Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore สรุปปริจเฉทที่๑

สรุปปริจเฉทที่๑

Published by kittivara.namwaan, 2021-01-14 04:52:52

Description: ปริจเฉทที่๑-สรุป

Keywords: ปริจเฉทที่๑

Search

Read the Text Version

ปริจเฉทที่ ๑ คาถาประณามและปฏญิ ญาของพระอนรุ ุทธาจารย์ ดังนี้ สมฺมาสมฺพทุ ธฺ มตุลํ สสทฺธมฺมคณตุ ฺตมํ อภิวาทิย ภาสสิ ฺสํ อภิธมฺมตฺถสงคฺ หํ ข้าพระพุทธเจา้ (พระอนุรุทธาจารย)์ ขอนอบน้อมถวายอภิวันทนาการ แดพ่ ระพุทธองค์ผู้ตรัสรู้ เญยยธรรมทั้งหลายเอง ไม่มีผ้เู ปรยี บปาน พรอ้ มด้วยพระสทั ธรรม และคณะพระอริยสงฆ์เจ้าท้ังหลาย ซงึ่ เป็นผู้ อดุ มแลว้ จกั แตง่ คมั ภรี ท์ ่มี นี ามว่า “อภิธมฺมตถฺ สงฺคห” ตอ่ ไป เม่ือจําแนกบทโดยสามญั แล้ว มี ๖ บท คอื ๑. สมมฺ าสมพฺ ทุ ฺธํ หมายความว่า ผู้ตรัสรู้เญยยธรรมทั้งปวงตามลําพังพระองค์เองอย่างถูกถ้วน ได้แก่ พระ สัมมาสัมพุทธจําพวกเดียว เป็นการปฏิเสธปัจเจกพุทธะ สาวกพุทธะทั้ง สอง ๒. อตลุ ํ หมายความวา่ หาผเู้ ปรยี บปานมไิ ด้ ๓. สสทธฺ มมฺ คณตุ ตฺ มํ หมายความว่า พร้อมด้วยพระสัทธรรม และคณะพระอริยสงฆ์เจ้าทั้งหลาย ซ่ึงเป็นผู้อุดม แลว้ ๔. อภิวาทิย หมายความวา่ เป็นคาํ นอบนอ้ มแด่พระรตั นตรัย ๕. ภาสสิ ฺสํ หมายความวา่ เปน็ คาํ รับรองว่าจะแต่ง ๖. อภิธมมฺ ตฺถสงคฺ หํ หมายความว่า ตามที่ไดก้ ลา่ วคาํ รบั รองวา่ จะแตง่ นนั้ กไ็ ดแ้ กค่ มั ภรี ์อภธิ ัมมตั ถสังคหะปกรณน์ เ้ี อง ๑. สังขาร เญยยธรรมมี ๕ อยา่ ง คอื ๒. วกิ าร ไดแ้ ก่ จิต ๘๙ เจตสกิ ๕๒ นปิ ผนั นรูป ๑๘ ๓. ลักขณะ ได้แก่ วิการรูป ๓ ๔. นิพพาน ได้แก่ ลกั ขณรปู ๔ ๕. บญั ญตั ิ ได้แก่ สนั ตลิ กั ษณะ ได้แก่ สทั ทบญั ญัติ อัตถบัญญตั .ิ สทั ธรรมมี ๓ อย่าง คือ ๑. ปรยิ ัติสัทธรรม ไดแ้ ก่ พระบาลแี ละอรรถกถา ๒. ปฏิบตั ิสทั ธรรม ได้แก่ การรักษาศลี การถอื ธุดงค์ การเจรญิ สมถกมั มัฏฐาน และวปิ ัสสนากมั มฏั ฐาน ๓. ปฏิเวธสทั ธรรม ไดแ้ ก่ มรรค ผล นิพพาน ฌาน อภญิ ญา. การแสดงธรรมทีเ่ ปน็ ความจรงิ ของพระสมั มาสัมพทุ ธเจ้าน้ันมีอยู่ ๒ ประการ คือ ๑.ทรงแสดงธรรมตามความเป็นจริงของสมมุติโวหาร ชื่อว่า สมมุติสัจจะ ได้แก่ พระสูตร พระวินัย ปุคคล บัญญัติ ๒.ทรงแสดงธรรมตามความเปน็ จรงิ ของสภาวะ ช่ือว่า ปรมตั ถสจั จะ ได้แก่ พระอภธิ รรม ๖ คมั ภรี ์ เวน้ ปคุ คล บญั ญัติ ปรมตั ถสจั จะ มี ๒ อยา่ ง คอื ๑. สภาวสจั จะ ธรรมท่เี ปน็ จรงิ ตามสภาวลักษณะ ไดแ้ ก่ กศุ ลธรรม อกศุ ลธรรมเป็นต้น ที่แสดงไวใ้ นอภธิ รรมปิฎก ๒. อริยสัจจะ ธรรมทเ่ี ป็นความจริงโดยเฉพาะอริยบุคคลทั้งหลาย ได้แก่ อรยิ สัจจะ ๔ มที กุ ขสัจจะ เป็นต้น หน้า 1 จาก 7 By Kanrasi (Liew)

