คู่มือการใช้ ชุดฝึกอบรมด้วยตนเองแบบออนไลน์ การจัดการเรยี นการสอนวิทยาการคานวณ สาหรบั ครผู สู้ อนระดบั ชนั้ มธั ยมศึกษาตอนตน้ นางสาวภัคนยั ชมุ่ ชะนะ ศกึ ษานิเทศก์ชานาญการ สานกั งานเขตพ้ืนท่กี ารศึกษาประถมศกึ ษาสุราษฎรธ์ านี เขต 2 สานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธกิ าร
ก คำนำ ชุดฝึกอบรมด้วยตนเองแบบออนไลน์ การจัดการเรียนการสอนวิทยาการคำนวณสำหรับ ครูผู้สอนระดับมัธยมศึกษาตอนต้น จัดทำขึ้นเพื่อเป็นแนวทางให้ครูผู้สอนวิทยาการคำนวณระดับ มัธยมศึกษาตอนต้นนำไปใช้ในการพัฒนาคุณภาพการจัดการเรียนรู้ พัฒนาตนเองให้มีประสิทธิภาพ และนำไปใช้เป็นแนวทางในการพัฒนาความสามารถด้านการคิดของนักเรียน สาระของคู่มือที่นำเสนอ ได้รวบรวมมาจากหลักการและแนวคิดของนักการศึกษาหลายท่าน ซึ่งจะเอื้อประโยชน์ต่อการฝึก ให้นักเรียนเกิดทักษะการคิด ส่งเสริมให้การคิดเป็นกระบวนการในการพัฒนาผู้เรียนอย่างเต็ม ตามศักยภาพ และพัฒนาคุณภาพการศึกษาโดยยึดผู้เรียนเป็นสำคัญ สอดคล้องกับแนวทาง การจัดการศึกษา ตามพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 และที่แก้ไขเพิม่ เติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545 และนโยบายของหน่วยงานต้นสงั กัด จากการการดำเนินการติดตามและนิเทศเพื่อพัฒนาคุณภาพการศึกษาของโรงเรียนในสังกัด พบว่าเมื่อมกี ารปรับปรุงหลักสูตรในกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โดยปรับมาตรฐาน การเรียนรู้และตัวชี้วัด (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 มีการเพิ่มสาระที่ 4 เทคโนโลยี ซึ่งประกอบด้วย การออกแบบและเทคโนโลยี และวิทยาการคำนวณ ซึ่งต้องใช้โปรแกรมตา่ ง ๆ ในการจัดการเรียนรู้ ครูผู้สอนดังกล่าว ส่วนใหญ่ขาด ความรู้ความเข้าใจ ทักษะในกระบวนการจัดการเรียนการสอน การใช้โปรแกรม ทำให้การจัดการเรียนรู้ ในสาระดังกล่าวยังไม่มีประสิทธิภาพ ผู้วิจัยในฐานะศึกษานิเทศก์ผู้ที่เกี่ยวข้องที่มีบทบาทหน้าที่ ในการรับผิดชอบ มองเห็นความจำเป็นที่จะต้องวางแผนแก้ปัญหา จึงได้จัดทำชุดฝึกอบรมด้วยตนเอง แบบออนไลน์เรื่อง “การจัดการเรียนการสอนวิทยาการคำนวณสำหรับครูผู้สอนระดับชั้นมัธยมศึกษา ตอนต้น” เพื่อให้เกิดการพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาในสาระดังกล่าว อีกทั้งพัฒนาผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนของนักเรียน และผลลัพธ์ท่ีคาดหวังตามนโยบายของสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา ประถมศกึ ษาสุราษฎรธ์ านี เขต 2 สำนกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขน้ั พ้ืนฐานและกระทรวงศึกษาธิการ ต่อไป ซงึ่ มีทั้งหมด 3 เล่ม ดังน้ี คู่มือการใช้ชุดฝึกอบรมด้วยตนเองแบบออนไลน์ การจัดการเรียนการสอนวิทยาการคำนวณ สำหรับครูผสู้ อนระดบั มัธยมศึกษาตอนต้น เล่มที่ 1 หลกั สตู รและการจัดการเรียนรวู้ ิทยาการคำนวณ เลม่ ที่ 2 การใชโ้ ปรแกรมสำหรบั การจัดการเรียนการสอนวทิ ยาการคำนวณ เลม่ ท่ี 3 การวัดและประเมินผลคุณภาพผู้เรยี น
ข หวังเป็นอย่างยิ่งว่าชุดฝึกอบรมด้วยตนเองแบบออนไลน์นี้จะเป็นประโยชน์สำหรับผู้บริหาร สถานศึกษาครูผู้สอนวิทยาการคำนวณระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น ครูกลุ่มสาระการเรียนรู้อื่น ๆ ศกึ ษานิเทศก์ ตลอดจนผ้สู นใจ ได้ใชป้ ระโยชนใ์ ห้เกดิ ความร้เู ป็นแนวทางในการจดั การเรยี นร้วู ทิ ยาศาสตร์ และสร้างข้อสอบให้สอดคล้องกับมาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษา ขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ขอให้ผู้ศึกษาได้ศึกษาใบความรู้และใบกิจกรรมให้ครบทุกใบกิจกรรม เพ่อื นำความรไู้ ปใช้พฒั นาผู้เรียนใหเ้ กิดประโยชน์สูงสดุ ตอ่ ไป ภคั นัย ชมุ่ ชะนะ ศึกษานเิ ทศก์ สำนักงานเขตพ้นื ท่กี ารศกึ ษาประถมศกึ ษาสรุ าษฎร์ธานี เขต 2
ค สารบญั หน้า คำนำ ก สารบัญ ค คำชเ้ี จง 1 ความเป็นมาและความสำคัญ 2 วัตถปุ ระสงค์ 4 ขอบขา่ ยเน้ือหา 4 หลักสูตรการอบรม 6 ขัน้ ตอนการฝกึ อบรม 7 การประเมนิ ผลการฝึกอบรม 9 เกณฑก์ ารประเมินผลการฝึกอบรม 10 เคร่ืองมอื ประเมนิ ผลการฝกึ อบรม 10 ผลท่คี าดวา่ จะได้รบั 10 แบบประเมินความพงึ พอใจของครตู อ่ การใชช้ ดุ ฝึกอบรมดว้ ยตนเองแบบออนไลน์ 11 แบบทดสอบความรู้ก่อน-หลงั การฝึกอบรม 15 คณะทำงาน 23
1 คำชแี้ จง คู่มือการใช้ชุดฝึกอบรมด้วยตนเองแบบออนไลน์ การจัดการเรียนการสอนวิทยาการคำนวณ สำหรับครูผู้สอนระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้นเล่มนี้จัดทำขึ้นเพื่อให้ครูใช้เป็นคู่มือในการศึกษาเรียนรู้ ด้วยตนเอง และเพื่อให้ผู้บริหารใช้เป็นคู่มือในการกำกับติดตามการศึกษาฝึกอบรมของครูโดยการ ดำเนินการ ดังนี้ ผบู้ ริหาร ส่งเสริมสนับสนุนอำนวยความสะดวก ให้ครูได้มีช่วงเวลาในการศึกษาชุดฝึกอบรมด้วยตนเอง แบบออนไลน์ โดยไมก่ ระทบตอ่ ชัว่ โมงสอนหรอื การจัดการเรยี นการสอนของครู โดยให้การกำกบั ติดตาม และตรวจสอบการศึกษาชุดฝึกอบรมด้วยตนเองของครู ให้คำปรึกษาแนะนำแก่ครูเกี่ยวกับการศึกษา ชุดฝึกอบรม โดยใหค้ รูได้ปฏิบัตกิ จิ กรรมตามขั้นตอนในชดุ ฝกึ อบรมด้วยตนเองทกุ ชดุ ครู ศึกษาชุดฝึกอบรมด้วยตนเองตามระยะเวลาที่กำหนด 30 วัน โดยปฏิบัติกิจกรรมตามข้นั ตอน ในชุดฝึกอบรมด้วยตนเองทุกชุด แล้วพร้อมรายงานผลการศึกษาชุดฝึกอบรมด้วยตนเองให้ผู้บริหาร ทราบเปน็ ระยะ ๆ
2 ความเปน็ มาและความสำคญั กระทรวงศึกษาธิการโดยสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานได้ดำเนินการทบทวน หลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขั้นพืน้ ฐาน พทุ ธศักราช 2551 โดยนำข้อมลู จากแผนพัฒนาเศรษฐกิจและ สังคมแหง่ ชาติ ฉบับท่ี 12 ยทุ ธศาสตร์ชาติ 20 ปี และแผนการศึกษาแหง่ ชาติ พ.ศ. 2560 – 2579 มาใช้ เป็นกรอบและทิศทางในการพัฒนาหลักสูตรให้มีความเหมาะสมชัดเจนยิ่งขึ้น ในระยะสั้นได้ปรับปรุง หลกั สตู รในกลุ่มสาระการเรียนรู้ วทิ ยาศาสตรแ์ ละคณิตศาสตร์ โดยปรับมาตรฐานการเรียนรแู้ ละตัวชี้วัด (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560) ตามหลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 สำหรับ กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีได้กำหนดสาระออกเป็น 4 สาระ ได้แก่ สาระที่ 1 วิทยาศาสตร์ชีวภาพ สาระที่ 2 วิทยาศาสตร์กายภาพ สาระที่ 3 วิทยาศาสตร์โลก และอวกาศ และสาระที่ 4 เทคโนโลยี โดยกำหนดให้ทุกระดับชั้น ใช้ในปีการศึกษา 2563 หลักสูต รดังกล่าว มคี วามสำคญั ตอ่ การพัฒนาประเทศและเป็นรากฐานสำคญั ทจี่ ะชว่ ยใหม้ นุษย์มีความคิดริเร่ิมสร้างสรรค์ คิดอย่างมีเหตุผลเป็นระบบ สามารถวิเคราะห์ปัญหาหรือสถานการณ์ได้อย่างรอบคอบนำไปใช้ ในชีวิตประจำวันได้ ตลอดจนการใช้เทคโนโลยีที่เหมาะสม ในการบูรณาการกับความรู้ทางด้าน วิทยาศาสตร์ และคณิตศาสตร์ เพื่อแก้ปัญหาหรือพัฒนางาน ด้วยกระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรม ทีน่ ำไปสกู่ ารคิดคน้ สงิ่ ประดิษฐ์ หรอื สร้างนวัตกรรมตา่ ง ๆ ที่เอื้อประโยชน์ต่อการดำรงชวี ิต การใช้ทักษะ การคดิ เชิงคำนวณ ความรู้ทางดา้ นวิทยาการคอมพวิ เตอร์ และเทคโนโลยแี ละการสือ่ สาร ในการแก้ปัญหา ทีพ่ บในชวี ติ จรงิ ได้อย่างมีประสิทธิภาพเพ่ือนำไปส่กู ารจัดการและปรบั ใช้ในการดำรงชีวิตและการประกอบ อาชีพอย่างสร้างสรรค์ การใช้โปรแกรมสำหรับการจัดการเรียนรู้วิชาวิทยาศาสตร์เป็นการส่งเสริม ความคดิ สร้างสรรค์ ในการพัฒนาขีดความสามารถด้าน ICT ใหม้ ปี ระสิทธิภาพ และสอดคล้องกับทักษะ ที่จำเป็นของผู้เรียนในศตวรรษที่ 21 จะทำให้ผู้เรียนมีการคิดแบบมีเหตุผลเป็นระบบ มีความคิด สร้างสรรค์ สามารถนำไปใช้ในการแก้ไขปญั หา การสร้างงานที่ดีและดำรงชวี ิตอยูไ่ ดใ้ นปัจจุบันท้ังเกิดการ เรยี นร้แู บบยัง่ ยืน การพัฒนาคุณภาพการศึกษาเป็นภารกิจที่สำคัญยิ่งของหน่วยงานทางการศึกษาที่ปกติ จะประกอบด้วย กระบวนการบริหาร กระบวนการเรียนการสอน และกระบวนการนิเทศการศึกษา ซึ่งดำเนนิ ไปอยา่ งสอดคล้องและสัมพนั ธ์กันและตอ้ งให้ความสำคัญอยา่ งเทา่ เทียมกันในฐานะที่กลุ่มนเิ ทศ ติดตามและประเมินผลการจัดการศึกษาเป็นหน่วยงานหลักในสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา ที่มีอำนาจ
3 หน้าที่ในการนิเทศ ติดตาม และประเมินผลการจัดการศึกษา รวมไปถึงการประสาน ส่งเสริม สนับสนนุ ศึกษา วิเคราะห์ วิจัย ติดตาม ตรวจสอบ ประเมิน และพัฒนาเกี่ยวกับหลักสูตร การสอน กระบวนการ เรียนรู้ การวดั และประเมินผล สื่อและนวัตกรรม มาตรฐานและการประกันคณุ ภาพการศึกษา (ราชกิจจา นุเบกษา. 2560 : 17) ซึ่งเป็นตัวแปรสำคัญที่ส่งผลโดยตรงต่อคุณภาพการศึกษา จึงถือเป็นภารกิจ เร่งด่วนที่สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุราษฎร์ธานี เขต 2 โดยกลุ่มนิเทศ ติดตามและ ประเมนิ ผลการจดั การศึกษา จะต้องเร่งดำเนนิ การนิเทศ ติดตาม และประเมนิ ผลการจดั การศึกษา รวมถงึ ใช้มาตรการเสริมด้านวิชาการและการบริหารจัดการตามอำนาจหน้าที่ในการพัฒนาคุณภาพการ ศึกษา รว่ มกับโรงเรียนในสังกัด และภาคเี ครือขา่ ยใหบ้ รรลุตามเป้าหมายคุณภาพท่กี ำหนด จากการติดตามและนิเทศเพื่อพัฒนาคุณภาพการศึกษาของโรงเรียนในสังกัด พบว่า เมื่อมีการ ปรับปรุงหลักสูตรในกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โดยปรับมาตรฐานการเรียนรู้และ ตัวชี้วัด (ฉบับปรบั ปรุง พ.ศ. 2560) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 มีการเพิ่มสาระท่ี 4 เทคโนโลยี ซ่งึ ประกอบดว้ ย การออกแบบและเทคโนโลยีและวิทยาการคำนวณ ซ่งึ ต้อง ใช้โปรแกรมต่างๆ ในการจัดการเรียนรู้ ครูผู้สอนดังกล่าว ส่วนใหญ่ขาดความรู้ความเข้าใจ ทักษะใน กระบวนการจัดการเรียนการสอน การใช้โปรแกรม ทำให้การจัดการเรียนรู้ ในสาระดังกล่าวยังไม่มี ประสทิ ธิภาพ ผ้วู จิ ัยในฐานะศกึ ษานิเทศกผ์ ้ทู ่เี กี่ยวขอ้ งที่มีบทบาทหนา้ ทใ่ี นการรับผดิ ชอบ มองเห็นความ จำเปน็ ทจ่ี ะต้องวางแผนแก้ปญั หา จงึ ไดจ้ ัดทำชุดฝกึ อบรมดว้ ยตนเองแบบออนไลน์เรือ่ ง “การจดั การเรยี น การสอนวิทยาการคำนวณสำหรับครูผู้สอนระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น” เพื่อให้เกิดการพัฒนา คุณภาพการจัดการศึกษาในสาระดังกล่าว อีกทั้งพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียน และ ผลลัพธ์ที่คาดหวังตามนโยบายของสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุราษฎร์ธานี เขต 2 สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขนั้ พ้ืนฐานและกระทรวงศึกษาธกิ ารต่อไป
4 วตั ถุประสงค์ 1. เพื่อพัฒนาครูผู้สอนวิทยาการคำนวณให้มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการจัดการเรียน การสอนวิทยาการคำนวณในระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น ตามมาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด ของหลกั สตู รแกนกลางการศึกษาข้นั พน้ื ฐาน พทุ ธศักราช 2551 2. เพือ่ พัฒนาครูผู้สอนวทิ ยาการคำนวณให้สามารถจัดการเรียนการสอนไดอ้ ย่างมีประสิทธิภาพ ตามมาตรฐานการเรียนรูและตัวชว้ี ัดของหลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พนื้ ฐาน พุทธศักราช 2551 ขอบข่ายเนือ้ หา เนอื้ หาการอบรมในแตล่ ะเร่อื ง ประกอบดว้ ยสาระสำคัญดงั นี้ เลม่ ท่ี 1 หลักสูตรและการจัดการเรยี นรูว้ ิทยาการคำนวณ 1. การวิเคราะห์หลกั สูตร 1.1 หลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขัน้ พน้ื ฐาน พทุ ธศักราช 2551 1.2 จากหลักสตู ร สู่มาตรฐานการเรยี นรู้และตัวช้ีวดั กลมุ่ สาระการเรยี นรวู้ ิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี 1.3 ความสำคัญของวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี 1.4 เปา้ หมายของหลกั สตู รวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี (วทิ ยาการคำนวณ) 1.5 แนวทางการจัดการเรียนรู้วิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี (วทิ ยาการคำนวณ) 2. การจัดการเรยี นรวู้ ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (วทิ ยาการคำนวณ) 2.1 สาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี 2.2 มาตรฐานการเรยี นรู้ของกลมุ่ สาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 2.3 การศกึ ษาคำอธบิ ายรายวชิ า 2.4 การจัดทำหน่วยการเรียนรู้ 2.5 การวางแผนการจัดการเรยี นรู้ 2.6 แนวทางการเขยี นแผนการจัดการเรียนรู้ 2.7 ลกั ษณะของแผนการจดั การเรยี นร้ทู ี่ดี 2.8 แบบประเมนิ แผนการจดั การเรยี นรู้ 2.9 การเรยี นรู้ในศตวรรษท่ี 21 2.10 การจดั การเรียนรู้แบบเชิงรกุ (Active Learning) 2.11 การจัดการเรยี นรูแ้ บบสบื เสาะหาความร้หู รือวัฏจกั รการเรียนรู้ 5 E 2.12 การจดั การเรียนรทู้ ี่เน้นผู้เรยี นเปน็ สำคญั
5 เลม่ ท2ี่ การใชโ้ ปรแกรมสำหรบั การจัดการเรียนการสอนวิทยาการคำนวณ 1. รู้จักกบั โปรแกรม Scratch 2. เครื่องมือการทำงานของโปรแกรม Scratch 3. จาก Flowchart สู่ Scratch 4. การสรา้ งลำดับคำสงั่ โดยการเขยี นผงั งาน 5. เปรยี บเทยี บ Flowchart กบั Scratch 6. ตวั อยา่ งการทำงานของบลอ๊ คคำสัง่ 7. เรม่ิ ต้นการใช้งานโปรแกรม Scratch 8. รู้จกั กบั Python 9. เรมิ่ ต้นเขียนโปรแกรมภาษาไพทอน 10. ตัวแปรในไพทอน 11. ชนดิ ขอ้ มลู พน้ื ฐาน 12. การแปลงชนดิ ข้อมลู 13. การเขียนไพทอนในโหมดสคริปต์ เลม่ ที่3 การวัดและประเมินผลคุณภาพผู้เรียน 1. ความหมายของการวดั และประเมินผล 2. ความสำคัญของการวัดและประเมินผล 3. เครือ่ งมือทีใ่ ช้วดั และประเมินผลดา้ นการศกึ ษา 4. จดุ ประสงคข์ องการวดั ผลและประเมนิ ผล 5. หลกั การวัดและประเมนิ ผลการศึกษา 6. การประเมนิ ผลตามสภาพจรงิ (Authentic Assessment) 7. รูบริคส์ 8. ความมุ่งหมายของการประเมินผล 9. กระบวนการประเมินผลการศกึ ษา 10. ข้นั ตอนการดำเนนิ การวัดและประเมนิ ผลการเรยี นรู้ของครู 11. คณุ ธรรมของผปู้ ระเมินผล 12. ประโยชนข์ องการวดั และประเมนิ ผล
6 หลกั สูตรการอบรม การอบรมโดยใช้ชุดฝึกอบรมด้วยตนเองแบบออนไลน์ : การจัดการเรียนการสอนวิทยาการ คำนวณสำหรับครผู สู้ อนระดับชน้ั มัธยมศกึ ษาตอนตน้ กำหนดการจัดกจิ กรรม 3 ระยะ ดังน้ี ระยะท่ี 1 กิจกรรม : การประชุมพบกลุ่ม วัตถุประสงค์ : เพ่อื สรา้ งความรคู้ วามเข้าใจในการใช้ชดุ ฝกึ อบรมดว้ ยตนเองแบบออนไลน์ เวลาที่ใช้ 6 ช่วั โมง การดำเนนิ กจิ กรรม : 1. การประชุมชี้แจงการศึกษาและการใช้ชุดฝึกอบรมด้วยตนเองแบบออนไลน์ การจัดการเรียน การสอนวทิ ยาการคำนวณสำหรบั ครผู ้สู อนระดับช้ันมธั ยมศึกษาตอนต้น ของโรงเรียนกลมุ่ เป้าหมายเป็น ครูวิทยาการคำนวณ ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น เพื่อชี้แจงวัตถุประสงค์และแนวทางฝึกอบรมด้วย ตนเอง โดยประชุมทางไกลผ่าน Application Zoom 2. ครูวิทยาการคำนวณทำแบบทดสอบกอ่ นศกึ ษาชดุ ฝึกอบรมดว้ ยตนเอง จำนวน 30 ขอ้ 3. ผูบ้ ริหารและครรู บั ชดุ ฝกึ อบรมด้วยตนเอง คนละ 1 ชุด การวัดและประเมินผล : แบบทดสอบกอ่ นศึกษาชดุ ฝกึ อบรมดว้ ยตนเองแบบออนไลน์จำนวน 30 ขอ้ ระยะท่ี 2 กจิ กรรม : การศกึ ษาชุดฝกึ อบรมด้วยตนเองแบบออนไลน์ วตั ถุประสงค:์ เพือ่ ศกึ ษาชุดฝึกอบรมดว้ ยตนเองแบบออนไลน์ เวลาท่ใี ช้ 30 วนั การดำเนนิ กจิ กรรม : ผบู้ ริหารและครวู ิทยาการคำนวณในโรงเรยี นเครือขา่ ยกลุ่มเปา้ หมายดำเนนิ การดังนี้ 1. ผู้บริหาร 1.1 ส่งเสริมสนับสนุนให้ครูศึกษาชุดฝึกอบรมด้วยตนเองแบบออนไลน์ พร้อมทั้งปฏิบัติ กิจกรรมตามท่ีกำหนดในชดุ ฝึกอบรมครบทกุ เลม่ 1.2 กำกับ ตดิ ตามและบนั ทกึ ผลการพฒั นาการจัดการเรียนการสอนของครูผู้สอนวิทยาการ คำนวณระดับช้นั มธั ยมศกึ ษาตอนตน้ จากการใช้ชดุ ฝึกอบรมแบบออนไลน์
7 2. ครูผ้สู อนวิทยาการคำนวณ ศึกษาชุดฝึกอบรมด้วยตนเองแบบออนไลน์ การจัดการเรียนการสอนวิทยาการคำนวณ สำหรับครูผู้สอนระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้นตามลำดับเล่มที่ 1-3 (แบบหนังสืออิเล็กทรอนิกส์) ที่เว็บไซต์ https://sites.google.com/esdc.go.th/coding-teacher-m-1-3 ดงั นี้ โดยรายละเอียดการศึกษาของชดุ ฝึกทกุ ชุดเรียงลำดบั ของเน้อื การเรยี นรู้ ผฝู้ ึกอบรมควรปฏบิ ัตดิ ังน้ี ขั้นตอนการศึกษาด้วยตนเอง 1. การเตรียมตัวเพอ่ื ศกึ ษาชดุ ฝึกอบรมดว้ ยตนเองแบบออนไลน์ 1.1 ศกึ ษาภาพรวมของชดุ ฝึกอบรม คำชแ้ี จง ศกึ ษาวัตถุประสงค์ ขอบข่ายเน้อื หา และสาระสำคญั 1.2 ศกึ ษาคูม่ อื การใชช้ ดุ ฝกึ อบรมดว้ ยตนเอง จะทำให้ผ้ฝู กึ อบรมมคี วามรแู้ ละเขา้ ใจเรว็ ข้นึ 2. การศกึ ษาชดุ ฝึกอบรมดว้ ยตนเอง เล่มท่ี 1–3 ตามลำดบั โดยศกึ ษาทุกชดุ ฝึกอบรมตามข้ันตอนดงั น้ี 2.1 ทำแบบทดสอบก่อนศึกษาชุดฝึกอบรมด้วยตนเองแบบออนไลน์ผ่าน Google forms ตามลิงก์ ที่หน้าเว็บไซต์ จำนวน 30 ขอ้ และตรวจคำตอบด้วยตนเองจากเฉลยแบบทดสอบ 2.2 ศึกษาเนื้อหาสาระในใบความรูใ้ นแต่ละเลม่ อยา่ งน้อย 1 จบ แลว้ สรุปความคดิ รวบยอด 2.3 ทำกจิ กรรมในใบกิจกรรม และตรวจคำตอบดว้ ยตนเอง 2.4 ทำแบบทดสอบหลังศึกษาชุดฝึกอบรมด้วยตนเองแบบออนไลน์ผ่าน Google forms ตามลิงก์ที่ หน้าเว็บไซต์ จำนวน 30 ข้อ และตรวจคำตอบด้วยตนเองจากเฉลยแบบทดสอบ 2.5 ให้ศกึ ษาชดุ ฝึกอบรมดว้ ยตนเองแบบออนไลน์ต่อเนอื่ งใหจ้ บทุกเล่ม สามารถศึกษาด้วยตนเองได้ ทกุ ทที่ กุ เวลาทกุ สถานท่ี การวัดและประเมินผล : แบบทดสอบหลงั ศกึ ษาชดุ ฝกึ อบรมด้วยตนเองจำนวน 30 ขอ้
8 ระยะท่ี 3 กจิ กรรม : การแลกเปลี่ยนเรยี นร้คู ร้ังที่ 1 วัตถุประสงค์: เพื่อให้ครูผู้สอนวิทยาการคำนวณระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น แลกเปลี่ยนเรียนรู้ เกีย่ วกับการใช้ชุดฝกึ อบรมดว้ ยตนเองแบบออนไลน์ เวลาทใ่ี ช้ 1 วัน การดำเนนิ กิจกรรม 1. การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ เกี่ยวกับผลการใช้ชุดฝึกอบรมด้วยตนเองแบบออนไลน์ ปัญหา/ อุปสรรคของการศึกษาและความพึงพอใจของชุดฝึกอบรมด้วยตนเองแบบออนไลน์ ผ่านช่องทางกลุ่ม Line : ICTSni2 / การประชมุ ทางไกลผ่าน Application Zoom การวัดและประเมินผล : แบบประเมนิ การรบั รใู้ นการใชช้ ุดฝึกอบรมด้วยตนเองแบบออนไลน์ กิจกรรม : การนิเทศ กำกบั ติดตาม วตั ถปุ ระสงค์: เพ่ือตดิ ตามการผลการใช้ชดุ ฝกึ อบรมดว้ ยเองและการจดั การเรยี นการสอนของครู เวลาท่ใี ช้ 30 วัน การดำเนนิ กจิ กรรม การนิเทศติดตาม และการประชุมชี้แจงการใช้ชุดฝึก หลังจากที่ครูผู้สอนวิทยาการคำนวณได้ศึกษา ชุดฝกึ อบรมด้วยตนเองแบบออนไลน์ การวัดและประเมนิ ผล : แบบนิเทศ กำกบั ติดตามการจดั การเรยี นการสอนวทิ ยาการคำนวณ ระยะท่ี 4 กิจกรรม : การแลกเปลยี่ นเรยี นรคู้ ร้งั ที่ 2 วัตถุประสงค์: เพื่อให้ครูผู้สอนวิทยาการคำนวณระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น แลกเปลี่ยนเรียนรู้ เกี่ยวกับการจัดการเรียนการสอนที่ประสบผลสำเร็จในการจัดการเรียนการสอนวิทยาการคำนวณ ระดับชัน้ มัธยมศกึ ษาตอนต้น เวลาทใี่ ช้ 1 วัน การดำเนินกิจกรรม 1. แลกเปลี่ยนเรียนรู้เกี่ยวกับการจัดการเรียนการสอนท่ีประสบผลสำเร็จในการจัดการเรียนการสอน วทิ ยาการคำนวณระดับชั้นมัธยมศกึ ษาตอนต้น ผา่ นช่องทางกลุ่ม Line : ICTSni2 / การประชมุ ทางไกล ผ่าน Application Zoom
9 2. ครผู สู้ อนวทิ ยาการคำนวณสง่ วธิ กี ารจดั การเรียนการสอนทป่ี ระสบผลสำเร็จในการจัดการเรียนการ สอนวทิ ยาการคำนวณระดบั ชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น 3. ผบู้ รหิ ารโรงเรียนรายงานผลการตดิ ตามการใชช้ ุดฝกึ อบรมด้วยตนเอง การวัดและประเมนิ ผล : แบบรายงานผลการติดตามการใช้ชุดฝึก ตารางกจิ กรรม (Timeline) การประเมนิ ผล การประเมินผลการศึกษาชุดฝึกด้วยตนเองแบบออนไลน์ การจัดการเรียนการสอนวิทยาการ คำนวณสำหรบั ครผู สู้ อนระดับชน้ั มัธยมศึกษาตอนตน้ มีข้นั ตอนดังน้ี 1. การทดสอบกอ่ นและหลังการศกึ ษาชุดฝึกอบรมด้วยตนเองแบบออนไลน์ เร่ืองการจดั การเรยี น การสอนวทิ ยาการคำนวณสำหรับครผู ูส้ อนระดบั ชั้นมัธยมศึกษาตอนตน้ จำนวน 30 ข้อ 2. การทดสอบกอ่ นและหลังศกึ ษาชดุ ฝกึ อบรมแต่ละชุด ชุดฝึกอบรมละ 10 ขอ้
10 เกณฑ์การประเมินผลการฝึกอบรม ผู้เขา้ รบั การฝกึ อบรมในกลมุ่ เป้าหมายจะผา่ นการฝึกอบรมเม่ือมคี ณุ สมบัตดิ ังนี้ 1. ทำแบบทดสอบหลังการศึกษาชุดฝึกด้วยตนเองแบบออนไลน์ เรื่องการจดั การเรียนการสอน วิทยาการคำนวณสำหรับครูผู้สอนระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น แบบเลือกตอบ จำนวน 30 ข้อ ผา่ นเกณฑ์ 80% ข้นึ ไป 2. การทดสอบด้วยแบบทดสอบ ก่อนและหลังศึกษาชุดฝึกอบรมแต่ละชุด จำนวน 3 ชุด ฝึกอบรม ชุดฝกึ อบรมละ 10 ขอ้ โดยต้องผ่านเกณฑ์ 80% ขน้ึ ไป เครือ่ งมือประเมินผลการฝึกอบรม เคร่ืองมือทใี่ ช้ในการประเมนิ ผลการพัฒนาครมู ีดังน้ี 1. แบบทดสอบแบบเลอื กตอบ 4 ตวั เลอื ก จำนวน 30 ขอ้ 2. แบบทดสอบก่อน - หลัง ศกึ ษาชุดฝึกอบรมแบบออนไลน์ แบบเลอื กตอบ 4 ตวั เลอื ก ชุดละ จำนวน 10 ขอ้ ผลที่คาดวา่ จะไดร้ บั ผลประโยชน์ที่คาดวา่ จะได้รบั มีดงั น้ี 1. ผ้บู รหิ ารมีเครือ่ งมือในการกำกบั ติดตาม การจัดการเรยี นการสอนวิทยาการคำนวณสำหรับครูผู้สอน ระดับชั้นมัธยมศกึ ษาตอนต้น ที่สอดคล้องกับมาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด ตามหลกั สูตรแกนกลาง การศึกษาข้นั พน้ื ฐาน 2551 2. ครสู ามารถจดั การเรยี นการสอนวทิ ยาการคำนวณสำหรบั ครูผูส้ อนระดับชนั้ มธั ยมศึกษาตอนต้นได้ สอดคล้องกับมาตรฐานการเรียนรแู้ ละตวั ชว้ี ัด ตามหลักสตู รแกนกลางการศึกษาข้ันพ้นื ฐาน 2551 3. ผเู้ รยี นมีผลสมั ฤทธิว์ ิชาวทิ ยาการคำนวณตามเกณฑ์มาตรฐานหรอื สงู ขนึ้
11 แบบประเมนิ ความพงึ พอใจของครตู อ่ การใชช้ ดุ ฝกึ อบรมดว้ ยตนเองแบบออนไลน์ เรอื่ งการจดั การเรยี นการสอนวทิ ยาการคำนวณสำหรบั ครผู สู้ อนระดบั ชน้ั มธั ยมศกึ ษาตอนตน้ คำชแ้ี จง 1. แบบประเมินความพึงพอใจฉบับนี้ ใช้สอบถามความพึงพอใจของครูต่อชุดฝึกอบรมด้วยตนเอง แบบออนไลน์ เรอื่ งการจดั การเรียนการสอนวิทยาการคำนวณสำหรับครูผู้สอนระดับชัน้ มัธยมศกึ ษาตอนต้น 2. ผู้ตอบแบบประเมินความพึงพอใจเป็นครูครูผู้สอนวิทยาการคำนวณ ระดับชั้นมัธยมศึกษา ตอนตน้ สำนกั งานเขตพื้นทีก่ ารศึกษาประถมศึกษาสุราษฎร์ธานี เขต 2 ท่ศี กึ ษาชุดฝึกอบรมด้วยตนเอง แบบออนไลน์ การจัดการเรียนการสอนวทิ ยาการคำนวณสำหรับครผู สู้ อนระดบั ชัน้ มัธยมศึกษาตอนต้น 3. แบบประเมนิ ความพึงพอใจมที งั้ หมด 3 ตอน ตอนท่ี 1 เป็นการสอบถามข้อมลู ท่วั ไปของผู้ตอบแบบสอบถามมีลักษณะเปน็ แบบสำรวจรายการ ตอนที่ 2 เป็นแบบประเมินความพึงพอใจของครูต่อชุดฝึกอบรมด้วยตนเองแบบออนไลน์ การจัดการเรียนการสอนวิทยาการคำนวณสำหรบั ครูผสู้ อนระดบั ชั้นมัธยมศึกษาตอนตน้ ตามหลักสูตร แกนกลางการศกึ ษาขั้นพนื้ ฐาน 2551 เป็นลักษณะมาตราส่วนประมาณคา่ (Rating Scale) คำขี้แจง โปรดทำเครื่องหมาย ลงในช่องที่ตรงกับระดับความพึงพอใจของท่านที่มีต่อชุด ฝึกอบรมด้วยตนเองแบบออนไลน์ การจดั การเรียนการสอนวทิ ยาการคำนวณสำหรับครผู สู้ อนระดับช้ัน มธั ยมศึกษาตอนต้น โดยแตล่ ะระดบั ความคิดเหน็ มีความหมาย ดงั น้ี ความพงึ พอใจอยู่ในระดับมากทีส่ ดุ เท่ากบั 5 คะแนน ความพึงพอใจอยูใ่ นระดบั มาก เท่ากบั 4 คะแนน ความพึงพอใจอยใู่ นระดบั ปานกลาง เทา่ กบั 3 คะแนน ความพงึ พอใจอยใู่ นระดับระดับนอ้ ย เท่ากับ 2 คะแนน ความพงึ พอใจอยูใ่ นระดบั นอ้ ยที่สุด เท่ากบั 1 คะแนน ตัวอย่าง แบบประเมินความพึงพอใจของครูต่อชุดฝึกอบรมด้วยตนเองแบบออนไลน์ การจัดการเรยี นการสอนวิทยาการคำนวณสำหรบั ครผู สู้ อนระดบั ช้นั มัธยมศกึ ษาตอนตน้ รายการ มากทสี่ ดุ ระดบั ความพงึ พอใจ นอ้ ยทส่ี ดุ มาก ปานกลาง นอ้ ย a. เนอ้ื หาในชดุ ฝกึ อบรมทุกชดุ ตรงกับวตั ถปุ ระสงค์ b. ระยะเวลาในการฝกึ อบรมจากชดุ ฝกึ มีความเหมาะสม
12 จากตัวอยา่ ง แบบประเมินข้อ a ทำเครื่องหมาย ในช่องมากที่สุด แสดงว่าผู้ตอบแบบสอบถามมีความ พึงพอใจต่อชุดฝึกอบรมในรูปเล่ม อ่านแล้วเข้าใจง่าย ความคิดเห็นอยู่ในระดับมากที่สุด ระดับคะแนน เทา่ กับ 5 คะแนน แบบประเมนิ ข้อ 0 ทำเครอ่ื งหมาย ในช่องมาก แสดงวา่ ผตู้ อบแบบสอบถามมคี วามพึงพอใจ ต่อชุดฝึกอบรมเอกสารมีความถูกต้องตามหลักวิชาการ ความคิดเห็นอยู่ในระดับมาก ระดับคะแนน เท่ากบั 4 คะแนน ตอนท่ี 3 เป็นแบบสอบถามความพึงพอใจและขอ้ เสนอแนะเพ่ิมเติมเกี่ยวกบั ชดุ ฝกึ อบรมด้วยตนเอง แบบออนไลน์ การจัดการเรียนการสอนวิทยาการคำนวณสำหรบั ครผู สู้ อนระดบั ช้นั มัธยมศึกษาตอนตน้ ขอขอบคณุ ท่านทใี่ หค้ วามร่วมมอื
13 ตอนท่ี 1 ข้อมูลทว่ั ไปของผู้ตอบแบบประเมินความพึงพอใจ คำช้ีแจง โปรดทำเครอ่ื งหมาย ลงใน ที่ตรงกับความเปน็ จริง 1. ตำแหน่ง ผู้อำนวยการโรงเรยี น ครู 2. เพศ ชาย หญงิ 3. ประสบการณใ์ นการสอนวทิ ยาการคำนวณ 1-5 ปี 6-10 ปี 11-15 ปี 16-20 ปี 21 ปีขึ้นไป 4. วุฒกิ ารศกึ ษา วชิ าเอก......................... ปรญิ ญาตรี วชิ าเอก......................... ปรญิ ญาโท วิชาเอก......................... ปรญิ ญาเอก 5. วทิ ยฐานะ ไม่มี คศ.1 คศ.2 คศ.3 อืน่ ๆ (ระบุ) ............................
14 ตอนท่ี 2 ความพึงพอใจต่อชุดฝึกอบรมด้วยตนเองแบบออนไลน์ การจัดการเรียนการสอน วิทยาการคำนวณสำหรับครูผสู้ อนระดบั ชั้นมธั ยมศึกษาตอนต้น รายการ ระดบั ความคดิ เหน็ มากทส่ี ดุ มาก ปานกลาง นอ้ ย นอ้ ยทสี่ ดุ ดา้ นเนื้อหาสาระ 1. เรยี บเรียงเนอื้ หาสาระท่ีเขา้ ใจงา่ ยโดยเรียงจากยากไปงา่ ย 2. ความครอบคลมุ ของเน้ือหาสาระ 3. ความสมบรู ณ์ของเน้อื หาสาระ 4. นำเสนอเนอื้ หาได้ถูกตอ้ ง 5. การนำเนอื้ หาไปปฏิบัตไิ ดจ้ รงิ ดา้ นรปู เลม่ 6. สว่ นประกอบความเหมาะสม 7. รปู เล่มสวยงาม 8. ใชภ้ าษาถูกต้องเหมาะสม 9. ใช้ขนาดและรูปแบบของตวั อกั ษรเหมาะสม 10. ภาพประกอบรปู เล่มเหมาะสม ดา้ นการนำไปใชป้ ระโยชน์ 11. ครูใช้เป็นแนวทางการจดั การเรยี นการสอนวทิ ยาการ คำนวณได้ 12. ครมู คี วามมัน่ ใจในการจัดการเรยี นการสอน วิทยาการคำนวณ 13. ครสู ามารถศกึ ษาทบทวน ชดุ ฝึกอบรมดว้ ยตนเอง ตามโอกาสและเวลาท่เี หมาะสม 14. แบบทดสอบยอ่ ยทำใหท้ ราบความกา้ วหนา้ จากการ ใช้ชดุ ฝกึ อบรมด้วยตนเอง 15. ความรทู้ ไี่ ด้รับจากชดุ ฝึกอบรมดว้ ยตนเอง ตอนที่ 3 ความคดิ เห็นและขอ้ เสนอแนะเพ่ิมเติม ....................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................
15 แบบทดสอบความรกู้ อ่ น – หลงั การฝกึ อบรม เรอ่ื ง การจดั การเรยี นการสอนวทิ ยาการคำนวณสำหรบั ครผู สู้ อนระดบั ชน้ั มธั ยมศกึ ษาตอนตน้ จำนวน 30 ขอ้ เวลา 30 นาที คำชแี้ จง โปรดเลอื กคำตอบทถ่ี กู ที่สดุ เพยี งคำตอบเดยี ว 1. ทำไมจึงต้องมกี ารวิเคราะห์หลกั สตู ร ก. เพือ่ ใหก้ ารจัดการเรยี นรบู้ รรลุวตั ถปุ ระสงค์ ข. เพ่ือใหก้ ารจัดการเรยี นรเู้ ปน็ ไปตามหลกั สตู ร ค. เพื่อใหก้ ารจดั การเรยี นรู้สมั พนั ธ์สอดคล้องกบั หลักสูตร ง. เพอ่ื ให้การจดั การเรียนรู้สัมพนั ธส์ อดคลอ้ งกับหลกั การ และจุดหมายในหลักสูตร 2. ข้อใดเรียงลำดับไดถ้ กู ตอ้ ง ก. จดั ทำหนว่ ยการเรียนรู้ กำหนดเวลาเรียน จดั ทำคำอธบิ ายรายวิชา ข. จัดทำหน่วยการเรียนรู้ จัดทำคำอธบิ ายรายวชิ า กำหนดเวลาเรยี น ค. จดั ทำคำอธบิ ายรายวิชา จดั ทำแบบการจัดการเรยี นรู้ จัดทำหน่วยการเรยี นรู้ ง. จัดทำคำอธบิ ายรายวชิ า จดั ทำหน่วยการเรยี นรู้ จดั ทำแผนการจดั การเรียนรู้ 3. ข้อใดเป็นส่วนประกอบของคำอธบิ ายรายวิชา ก. เนอ้ื หา กิจกรรม จดุ ประสงค์ ข. เนอื้ หา กจิ กรรม จดุ ประสงคป์ ลายทาง ค. เนือ้ หา กจิ กรรม จดุ ประสงคน์ ำทาง ง. เนอื้ หา จดุ ประสงค์ กิจกรรม การวัดและประเมินผล 4. มาตรฐาน ว 2.1 หมายถึงข้อใด ก. วิทยาศาสตรม์ าตรฐานการเรียนรู้ช่วงชั้นสาระท่ี 1 และมาตรฐานการเรยี นรู้รายการท่ี 2 ข. วิทยาศาสตร์มาตรฐานการเรียนรชู้ ่วงชนั้ สาระท่ี 2 และมาตรฐานการเรยี นรรู้ ายการที่ 1 ค. วิทยาศาสตร์มาตรฐานการเรียนรู้รายการที่ 1 และมาตรฐานการเรียนรชู้ ว่ งชัน้ สาระที่ 2 ง. วทิ ยาศาสตรม์ าตรฐานการเรยี นรู้รายการที่ 2 และมาตรฐานการเรียนรชู้ ่วงชนั้ สาระท่ี 1
16 5. ข้อใดคอื เป้าหมายสำคญั ในการจดั การเรยี นการสอนการคิดวเิ คราะห์ในสถานศกึ ษา ก. มีความยืดหยนุ่ หลากหลาย ข. เชื่อมโยงเนอ้ื หา แนวคิดหลัก และกระบวนการที่เป็นสากล ค. พฒั นากระบวนการคดิ และจินตนาการตามความสามารถในการแก้ปัญหา และการจดั การทักษะ ในการส่อื สาร และความสามารถในการตัดสินใจ ง. ใชก้ ระบวนการสืบเสาะหาความรู้ กระบวนการแก้ปัญหา ในการเรยี นรูว้ ทิ ยาศาสตรด์ ้วยการลงมือ ปฏบิ ตั ิจริง 6. ข้อใดไม่ใช่ลักษณะของแผนการจัดการเรยี นรู้ท่ีดี ก. สามารถนำไปสอนไดจ้ รงิ ข. สง่ เสรมิ ใหผ้ ูเ้ รยี นเกดิ การเรียนรู้ และมคี ุณสมบตั ิตา่ ง ๆ ตามที่หลกั สูตรตอ้ งการ ค. การบันทกึ ผลหลังการใช้แผนควรมกี ารคำนึงถึงความเหมาะสมกบั สภาพแวดลอ้ ม หรือชีวติ จริง เพ่ือให้มีความหมายตอ่ ผู้เรียน ง. เนอ้ื หาสอดคลอ้ งกบั สาระสำคญั จุดประสงค์ กิจกรรมสอดคล้องกับจดุ ประสงค์ เหมาะสมกับ เนือ้ หา การวัดประเมินผลสอดคลอ้ งกบั กจิ กรรม 7. ข้อใดแสดงวา่ นกั เรยี นมีเจตคติตอ่ วิทยาศาสตร์ ก. ทำงานรว่ มกบั ผ้อู น่ื อยา่ งสรา้ งสรรค์ ข. เห็นคุณคา่ และประโยชนข์ องวชิ าวิทยาศาสตร์ ค. มคี วามสนใจใฝ่รู้ หรือความอยากรู้ อยากเห็น ง. รว่ มแสดงความคดิ เหน็ และรบั ฟังความคดิ เห็นของผู้อนื่ 8. การจดั การเรียนร้ใู หบ้ รรลวุ ัตถุประสงคค์ วรคำนึงถึงสงิ่ ใด ก. เป้าหมาย วสิ ัยทศั น์ ของหลักสตู ร และการวัดผลประเมนิ ผลการจัดการเรียนรู้ ข. ควรมุง่ เน้นความร้ดู า้ นวิทยาศาสตรเ์ พียงอยา่ งเดยี วเพ่ือใหเ้ กิดความแม่นยำในเนื้อหา ค. นกั เรยี นเป็นผ้ลู งมอื ทำกิจกรรม โดยครเู ป็นผูแ้ นะนำ ควบคุม และจดั การใหเ้ ป็นไปตามวตั ถปุ ระสงค์ ง. วสั ดุ อุปกรณ์ทีใ่ ชค้ วรมรี าคาแพง เพื่อให้การทดลองไมเ่ กดิ ความคลาดเคลอื่ นและเกิดประสทิ ธภิ าพสูงสดุ 9. องค์ประกอบทีส่ ำคัญในการจัดการเรยี นรู้วทิ ยาศาสตรค์ ือขอ้ ใด ก. หลักสตู ร กระบวนการเรยี นรู้ การวดั และประเมินผลการเรยี นรู้ ข. วธิ ีการในการจัดการเรียนรู้ และการลงมอื ปฏิบัตจิ ริงในการเรยี นรู้ ค. สภาพแวดลอ้ ม ทกั ษะกระบวนการเรียนรู้ บรรยากาศที่เออ้ื ตอ่ การเรยี นรู้ ง. การม่งุ เน้นใหผ้ ูเ้ รยี นไดป้ ฏิบตั ิจริง เน้นนักเรียนเปน็ ศนู ยก์ ลาง และพฒั นาเจตคติทด่ี ตี ่อวทิ ยาศาสตร์
17 10. ข้อใดกลา่ วไมถ่ กู ต้อง ก. กจิ กรรมการเรยี นรู้ เปน็ กจิ กรรมหรอื กระบวนการขนั้ ตอน ข. สาระสำคญั เปน็ ความคดิ รวบยอดของเรอื่ งทตี่ ้องการใหผ้ เู้ รยี นเกดิ การเรยี นรู้ ค. จุดประสงคก์ ารเรียนรู้ เปน็ เสมือนเขม็ ทิศท่จี ะชบ้ี อกวา่ ครูสอนอะไร นกั เรยี นเกิดการเรียนรู้อยา่ งไร ระดับใด ง. การวดั และประเมนิ ผลการจดั การเรยี นรู้ เปน็ การตีคา่ สรุปผล จากการจัดกิจกรรม การเรียนรวู้ า่ นกั เรยี นเกดิ การเรยี นรูห้ รือไม่ระดบั ใด ซง่ึ ควรเน้นการประเมินดา้ นความรู้ ความจำ และการลงมือ ปฏบิ ัติในการเรยี นรวู้ ิทยาศาสตร์ 11. ข้อใดจับคู่ภาพสัญลกั ษณก์ ับความหมายถูกตอ้ ง ก. หมายถึงแสดงผลทางเคร่อื งพิมพ์ ข. หมายถงึ รับขอ้ มูลโดยไมก่ ำหนดอปุ กรณ์ ค. หมายถึงรับข้อมูลเริม่ ตน้ ง. หมายถงึ เกณฑ์การทำซำ้ 12. ข้อใดเปน็ การเขียนผงั งานที่ไมถ่ ูกตอ้ ง ข. ก. ค. ง.
18 13. ข้อใดเรยี งลำดบั หลักการเขยี นโปรแกรมไดถ้ กู ตอ้ ง ก. การออกแบบโปรแกรม การวิเคราะหป์ ัญหา การทดสอบโปรแกรม การเขยี นโปแกรม ข. การวเิ คราะห์ปญั หา การออกแบบโปรแกรม การเขยี นโปแกรม การทดสอบโปรแกรม ค. การเขียนโปรแกรม การวิเคราะห์ปญั หา การออกแบบโปรแกรม การทดสอบโปรแกรม ง. การวิเคราะห์ปัญหา การเขยี นโปรแกรม การทดสอบโปรแกรม การออกแบบโปรแกรม 14. ขอ้ ใดเปน็ นามสกลุ ของไฟลต์ น้ ฉบบั โปรแกรมภาษาไพทอน ก. .pt ข. .py ค. .ptn ง. .pyt 15. ขอ้ ใดไม่ใช่คำสงวนในโปรแกรมภาษาไพทอน ก. if ข. for ค. then ง. Loop 16. ขอ้ ใดกลา่ วไมถ่ ูกตอ้ งเกยี่ วกับใชค้ อมเมนต์ในโปรแกรมภาษาไพทอน ก. ใชส้ ัญลกั ษณ์ “#” ข. สามารถพิมพภ์ าษาไทยลงในคอมเมนต์ได้ ค. สามารถใสค่ อมเมนต์ได้ตั้งแต่บรรทัดแรกของโปรแกรม ง. ถา้ ต้องการคอมเมนตม์ ากกวา่ 1 บรรทดั ใหใ้ สเ่ ครือ่ งหมาย “#” ทหี่ ลงั บรรทดั สุดท้ายอีก 1 ครง้ั 17. ตวั เลอื กในขอ้ ใดกลา่ ว ไมถ่ ูกตอ้ งเกีย่ วกบั Scratch ก. สามารถสร้างแอนิเมช่ัน เกมส์ หรือนทิ านได้ ข. เป็นภาษาโปรแกรมท่ีอยู่ในรูปแบบกราฟกิ ค. เป็นโปรแกรมท่ีใชง้านไดฟ้ รีไมต่ ้องจ่ายคา่ ลิขสิทธิ์ ง. ตดิ ต้ังใช้งานเฉพาะแบบ ออฟไลน์ เทา่ น้ัน
19 18. ขอ้ ใดคือวัตถปุ ระสงคห์ ลกั ของการพัฒนาโปรแกรม Scratch ก. เพื่อฝกึ ทกั ษะการแกป้ ญั หาในขั้นสงู หรอื เขียนโปรแกรมท่มี ีความซบั ซ้อน ข. เพอื่ พฒั นาโปรแกรมภาษา ท่มี ีราคาถกู คนท่วั ไปสามารถซื้อได้ ค. เพ่ือพัฒนาโปรแกรมภาษาท่ใี กลเ้ คยี งกบั ภาษาเคร่ืองมากที่สดุ และมคี วามรวดเรว็ ง. เพอ่ื สง่ เสริมใหใ้ ช้ความคิดสร้างสรรค์ ฝึกทักษะการแก้ปญั หา ดว้ ยเครอ่ื งมอื ทไี่ ม่ซบั ซ้อน 19. ขอ้ ใดบอกความหมายของการเขียนโปรแกรม ได้ถกู ตอ้ ง ก. การเขียนโปรแกรมเป็นการควบคมุ การทำงานโดยคอมพวิ เตอร์ ข. การเขียนโปรแกรมไม่เหมาะกับเดก็ อนุบาล ค. การเขยี นโปรแกรมเปน็ การสร้างลำดบั การทำงาน ง. การเขยี นโปรแกรมตอ้ งใช้คอมพวิ เตอร์เท่านนั้ 20. ข้อใดต่อไปนี้ ไมใ่ ช่ภาษาคอมพิวเตอร์ ก. JAVA ข. EPSON ค. PYTHON ง. Scratch 21. การประเมินกระบวนการทำงาน ควรใชว้ ธิ ีการวัดแบบใด ก. การสังเกต ข. การใชแ้ ฟม้ สะสมงาน ค. การบันทึกจากผูเ้ กีย่ วข้อง ง. การใช้แบบทดสอบท่เี น้นการปฏิบัตจิ รงิ 22. ถ้าตอ้ งการทราบว่านักเรียนมีความเขา้ ใจเกย่ี วกับโทษของสารเคมมี ากน้อยเพยี งใด ควรใช้วิธีการวัดแบบใด ก. การสงั เกต ข. การสมั ภาษณ์ ค. การใช้ข้อทดสอบ ง. การบันทกึ จากผู้เกย่ี วขอ้ ง
20 23. ถา้ ตอ้ งการทราบความร้สู กึ อยา่ งละเอยี ดของนักเรียนเก่ียวกับการปฏิบตั ิงาน ควรใชว้ ิธีการวัดแบบใด ก. การสงั เกต ข. การสมั ภาษณ์ ค. การใช้ข้อทดสอบ ง. การบันทึกจากผเู้ ก่ยี วข้อง 24. งานช้นิ ใดที่เหมาะสมท่ีจะใช้ประเมินโดยใช้แฟ้มสะสมงานมากทส่ี ดุ ก. การจดบันทึกการทดลอง ข. การวาดภาพการทดลอง ค. การทำโครงงานวิทยาศาสตร์ ง. การทำแบบฝึกหัดวิทยาศาสตร์ 25. การรายงานตนเองเป็นการวดั ทีท่ ำใหท้ ราบข้อมูลด้านใดของนักเรยี นมากที่สดุ ก. ผลงาน ข. โครงสร้างของงาน ค. รายละเอียดของงาน ง. แนวคิดและกระบวนการทำงาน 26. การทดสอบด้วยปากเปล่าหรอื การสอบสมั ภาษณ์ ครคู วรจะนำมาใชเ้ ป็นวิธีการประเมินผล วิธีหนึง่ หรอื ไม่ เพราะเหตใุ ด ก. ไมค่ วรใช้ เพราะทำให้เสียเวลามาก ข. ไมค่ วรใช้ เพราะหาหลกั เกณฑ์ทีแ่ นน่ อนไม่ได้ ค. ควรใช้ เพราะตรวจสอบการเรยี นรู้ได้หลายด้าน ง. ควรใช้ เพราะเปน็ วิธเี ดียวทีจ่ ะช่วยให้นักเรียนผา่ นได้งา่ ยกวา่ วธิ ีอน่ื 27. การประเมินผลการเรยี นของนกั เรยี น มีจุดม่งุ หมายข้อใดเปน็ สำคญั ก. เพ่อื ตรวจสอบผลการเปล่ยี นแปลงพฤตกิ รรมตามจุดประสงค์ ข. เพอ่ื ตดั สินผลการสอบไดส้ อบตกของนกั เรยี น ค. เพอื่ ปฏบิ ัตใิ ห้เป็นไปตามระเบียบที่วางไว้ ง. เพ่ือเปน็ หลักฐานรายงานต่อผ้ปู กครอง
21 28. ขอ้ ใดกลา่ วถงึ รูบริคส์ได้ถกู ต้อง ก. รูบริคส์เหมาะสำหรบั ประเมนิ การปฏบิ ัติงานมากทสี่ ุด ข. การออกแบบรูบรคิ ส์ครไู ม่ควรให้นกั เรยี นมีสว่ นร่วม ค. รูบริคสเ์ ปน็ เครื่องมือในการให้คะแนนท่ีไม่ต้องมีการระบเุ กณฑ์ ง. นกั เรียนสามารถใช้รูบรคิ ส์ในการประเมิน พฒั นาชิ้นงานของตนเอง 29. ถ้าจุดประสงค์การสอนกำหนดให้นักเรียน “จัดทำโครงงานทดลองออกแบบผังงานเพื่อพัฒนา โปรแกรมจากกจิ วตั รประจำวัน” ควรใช้วธิ วี ัดผลอยา่ งไรจึงจะเหมาะสมและสอดคลอ้ งกับจุดประสงคม์ าก ท่สี ุด ก. การสัมภาษณ์ ข. การใช้แฟม้ สะสมงาน ค. การบันทึกจากผ้เู กย่ี วข้อง ง. การใชข้ อ้ ทดสอบทเี่ น้นการปฏบิ ตั ิจริง 30. การประเมินผลโดยใช้แฟม้ สะสมงานมีลกั ษณะเด่นอยา่ งไร ก. มคี วามเช่ือม่นั สงู ข. มีความเทย่ี งตรงสงู ค. มอี ำนาจจำแนกสูง ง. มีความยากง่ายพอเหมาะ
ขอ้ เฉลย 22 1ข 2ง ข้อ ขอ้ 3ก 11 ก 21 ก 4ข 12 ข 22 ค 5ค 13 ข 23 ข 6ค 14 ข 24 ค 7ข 15 ข 25 ง 8ค 16 ข 26 ค 9ก 17 ง 27 ก 10 ง 18 ง 28 ง 19 ค 29 ข 20 ข 30 ค
23 คณะทำงาน กรรมการทีป่ รึกษา 1. นายประทปี ทองด้วง ผอู้ ำนวยการสำนักงานเขตพนื้ ท่กี ารศึกษาประถมศกึ ษาสุราษฎร์ธานี เขต 2 2. นางสาวปวิชญา สนิ น้อย รองผู้อำนวยการสำนกั งานเขตพนื้ ทกี่ ารศึกษาประถมศกึ ษาสุราษฎรธ์ านี เขต 2 3. นางมณรี ัตน์ อินทร์คง ศึกษานเิ ทศก์ วทิ ยฐานะชำนาญการพิเศษ สำนกั งานเขตพืน้ ทก่ี ารศึกษาประถมศึกษาสรุ าษฎรธ์ านี เขต 2 ผู้อำนวยการกลมุ่ นเิ ทศ ตดิ ตามและประเมนิ ผลการจดั การศกึ ษา 4. นายกฤษนนั ท์ ทองจีน ศึกษานเิ ทศก์ วิทยฐานะชำนาญการพเิ ศษ สำนกั งานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศกึ ษาสรุ าษฎรธ์ านี เขต 2 5. นางสาวศุภรัตน์ อนิ ทรสุวรรณ ศกึ ษานิเทศก์ วทิ ยฐานะชำนาญการพิเศษ สำนักงานเขตพื้นที่การศกึ ษาประถมศึกษาสุราษฎร์ธานี เขต 2 6. นางสาวบบุ ผา พรมหลง ศกึ ษานิเทศก์ วทิ ยฐานะชำนาญการพิเศษ สำนกั งานเขตพนื้ ทกี่ ารศึกษาประถมศกึ ษาสรุ าษฎร์ธานี เขต 2 7. นายสรุ ินทร์ เกษรส์ ุวรรณ์ ผูอ้ ำนวยการ วิทยฐานะชำนาญการพเิ ศษ โรงเรียนบา้ นพรุยายชี 8. นางสาวกลุ ณัฐธดิ า ห้าวหาญ ครู วทิ ยฐานะชำนาญการพเิ ศษ โรงเรยี นวัดสันติครี ีรมย์ ผู้เขียน นางสาวภัคนยั ชมุ่ ชะนะ ศึกษานิเทศก์ สำนกั งานเขตพ้ืนทกี่ ารศึกษาประถมศกึ ษาสรุ าษฎร์ธานี เขต 2
Search
Read the Text Version
- 1 - 28
Pages: