบตกแตง่ ภายใน คณะมณั ฑนศลิ ป์ (2.3) รองศาสตราจารย์ ดร.สบื สกลุ อยยู่ นื ยง ภาควชิ าคณิตศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์ (2.4) ศาสตราจารย์ฐติ พิ ฒั น์ ประทานทรัพย์ ภาควชิ าเทคนิคสถาปัตยกรรม คณะสถาปตั ยกรรมศาสตร์ 3.นโยบายการปฏริ ปู มหาวทิ ยาลัยศิลปากร (Reform Agenda) สภามหาวิทยาลัยได้มอบนโยบายการปฏิรูปมหาวิทยาลัยศิลปากร (Reform Agenda) ตั้งแต่ ปีงบประมาณ พ.ศ.2560 และได้กํากับติดตามการดําเนินการมาโดยตลอด โดยในปี พ.ศ.2563 ท่ีปรึกษาชาว ญี่ปุ่น ไดส้ รุปผลการวเิ คราะห์ สภาพปัจจุบันของมหาวทิ ยาลัยศิลปากร สาระสาํ คัญโดยสรุปดงั นี้ 1.ขอ้ สรปุ ขอ้ สงั เกตของท่ีปรกึ ษา จากการวเิ คราะห์ 3rd Scanning Silpakorn Model (1) จากข้อมูลที่ได้รับเพิ่มเติมในประเด็น ข้อดี ข้อเสีย ของผลกระทบ 5 ด้าน พบว่า ปัจจุบัน ขอ้ มลู วิสัยทัศน์ของมหาวทิ ยาลัยยงั ไมช่ ดั เจน ซง่ึ ท่ีปรกึ ษาจะดาํ เนนิ การประเมนิ สว่ นน้ีในระยะต่อไป (2) มหาวิทยาลัยมีรูปแบบการพัฒนานักศึกษาที่ดี (ต้ังแต่การรับเข้า พัฒนา และสร้างจุดเด่น ทางสังคม) รวมถึงมีอาจารย์ บุคลากรสายสนับสนุนท่ีดีมีความสามารถ และมีระบบจัดการดูแลท่ีดี ส่งผลให้ นกั ศกึ ษาทส่ี ําเรจ็ ออกไป มศี กั ยภาพ มีคุณภาพสงู (3) การกาํ หนดกลยุทธ์ในภาพรวม ทีป่ รึกษามองว่าปจั จุบันยังมคี วามกระจายกันอยู่ เน่ืองจาก การกําหนดกลยุทธ์ของมหาวิทยาลัยยังไม่ชัดเจน แต่สําหรับคณะมีความชัดเจนและเข้มแข็งมากกว่า ซึ่งท่ี ปรึกษาให้ข้อสังเกตเพ่ิมเติมสําหรับการกําหนดกลยุทธ์ในภาพรวม คือ การเช่ือมโยงระหว่างด้าน Student 1st และวฒั นธรรมองค์กรระดบั มหาวิทยาลัย ระดับคณะใหม้ ีทิศทางเดยี วกนั และเชื่อมโยงกนั (4) มหาวิทยาลัยมีการวางตําแหน่งท่ีดี สามารถรักษาและดํารงอยู่ต่อไปได้ในอนาคต แต่มอง ว่าในอนาคตอันใกล้จะเกิดปัญหาเรื่องนักศึกษารับเข้ามีจํานวนที่ลดลง ซ่ึงจะส่งผลกระทบต่อรายได้ของ มหาวิทยาลัย ดังน้ันมหาวิทยาลัยควรมีมาตรการรองรับกับปัญหาเหล่าน้ีท่ีจะเกิดข้ึนในอนาคต เช่น การวาง ระบบ IT รวมถงึ กระแสการไหลของเงิน เปน็ ต้น (5) ด้าน Social Relation มหาวิทยาลัยเป็นศูนย์กลางความเช่ือมโยงเครือข่ายทางสังคม ที่ ปรึกษามองว่ายังไม่เข้มแข็งเท่าท่ีควร ดังน้ันมหาวิทยาลัยควรปรับปรุงและมีการวางแผน/กําหนดแนวทาง เพ่ือให้มหาวิทยาลัยมีความเข้มแข็งมากข้ึนและสามารถแข่งขันในระดับโลกได้ นอกจากน้ีท่ีปรึกษาช้ีให้เห็นถึง ปัจจัยอ่ืนๆ ที่ส่งผลกระทบต่อความสามารถทางการแข่งขันในระดับโลก ได้แก่ กฎระเบียบ ข้ันตอนการ 35รายงานผลการดำ�เนินงาน สภามหาวทิ ยาลยั ศิลปากร ปี พ.ศ. 256335 Annual Report Silpakorn University Council 2020
ดาเนินงาน (ที่เก่ียวข้องกับคณะกรรมการชุดต่างๆ อานาจของอธิการบดีมีไม่เพียงพอ) เนื่องจากสิ่งเหล่าน้ี อาจ ไม่เออื้ ต่อดาเนนิ งานไปสู่เปา้ หมาย หรืออาจลา่ ชา้ (6) จุดดี จุดที่เป็นปัญหา จุดขัดแย้ง จากการรวบรวมข้อมูลท่ีผ่านมา พร้อมท้ังรับฟัง ข้อเสนอแนะและความคิดเห็นเพ่ิมเติมจากผู้บริหาร เพื่อยืนยันข้อสรุปให้มีความชัดเจนและความถูกต้อง และ นาเสนอทีป่ ระชุมในครง้ั ต่อไป โดยสรุปได้ดงั นี้ (6.1) จดุ ดี (6.1.1) มีการรักษาระบบศิษย์เก่าทด่ี ี (6.1.2) มีการรกั ษาระบบการประกนั คุณภาพการศึกษาท่ีดี (6.1.3) มีการสนับสนุนจัดการด้าน Student 1st และวัฒนธรรมองค์กร ภายในมหาวิทยาลยั (6.1.4) การดูแลปรับปรุงระบบให้สอดคล้องและเป็นไปตามมาตรการ ควบคุม กากับ ติดตามของหน่วยงานกากับ ติดตามผลการดาเนินงานของมหาวิทยาลัย และสอดคล้องกับข้อ เรียกรอ้ งในระดับสากล (6.1.5) มีการรักษาระบบการบริหารจดั การท่ีดี (6.2) การพัฒนาปรับปรุง (6.2.1) ควรเพม่ิ Art Impact ลงใน KPI (ตวั ช้วี ัดความสาเร็จ) (6.2.2) ควรหาชอ่ งทางเพ่ือสร้างรายได้ให้แกม่ หาวทิ ยาลยั ในชอ่ งทางอืน่ ๆ นอกเหนือจากค่าธรรมเนียมการศกึ ษา (6.2.3) รายไดร้ บั เขา้ มปี ัญหา ควรหาช่องทางการสรา้ งรายได้ (6.2.4) ควรนาความรู้/สินทรัพย์ที่อยู่มากมายมาใช้ประโยชน์อย่างเต็มที่ เช่น ด้าน IT, ทรัพย์สินทางปัญญา, การรับรู้ทางด้านสังคม (Network) เป็นต้น โดยสามารถนาไปสร้างเป็น Output เชิงกลยุทธ์ เพอ่ื สร้างโอกาส สร้างช่องทาง สร้างรายได้ และสรา้ งความเขม้ แขง็ กับมหาวิทยาลัยได้ (6.2.5) ควรสร้างความตระหนักให้แก่ประชาคมให้มีการรับรู้และปรับตัวที่ เรว็ ขึ้น (6.2.6) ออกแบบการเช่อื มโยงระบบเทคโนโลยสี ารสนเทศอยา่ งรอบคอบ และระมดั ระวัง (6.2.7) ผลงานดา้ นการวจิ ยั ยังมีไม่เพียงพอ (ควรมกี ารแกไ้ ขตอ่ ไปในอนาคต) (6.3) การแกป้ ัญหาด้านความแตกตา่ ง (6.3.1) การประเมินผลต่ากว่าความสามารถท่ีเกิดข้ึนจริง (ด้านการจัดอันดับ QS Ranking) ⇆ Thai NO.1, 2 faculties, QS rating (6.3.2) การบริการและสนับสนุนนักเรียน/นักศึกษาอยู่ในระดับต่าและไม่ เพียงพอ ⇆ ควรให้ความสาคัญด้าน Student 1st อย่างต่อเน่ือง สร้างเป็นวัฒนธรรมองค์กรท่ีคงอยู่คู่กับ มหาวทิ ยาลัย ไมเ่ ปลีย่ นไปแม้เปล่ียนผบู้ ริการ (6.3.3) ขาดแผนกลยุทธ์ระยะยาวและการเชื่อมโยงระบบ IT ที่มี ประสิทธิภาพ ⇆ ควรมีท่ีปรึกษา/ผู้เช่ียวชาญในการวางแผนระบบบริหารจัดการด้าน IT ท่ีเชื่อมโยงกันในทุก ภารกจิ 36 รายงานผลการดำ�เนนิ งาน สภามหาวทิ ยาลยั ศิลปากร ปี พ.ศ. 2563 36 Annual Report Silpakorn University Council 2020
(7) การประเมินบทวิเคราะห์ Scanning Model ที่ปรึกษามองประเด็นความเชื่อมโยง/ กระบวนการดาเนินงานของปัจจัยท้ัง 5 ด้าน ได้แก่ การไหลของกระแสเงิน ศิษย์เก่า นักศึกษาที่สาเร็จ การศึกษา การสร้าง Social Impact ผลกระทบทางด้านวัฒนธรรมและ ฐานข้อมูล เป็นสาคัญ เพื่อนามา ประเมินเป็น Model ทม่ี ีความเช่ือมโยงกัน ดังนี้ (7.1) Business Model : มีโครงสร้างรายได้ที่หลากหลาย แต่ยังไม่เข้มแข็งหรือทางาน ไมเ่ ตม็ ที่ (7.2) Education Model : มกี ารจัดการท่ีดีด้านการบริหารวชิ าการ การผลติ บัณฑิต บัณฑิตมีคณุ ภาพสงู และมหาวิทยาลัยมีนโยบายให้ความสาคัญกับ Student 1st ควรส่งเสริมใหเ้ ป็นวัฒนธรรม องคก์ ร ใหค้ งอยูต่ ลอดไป แมเ้ ปล่ียนแปลงผ้บู ริหาร (7.3) Social Relations Model : มกี ารจดั การดา้ นศิลปะทด่ี ี แต่ยังขาดการสรา้ ง ผลกระทบ (7.4) Mind Relations Model : เนื่องจากมหาวิทยาลัยศิลปากรเป็นหน่วยงานใน กากับของรัฐ จึงส่งผลให้การดาเนินงานภายในมหาวิทยาลัยถูกกาหนดด้วยกฎหมาย ซึ่งมีรูปแบบการทางาน เป็นแบบราชการ ความคล่องตวั เกิดขึ้นไดช้ า้ (7.5) IT-System Supporting Model : การออกแบบความเช่อื มโยงและบูรณาการ อยใู่ นระดับไมด่ เี ท่าทีค่ วร และความไร้ประสทิ ธิภาพในบางส่วนของระบบงาน โดยเฉพาะอยา่ งย่งิ ในตัวพนักงาน และเจา้ หนา้ ที่ 37รายงานผลการด�ำ เนนิ งาน สภามหาวิทยาลยั ศลิ ปากร ปี พ.ศ. 2563 37 Annual Report Silpakorn University Council 2020
Search