ปรมัตถธรรม หมายความวา่ สภาพของนามรปู ที่เป็นองค์ธรรมอนั ประเสริฐ ไม่มีการผิดแปลกผันแปรแต่ อยา่ งใด และเปน็ ธรรมทเ่ี ปน็ ประธานในอัตถบัญญตั แิ ละนามบญั ญัติ ช่อื ว่า ปรมัตถธรรม ปรมัตถธรรมมี ๔ อยา่ ง คอื จิต เจตสกิ รปู นิพพาน ดงั มีบาลแี สดงว่า ตตถฺ วตุ ฺตาภิธมฺมตถฺ า จตธุ า ปรมตถฺ โต จติ ฺตํ เจตสกิ ํ รูปํ นพิ ฺพานมิติ สพฺพถา ในคําว่า อภิธัมมัตถสังคหะ น้ัน เมื่อว่าโดยปรมัตถธรรมแล้ว ไม่ว่าประการใดๆ ย่อมมีเนื้อความของพระ อภิธรรมอยู่เพยี ง ๔ ประการ คือ จิต เจตสิก รปู นิพพาน จิต แสดงธรรมชาติของจติ เจตสิก รปู นิพพาน โดยสงั เขป ดังน้ี เจตสกิ เป็นธรรมชาติท่ีรอู้ ารมณ์ (อารมฺมณวิชานนลกฺขณ)ํ รูป เป็นธรรมชาติที่อาศยั จติ เกดิ (จิตฺตนสิ ฺสติ ลกขฺ ณ)ํ นิพพาน เป็นธรรมชาติทม่ี ีการผนั แปรเปลย่ี นแปลงสลายไปเพราะวโิ รธิปัจจัย (รุปฺปนลกฺขณ)ํ เปน็ ธรรมชาติท่สี งบจากรปู นามขันธ์ ๕ (สนฺติลกขฺ ณ)ํ จิต หมายความวา่ ธรรมชาติทร่ี ู้อารมณ์ (อารมมฺ ณวชิ านนลกฺขณํ) มวี จนัตถะแสดงว่า อารมฺมณํ จนิ เฺ ตตีติ = จิตฺตํ ธรรมชาตใิ ด ยอ่ มรอู้ ารมณ์ คือ ได้รบั อารมณ์อยเู่ สมอ ฉะนนั้ ธรรมชาตนิ ้นั ชือ่ วา่ จติ และเม่อื สรปุ ธรรมชาติของจิตแลว้ มี ๓ อยา่ ง คอื ๑. มีการรบั อารมณอ์ ยเู่ สมอ ๒. เป็นเหตใุ หเ้ จตสิก ทงั้ หลายรูอ้ ารมณ์ได้คล้ายๆ กับผู้นํา ๓. ทําให้สงิ่ ท่มี ีชวี ติ และไม่มีชวี ิตวิจิตรพิสดาร แสดงบาลีรับรองจิตปรมัตถ์ ๔ ประเภท พร้อมด้วยคําแปลดังนี้ ตตฺถ จิตฺตํ ตาว จตุพฺพิธํ โหติ กามาวจรํ รูปาวจรํ อรูปาวจรํ โลกุตฺตรญฺเจติ ในปรมัตถธรรมทั้ง ๔ นั้น จิตปรมัตถ์ ที่แสดงไว้เป็นอันดับแรกใน อารัมภบทน้ัน มี ๔ ประเภท คือ กามาวจรจติ รปู าวจรจิต อรปู าวจรจิต โลกุตตรจติ จาํ นวนจติ โดยย่อ ๘๙ โดยพิสดาร ๑๒๑ น้ัน ผดิ กนั ท่โี ลกุตตรจิต คอื ในจติ โดยยอ่ นั้นโลกตุ ตรจติ มี ๘ ใน จิตโดยพิสดารนั้น โลกตุ ตรจิตมี ๔๐ และฌานจติ ทีม่ อี งค์ฌาน ๒ นั้น มจี ํานวน ๓๔ ดวง คอื จตุตถฌานจติ ๑๑ ปัญจมฌานจติ ๒๓ ใน กามจติ รูปจิต อรปู จิต มที ั้งกุศล วิบาก กรยิ า แตใ่ นโลกตุ ตรจิต มแี ต่กุศล วบิ าก ไมม่ กี รยิ านน้ั เพราะ เก่ยี วเน่อื งดว้ ยกุศล คอื กามาวจรกศุ ล รปู าวจรกศุ ล อรปู าวจรกศุ ล ทง้ั ๓ น้ี ยอ่ มเกิดขึน้ ไดห้ ลายครง้ั ในบุคคล เดียวกนั สว่ นในโลกุตตรกศุ ลนั้น ในบุคคลหนึง่ ๆ ย่อมเกดิ ข้นึ ได้เพียงครัง้ เดียวเท่านน้ั แล้วก็ไมม่ ีการเกดิ อีกตอ่ ไป ด้วยเหตนุ ้ี กามาวจรกศุ ลและรูปาวจรกศุ ล อรปู าวจรกุศล ท้งั ๓ นี้ เมื่อเกดิ ขนึ้ ในสันดานของปุถุชนและผลเสกข บคุ คล ๓ นน้ั เรยี กวา่ กศุ ล แต่ถา้ เกิดในสนั ดานของพระอรหันต์ แล้วเรียกวา่ กริ ยิ า สําหรบั โลกุตตรกุศลนน้ั มไิ ด้กลบั เกดิ ข้นึ อกี ในสนั ดานของพระอรหันต์ ฉะน้นั ในโลกุตตรจติ จงึ ไมม่ กี รยิ า. สหคตํ มี ๕ อย่าง คอื ๑. สขุ สหคตํ จิตทพี่ ร้อมดว้ ยสุขเวทนา คือ สขุ กาย ๒. ทกุ ฺขสหคตํ จิตทีพ่ ร้อมด้วยทกุ ขเวทนา คือ ทุกข์กาย ๓. โสมนสสฺ สหคตํ จิตท่พี ร้อมดว้ ยโสมนสั เวทนา คอื ความดีใจ ๔. โทมนสสฺ สหคตํ จิตทพ่ี ร้อมดว้ ยโทมนัสเวทนา คือ ความเสยี ใจ ๕. อุเปกขฺ าสหคตํ จิตท่ีพรอ้ มด้วยอุเปกขาเวทนา คือ ความเฉยๆ หน้า 2 จาก 7 By Kanrasi (Liew)

วญิ ญฺ าณํ มี ๕ อย่าง คอื ๑. จกฺขุวญิ ญฺ าณํ จิตท่อี าศัยจกั ขวุ ตั ถุ เหน็ รูปารมณ์ ทด่ี ี และไมด่ ี ๒. โสตวญิ ญฺ าณํ จติ ท่ีอาศัยโสตวตั ถุ ไดย้ ินเสียง ท่ีดี และไม่ดี ๓. ฆานวิญญฺ าณํ จิตท่อี าศยั ฆานวตั ถุ ร้กู ลิน่ ที่ดี และไมด่ ี ๔. ชิวหาวญิ ญฺ าณํ จิตทอ่ี าศัยชวิ หาวตั ถุ ร้รู ส ทีด่ ี และไม่ดี ๕. กายวญิ ญฺ าณํ จติ ท่อี าศัยกายวตั ถุ ร้สู กึ โผฏฐพั พารมณ์ (ความเยน็ รอ้ น ออ่ นแข็ง หยอ่ นตงึ ) ทดี่ ี และไม่ดี ๑. ทิฏฐฺ คิ ตสมปฺ ยตุ ตฺ ํ สมฺปยุตฺตํ มี ๕ อย่าง คอื คือ ความเห็นผดิ ๒. ปฏิฆสมฺปยตุ ตฺ ํ จิตทป่ี ระกอบดว้ ยทฏิ ฐิ คอื ความโกรธ ๓. วิจิกจิ ฉฺ าสมปฺ ยตุ ตฺ ํ จติ ที่ประกอบด้วยโทสะ คอื ความสงสัย ๔. อุทธฺ จจฺ สมปฺ ยตุ ตฺ ํ จิตทป่ี ระกอบดว้ ยวิจกิ ิจฉา คือ ความฟงุ้ ซา่ น ๕. ญาณสมฺปยุตฺตํ จิตที่ประกอบดว้ ยอทุ ธจั จะ คอื ความรู้ จิตทีป่ ระกอบด้วยปัญญา จิตท่ไี ม่มีคําว่า ญาณสมฺปยตุ ฺตํ แตน่ บั เข้าในญาณสมั ปยุตต์ไดน้ ั้น มจี าํ นวน ๖๗ ดวง คอื มหคั คตจติ ๒๗ โลก กุตตร จติ ๔๐ จิตทไ่ี ม่มคี าํ วา่ ปัญจมฌาน แต่นบั สงเคราะห์เขา้ ในปัญจมฌานได้น้ัน มี ๑๒ ดวง คอื อรูปาวจร จติ ๑๒ อกศุ ลจติ หมายความวา่ จติ ทม่ี โี ทษและให้ผลตรงกันข้ามกบั กุศลจติ และเปน็ จติ ที่ประกอบกบั อกศุ ล เจตสกิ มี ๓ ประเภท คอื ๑. โลภมลู จิต ๒. โทสมลู จติ ๓. โมหมลู จิต แสดงคาถา (บาล)ี อกุศลจติ ๑๒ พรอ้ มคาํ แปล อฏฺฐธา โลภมลู านิ โทสมลู านิ จ ทวฺ ิธา โมหมลู านิ จ เทฺวติ ทวฺ าทสากสุ ลา สิยํุ โลภมลู จิต ๘ โทสมูลจิต ๒ โมหมลู จติ ๒ รวมจติ ๑๒ ดวงน้ี เปน็ อกศุ ลจติ โลภมูลจิต หมายความว่า จิตทเี่ กดิ ขึน้ โดยมีโลภเจตสกิ เปน็ มูลเป็นประธาน โทสมลู จิต หมายความว่า จิตทเ่ี กิดขึ้นโดยมีโทสเจตสกิ เปน็ มลู เป็นประธาน โมหมลู จิต หมายความว่า จิตทเ่ี กิดขึน้ โดยมโี มหเจตสกิ เป็นมูลเป็นประธาน อกศุ ลจติ หมายความว่า จิตทม่ี โี ทษและใหผ้ ลตรงกันข้ามกับกุศลจิต หรอื เปน็ จิตทป่ี ระกอบกับอกุศลเจตสกิ อกศุ ลวปิ ากจิต หมายความวา่ วิบากท่ีเกิดจากอกุศลกรรม ๑๒ มี การเหน็ การไดย้ ิน การได้กล่นิ ทไ่ี ม่ดี เปน็ ต้น อเหตุกกศุ ลวปิ ากจิต หมายความวา่ วบิ ากทเ่ี กิดจากมหากศุ ลกรรม ๘ มี การเหน็ การได้ยิน การไดก้ ลิ่นทดี่ ี เปน็ ต้น อเหตกุ กริยาจิต หมายความวา่ จิตที่เกดิ โดยลําพัง ไมไ่ ด้อาศัยกรรมแต่อย่างใด และไมเ่ ป็นบญุ เปน็ บาป แตเ่ ปน็ อเหตุกะ อเหตุกจติ หมายความว่า จิตทไี่ ม่มเี หตุ ๖ ประกอบ สเหตกุ จิต หมายความวา่ จติ ทีป่ ระกอบดว้ ยเหตุ อโสภณจติ หมายความว่า จิตทนี่ อกจากโสภณจติ ท่เี ป็นจติ สวยงาม หรือเปน็ จิตทไี่ มไ่ ด้เกดิ พรอ้ มกนั กบั โสภณ เจตสิก หน้า 3 จาก 7 By Kanrasi (Liew)

มหากศุ ลจติ หมายความวา่ จติ ทไ่ี มม่ ีโทษ และให้ผลเป็นความสขุ และสามารถให้ผลเกิดขน้ึ มากกวา่ ตน ท้งั เปน็ เบื้องตน้ ของฌานอภญิ ญา มรรคผล มหาวปิ ากจติ หมายความว่า จติ ทเ่ี ปน็ ผลของมหากศุ ล เพราะเมื่อวา่ โดยเวทนา สมั ปโยค สังขารแลว้ กเ็ หมอื นกันกับมหากุศลทุกประการ มหากรยิ าจติ หมายความว่า จิตทีช่ ่อื วา่ มหากศุ ลน้นั แหละ แตเ่ กดิ ขึ้นในสันดานของพระ อรหนั ต์ กามาวจรจติ หมายความวา่ จติ ที่ทอ่ งเทีย่ วเกิดอยู่ในภูมิอันเปน็ ที่เกิดแหง่ วัตถกุ าม และกเิ ลสกามเปน็ ส่วนมาก มหคั คตจติ หมายความว่า จติ ทเี่ ข้าถงึ ความเป็นใหญ่และประเสริฐ รปู าวจรจติ หมายความว่า จิตทง้ั ๑๕ ดวงนี้ ท่องเทย่ี วเกดิ อยู่ในภมู ิอนั เปน็ ทเ่ี กดิ แหง่ วัตถรุ ปู และกิเลสรปู เปน็ ส่วนมาก อรปู าวจรจติ หมายความว่า จิตทั้ง ๑๒ ดวงน้ี ท่องเที่ยวเกิดอยู่ในภูมิอันเป็นท่ีเกิดแห่งอรูป และกเิ ลสอรูปเปน็ ส่วนมาก ฌานจติ หมายความว่า จติ ท่ปี ระกอบกับองคฌ์ าน ๕ มวี ติ ก เปน็ ต้น โลกียจติ หมายความวา่ จติ เหลา่ นีย้ ่อมเกิดอยู่ในโลกท้ัง ๓ คือ กามโลก รูปโลก อรปู โลก โลกุตตรจติ หมายความวา่ จติ เหล่าน้ีพ้นจากโลกทั้ง ๓ คอื กามโลก รูปโลก อรปู โลก อกุศลสสงั ขารกิ จิต ๕ ดวง ๑.โสมนสสฺ สหคตํ ทิฎฐฺ ิคตสมปฺ ยุตฺตํ สสงขฺ ารกิ ํ จิตท่ีเกิดข้ึนโดยมกี ารชกั ชวน พรอ้ มดว้ ยความดใี จ ประกอบ ด้วยความเห็นผดิ ๒.โสมนสสฺ สหคตํ ทฎิ ฐฺ ิคตวปิ ฺปยตุ ตฺ ํ สสงขฺ าริกํ จิตที่เกิดขึ้นโดยมกี ารชกั ชวน พร้อมดว้ ยความดใี จไมป่ ระกอบ ดว้ ยความเห็นผดิ ๓.อเุ ปกฺขาสหคตํ ทฎิ ฐฺ คิ ตสมปฺ ยตุ ตฺ ํ สสงฺขาริกํ จิตทเ่ี กดิ ขนึ้ โดยมกี ารชักชวน พรอ้ มดว้ ยความเฉย ๆ ประกอบ ด้วยความเห็นผดิ ๔.อเุ ปกฺขาสหคตํ ทิฎฺฐิคตวิปปฺ ยุตตฺ ํ สสงฺขารกิ ํ จติ ที่เกิดขน้ึ โดยมีการชักชวน พร้อมด้วยความเฉยๆไมป่ ระกอบ ดว้ ยความเห็นผดิ ๕.โทมนสสฺ สหคตํ ปฎฆิ สมปฺ ยุตตฺ ํ สสงฺขารกิ ํ จิตที่เกิดขึ้นโดยมกี ารชักชวน พร้อมดว้ ยความเสยี ใจ ประกอบดว้ ยความโกรธ โมหมลู จิต ๒ คอื ๑. อุเปกขฺ าสหคตํ วจิ ิกจิ ฺฉาสมปฺ ยตุ ตฺ ํ จติ ที่เกดิ ขึ้นพร้อมด้วยความเฉย ๆ ประกอบดว้ ยความสงสัย ๒. อุเปกฺขาสหคตํ อุทธฺ จฺจสมปฺ ยตุ ฺตํ จติ ท่ีเกิดขึ้นพรอ้ มดว้ ยความเฉย ๆ ประกอบด้วยความฟุง้ ซา่ น อเหตกุ กรยิ าจติ ๓ คือ ๑. อุเปกฺขาสหคตํ ปญฺจทฺวาราวชฺชนจิตฺตํ จิตที่พิจารณาอารมณ์ทางปัญจทวารท่ีดีและไม่ดี เกิดข้ึนพร้อมด้วยความ เฉยๆ ๒. อุเปกฺขาสหคตํ มโนทฺวาราวชฺชนจิตฺตํ จิตท่ีพิจารณาอารมณ์ทางมโนทวารที่ดีและไม่ดี เกิดขึ้นพร้อมด้วยความ เฉยๆ ๓. โสมนสสฺ สหคตํ หสิตุปปฺ าทจติ ฺตํ จติ ทท่ี าํ ใหเ้ กดิ การยม้ิ ของพระอรหันต์ เกดิ ขนึ้ พรอ้ มดว้ ยความดีใจ หนา้ 4 จาก 7 By Kanrasi (Liew)































๒. ภมู เิ ภทนยั การแยกประเภทของจิตโดยภูมิทัง้ ๔ คือ กามภมู ิ (๕๔), รูปภมู ิ (๑๕), อรปู ภมู ิ (๑๒), โลกตุ ตรภูมิ (๘/๔๐) ๓. โสภณเภทนยั การแยกประเภทของจิตโดยอโสภณะ (๓๐) และโสภณะ (๕๙/๙๑) ๔. โลกเภทนัย การแยกประเภทของจติ โดยโลกียะ (๘๑) และโลกตุ ตระ (๘/๔๐) ๕. เหตเุ ภทนยั การแยกประเภทของจติ โดยอเหตุกะ (๑๘) และสเหตกุ ะ (๗๑/๑๐๓) ๖. ฌานเภทนัย การแยกประเภทของจติ โดยอฌาน (๕๔), และฌาน (๖๗) ๗. เวทนาเภทนยั การแยกประเภทของจติ โดยเวทนา ๕ คอื สขุ เวทนา (๑), ทุกขเวทนา (๑), โสมนสั เวทนา (๖๒), โทมนสั เวทนา (๒), อเุ บกขาเวทนา (๕๕) ๘. สัมปโยคเภทนยั การแยกประเภทของจิตโดยสมั ปยุตต์ (๘๗) และ วปิ ปยุตต์ (๓๔) ๙. สังขารเภทนัย การแยกประเภทของจิตโดยอสงั ขาริก (๓๗) และสสังขาริก (๘๔) โลภมลู จติ ๘ จําแนกจติ ๑๒๑ โดยชาติเภทนัย คอื โทสมลู จติ ๒ รวม ๑๒ เป็นอกุศลชาติ โมหมูลจิต ๒ มหากศุ ลจิต ๘ มหัคคตกศุ ลจติ ๙ (รปู าวจรกศุ ลจิต ๕ อรูปาวจรกุศลจติ ๔) รวม ๓๗ เป็นกศุ ลชาติ โลกตุ ตรกุศลจติ ๒๐ (มรรคจติ ๒๐) อเหตุกวิปากจิต ๑๕ (อกศุ ลวปิ ากจติ ๗ อเหตุกกศุ ลวิปากจิต ๘) มหาวิปากจติ ๘ รวม ๕๒ เปน็ วิปากชาติ มหคั คตวิปากจติ ๙ (รูปาวจรวปิ ากจิต ๕ อรูปาวจรวปิ ากจิต ๔) โลกุตตรวิปากจิต ๒๐ (ผลจติ ๒๐) อเหตกุ กรยิ าจิต ๓ มหากรยิ าจติ ๘ รวม ๒๐ เป็นกริยาชาติ มหัคคตกรยิ าจติ ๙ (รปู าวจรกรยิ าจิต ๕ อรปู าวจรกรยิ าจิต ๔) จําแนกกามจิต ๕๔ โดยชาตเิ ภทนยั อกศุ ลชาติ มี ๑๒ กุศลชาติ มี ๘ โดยโสภณเภทนัย วปิ ากชาติ มี ๒๓ รวมเป็นกามจติ ๕๔ โดยเวทนาเภทนัย กริยาชาติ มี ๑๑ อโสภณจติ มี ๓๐ รวมเป็นกามจิต ๕๔ โสภณจติ มี ๒๔ สุขเวทนา มี ๑ ทุกขเวทนา มี ๑ โสมนสั เวทนา มี ๑๘ รวมเป็นกามจติ ๕๔ โทมนสั เวทนา มี ๒ อเุ บกขาเวทนา มี ๓๒ หนา้ 6 จาก 7 By Kanrasi (Liew)

โดยสัมปโยคเภทนัย สมั ปยตุ ตจติ มี ๒๐ รวมเป็นกามจิต ๕๔ วปิ ปยุตตจิต มี ๓๔ ในบรรดาฌานจติ ๖๗ น้นั เปน็ กศุ ลชาติ ๒๙ เปน็ วิปากชาติ ๒๙ เปน็ กริยาชาติ ๙ จําแนก ฌานจิต ๖๗ โดยชาตเิ ภทนัย ดังนี้ มหคั คตกศุ ลจติ ๙ มรรคจิต ๒๐ รวม ๒๙ เป็นกุศลชาติ มหาหัคคตวิปากจิต ๙ ผลจิต ๒๐ รวม ๒๙ เป็นวปิ ากชาติ มหัคคตกรยิ าจิต ๙ เปน็ กรยิ าชาติ อกุศล ไมม่ ี จําแนก ฌานจติ ๖๗ โดย เวทนาเภทนัย ดังน้ี ปฐมฌานจิต ๑๑ ทุติยฌานจิต ๑๑ ตติยฌานจิต ๑๑ จตุตถฌานจิต ๑๑ รวม ๔๔ เป็นโสมนัส เวทนา รูปาวจรปัญจมฌานจิต ๓ อรูปาวจรจติ ๑๒ โลกตุ ตรปัญจมฌานจิต ๘ รวม ๒๓ หรือปัญจมฌานจิต ๒๓ เปน็ อุเบกขาเวทนา สขุ เวทนา ทกุ ขเวทนา โทมสั เวทนา ไมม่ ี โสมนัสสคต ๔ จาํ แนกอกุศลจิต ๑๒ โดยเวทนาเภทนัยคือ โทมนัสสหคต ๒ รวมเปน็ อกุศลจติ ๑๒ อุเบกขาสหคต ๖ จาํ แนกอกศุ ลจติ ๑๒ โดยสมั ปโยคเภทนยั คอื สมั มปยตุ ต์ ๘ วปิ ปยุตต์ ๔ รวมเปน็ อกุศลจติ ๑๒ จําแนกอกศุ ลจติ ๑๒ โดยสงั ขารเภทนยั คือ อสงั ขารกิ ๗ สสงั ขาริก ๕ รวมเปน็ อกศุ ลจติ ๑๒ จติ ทเ่ี กิดพร้อมดว้ ยโสมนสั สเวทนา และเป็นสมั ปยุตตด์ ว้ ยนน้ั มี ๕๒ ดวงคือ ทิฏฐคิ ตสัมปยุตตโสมนัส ๒ สมั ปยุตตด์ ว้ ยทิฏฐิ มหากุศลญาณสมั ปยตุ ตโสมนสั ๒ มหาวบิ ากญาณสัมปยตุ ตโสมนสั ๒ มหากริยาญาณสัมปยุตตโสมนัส ๒ สัมปยตุ ต์ดว้ ยปญั ญา (ญาณสมั ปยุตต)์ รูปาวจรโสมนสั สหคตจติ ๑๒ โลกตุ ตรโสมนัสสหคตจติ ๓๒ หน้า 7 จาก 7 By Kanrasi (Liew)

ปริจเฉทที่ ๑ คาถาประณามและปฏญิ ญาของพระอนรุ ุทธาจารย์ ดังนี้ สมฺมาสมฺพทุ ธฺ มตุลํ สสทฺธมฺมคณตุ ฺตมํ อภิวาทิย ภาสสิ ฺสํ อภิธมฺมตฺถสงคฺ หํ ข้าพระพุทธเจา้ (พระอนุรุทธาจารย)์ ขอนอบน้อมถวายอภิวันทนาการ แดพ่ ระพุทธองค์ผู้ตรัสรู้ เญยยธรรมทั้งหลายเอง ไม่มีผ้เู ปรยี บปาน พรอ้ มด้วยพระสทั ธรรม และคณะพระอริยสงฆ์เจ้าท้ังหลาย ซงึ่ เป็นผู้ อดุ มแลว้ จกั แตง่ คมั ภรี ท์ ่มี นี ามว่า “อภิธมฺมตถฺ สงฺคห” ตอ่ ไป เม่ือจําแนกบทโดยสามญั แล้ว มี ๖ บท คอื ๑. สมมฺ าสมพฺ ทุ ฺธํ หมายความว่า ผู้ตรัสรู้เญยยธรรมทั้งปวงตามลําพังพระองค์เองอย่างถูกถ้วน ได้แก่ พระ สัมมาสัมพุทธจําพวกเดียว เป็นการปฏิเสธปัจเจกพุทธะ สาวกพุทธะทั้ง สอง ๒. อตลุ ํ หมายความวา่ หาผเู้ ปรยี บปานมไิ ด้ ๓. สสทธฺ มมฺ คณตุ ตฺ มํ หมายความว่า พร้อมด้วยพระสัทธรรม และคณะพระอริยสงฆ์เจ้าทั้งหลาย ซ่ึงเป็นผู้อุดม แลว้ ๔. อภิวาทิย หมายความวา่ เป็นคาํ นอบนอ้ มแด่พระรตั นตรัย ๕. ภาสสิ ฺสํ หมายความวา่ เปน็ คาํ รับรองว่าจะแต่ง ๖. อภิธมมฺ ตฺถสงคฺ หํ หมายความว่า ตามที่ไดก้ ลา่ วคาํ รบั รองวา่ จะแตง่ นนั้ กไ็ ดแ้ กค่ มั ภรี ์อภธิ ัมมตั ถสังคหะปกรณน์ เ้ี อง ๑. สังขาร เญยยธรรมมี ๕ อยา่ ง คอื ๒. วกิ าร ไดแ้ ก่ จิต ๘๙ เจตสกิ ๕๒ นปิ ผนั นรูป ๑๘ ๓. ลักขณะ ได้แก่ วิการรูป ๓ ๔. นิพพาน ได้แก่ ลกั ขณรปู ๔ ๕. บญั ญตั ิ ได้แก่ สนั ตลิ กั ษณะ ได้แก่ สทั ทบญั ญัติ อัตถบัญญตั .ิ สทั ธรรมมี ๓ อย่าง คือ ๑. ปรยิ ัติสัทธรรม ไดแ้ ก่ พระบาลแี ละอรรถกถา ๒. ปฏิบตั ิสทั ธรรม ได้แก่ การรักษาศลี การถอื ธุดงค์ การเจรญิ สมถกมั มัฏฐาน และวปิ ัสสนากมั มฏั ฐาน ๓. ปฏิเวธสทั ธรรม ไดแ้ ก่ มรรค ผล นิพพาน ฌาน อภญิ ญา. การแสดงธรรมทีเ่ ปน็ ความจรงิ ของพระสมั มาสัมพทุ ธเจ้าน้ันมีอยู่ ๒ ประการ คือ ๑.ทรงแสดงธรรมตามความเป็นจริงของสมมุติโวหาร ชื่อว่า สมมุติสัจจะ ได้แก่ พระสูตร พระวินัย ปุคคล บัญญัติ ๒.ทรงแสดงธรรมตามความเปน็ จรงิ ของสภาวะ ช่ือว่า ปรมตั ถสจั จะ ได้แก่ พระอภธิ รรม ๖ คมั ภรี ์ เวน้ ปคุ คล บญั ญัติ ปรมตั ถสจั จะ มี ๒ อยา่ ง คอื ๑. สภาวสจั จะ ธรรมท่เี ปน็ จรงิ ตามสภาวลักษณะ ไดแ้ ก่ กศุ ลธรรม อกศุ ลธรรมเป็นต้น ที่แสดงไวใ้ นอภธิ รรมปิฎก ๒. อริยสัจจะ ธรรมทเ่ี ป็นความจริงโดยเฉพาะอริยบุคคลทั้งหลาย ได้แก่ อรยิ สัจจะ ๔ มที กุ ขสัจจะ เป็นต้น หน้า 1 จาก 7 By Kanrasi (Liew)

ปรมัตถธรรม หมายความวา่ สภาพของนามรปู ที่เป็นองค์ธรรมอนั ประเสริฐ ไม่มีการผิดแปลกผันแปรแต่ อยา่ งใด และเปน็ ธรรมทเ่ี ปน็ ประธานในอัตถบัญญตั แิ ละนามบญั ญัติ ช่อื ว่า ปรมัตถธรรม ปรมัตถธรรมมี ๔ อยา่ ง คอื จิต เจตสกิ รปู นิพพาน ดงั มีบาลแี สดงว่า ตตถฺ วตุ ฺตาภิธมฺมตถฺ า จตธุ า ปรมตถฺ โต จติ ฺตํ เจตสกิ ํ รูปํ นพิ ฺพานมิติ สพฺพถา ในคําว่า อภิธัมมัตถสังคหะ น้ัน เมื่อว่าโดยปรมัตถธรรมแล้ว ไม่ว่าประการใดๆ ย่อมมีเนื้อความของพระ อภิธรรมอยู่เพยี ง ๔ ประการ คือ จิต เจตสิก รปู นิพพาน จิต แสดงธรรมชาติของจติ เจตสิก รปู นิพพาน โดยสงั เขป ดังน้ี เจตสกิ เป็นธรรมชาติท่ีรอู้ ารมณ์ (อารมฺมณวิชานนลกฺขณ)ํ รูป เป็นธรรมชาติที่อาศยั จติ เกดิ (จิตฺตนสิ ฺสติ ลกขฺ ณ)ํ นิพพาน เป็นธรรมชาติทม่ี ีการผนั แปรเปลย่ี นแปลงสลายไปเพราะวโิ รธิปัจจัย (รุปฺปนลกฺขณ)ํ เปน็ ธรรมชาติท่สี งบจากรปู นามขันธ์ ๕ (สนฺติลกขฺ ณ)ํ จิต หมายความวา่ ธรรมชาติทร่ี ู้อารมณ์ (อารมมฺ ณวชิ านนลกฺขณํ) มวี จนัตถะแสดงว่า อารมฺมณํ จนิ เฺ ตตีติ = จิตฺตํ ธรรมชาตใิ ด ยอ่ มรอู้ ารมณ์ คือ ได้รบั อารมณ์อยเู่ สมอ ฉะนนั้ ธรรมชาติน้นั ชือ่ วา่ จติ และเม่อื สรปุ ธรรมชาติของจิตแลว้ มี ๓ อยา่ ง คอื ๑. มีการรบั อารมณอ์ ยเู่ สมอ ๒. เป็นเหตใุ หเ้ จตสิก ทงั้ หลายรูอ้ ารมณ์ได้คล้ายๆ กับผู้นํา ๓. ทําให้สงิ่ ท่มี ีชวี ติ และไม่มีชวี ิตวิจิตรพิสดาร แสดงบาลีรับรองจิตปรมัตถ์ ๔ ประเภท พร้อมด้วยคําแปลดังนี้ ตตฺถ จิตฺตํ ตาว จตุพฺพิธํ โหติ กามาวจรํ รูปาวจรํ อรูปาวจรํ โลกุตฺตรญฺเจติ ในปรมัตถธรรมทั้ง ๔ นั้น จิตปรมัตถ์ ที่แสดงไว้เป็นอันดับแรกใน อารัมภบทน้ัน มี ๔ ประเภท คือ กามาวจรจติ รปู าวจรจิต อรปู าวจรจิต โลกุตตรจติ จาํ นวนจติ โดยย่อ ๘๙ โดยพิสดาร ๑๒๑ นนั้ ผดิ กันท่โี ลกุตตรจิต คอื ในจติ โดยยอ่ นั้นโลกตุ ตรจติ มี ๘ ใน จิตโดยพิสดารนั้น โลกตุ ตรจิตมี ๔๐ และฌานจติ ทีม่ อี งค์ฌาน ๒ นั้น มจี ํานวน ๓๔ ดวง คอื จตุตถฌานจติ ๑๑ ปัญจมฌานจติ ๒๓ ใน กามจติ รูปจิต อรปู จิต มที ั้งกุศล วิบาก กรยิ า แตใ่ นโลกตุ ตรจิต มแี ต่กุศล วบิ าก ไมม่ กี รยิ าน้ัน เพราะ เก่ยี วเน่อื งดว้ ยกุศล คอื กามาวจรกศุ ล รปู าวจรกศุ ล อรปู าวจรกศุ ล ทง้ั ๓ น้ี ยอ่ มเกิดขึน้ ไดห้ ลายครง้ั ในบุคคล เดียวกนั สว่ นในโลกุตตรกศุ ลนั้น ในบุคคลหนึง่ ๆ ย่อมเกดิ ข้นึ ได้เพียงครัง้ เดียวเท่านน้ั แล้วก็ไมม่ ีการเกดิ อีกตอ่ ไป ด้วยเหตนุ ้ี กามาวจรกศุ ลและรูปาวจรกศุ ล อรปู าวจรกุศล ท้งั ๓ นี้ เมื่อเกดิ ขนึ้ ในสันดานของปุถุชนและผลเสกข บคุ คล ๓ นน้ั เรยี กวา่ กศุ ล แต่ถา้ เกิดในสนั ดานของพระอรหันต์ แล้วเรียกวา่ กริ ยิ า สําหรบั โลกุตตรกุศลนน้ั มไิ ด้กลบั เกดิ ข้นึ อกี ในสนั ดานของพระอรหันต์ ฉะน้นั ในโลกุตตรจติ จงึ ไมม่ กี รยิ า. สหคตํ มี ๕ อย่าง คอื ๑. สขุ สหคตํ จิตทพี่ ร้อมดว้ ยสุขเวทนา คือ สขุ กาย ๒. ทกุ ฺขสหคตํ จิตทีพ่ ร้อมด้วยทกุ ขเวทนา คือ ทุกข์กาย ๓. โสมนสสฺ สหคตํ จิตท่พี ร้อมดว้ ยโสมนสั เวทนา คอื ความดีใจ ๔. โทมนสสฺ สหคตํ จิตทพ่ี ร้อมดว้ ยโทมนัสเวทนา คือ ความเสยี ใจ ๕. อุเปกขฺ าสหคตํ จิตท่ีพรอ้ มด้วยอุเปกขาเวทนา คือ ความเฉยๆ หน้า 2 จาก 7 By Kanrasi (Liew)

วญิ ญฺ าณํ มี ๕ อย่าง คอื ๑. จกฺขุวญิ ญฺ าณํ จิตท่อี าศัยจกั ขวุ ตั ถุ เหน็ รูปารมณ์ ทด่ี ี และไมด่ ี ๒. โสตวญิ ญฺ าณํ จติ ท่ีอาศัยโสตวตั ถุ ไดย้ ินเสียง ท่ีดี และไม่ดี ๓. ฆานวิญญฺ าณํ จิตท่อี าศยั ฆานวตั ถุ รกู้ ลิน่ ที่ดี และไมด่ ี ๔. ชิวหาวญิ ญฺ าณํ จิตทอ่ี าศัยชวิ หาวตั ถุ ร้รู ส ทีด่ ี และไม่ดี ๕. กายวญิ ญฺ าณํ จติ ท่อี าศัยกายวตั ถุ ร้สู กึ โผฏฐพั พารมณ์ (ความเย็นรอ้ น ออ่ นแข็ง หยอ่ นตงึ ) ทีด่ ี และไม่ดี ๑. ทิฏฐฺ คิ ตสมปฺ ยตุ ตฺ ํ สมฺปยุตฺตํ มี ๕ อย่าง คอื คือ ความเห็นผดิ ๒. ปฏิฆสมฺปยตุ ตฺ ํ จิตทป่ี ระกอบดว้ ยทฏิ ฐิ คอื ความโกรธ ๓. วิจิกจิ ฉฺ าสมปฺ ยตุ ตฺ ํ จติ ที่ประกอบด้วยโทสะ คอื ความสงสัย ๔. อุทธฺ จจฺ สมปฺ ยตุ ตฺ ํ จิตทป่ี ระกอบดว้ ยวิจกิ ิจฉา คือ ความฟงุ้ ซา่ น ๕. ญาณสมฺปยุตฺตํ จิตที่ประกอบดว้ ยอทุ ธจั จะ คอื ความรู้ จิตทีป่ ระกอบด้วยปัญญา จิตท่ไี ม่มีคําว่า ญาณสมฺปยตุ ฺตํ แตน่ บั เข้าในญาณสมั ปยตุ ต์ไดน้ ั้น มจี าํ นวน ๖๗ ดวง คอื มหคั คตจติ ๒๗ โลก กตุ ตร จติ ๔๐ จิตทไ่ี ม่มคี าํ วา่ ปัญจมฌาน แต่นบั สงเคราะห์เขา้ ในปัญจมฌานได้น้ัน มี ๑๒ ดวง คือ อรูปาวจร จิต ๑๒ อกศุ ลจติ หมายความวา่ จติ ที่มโี ทษและให้ผลตรงกันข้ามกบั กศุ ลจติ และเปน็ จติ ที่ประกอบกบั อกศุ ล เจตสกิ มี ๓ ประเภท คอื ๑. โลภมลู จิต ๒. โทสมลู จติ ๓. โมหมลู จติ แสดงคาถา (บาล)ี อกุศลจติ ๑๒ พรอ้ มคาํ แปล อฏฺฐธา โลภมลู านิ โทสมลู านิ จ ทวฺ ิธา โมหมลู านิ จ เทฺวติ ทวฺ าทสากุสลา สยิ ํุ โลภมลู จิต ๘ โทสมูลจิต ๒ โมหมลู จติ ๒ รวมจติ ๑๒ ดวงน้ี เปน็ อกศุ ลจติ โลภมูลจิต หมายความว่า จิตทเี่ กดิ ขึน้ โดยมีโลภเจตสกิ เปน็ มูลเป็นประธาน โทสมลู จิต หมายความว่า จิตทเ่ี กิดขึ้นโดยมีโทสเจตสกิ เปน็ มลู เป็นประธาน โมหมลู จิต หมายความว่า จิตทเ่ี กิดขึน้ โดยมีโมหเจตสกิ เป็นมูลเป็นประธาน อกศุ ลจติ หมายความว่า จิตทม่ี โี ทษและใหผ้ ลตรงกันข้ามกับกุศลจิต หรอื เปน็ จิตทป่ี ระกอบกับอกุศลเจตสกิ อกศุ ลวปิ ากจิต หมายความวา่ วิบากท่ีเกิดจากอกุศลกรรม ๑๒ มี การเหน็ การไดย้ ิน การได้กล่นิ ทไ่ี ม่ดี เปน็ ต้น อเหตุกกศุ ลวปิ ากจิต หมายความวา่ วบิ ากทเ่ี กิดจากมหากศุ ลกรรม ๘ มี การเหน็ การได้ยิน การไดก้ ลิ่นทด่ี ี เปน็ ต้น อเหตกุ กริยาจติ หมายความวา่ จิตที่เกดิ โดยลําพัง ไมไ่ ด้อาศัยกรรมแต่อย่างใด และไมเ่ ป็นบญุ เปน็ บาป แตเ่ ปน็ อเหตุกะ อเหตุกจติ หมายความว่า จติ ทไ่ี ม่มเี หตุ ๖ ประกอบ สเหตกุ จิต หมายความวา่ จิตทปี่ ระกอบดว้ ยเหตุ อโสภณจติ หมายความว่า จิตทนี่ อกจากโสภณจติ ท่เี ป็นจติ สวยงาม หรือเปน็ จิตทไี่ มไ่ ด้เกดิ พรอ้ มกนั กบั โสภณ เจตสิก หน้า 3 จาก 7 By Kanrasi (Liew)

มหากุศลจิต หมายความวา่ จติ ทไ่ี มม่ ีโทษ และให้ผลเป็นความสขุ และสามารถให้ผลเกิดขน้ึ มากกวา่ ตน ท้งั เปน็ เบื้องตน้ ของฌานอภญิ ญา มรรคผล มหาวิปากจติ หมายความว่า จติ ทเ่ี ปน็ ผลของมหากศุ ล เพราะเมื่อวา่ โดยเวทนา สมั ปโยค สังขารแลว้ กเ็ หมอื นกันกับมหากุศลทุกประการ มหากริยาจติ หมายความว่า จิตทีช่ ่อื วา่ มหากศุ ลน้นั แหละ แตเ่ กดิ ขึ้นในสันดานของพระ อรหนั ต์ กามาวจรจิต หมายความวา่ จติ ที่ทอ่ งเทีย่ วเกิดอยู่ในภูมิอันเปน็ ที่เกิดแหง่ วัตถกุ าม และกเิ ลสกามเปน็ ส่วนมาก มหคั คตจิต หมายความว่า จติ ทเี่ ข้าถงึ ความเป็นใหญ่และประเสริฐ รปู าวจรจิต หมายความว่า จิตทง้ั ๑๕ ดวงนี้ ท่องเทย่ี วเกดิ อยู่ในภมู ิอนั เปน็ ทเ่ี กดิ แหง่ วัตถรุ ปู และกิเลสรปู เปน็ ส่วนมาก อรูปาวจรจติ หมายความว่า จิตทั้ง ๑๒ ดวงน้ี ท่องเที่ยวเกิดอยู่ในภูมิอันเป็นท่ีเกิดแห่งอรูป และกเิ ลสอรูปเปน็ ส่วนมาก ฌานจิต หมายความว่า จติ ท่ปี ระกอบกับองคฌ์ าน ๕ มวี ติ ก เปน็ ต้น โลกียจติ หมายความวา่ จติ เหลา่ นีย้ ่อมเกิดอยู่ในโลกท้ัง ๓ คือ กามโลก รูปโลก อรปู โลก โลกุตตรจิต หมายความวา่ จติ เหล่าน้ีพ้นจากโลกทั้ง ๓ คอื กามโลก รูปโลก อรปู โลก อกุศลสสงั ขารกิ จิต ๕ ดวง ๑.โสมนสสฺ สหคตํ ทิฎฐฺ ิคตสมปฺ ยุตฺตํ สสงขฺ ารกิ ํ จิตทีเ่ กิดข้ึนโดยมกี ารชกั ชวน พรอ้ มดว้ ยความดใี จ ประกอบ ด้วยความเห็นผดิ ๒.โสมนสสฺ สหคตํ ทฎิ ฐฺ ิคตวปิ ฺปยตุ ตฺ ํ สสงขฺ าริกํ จิตท่เี กดิ ขึ้นโดยมกี ารชกั ชวน พร้อมดว้ ยความดใี จไมป่ ระกอบ ดว้ ยความเห็นผดิ ๓.อเุ ปกฺขาสหคตํ ทฎิ ฐฺ คิ ตสมปฺ ยตุ ตฺ ํ สสงฺขาริกํ จิตท่ีเกดิ ขนึ้ โดยมกี ารชักชวน พรอ้ มดว้ ยความเฉย ๆ ประกอบ ด้วยความเห็นผดิ ๔.อเุ ปกฺขาสหคตํ ทิฎฺฐิคตวิปปฺ ยุตตฺ ํ สสงฺขารกิ ํ จติ ที่เกิดขน้ึ โดยมีการชักชวน พร้อมด้วยความเฉยๆไมป่ ระกอบ ดว้ ยความเห็นผดิ ๕.โทมนสสฺ สหคตํ ปฎฆิ สมปฺ ยุตตฺ ํ สสงฺขารกิ ํ จติ ทีเ่ กดิ ขึ้นโดยมกี ารชักชวน พร้อมดว้ ยความเสยี ใจ ประกอบดว้ ยความโกรธ โมหมลู จิต ๒ คอื ๑. อุเปกขฺ าสหคตํ วจิ ิกจิ ฺฉาสมปฺ ยตุ ตฺ ํ จติ ที่เกดิ ขึ้นพร้อมด้วยความเฉย ๆ ประกอบดว้ ยความสงสัย ๒. อุเปกขฺ าสหคตํ อุทธฺ จฺจสมปฺ ยตุ ฺตํ จติ ท่ีเกิดขึ้นพรอ้ มดว้ ยความเฉย ๆ ประกอบด้วยความฟุง้ ซา่ น อเหตกุ กรยิ าจติ ๓ คือ ๑. อุเปกฺขาสหคตํ ปญฺจทฺวาราวชฺชนจิตฺตํ จิตที่พิจารณาอารมณ์ทางปัญจทวารท่ีดีและไม่ดี เกิดข้ึนพร้อมด้วยความ เฉยๆ ๒. อุเปกฺขาสหคตํ มโนทฺวาราวชฺชนจิตฺตํ จิตท่ีพิจารณาอารมณ์ทางมโนทวารที่ดีและไม่ดี เกิดขึ้นพร้อมด้วยความ เฉยๆ ๓. โสมนสฺสสหคตํ หสิตุปปฺ าทจติ ฺตํ จติ ทท่ี าํ ใหเ้ กดิ การยม้ิ ของพระอรหันต์ เกดิ ขนึ้ พรอ้ มดว้ ยความดีใจ หนา้ 4 จาก 7 By Kanrasi (Liew)



























มหากุศลจิต หมายความวา่ จติ ทไ่ี มม่ ีโทษ และให้ผลเป็นความสขุ และสามารถให้ผลเกิดขน้ึ มากกวา่ ตน ท้งั เปน็ เบื้องตน้ ของฌานอภญิ ญา มรรคผล มหาวิปากจติ หมายความว่า จติ ทเ่ี ปน็ ผลของมหากศุ ล เพราะเมื่อวา่ โดยเวทนา สมั ปโยค สังขารแลว้ กเ็ หมอื นกันกับมหากุศลทุกประการ มหากริยาจติ หมายความว่า จิตทีช่ ่อื วา่ มหากศุ ลน้นั แหละ แตเ่ กดิ ขึ้นในสันดานของพระ อรหนั ต์ กามาวจรจิต หมายความวา่ จติ ที่ทอ่ งเทีย่ วเกิดอยู่ในภูมิอันเปน็ ที่เกิดแหง่ วัตถกุ าม และกเิ ลสกามเปน็ ส่วนมาก มหคั คตจิต หมายความว่า จติ ทเี่ ข้าถงึ ความเป็นใหญ่และประเสริฐ รปู าวจรจิต หมายความว่า จิตทง้ั ๑๕ ดวงนี้ ท่องเทย่ี วเกดิ อยู่ในภมู ิอนั เปน็ ทเ่ี กดิ แหง่ วัตถรุ ปู และกิเลสรปู เปน็ ส่วนมาก อรูปาวจรจติ หมายความว่า จิตทั้ง ๑๒ ดวงน้ี ท่องเที่ยวเกิดอยู่ในภูมิอันเป็นท่ีเกิดแห่งอรูป และกเิ ลสอรูปเปน็ ส่วนมาก ฌานจิต หมายความว่า จติ ท่ปี ระกอบกับองคฌ์ าน ๕ มวี ติ ก เปน็ ต้น โลกียจติ หมายความวา่ จติ เหลา่ นีย้ ่อมเกิดอยู่ในโลกท้ัง ๓ คือ กามโลก รูปโลก อรปู โลก โลกุตตรจิต หมายความวา่ จติ เหล่าน้ีพ้นจากโลกทั้ง ๓ คอื กามโลก รูปโลก อรปู โลก อกุศลสสงั ขารกิ จิต ๕ ดวง ๑.โสมนสสฺ สหคตํ ทิฎฐฺ ิคตสมปฺ ยุตฺตํ สสงขฺ ารกิ ํ จิตทีเ่ กิดข้ึนโดยมกี ารชกั ชวน พรอ้ มดว้ ยความดใี จ ประกอบ ด้วยความเห็นผดิ ๒.โสมนสสฺ สหคตํ ทฎิ ฐฺ ิคตวปิ ฺปยตุ ตฺ ํ สสงขฺ าริกํ จิตท่เี กดิ ขึ้นโดยมกี ารชกั ชวน พร้อมดว้ ยความดใี จไมป่ ระกอบ ดว้ ยความเห็นผดิ ๓.อเุ ปกฺขาสหคตํ ทฎิ ฐฺ คิ ตสมปฺ ยตุ ตฺ ํ สสงฺขาริกํ จิตท่ีเกดิ ขนึ้ โดยมกี ารชักชวน พรอ้ มดว้ ยความเฉย ๆ ประกอบ ด้วยความเห็นผดิ ๔.อเุ ปกฺขาสหคตํ ทิฎฺฐิคตวิปปฺ ยุตตฺ ํ สสงฺขารกิ ํ จติ ที่เกิดขน้ึ โดยมีการชักชวน พร้อมด้วยความเฉยๆไมป่ ระกอบ ดว้ ยความเห็นผดิ ๕.โทมนสสฺ สหคตํ ปฎฆิ สมปฺ ยุตตฺ ํ สสงฺขารกิ ํ จติ ทีเ่ กดิ ขึ้นโดยมกี ารชักชวน พร้อมดว้ ยความเสยี ใจ ประกอบดว้ ยความโกรธ โมหมลู จิต ๒ คอื ๑. อุเปกขฺ าสหคตํ วจิ ิกจิ ฺฉาสมปฺ ยตุ ตฺ ํ จติ ที่เกดิ ขึ้นพร้อมด้วยความเฉย ๆ ประกอบดว้ ยความสงสัย ๒. อุเปกขฺ าสหคตํ อุทธฺ จฺจสมปฺ ยตุ ฺตํ จติ ท่ีเกิดขึ้นพรอ้ มดว้ ยความเฉย ๆ ประกอบด้วยความฟุง้ ซา่ น อเหตกุ กรยิ าจติ ๓ คือ ๑. อุเปกฺขาสหคตํ ปญฺจทฺวาราวชฺชนจิตฺตํ จิตที่พิจารณาอารมณ์ทางปัญจทวารท่ีดีและไม่ดี เกิดข้ึนพร้อมด้วยความ เฉยๆ ๒. อุเปกฺขาสหคตํ มโนทฺวาราวชฺชนจิตฺตํ จิตท่ีพิจารณาอารมณ์ทางมโนทวารที่ดีและไม่ดี เกิดขึ้นพร้อมด้วยความ เฉยๆ ๓. โสมนสฺสสหคตํ หสิตุปปฺ าทจติ ฺตํ จติ ทท่ี าํ ใหเ้ กดิ การยม้ิ ของพระอรหันต์ เกดิ ขนึ้ พรอ้ มดว้ ยความดีใจ หนา้ 4 จาก 7 By Kanrasi (Liew)






















Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook