สถาบันการเงนิ 1.ความหมายของสถาบันการเงนิ สถาบันการเงิน หมายถึง สถาบนั ทที่ าธุรกจิ ในรูปของการกยู้ มื และใหก้ ู้ยืม หรอื เปน็ สถาบนั ท่ที าหนา้ ที่เปน็ ตัวกลางระหวา่ งผ้ใู หก้ ู้และผขู้ อกู้ โดยอาศัยเครอ่ื งมือหรอื ตราสารทางการเงนิ และรบั ภาระการเส่ยี งจากการให้กู้ยมื แทน ส่วนรายไดจ้ ากสถาบนั การเงินมาจากความแตกต่างระหวา่ งอัตราดอกเบย้ี ท่ไี ดร้ บั จากผขู้ อกู้ และอตั ราดอกเบย้ี ซึ่งต้องจ่ายใหแ้ ก่ผใู้ หก้ ู้ นอกจากเป็นองค์กรท่ีทาทางด้านการเงนิ โดยสว่ นใหญ่จะทาหน้าท่ีเป็นตวั กลางการระดมเงินออมจากกล่มุ หนึ่ง แลว้ มาปลอ่ ยกใู้ ห้แก่คนอกี กลุ่มหนึง่ เพื่อการบริโภค การลงทุน หรือประกอบการธรุ กจิ และอตุ สาหกรรมตา่ งสถาบนั การเงินเหล่าน้มี หี ลายประเภท ท้งั ทเี่ ปน็ สถาบนั การเงนิ ประเภทธนาคารและสถาบนั การเงินทไ่ี มใ่ ชธ่ นาคาร 2.ความสาคัญของสถาบนั การเงิน สถาบันการเงนิ มีบทบาทและความสาคญั ต่อการพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศ เน่ืองจากเงินทุนเปน็ ปจั จยั สาคัญ ทางเศรษฐกจิ แต่มจี ากดั สถาบันการเงนิ จงึ ต้องจดั สรรเงนิ ทุนเหล่าน้นั ใหเ้ พียงพอกบั ความต้องการของหนว่ ยธรุ กิจ และประชาชน สรุปความสาคัญของสถาบนั การเงนิ ได้ ดงั นี้ เป็นตัวกลาง หมายถงึ เปน็ ตัวกลางระหว่างผู้ฝากเงนิ กบั ผกู้ ูเ้ งิน เป็นผู้รบั ภาระความเสี่ยงแทน เนอ่ื งจากสถาบันการเงินจะนาเงนิ ของผู้ฝากไปปล่อยสินเชื่อแกผ่ ู้กู้ (เพ่ือหวัง กาไร) ดงั นัน้ สถาบนั การเงินจงึ ตอ้ งรับภาระความเส่ียงแทนผฝู้ ากเงนิ สรา้ งสภาพคล่องทางการเงนิ โดยสถาบันการเงินเป็นผู้ค้าประกนั การออกเช็ค ต๋วั สญั ญาใชเ้ งนิ บัตรเครดติ ฯลฯ ใหก้ บั บรษิ ัท หา้ งรา้ น และลกู คา้ เพือ่ ให้ตราสารดงั กลา่ วได้รบั การยอมรับและมคี วามนา่ เชอ่ื ถอื ทาใหก้ ารซ้ือ ขายสินคา้ ต่างๆ ระหว่างผ้ซู อ้ื กับผู้ขายเป็นไปอยา่ งสะดวกรวดเรว็ 3.ประเภทของสถาบันการเงิน สถาบนั การเงินสามารถแบ่งออกเป็น 2 ประเภท ไดแ้ ก่ ธนาคาร และสถาบันการเงินท่ไี มใ่ ช่ธนาคาร 1. ธนาคาร 1.1 ธนาคารกลาง หมายถงึ สถาบันทางการเงินของรัฐซ่ึงมอี านาจหน้าทีค่ วบคุมปริมาณเงินและเครดิต ของประเทศ ใหอ้ ยู่ในปริมาณทเี่ หมาะสมเพือ่ ให้เกิดความกา้ วหน้าและเสถยี รภาพต่อระบบเศรษฐกจิ ของ ประเทศ แตต่ ้องอยภู่ ายใตน้ โยบายของรฐั บาล ไมไ่ ดแ้ สวงหาผลกาไรเปน็ ผลตอบแทนเหมอื นกับธนาคาร พาณิชย์ ได้แก่ ธนาคารแห่งประเทศไทย 1.2 ธนาคารพาณชิ ย์ หมายถงึ ธนาคารทีป่ ระกอบธรุ กจิ ประเภทรบั ฝากเงินท่ีต้องจ่ายเงินคนื เม่ือต้องทวง ถาม หรือเมือ่ ส้นิ ระยะเวลาท่กี าหนดไว้ รวมท้งั ใหก้ ูย้ มื หรอื สนิ เช่อื แกป่ ระชาชน ใหบ้ ริการซ้ือขายตว๋ั แลกเงิน หรอื ซื้อขายเงินตราต่างประเทศ
-2– 1.3 ธนาคารท่ีมีวตั ถุประสงคเ์ ป็นพิเศษ ไดแ้ ก่ 1) ธนาคารออมสนิ เปน็ ธนาคารของรัฐบาล มหี นา้ ทร่ี บั ฝากเงนิ จากประชาชนทวั่ ไป โดยเฉพาะ ผูม้ ีเงนิ ออมรายย่อย ออกพันธบตั ร สลากออมสิน รบั ฝากเงินในรปู แบบตา่ ง ๆ เพ่ือสงเคราะหช์ วี ิตและ การศึกษาโดยเฉพาะเยาวชนของชาติ และกิจกรรมอ่ืน ๆ เชน่ ปลอ่ ยเงินกู้ใหผ้ ู้มรี ายไดน้ ้อยในวงเงินตา่ คน ทั่วไปจงึ เรยี กว่า ธนาคารคนจน 2) ธนาคารอาคารสงเคราะห์ เปน็ ธนาคารของรัฐบาล มีวตั ถุประสงคเ์ พ่ือใหค้ วามอนุเคราะห์แก่ ประชาชนเกยี่ วกับการกยู้ มื เพื่อนาไปซอ้ื ที่ดนิ หรอื อาคารส่งิ ปลูกสร้าง หรอื ซ่อมแซมตอ่ เติม ไถถ่ อนการ จานองทดี่ ินและอาคาร หรือเพอ่ื การลงทุนในกจิ การการเคหะ พร้อมกับรบั ฝากเงนิ ของประชาชนท่ัวไปด้วย 3) ธนาคารเพอ่ื การเกษตรและสหกรณ์การเกษตร (ธ.ก.ส.) สงั กดั กระทรวงการคลงั ตง้ั ข้นึ เพือ่ ชว่ ยเหลือดา้ นการเงนิ แก่เกษตรกร กลมุ่ เกษตรกร หรือสหกรณก์ ารเกษตร ในรปู ของการกยู้ ืมเงินในอัตรา ดอกเบ้ียตา่ เพ่อื นาไปลงทุนด้านการเกษตร 2. สถาบันการเงนิ ทไี่ มใ่ ชธ่ นาคาร 2.1 บริษทั เงินทุนหลกั ทรพั ยจ์ ากดั มีวัตถุประสงคค์ ลา้ ยกบั ธนาคารพาณชิ ย์มากทีส่ ดุ คอื ระดมาเงิน ออมโดยออกตราสารเครดติ หรอื ต๋วั แลกเงินเพ่อื เป็นหลกั ฐานในการกูเ้ งนิ จากประชาชน 2.2 บรรษัทเงนิ ทุนอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย มีวัตถุประสงคเ์ พอ่ื ใหค้ วามชว่ ยเหลอื ด้านการเงินแก่ กจิ การอตุ สาหกรรมเอกชน 2.3 บรรษทั เงินทุนอตุ สาหกรรมขนาดยอ่ ม มีวตั ถปุ ระสงค์เพอื่ ให้ความชว่ ยเหลอื ด้านการเงินแก่ อุตสาหกรรมขนาดย่อมและอุตสาหกรรมครวั เรอื น 2.4 บริษทั เครดติ ฟองซเิ อร์ มวี ัตถุประสงคใ์ นการกู้ยมื เงนิ เพอ่ื การซ้ือทีด่ ิน สรา้ งบา้ นหรอื ผอ่ นสง่ 2.5 บริษทั ประกันภยั และบรษิ ทั ประกันชีวิต เป็นสถาบนั ทางการเงินทีช่ ว่ ยเหลอื ผู้ประสบภยั ใหผ้ อ่ นหนกั เป็นเบาได้ สถาบนั น้ีไม่คอ่ ยประสบผลสาเรจ็ เพราะขาดการประชาสัมพันธ์ และประชาชนไมเ่ ห็นผลประโยชน์ท่ีพงึ ได้รบั จากการนาเงนิ ไปลงทนุ ทาให้หลายบรษิ ทั ลม้ เหลวและในทส่ี ดุ ขาดความมั่นคงให้กบั ผปู้ ระกันภัย 2.6 สหกรณอ์ อมทรัพย์ เป็นสถาบนั การเงนิ ท่ีประชาชนเร่ิมเห็นคุณค่าและเหน็ ประโยชนข์ องการรว่ มมอื เพ่อื ช่วยเหลือชมุ ชน หรอื กลุม่ บุคคลท่ีมีความคดิ ในแนวเดยี วกนั จัดทาขึ้นเพื่อออมทรพั ย์และจัดทาหนว่ ยธรุ กิจของ กลมุ่ ตนเอง หรือชุมชน 2.7 โรงรับจานา เปน็ สถาบันการเงนิ ขนาดยอ่ ม มี 3 ประเภท คือ โรงรับจานาเอกชน โรงรับจานาของ กรมประชาสงคราะห์ โรงรบั จานาของเทศบาล ซงึ่ ได้ใหบ้ รกิ ารกู้ยมื เงินแกบ่ คุ คลทัว่ ไป โดยรบั จานาสง่ิ ของ เคร่อื งใชต้ า่ ง ๆ
-3– 4.ธนาคารกลาง ความหมายและความเป็นมาของธนาคารกลาง ธนาคารเปน็ สถาบันการเงินระดบั สูงของประเทศท่มี ีอานาจและหนา้ ทค่ี วบคมุ และดูแลการเงินและเครดติ ให้ มคี วามเหมาะสมต่อความจาเริญทางเศรษฐกิจ และความมเี สถยี รภาพทางการเงนิ ของประเทศ ธนาคารกลางในประเทศส่วนใหญ่มีกาเนิดมาจากธนาคารพาณชิ ย์ ทไี่ ดต้ ง้ั ข้นึ และได้ช่วยเหลอื รัฐบาลของตน ทางดา้ นการเงนิ และอน่ื ๆ หน้าท่สี าคัญของธนาคารกลาง ได้แก่ 1. การออกพันธบัตร 2. การเปน็ นายธนาคารของรัฐ 3. การเป็นนายธนาคารของธนาคารพาณิชย์ 4. การเปน็ ผใู้ ห้กูย้ ืมเงนิ แหลง่ สดุ ทา้ ย 5. การจัดระบบการหักบัญชรี ะหว่างธนาคาร 6. การดาเนินนโยบายทางการเงนิ และการควบคมุ ปริมาณเงนิ 7. การเป็นผูจ้ ดั การทุนสารองระหว่างประเทศ ธนาคารแห่งประเทศไทยเปน็ ธนาคารกลางของประเทศ โดยมีบทบาทหนา้ ท่ีที่สาคญั ของธนาคารแหง่ ประเทศ ไทยดงั นี้ 1. เปน็ ผูอ้ อกธนบัตร เพอ่ื ควบคุมปริมาณธนบตั รท่ีใชห้ มุนเวียนใหพ้ อดีกับความตอ้ งการของภาคธรุ กจิ และ ประชาชนทัว่ ไป โดยมีกฎหมายควบคุมการออกธนบตั รและจดั การเกย่ี วกับธนบัตร เพือ่ ความมเี สถียรภาพของ เงินตราของประเทศ 2. เปน็ นายธนาคารของธนาคารพาณชิ ย์ ในฐานะนายธนาคารของธนาคารพาณิชย์ ธนาคารกลางจาทา หนา้ ท่ีดังนีค้ อื - รับฝากเงนิ จากธนาคารพาณชิ ย์ ตามปกตธิ นาคารพาณชิ ยจ์ ะตอ้ งฝากเงินสดสารอง ตามที่กาหนดไวก้ บั ธนาคารกลาง และใชเ้ ป็นเงินสดสารองสาหรบั ชาระหน้ี หรือ โอนเงนิ ระหว่างธนาคารพาณชิ ยด์ ้วยกัน - รับหักบญั ชรี ะหวา่ งธนาคาร โดยทธ่ี นาคารพาณชิ ยท์ ุกแห่งฝากเงินไวท้ ่ธี นาคารกลาง เมื่อมีหน้ีสนิ ระหวา่ ง ธนาคารพาณชิ ยด์ ้วยกัน
-4- - เปน็ ผู้ใหก้ ู้ยมื แหล่งสดุ ทา้ ย ธนาคารกลางเปน็ แหลง่ สุดทา้ ยทธ่ี นาคารพาณิชยจ์ ะกูย้ ืมไดโ้ ดยมีหลักทรัพย์ รัฐบาลค้าประกัน 3. เปน็ นายธนาคารและตัวแทนทางการเงนิ ของรัฐบาล ธนาคารกลางจะทาหนา้ ที่ทางการเงนิ ให้แกร่ ฐั บาล ดังนี้ คอื - ถอื บญั ชีเงินฝาก ธนาคารกลางจะรักษาบญั ชีเงินฝากของหน่วยราชการรัฐวสิ าหกิจ และองคก์ รอน่ื ๆ ของ รฐั บาล และทาหน้าทเ่ี ป็นผ้จู า่ ยเงนิ ตามเช็คท่ีหน่วยราชการตา่ งๆ และรัฐวิสาหกิจส่ังจ่าย - ให้รัฐบาลและ รัฐวสิ าหกจิ ก้ยู มื รฐั บาลและรัฐวสิ าหกจิ อาจก้ยู มื เงนิ จากธนาคารกลาง โดยการขายต๋วั เงินคลังหรือพนั ธบัตร - เป็น ตวั แทนทางการเงนิ ของรัฐบาล ธนาคารกลางจะเป็นตัวแทนจัดการทางการเงินของรฐั บาลท้ังในประเทศ และนอก ประเทศ เช่น ตดิ ตอ่ หาแหล่งเงินก้ใู ห้รัฐบาล 4. ดาเนนิ นโยบายการเงนิ ธนาคารกลางมีบทบาทสาคัญในการควบคุมปริมาณเงนิ ของประเทศใหม้ ปี รมิ าณท่ี เหมาะสม ใชม้ าตรการต่างๆ ในการดาเนนิ นโยบายแก้ไขเงินเฟ้อให้มีปรมิ าณเงินในระดับที่เหมาะสม ธนาคารกลางของประเทศต่าง ๆ มีหนา้ ทสี่ ว่ นใหญ่คล้ายกัน เช่น การเป็นผพู้ มิ พ์ธนบัตร การเป็นนายธนาคารของ รัฐบาล และของธนาคารพาณชิ ย์ และหน้าทอ่ี นื่ ๆ แมว้ ่าบางแห่งอาจทาหนา้ ที่แตกต่างกบั อีกแหง่ หนึง่ กต็ าม แต่เป็น เพียงส่วนเล็กนอ้ ยเทา่ นนั้ ท่ีมา : https://sites.google.com/site/napalai517/neuxha-bth-reiyn
Search
Read the Text Version
- 1 - 4
Pages: