30100-0101 กลศาสตร์วิศวกรรม แรงคู่ควบ 2 มิติ โดย: ครูอำนาจ เสมอวงศ์ แผนกวิชาช่างกลโรงงาน วิทยาลัยเทคนิคชุมพร
แผนการจดั การเรยี นรมู ุง เนน สมรรถนะ หนวยที่ 5 ช่ือหนวย การคำนวณแรงคูควบ 2 มติ ิ สอนครงั้ ที่ 5 ชัว่ โมงรวม 3 ชัว่ โมง จำนวน 3 ช่ัวโมง 1. สาระสำคญั แรงคคู วบคือ แรงท่ีมีขนาดเทา กนั กระทำกันอยูในระนาบเดียวกนั มีทศิ ทางขนานกนั แตต รงขา มกันและ ไมอ ยูในแนวเสน ตรงเดยี วกัน 2. สมรรถนะประจำหนวย 2.1 แสดงความรูเกย่ี วกับลักษณะและหลกั การคำนวณแรงคูควบ 2 มติ ิ 2.2 คำนวณหาคาแรงคคู วบ 2 มิติ 2.3 แสดงพฤติกรรมลักษณะนสิ ยั ความมีวนิ ัย ความรบั ผิดชอบ ตรงตอเวลาและมีจิตอาสา 3. จุดประสงคการเรียนรู 3.1 ดา นความรู 3.1.1 บอกลกั ษณะของแรงคคู วบ 2 มิติไดถ ูกตอง 3.1.2 อธบิ ายหลกั การคำนวณของแรงคคู วบ 2 มิติ ไดถกู ตอง 3.2 ดานทกั ษะ 3.2.1 คำนวณหาคา แรงคูควบ 2 มติ ิ2 มิติ ไดถูกตอง 3.3 ดา นคุณลกั ษณะที่พึงประสงค 3.3.1 ตระหนกั ถงึ ความมีวนิ ัย ความรบั ผดิ ชอบ ตรงตอ เวลาและมีจติ อาสา 4. เน้ือหาสาระการเรียนรู การคำนวณแรงคูควบ 2 มติ ิ 4.1 ลักษณะของแรงคคู วบ 2 มิติ 4.2 หลักการคำนวณของแรงคคู วบ 2 มิติ (รายละเอียดอยูในใบความรู ภาคผนวก)
แผนการจัดการเรยี นรมู ุง เนนสมรรถนะ หนวยท่ี 5 ชอ่ื หนวย การคำนวณแรงคูควบ 2 มติ ิ สอนครั้งที่ 5 ช่ัวโมงรวม 3 ช่วั โมง จำนวน 3 ช่ัวโมง 5. กจิ กรรมการเรียนรู ขนั้ นำเขาสูบทเรยี น 1. ครตู รวจการแตงกายของนักศึกษาวา มีความเรยี บรอ ยถูกตองตามระเบียบหรือไม 2. ครูยกตัวอยา งของแรงคคู วบ 2 มิตทิ ีก่ ระทำกับชน้ิ สวนเครื่องจกั รกล 3. ผเู รียนทำแบบทดสอบกอนเรียน โดยใชแบบทดสอบกอนเรียน การเรียนรู 4. ครูอธิบายเรื่อง ลักษณะและหลกั การคำนวณของแรงคูควบ 2 มติ ิ โดยใชส่ือ Power Point ครูคอยใหค ำแนะนำปรึกษา 5. ครูผูสอนใหน ักเรียน ศึกษาจากใบความรูเรื่อง ลกั ษณะและหลักการคำนวณของแรงคูควบ 2 มติ ิ 6. ครบู อกจุดสังเกต “สาระนา รู” ในใบความรูทเ่ี ปนเกรด็ ความรูเพิ่มเติมในแตละเร่ือง 7. ครถู ามเกีย่ วกับ “ปญหานาคิด” แลวใหน กั ศึกษาชว ยกันตอบ การสรุป 8. ครเู ปด โอกาสใหน ักศึกษาสอบถามขอมูลเพมิ่ เติม 9. ครสู รปุ เนื้อหาท้ังหมดรว มกับนักเรียนโดยใชเหตผุ ลจากความรทู ี่เรยี นในเรือ่ งลกั ษณะและ หลกั การคำนวณของแรงคูควบ 2 มติ ิ 10. ใหน ักศึกษาทำแบบฝกหดั และเฉลยแบบฝกหัด การวดั ผลและประเมนิ ผล 11. ใหน ักเรยี นทำแบบทดสอบหลังเรียนเร่อื ง ลกั ษณะและหลักการคำนวณของแรงคคู วบ 2 มติ ิ 12. ครูตรวจและเกบ็ คะแนนแบบทดสอบเรอ่ื ง ลักษณะและหลักการคำนวณของแรงคคู วบ 2 มิติ 13. ครูทบทวนความรแู กไขสวนท่ผี ดิ ในการทำแบบทดสอบ 14. ครเู นนยำ้ ใหผูเรียนตระหนกั ถึงปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งในสว นของความมวี ินยั ความ รบั ผดิ ชอบ ตรงตอเวลาและมีจติ อาสา ในเร่อื งลักษณะและหลักการคำนวณของแรงคูควบ 2 มิติ 6. สื่อการเรยี นรู/ แหลงการเรียนรู 6.1 สื่อสิ่งพิมพ เอกสารประกอบการจัดการเรยี นรูเร่ือง การคำนวณระบบแรงคคู วบ 2 มติ ิ 6.2 สื่อโสตทัศน(ถามี) สือ่ power point เรื่องการคำนวณระบบแรงคคู วบ 2 มติ ิ 6.3 หุนจำลองหรือของจริง(ถามี) - 6.4 อื่นๆ(ถา มี)
แผนการจัดการเรยี นรูม งุ เนน สมรรถนะ หนว ยท่ี 5 ชอ่ื หนวย การคำนวณระบบแรงคคู วบ 2 มติ ิ สอนครั้งที่ 5 ชว่ั โมงรวม 3 ช่วั โมง จำนวน 3 ชั่วโมง 7.เอกสารประกอบการเรียนรู (ใบความรู ใบงาน ใบมอบหมายงาน) - ใบเนื้อหาเรอ่ื งการคำนวณระบบแรงคูควบ 2 มิติ - แบบทดสอบกอนเรียนเร่ืองการคำนวณระบบแรงคูควบ 2 มิติ - แบบทดสอบหลงั เรยี นเรื่องการคำนวณระบบแรง 2 มิติ 8.การบรู ณาการ/ความสมั พันธกบั วชิ าอืน่ บรู ณาการกบั หลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี งเกี่ยวกับ - นักเรียนมเี หตุผลในการจำแนกลักษณะและหลักการคำนวณของระบบแรงคูควบ 2 มติ ิ - นักเรยี นมีความพอประมาณในการการคำนวณระบบแรงคคู วบ 2 มิติ - นักเรียนมีภมู คิ ุม กันเกีย่ วกับการมีวินัย ความรบั ผดิ ชอบ ตรงตอเวลาและมจี ิตอาสา 9.การวัดและประเมินผล 9.1กอนเรยี น - แบบทดสอบกอนเรยี น จำนวน 2 ขอ 9.2ขณะเรียน - แบบฝก หัดเร่ืองลกั ษณะและหลกั การคำนวณของระบบแรงคคู วบ 2 มิติ 9.3หลงั เรยี น - แบบทดสอบหลังเรยี น จำนวน 2 ขอ 9.4การประเมนิ ผล - เกณฑก ารใหคะแนน คะแนน คณุ ธรรมจรยิ ธรรม 20 คะแนน คะแนน ความรู(แบบฝกหดั ) 10 คะแนน คะแนน ความร(ู แบบทดสอบ) 10 คะแนน
บันทึกหลังสอน สปั ดาหที่ ……. ชื่อวิชา …………………………………………………………..รหสั วชิ า ……………………………………………………………… แผนกวชิ า ……………………………………………………… วันท่ีสอน …………………………………. หนว ยที่ ………… รายการสอน ………………………………………………….. ภาคเรยี นที่………………..ปการศกึ ษา………………….. จำนวนผเู รียน ชัน้ ………………กลุม…………………จำนวน……………คน เขา เรียน…………คน ขาดเรยี น ……. คน 1.เนื้อหาทส่ี อน (สาระสำคัญ) ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… 2.ผลการสอน ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… 3.ปญหา อปุ สรรค ทีเ่ กดิ ขึ้นในระหวา งการเรยี นการสอน ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… 4.แนวทางการแกป ญ หาของครูผสู อน(แนวทางการทำวจิ ัย) ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ลงช่ือ………………………………………………ผูสอน (…………………………………………….) …………../……………/…………… ลงช่อื ……………………………………………หวั หนา แผนก ลงชอ่ื ……………………………หัวหนา งานหลกั สูตรฯ (……………………………………) (……………………………………..) …………../……………/…………… …………../……………/…………… ลงช่ือ………………………………………………รองผอู ำนวยการฝา ยวชิ าการ (………………………………………….) …………../……………/……………..
ใบแบบทดสอบกอ นเรยี น/หลังเรยี น หนวยการเรยี นที่ 4 เรอ่ื ง การคำนวณแรงคูควบ 2 มติ ิ 1. จากรปู แรงเสียดทาน F = 2.4 kN กระทำตอลอหลังของรถยนตท ่ีกำลังเรง แรงปดทเี่ พลามคี า เทากับ แรงคคู วบ M ถาแรง F มีขนาดคงเดมิ กระทำผา นจุดทอ่ี ยเู หนือจดุ ศูนยกลางของลอ 12 mm จงหาแรงคู ควบ M 2. แทนแรงคูควบ 60 N.m ตามรูปดว ยแรงเพียงแรงเดยี ว คอื F ท่จี ุด D จงหาตำแหนง ของจุด D โดยการหาระยะ b
ใบแบบฝก หัด หนว ยการเรยี นที่ 4 เร่ือง การคำนวณแรงคคู วบ 2 มติ ิ 1. จากรูป ล่มิ ถูกกระทำดว ยแรง 200 N ระยะหางระหวา งลม่ิ ทั้งสองจากจุดท่ีแรงกระทำ เทา กบั 50 mm จงคำนวณหาโมเมนตของแรงคูควบของแรง F Td F 2. แรง 400 N กระทำที่ปลายของคบั บงั คับซึ่งยึดตดิ กับแกน OB ในการหาผลจงหาขนาดและทศิ ทาง ของโมเมนตของแรงที่กระทำน้ี
วชิ า กลศาสตรวิศวกรรม หนวยที่ 5 ชอื่ หนวย การคำนวณแรงคูควบ 2 มิติ สอนครั้งท่ี 5 ช่ัวโมงรวม 3 ชัว่ โมง แรงคูค วบ (ระบบ 2 มิต)ิ โมเมนตท เี่ กิดจากแรงสองแรงทม่ี ีขนาดเทากัน และทิศทางตรงกนั ขา มแตไมอยใู นเสนตรงเดียวกัน เรียกวา แรงคคู วบ ตามรูป แสดงแรงสองแรงมขี นาดเทากันและทิศทางตรงกันขาม คือ F และ -F และอยูหา งกนั d โมเมนตข องแรงทั้งสองรอบแกนใด ๆ ทต่ี ้งั ฉากกบั ระนาบ (เชน แกนที่ผา นจดุ O) คือ แรงคคู วบ M และมี ขนาดดังน้ี M = F (a+d) – Fa M = Fd แรงคคู วบ M เปนเวกเตอรอิสระ ตามรปู ทิศทางของ M ตัง้ ฉากกบั ระนาบของแรงทั้งสองโดยใชก ฎมือ ขวา แรงคคู วบอาจแสดงไดด วยสัญลักษณตามรปู ซ่งึ อาจมที ิศทางทวนเข็มหรอื ตามเข็มนาิกากไ็ ด ขนาด ของแรงคูค วบจะไมเ ปลี่ยนแปลงถา ผลคณู ระหวา ง F และ d คงท่ี ดงั รปู แสดงลกั ษณะตา ง ๆ ท่ใี หขนาด ของแรงคคู วบเทา กนั
วชิ า กลศาสตรวิศวกรรม หนว ยท่ี 5 ช่ือหนวย การคำนวณแรงคูควบ 2 มติ ิ สอนครั้งที่ 5 ชวั่ โมงรวม 3 ชวั่ โมง การยายตำแหนงของแรงกระทำจากจดุ หนง่ึ ไปยังอีกจุดหน่ึง โดยที่แรงมีขนาดและทิศทางคงเดิม จะตอ งเพิ่มแรงคูควบ M เขา ไปดว ย เชน ตามรปู ยายแรง F จากจดุ A ไปยงั จุด B จะตองเพมิ่ แรงคูควบ M เขาไปซึ่งมีคาเทากับ Fd
ใบแบบทดสอบกอ นเรยี น/หลังเรยี น หนวยการเรยี นที่ 4 เรอ่ื ง การคำนวณแรงคูควบ 2 มติ ิ 1. จากรปู แรงเสียดทาน F = 2.4 kN กระทำตอลอหลังของรถยนตท ่ีกำลังเรง แรงปดทเี่ พลามคี า เทากับ แรงคคู วบ M ถาแรง F มีขนาดคงเดมิ กระทำผา นจุดทอ่ี ยเู หนือจดุ ศูนยกลางของลอ 12 mm จงหาแรงคู ควบ M 2. แทนแรงคูควบ 60 N.m ตามรูปดว ยแรงเพียงแรงเดยี ว คอื F ท่จี ุด D จงหาตำแหนง ของจุด D โดยการหาระยะ b
ใบแบบฝก หัด หนว ยการเรยี นที่ 4 เร่ือง การคำนวณแรงคคู วบ 2 มติ ิ 1. จากรูป ล่มิ ถูกกระทำดว ยแรง 200 N ระยะหางระหวา งลม่ิ ทั้งสองจากจุดท่ีแรงกระทำ เทา กบั 50 mm จงคำนวณหาโมเมนตของแรงคูควบของแรง F Td F 2. แรง 400 N กระทำที่ปลายของคบั บงั คับซึ่งยึดตดิ กับแกน OB ในการหาผลจงหาขนาดและทศิ ทาง ของโมเมนตของแรงที่กระทำน้ี
แรงคู่ควบ ( ถ้ามแี รงสองแรง F1 และ ทางตรงข้าม และกระทาํ ใ โมเมนต์ เราเรียกแรงนีว้ ่า
(Couple Force) F2 มขี นาดเท่ากนั แต่มที ศิ ในแนวขนานกนั จะก่อให้เกดิ า แรงคู่ควบ
โมเมนต์ของแรงคู่คว โมเมนต์ของแรงคู่ควบมคี ่าเท่าก ระหว่างแรงท้งั สองทข่ี นานกนั ด M = F1 * D เม่ือ M คือ โมเมนต์แรงคู่ควบ หน่วย F คือ แรงทก่ี ระทาํ หน่วยเป็ น r คือ ระยะห่างของแรงท้งั สอง
วบ (Couple Force) กบั แรงคูณกบั ระยะทาง ดงั น้ัน ยเป็ น N•m N งหน่วยเป็ น m
การประยกุ ตใ์ ชง้ าน: โมเม
มนตข์ องแรงคคู่ วบ (couple) อะไรเป็ นผลท่ีเกิดข้ึนเนื่องจากแรง ขนาด F สองแรงท่ีกระทาํ อยบู่ นวง ลอ้ ท่ีใชเ้ ปิ ด/ปิ ด valve น้าํ ? A. เปิ ด valve B. ปิ ด valve
ทฤษฎขี อง 1. ผลบวกตามพชี คณติ ของโม วตั ถุ ซ่ึงทาํ ให้เกดิ แรงคู่ควบคู่ห เดยี วกนั ย่อมเป็ นจาํ นวนค่าคง แรงคู่ควบน้ัน
งแรงคู่ควบ มเมนต์ของแรง 2 แรงทก่ี ระทาํ ต่อ หนึ่งรอบจดุ ใด ๆ ในระนาบ งที่ และจะมคี ่าเท่ากบั โมเมนต์ของ
ทฤษฎขี อง 2. แรงคู่ควบ 2 คู่ หรือมากกว่า มากร ระนาบเดยี วกนั ส่งผลให้มีโมเมนต์ร ตามเขม็ วตั ถุจะไม่หมุน จะทาํ ให้ผล 3. แรงคู่ควบหลายคู่มากระทาํ ร่วมก เดยี วกนั จะสามารถแทนได้โดยแรง ผลบวกของโมเมนต์ของแรงคู่ควบเ
งแรงคู่ควบ ระทาํ รวมกนั บนวตั ถุชิ้นหนึ่งใน รวมหมุนทวนเขม็ นาฬิกา เท่ากบั ลของโมเมนต์ของแรงคู่ควบเป็ น 0 กนั บนวตั ถุชิ้นหนึ่ง ในระนาบ งคู่ควบคู่หน่ึง ซึ่งมโี มเมนต์เท่ากบั เหล่าน้ัน
30100-0101 กลศาสตร์วิศวกรรม แผนกวิชาช่างกลโรงงาน วิทยาลัยเทคนิคชุมพร
Search
Read the Text Version
- 1 - 22
Pages: