รายงานวจิ ัยชัน้ เรยี น “การใช้ชุดกิจกรรมการเรยี นรเู้ รื่อง...การหาร” กลุ่มสาระการเรียนรู้คณติ ศาสตร์ ชั้นประถมศกึ ษาปีท่ี 3 จดั ทำโดย นางสาวกรี ตญิ า วงค์มณี ตำแหน่งครู วทิ ยฐานะ ชำนาญการ โรงเรยี นบา้ นสนั ตน้ ดู่ สำนักงานเขตพ้นื ทกี่ ารศกึ ษาประถมศึกษาเชียงราย เขต 2 สำนกั งานคณะกรรมการการศึกษาขัน้ พื้นฐาน กระทรวงศกึ ษาธิการ
ความเปน็ มาและความสำคัญของปญั หา ทำใหม้ นษุ ยม์ ีความคิดสรา้ งสรรค์ คณติ ศาสตร์มีบทบาทสำคัญย่ิงตอ่ การพัฒนาความคิดของมนุษย์ คิดอยา่ งมเี หตผุ ลเป็นระบบระเบียบ มแี บบแผนสามารถวเิ คราะห์ปญั หาและสถานการณ์ได้อยา่ งถี่ถว้ นรอบคอบ ทำให้สามารถคาดการณว์ างแผน ตดั สนิ ใจและแก้ปญั หาได้อยา่ งถูกต้องและเหมาะสม คณิตศาสตร์เปน็ เคร่ืองมือ ในการศึกษาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ตลอดจนศาสตร์อื่นๆ ที่เก่ียวข้อง คณติ ศาสตร์จึงมีประโยชน์ตอ่ การ ดำรงชวี ิตและยังชว่ ยพฒั นาคุณภาพชีวติ ให้ดยี งิ่ ขน้ึ นอกจากนี้คณิตศาสตร์ยังชว่ ยพัฒนาคนให้เปน็ มนุษยท์ ส่ี มบรู ณ์ มีความสมดุลท้งั ทางร่างกาย จติ ใจ สตปิ ญั ญาและอารมณ์ สามารถคิดเปน็ ทำเป็น แกป้ ัญหาเป็น และ สามารถอยู่ร่วมกับผู้อนื่ ได้อย่างมีความสุข คณุ ภาพของผู้เรียนที่ระบุไวใ้ นคมู่ อื การจัดการเรยี นรกู้ ลุ่มสาระการเรียนรคู้ ณิตศาสตร์ เป็นเป้าหมาย ของการจดั การเรียนการสอนคณิตศาสตร์ในแต่ละชว่ งชน้ั ให้กับผู้เรียนท่จี บการศึกษาขน้ั พืน้ ฐาน 12 ปี ซึ่งจะต้อง มคี วามรู้ความเข้าใจในเนอ้ื หาสาระคณิตศาสตร์ มที ักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์ มีเจตคตทิ ่ีดตี ่อวิชา คณติ ศาสตร์ มีความตระหนักในคุณคา่ ของคณิตศาสตร์ และสามารถนำความรู้ทางคณิตศาสตร์ไปพัฒนา คณุ ภาพชวี ติ ตลอดจนสามารถนำความรู้ทางคณิตศาสตรไ์ ปใช้เป็นเครอื่ งมือในการเรียนรแู้ ละเป็นพ้ืนฐานใน การศกึ ษาในระดับทส่ี ูงข้ึน การทีผ่ ู้เรยี นจะเกดิ การเรยี นรคู้ ณติ ศาสตร์ได้อยา่ งมีคณุ ภาพจะต้องมีพัฒนาการทั้งดา้ นความรู้ ทักษะ กระบวนการ คุณธรรม จริยธรรม และค่านยิ ม ดังน้ี 1. มีความรคู้ วามเข้าใจในคณิตศาสตร์พืน้ ฐานเกีย่ วกบั จำนวนและการดำเนินการ การวดั เรขาคณติ พชี คณิต การวเิ คราะห์ขอ้ มูลและความนา่ จะเปน็ พร้อมทั้งสามารถนำความรไู้ ปประยกุ ต์ใช้ 2. มีทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์ ด้านความสามารถในการแกป้ ัญหาดว้ ยวธิ ีการทห่ี ลากหลาย การใหเ้ หตุผล การส่ือสาร การสอื่ ความหมายทางคณติ ศาสตร์ และการนำเสนอมคี วามคิดริเริ่มสร้างสรรค์ สามารถเชอ่ื มโยงความรตู้ า่ งๆ ทางคณิตศาสตรแ์ ละเชอ่ื มโยงคณิตศาสตร์กบั ศาสตร์อนื่ ๆ 3. มีความสามารถในการทำงานอย่างเปน็ ระบบ มีระเบียบวนิ ั มีความรอบคอบ มีความรบั ผิดชอบ มวี จิ ารณญาณ มีความเชอ่ื มั่นในตนเอ พร้อมทง้ั ตระหนักในคณุ คา่ และมีเจตคตทิ ่ีดีตอ่ วิชาคณิตศาสตร์ คุณภาพของผ้เู รยี นเมือ่ จบช่วงชัน้ ที่ 1 ( ชั้นประถมศึกษาปที ่ี 1 – 3 ) ประกอบด้วย 1. มคี วามคิดรวบยอดและความรู้สกึ เชิงจำนวนเกย่ี วกับจำนวนนับและศูนย์ และการดำเนนิ การของ จำนวน สามารถแก้ปัญหาเกี่ยวกับการบวก การลบ การคณู และการหารจำนวนนบั พรอ้ มทั้ง ตระหนักถงึ ความ สมเหตสุ มผลของคำตอบท่ไี ด้และสามารถสรา้ งโจทยไ์ ด้ 2. มคี วามรู้ความเขา้ ใจเก่ยี วกับความยาว ระยะทาง นำ้ หนัก ปริมาตรและความจุ สามารถวัด ปริมาณดังกลา่ วได้อยา่ งถูกต้องและเหมาะสม และนำความรู้เก่ียวกบั การวัดไปใช้แก้ปัญหาใน สถานการณต์ า่ ง ๆ ได้
3. มคี วามรู้ความเขา้ ใจเก่ยี วกับสมบตั พิ น้ื ฐานของรูปเรขาคณติ หนงึ่ มติ ิ สองมติ ิ และสามมิติมีความเข้าใจ เกีย่ วกับแบบรปู และอธิบายความสัมพนั ธ์ได้ 4. รวบรวมขอ้ มูล จดั ระบบข้อมูลและอภปิ รายประเดน็ ต่าง ๆ จากแผนภูมิรปู ภาพและแผนภูมิแท่งได้ 5. มีทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตรท์ ่จี ำเปน็ ไดแ้ ก่ ความสามารถในการแก้ปญั หา การให้เหตุผล การส่ือสาร สื่อความหมายและการนำเสนอทางคณติ ศาสตร์ การมีความคดิ ริเรมิ่ สรา้ งสรรค์และการเช่ือมโยง ความรตู้ า่ ง ๆ ทางคณติ ศาสตร์ สาระและมาตรฐานการเรยี นรคู้ ณิตศาสตร์ ประกอบดว้ ยเนอื้ หาวชิ า สาระการเรียนรูท้ ่ีกำหนดไวน้ ้เี ปน็ สาระหลักที่จำเป็นสำหรบั ผูเ้ รยี นทุกคน คณิตศาสตร์และทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์ ในการจดั การเรียนรู้ ผูส้ อนควรบรู ณาการสาระตา่ งๆ เขา้ ดว้ ยกันเทา่ ที่จะเป็นไปได้ สาระท่ีเป็นองค์ความรู้ของกลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ประกอบด้วย สาระที่ ๑ จำนวนและพชี คณิต มาตรฐาน ค ๑.๑ เข้าใจความหลากหลายของการแสดงจำนวน ระบบจำนวน การดำเนินการของจำนวน ผลทเ่ี กดิ ข้ึนจากการดำเนินการ สมบัตขิ องการดำเนนิ การ และนำไปใช้ มาตรฐาน ค ๑.๒ เขา้ ใจและวิเคราะห์แบบรปู ความสัมพนั ธ์ ฟังกช์ ัน ลำดบั และอนกุ รมและนำไปใช้ สาระที่ ๒ การวัดและเรขาคณิต มาตรฐาน ค ๒.๑ เขา้ ใจพ้ืนฐานเกย่ี วกับการวัด วัดและคาดคะเนขนาดของสง่ิ ทต่ี ้องการวดั และนำไปใช้ มาตรฐาน ค ๒.๒ เขา้ ใจและวเิ คราะหร์ ปู เรขาคณติ สมบัติของรปู เรขาคณติ ความสมั พันธร์ ะหวา่ งรปู เรขาคณติ และทฤษฎีบททางเรขาคณติ และนำไปใช้ สาระท่ี ๓ สถิตแิ ละความน่าจะเป็น มาตรฐาน ค ๓.๑ เข้าใจกระบวนการทางสถิติ และใช้ความรู้ทางสถิติในการแกป้ ัญหาสำหรบั ผเู้ รยี นท่ีมี ความสนใจหรอื มีความสามารถสูงทางคณิตศาสตร์ สถานศกึ ษาอาจจัดใหผ้ ูเ้ รยี นเรียนรสู้ าระท่เี ป็นเนื้อหาวชิ าให้ กว้างขนึ้ เข้มขน้ ข้ึน หรอื ฝึกทกั ษะกระบวนการมากข้ึนโดยพิจารณาจากสาระหลักที่กำหนดไวน้ ้ี หรือสถานศกึ ษา อาจจัดสาระการเรียนรู้คณิตศาสตรอ์ ื่น ๆ เพมิ่ เตมิ ก็ได้ เช่น แคลคลู ัสเบ้อื งตน้ หรือทฤษฎกี ราฟเบื้องต้น โดย พจิ ารณาให้เหมาะสมกับความสามารถและความต้องการของผู้เรียน ชดุ กจิ กรรมการเรียนรู้ เปน็ กิจกรรมท่เี สริมสร้างความรู้ เจตคติ และทกั ษะให้นักเรยี นสามารถนำไปปฏบิ ตั ิ และจดั การกบั ปญั หาต่าง ๆ ในการดำเนนิ ชวี ติ ในสังคม เปน็ กระบวนการทีเ่ นน้ การฝึกทกั ษะและการสรา้ งเจตคติ
จากประสบการณ์ของผู้เรยี น เปน็ การเรยี นรู้ทีเ่ ป็นปฏิบตั ิ เพือ่ ให้เกิดการพัฒนาหรอื การเปล่ียนแปลงทนี่ ำไปสู่การ เรยี นรใู้ หม่ ๆ อย่างตอ่ เนื่องและเปน็ การจดั กจิ กรรมการเรยี นรทู้ ่ีเน้นการสรา้ งความรู้มากกว่าการถา่ ยทอดความรู้ โดยมคี วามเช่ือพืน้ ฐานว่า ผเู้ รียนทุกคนมีประสบการณเ์ ดมิ และสามารถสร้างความรู้ใหมข่ ้นึ จากประสบการณ์เดมิ นัน้ ไดด้ ว้ ยการส่ือสารระหวา่ งผเู้ รียนกบั ผสู้ อน หรือระหวา่ งผู้เรียนกับผู้เรียนดว้ ยกันเอง การสอ่ื สารที่เกิดข้นึ เป็นการ ขยายเครือขา่ ยความรู้ทั้งในทางกว้างและทางลึก ซง่ึ ชดุ กิจกรรมจะชว่ ยเพ่ิมประสิทธิภาพในการสอนของครูและจะ ช่วยส่งเสรมิ ให้ผ้เู รียนเกิดการเปลยี่ นแปลงพฤติกรรมการเรียนรูด้ ้วยตนเองตามจดุ ประสงค์ท่ตี ัง้ ไวอ้ ย่างมี ประสทิ ธิภาพ เรา้ ความสนใจของผเู้ รยี นใหเ้ กดิ การเรยี นรู้ โดยยึดผ้เู รยี นเป็นศนู ยก์ ลาง ผู้เรยี นรจู้ ุดม่งุ หมายชัดเจน และมสี ่วนรว่ มในการปฏิบตั ิกิจกรรมต่างๆ ตามความสามารถของแต่ละบคุ คล เปิดโอกาสให้ผู้เรียนไดแ้ สดงความ คิดเหน็ มีอิสระในการเรียนได้แสดงความคดิ เหน็ มอี สิ ระในการเรียน สามารถเรียนด้วยตนเองตามความสามารถและ ความสนใจของตนเอง จงึ ทำให้ผูเ้ รียนสนใจทจ่ี ะเรียนรู้มากย่ิงขึน้ นอกจากนี้ ยงั ทำให้ทราบผลการปฏบิ ตั กิ จิ กรรม นั้นๆ อยา่ งรวดเร็ว ทำให้ไม่เกิดความเบ่ือหน่ายในการเรียน หรือเกิดความท้อถอยใน การเรียนเพราะผู้เรยี นมสี ทิ ธทิ ่ี จะกลบั ไปศึกษาเรอ่ื งทตี่ นเองไมเ่ ขา้ ใจใหม่ได้ อีกทั้งยงั เป็น การชว่ ยฝึกการทำงานรว่ มกนั กบั ผอู้ ืน่ เพอื่ ใหผ้ ู้เรียนอยู่ใน สังคมได้อยา่ งมีความสขุ จากประสบการณ์ของผู้รายงาน ในการสอนสาระการเรยี นรู้คณิตศาสตร์ระดบั ชว่ งช้ันที่ 1 โดยเฉพาะ ระดบั ชั้นประถมศึกษาปีท่ี 3 พบวา่ สภาพการเรยี นโดยภาพรวมปรากฏว่า นกั เรยี นส่วนมากมีความสามารถ ความ สนใจในการเรยี นรู้ทแ่ี ตกตา่ งหลากหลาย มที ัง้ กล่มุ ที่เรียนดี ปานกลาง กลุ่มท่ีบกพร่องทางการเรียนรู้ และเด็ก พเิ ศษ จึงทำใหเ้ กดิ ปญั หาในการเรยี นรู้ โดยเฉพาะ วชิ าคณิตศาสตร์ ซ่งึ เป็นกลุ่มทักษะท่ีจำเปน็ ต่อการดำรง ชีวติ ประจำวัน แตป่ รากฏวา่ นักเรยี นรอ้ ยละ 50 มผี ลการเรยี นตำ่ แม้วา่ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนในระดบั ต่าง ๆ นักเรยี นจะสามารถทำคะแนนได้โดยเฉลี่ยในภาพรวมอยใู่ นเกณฑ์ดีกต็ าม แต่พบวา่ เน้ือหา เรื่อง การหาร นกั เรยี นทำคะแนนไดน้ ้อยจึงเป็นตวั ฉุดคะแนนในภาพรวม เมือ่ วิเคราะหถ์ งึ สาเหตขุ องปัญหาจึงพบว่าเกดิ จาก นักเรยี นขาดทักษะในการคดิ การคำนวณ มเี จตคติที่ไม่ดตี ่อการเรยี นวชิ าคณิตศาสตร์จึงทำให้ไมส่ นใจ เกดิ ความ เบือ่ หนา่ ยในการปฏิบัตกิ ิจกรรมการเรยี นรู้ จงึ สง่ ผลตอ่ การเรยี นรู้ของนักเรียนดงั กล่าวข้างตน้ ดงั นน้ั ผู้รายงานจึงสรา้ ง ชดุ กิจกรรมการเรียนรู้ เรื่อง การหาร รว่ มกับเทคนคิ การแขง่ ขนั เป็นทมี มา ประกอบการจดั กิจกรรมการเรยี นรู้กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ช้ันประถมศึกษาปีท่ี 3 เพ่ือแกป้ ัญหาและ ส่งเสริมให้นกั เรยี นไดเ้ รียนรู้อยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพและเกิดประสทิ ธผิ ล ทง้ั ด้านผลสัมฤทธ์ิทางการเรยี น เจตคติ ท่ดี ีตอ่ การเรยี นวิชาคณติ ศาสตร์ ตลอดจนเปน็ แนวทางในการพัฒนาการจัดการเรียนรู้คณิตศาสตรใ์ ห้มปี ระสทิ ธิภาพย่ิงข้ึน วัตถุประสงคข์ องการวจิ ัย
1. เพอ่ื พฒั นาผลสมั ฤทธท์ิ างการเรยี น เร่อื ง การหาร ด้วยชุดกิจกรรมการเรยี นรูเ้ ร่ืองการหาร ร่วมกับ เทคนคิ การแข่งขันเป็นทีม สำหรบั นักเรียนช้ันประถมศกึ ษาปที ่ี 3 ประโยชน์ของการศึกษา 1. ได้รปู แบบการจัดกจิ กรรมการเรยี นการสอนกล่มุ สาระการเรียนร้คู ณติ ศาสตร์ โดยใช้ “ชดุ กจิ กรรม การเรยี นรู้ เร่ือง การหาร ร่วมกับเทคนิคการแข่งขันเป็นทีม” ประกอบการสอน 2. เปน็ แนวทางสำหรับครูหรือผเู้ ก่ยี วข้องในการจัดการเรยี นการสอนกลุ่มสาระการเรียนรคู้ ณติ ศาสตร์ ขอบเขตของการศกึ ษา 1. ขอบเขตดา้ นประชากรและกลุ่มตัวอยา่ ง ประชากรท่ีใช้ในการศึกษาคร้ังนี้ ได้แก่ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีท่ี3 โรงเรียนบ้านสันตน้ ดู่ สงั กดั สำนักงานเขตพ้ืนทกี่ ารศึกษาประถมศกึ ษาเชียงราย เขต 2 ปีการศึกษา 2563 จำนวนท้ังส้ิน 12 คน 2. ขอบเขตดา้ นเน้อื หา เน้ือหาท่ีใช้ในการศึกษาครงั้ นี้ไดแ้ ก่ การหาร สำหรับชัน้ ประถมศึกษาปีที่ 3 ตามหลักสูตรสถานศึกษาของ โรงเรยี นบา้ นสนั ต้นดู่ พุทธศักราช 2551 (ฉบบั ปรับปรุง พทุ ธศึกราช 2560) กลุ่มสาระการเรียนรูค้ ณิตศาสตร์ ซง่ึ เป็นไปตามหลักสูตรการศึกษาข้ันพน้ื ฐาน พทุ ธศักราช 2551 (ฉบับปรับปรุง พุทธศักราช 2560) ของ กระทรวงศึกษาธิการ โดยมีเน้ือหารายละเอยี ดเกย่ี วกับการหาร นำมาจัดทำเปน็ ชดุ กจิ กรรมการเรยี นรู้ เรอ่ื ง การ หาร สำหรับนกั เรียนช้ันประถมศึกษาปีที่ 3 โรงเรยี นบ้านสนั ต้นดู่ สำนักงานเขตพ้ืนท่ีการศกึ ษาประถมศึกษา เชยี งรายเขต 2 3. ระยะเวลาทใ่ี ชใ้ นการศึกษาคน้ ควา้ ระยะเวลาทใ่ี ช้ในการศึกษา ดำเนินการทดลองในภาคเรียนท่ี 2 ปีการศึกษา 2563 4. ตัวแปรท่ศี ึกษา ตวั แปรอิสระ ไดแ้ ก่ การจัดการเรียนการสอนเรื่องการหาร โดยใช้ชุดกจิ กรรมการเรยี นรู้ สำหรับนกั เรยี น ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 ตัวแปรตาม ไดแ้ ก่ ผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียนของนักเรยี น ประโยชนท์ ่คี าดวา่ จะไดร้ บั 1. นกั เรียนมีทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์เร่ือง การหาร
2. เป็นแนวทางสำหรับครูผู้สอนคณิตศาสตร์ในการเลือกกิจกรรมการเรยี นการสอน 3. เป็นแนวทางในการปรบั ปรุงและพัฒนาการเรยี นการสอนเร่ือง การหาร ในสาระการเรียนรู้ คณติ ศาสตร์ ชน้ั ประถมศึกษาปที ่ี 3 วธิ ดี ำเนนิ การวจิ ัย 1. ประชากร ประชากรเป็นนกั เรียนช้ันประถมศึกษาปีท่ี 3 โรงเรยี นบ้านสันต้นดู่ สังกัดสำนกั งานเขตพื้นที่ การศกึ ษาประถมศึกษาเชยี งราย เขต 2 สำนักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขน้ั พื้นฐาน 2. เครอ่ื งมือทใี่ ช้ในการวิจัย 2.1 แบบประเมินผลการเรียนรูเ้ รือ่ ง การหาร 2.2 ชุดกิจกรรมการเรยี นรูเ้ รื่อง การหาร สำหรบั นกั เรียนชั้นประถมศึกษาปที ี่ 3 3. ข้ันตอนการสรา้ งเครื่องมือ 3.1 ศึกษาเอกสารหลักสูตรสถานศึกษา แนวคิดทฤษฎกี ารเรียนการสอน 3.2 ศึกษาปัญหาของนกั เรียน วิเคราะห์ข้อมลู ท่ีพบในการจัดการเรยี นการสอน 3.3 ศึกษาเทคนคิ การสรา้ งชุดกจิ กรรมการเรยี นรู้ เพ่ือใหเ้ หมาะสมกับเน้อื หาและผู้เรียน 3.4 สร้างแบบประเมนิ ผลก่อนเรียน - หลงั เรยี น 3.5 ประเมนิ ผลเรอื่ ง การหาร กอ่ นใช้ชดุ กจิ กรรมการเรียนรู้เร่ือง การหาร สำหรับนักเรียนชั้น ประถมศึกษาปีท่ี 3 3.6 ดำเนนิ การจัดกจิ กรรมประจำวัน โดยใช้ชดุ กิจกรรมการเรยี นรู้ เรอื่ ง การหาร สำหรบั นักเรียน ช้ันประถมศึกษาปที ่ี 3 3.5 ประเมนิ ผลเร่ือง การหาร หลังใช้ชุดกิจกรรมการเรยี นร้เู รื่อง การหาร สำหรับนกั เรียนชั้น ประถมศึกษาปที ี่ 3 การเกบ็ รวบรวมข้อมูล ใช้การเก็บรวบรวมข้อมูลในสถานการณ์จริงในช้ันเรียน โดยใช้แบบประเมินผลเรอ่ื ง การหาร ก่อนใช้ และหลงั ใช้ แบบฝกึ ชุดกิจกรรมการเรียนรเู้ ร่ือง การหาร สำหรบั นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีท่ี 3 และสงั เกต พฤติกรรมของผเู้ รยี นระหว่างจัดกจิ กรรมการเรียนการสอน การวเิ คราะหข์ ้อมลู
ข้อมูลท่ีรวบรวมไดจ้ ากแบบทดสอบเรอื่ ง การหาร ก่อนเรียนและหลังเรียน นำมาวเิ คราะห์ หาคา่ เฉลีย่ ( ) และส่วนเบ่ยี งเบนมาตรฐาน (S.D.) แล้วเปรยี บเทยี บคะแนนความกา้ วหน้าของนักเรยี นแตล่ ะคน ผลการวิเคราะห์ข้อมลู ข้อมูลท่ัวไปของกลุ่มทศี่ ึกษา คือ นักเรยี นชน้ั ประถมศกึ ษาปีที่ 3 โรงเรียนบา้ นสันต้นดู่ ทงั้ หมดรวม 12 คน มีการทดสอบวัดผลสมั ฤทธกิ์ อ่ นเรยี น แลว้ จงึ ดำเนินการสอนตามแผนการจดั การเรียนรู้โดยใช้ชดุ กิจกรรมการเรียนรูเ้ ร่ือง การหาร สำหรับนักเรียนชั้นประถมศกึ ษาปีที่ 3 หลงั จากน้ันจงึ ทำการทดสอบวัด ผลสัมฤทธิ์หลังเรยี น แล้วจึงนำผลมาเกบ็ รวบรวม ข้อมูลก่อนเรียนและหลังเรียนทรี่ วบรวมได้จากเครือ่ งมือท่ีผู้วิจยั สร้างขน้ึ มาจำแนกผลการเรียนรู้ ดังน้ี สรปุ ได้วา่ นักเรียนทง้ั 12 คน มีความก้าวหน้าในการใช้ชดุ กิจกรรมการเรียนรูเ้ ร่ือง การหาร สำหรบั นกั เรียนช้ันประถมศกึ ษาปที ่ี 3 ประกอบการเรียนรู้เรื่องการหาร ค่าเฉลย่ี และค่าเบีย่ งเบนมาตรฐานของนักเรยี นในการใช้ชุดกจิ กรรมการเรยี นร้เู รื่อง การหาร สำหรับนักเรยี นช้ันประถมศกึ ษาปที ี่ 3 การฝกึ จำนวน ผลรวม คา่ เฉล่ยี รอ้ ยละ คา่ S.D นกั เรียน X X ก่อนเรยี น 12 คน 100 8.33 27.77 2.93 หลังเรียน 12 คน 297 24.75 82.50 4.76 จากตารางสรปุ ได้ว่าการใช้ชุดกิจกรรมการเรียนรู้เรือ่ ง การหาร สำหรบั นักเรยี นช้ันประถมศกึ ษาปีที่ 3 ก่อนเรียนมีคา่ เฉลยี่ เทา่ กับ 8.33 หลังเรียนมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 24.75 จะเหน็ ไดว้ ่าคะแนนของคา่ เฉลีย่ หลังเรียนมี คา่ มากกวา่ คะแนนเฉลยี่ กอ่ นเรียน และคา่ เบ่ยี งเบนมาตรฐานของกอ่ นเรียนมีค่าเท่ากบั 2.93 สว่ นค่าเบย่ี งเบน มาตรฐานหลังเรยี นมคี ่าเท่ากับ 4.76 แสดงวา่ ขอ้ มลู มีค่าคะแนนใกลเ้ คียงกนั สรปุ ผลการวจิ ัย การวจิ ัยครั้งนี้มวี ตั ถปุ ระสงค์เพ่ือพัฒนาผลสมั ฤทธท์ิ างการเรยี น เรื่อง การหาร โดยใช้ ชุดกจิ กรรมการเรียนรู้เร่ือง การหาร สำหรับนกั เรยี นชั้นประถมศึกษาปที ี่ 3 เพอื่ แกป้ ญั หาเรื่อง การหาร สำหรบั นักเรียนชัน้ ประถมศกึ ษาปีท่ี 3 โรงเรยี นบ้านสนั ตน้ ดู่ พบวา่ นักเรยี นมีผลสมั ฤทธ์ิทางการเรยี น เรือ่ ง การหาร ดขี นึ้ อภิปรายผล
ผลการศกึ ษาคน้ ควา้ ในคร้งั นี้ปรากฏว่า ผลสมั ฤทธิ์การเรยี นรู้ของนักเรียนหลงั การใช้ชดุ กจิ กรรม การเรยี นรู้ เรอ่ื ง การหาร สำหรับนักเรียนชั้นประถมศกึ ษาปที ่ี 3 มีคุณภาพและประสทิ ธิภาพอย่างดยี ่งิ ดว้ ยเหตผุ ล ดงั ตอ่ ไปนี้ 1. ชดุ กจิ กรรมการเรยี นรเู้ รื่อง การหาร สำหรับนักเรียนช้ันประถมศึกษาปที ่ี 3 เป็นสื่อท่ีมีคณุ ภาพ และประสิทธิภาพตามผลของการวเิ คราะห์ขอ้ มลู ดังกล่าว 2. ชุดกจิ กรรมการเรยี นร้เู รื่อง การหาร สำหรบั นักเรยี นชั้นประถมศกึ ษาปที ี่ 3 ชุดน้สี รา้ งขน้ึ อย่างถูกวิธี ไดผ้ า่ นข้นั ตอนการสรา้ งและพฒั นาอยา่ งเปน็ ระบบ เร่ิมต้ังแต่เอกสารหลักสูตรและเอกสารทเ่ี ก่ียวขอ้ ง ในการใชห้ ลกั สตู ร และยังได้รบั การแนะนำ ข้อเสนอแนะจากผูเ้ ชยี่ วชาญและมปี ระสบการณ์ดา้ นเน้ือหาการจดั กิจกรรมการเรยี นรู้ ความเหมาะสมของเนื้อหา 3. การสอนโดยใช้ชดุ กจิ กรรมการเรยี นรเู้ รอ่ื ง การหาร สำหรับนกั เรยี นช้ันประถมศึกษาปีท่ี 3 นกั เรยี นเกิดความสนุกสนานในการเรยี นรู้ 4. การจดั การเรยี นรเู้ ร่ือง การหาร โดยใช้ชุดกิจกรรมการเรียนรเู้ รื่อง การหาร สำหรบั นักเรยี นช้ัน ประถมศกึ ษาปที ่ี 3 ไดเ้ รียงลำดบั ความยากงา่ ยสอดคล้องตามธรรมชาติการเรียนรู้ ทำใหเ้ รยี นรู้สกึ ว่าตนเอง ประสบความสำเร็จในการเรยี นรู้ จงึ สรปุ ได้วา่ ชุดกจิ กรรมการเรียนรเู้ รื่อง การหาร สำหรับนกั เรยี นช้ัน ประถมศึกษาปที ่ี 3 มปี ระสิทธภิ าพอย่างย่ิง สามารถนำไปใช้ในการจดั กิจกรรมการเรยี นรู้ ส่งผลให้ผเู้ รียนมี ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสงู ขึ้น
ภาคผนวก แบบบันทกึ คะแนนทดสอบวัดผลสัมฤทธ์ิทางการเรยี นก่อนเรียน – หลังเรยี น เรอื่ ง การหาร นกั เรียนชน้ั ประถมศกึ ษาปีที่ 3 โรงเรยี นบ้านสันต้นดู่ เลขที่ ชอ่ื - สกลุ ก่อนเรียน หลังเรียน 30 คะแนน 30 คะแนน 1 ด.ช.ศุภกฤต สุ่มเกตุ 2 ด.ช.กันธร ราชสมบตั ิ 6 23 3 ด.ช.ธนกฤต ไชยนาเคนทร์ 7 27 11 29
4 ด.ช.นนทพันธ์ มะลหิ อม 8 26 5 ด.ช.นพคุณ กลุ นายุ 7 21 6 ด.ช.ภทั รชยั พยาไชย 9 28 7 ด.ญ.ศริ ธิ ิฎา สงิ หค์ ะ 13 30 8 ด.ญ.ไอลดา ก๋าวิเต 14 30 9 ด.ญ.ชลนภิ า พรมตนั 5 18 10 ด.ญ.นันธดิ า มาต๊ิบ 5 15 11 ด.ญ. นติ ิพร อินทร์น่ังแท่น 8 24 12 ด.ญ.อญั ชสิ า ธรรมวิชัย 7 26 เฉล่ีย 8.33 24.75 ส่วนเบย่ี งเบนมาตรฐาน 2.93 4.76 ร้อยละ 27.77 82.50
Search
Read the Text Version
- 1 - 10
Pages: