เศรษฐศาสตร์ในชีวิตประจาวัน
29/7/2564 เศรษฐศาสตร์ในชวี ติ ประจาวนั เศรษฐกจิ สีเขียว นยิ ามของเศรษฐกจิ สเี ขยี วนน้ั มจี ุดรว่ มทสี่ าคญั คอื มุ่งบรรลเุ ป้าหมายใน การพัฒนาคุณภาพชวี ติ ของมนษุ ยแ์ ละความเทา่ เทียมกนั ในสังคม ลด ความเสย่ี งด้านสงิ่ แวดลอ้ ม ลดผลกระทบทางลบจากกจิ กรรมของมนุษย์ และลดความขาดแคลนของทรพั ยากรธรรมชาติและระบบนิเวศ อยา่ งไร กด็ ใี นมติ ดิ า้ นสงิ่ แวดลอ้ มของนยิ ามเหลา่ นี้นน้ั ดจู ะมคี วามหลากหลายใน ประเดน็ ทใี่ หค้ วามสาคญั สะทอ้ นลกึ ไปถงึ มุมมองทม่ี ตี อ่ ความสมั พนั ธ์ ระหวา่ งสงั คมและสง่ิ แวดลอ้ ม ขอ้ ถกเถยี งทย่ี งั เป็นประเดน็ สาคญั กค็ ือ วถิ ี ระบบเศรษฐกิจกระแสหลกั ในปจั จบุ นั สามารถดาเนนิ ไปอย่างที่มนั เปน็ และผนวกกบั มาตรการดา้ นสงิ่ แวดลอ้ มและการพฒั นาเทคโนโลยีสเี ขยี ว จะสามารถเปน็ เศรษฐกิจสีเขยี วไดห้ รือไม่ หรอื วา่ เศรษฐกิจสเี ขยี ว ตอ้ งการการเปลย่ี นแปลงในระดบั รากฐานมากกวา่ น้นั
29/7/2564 1.1 ความสาคญั ของเศรษฐศาสตร์ใน ชวี ติ ประจาวนั ในชีวิตประจาวันของมนษุ ย์ ย่อมมีเร่ืองทต่ี อ้ งคิดและตดั สนิ ใจ เก่ยี วกับการเลือกซอ้ื สนิ ค้าและบรกิ ารต่างๆ ซ่ึงมีใหพ้ จิ ารณาอยมู่ ากมาย หลายชนดิ หลายราคา และหลายยห่ี ้ออย่ตู ลอดเวลาดงั นน้ั วิชา เศรษฐศาสตร์จงึ สามารถนามาประยุกตใ์ นชวี ิตประจาวันของมนษุ ย์ ได้ โดยมปี จั จัยหลายประการเขา้ มบี ทบาทเก่ยี วขอ้ งกบั การตดั สินใจ ดังกล่าว เช่น ราคาของสนิ คา้ จานวนเงนิ ทมี่ อี ยู่ รสนยิ ม ความพึง พอใจตา่ งๆ เปน็ ต้น ซ่ึงถือเป็นการตัดสินใจที่เหมาะสมตามหลักการ ทางเศรษฐศาสตร์ รวมทงั้ แสดงถงึ รสนยิ มทเี่ หมาะสมในการรจู้ กั เลือก บรโิ ภค และยงั เป็นการช่วยเหลอื ประเทศชาตใิ นทางออ้ มอีกด้วย ครอบครวั หรอื แมแ้ ตร่ ฐั บาลกเ็ ชน่ เดยี วกนั จึงจาเป็นตอ้ ง ตดั สินใจเกยี่ วกับการใช้จ่ายส่งิ ต่างๆ ในลักษณะคลา้ ยคลึงกับการ ตดั สนิ ใจของแต่ละคน ในระดับครอบครัวนั้น พ่อ แม่ หรอื ผู้นาของ ครอบครัวควรคานงึ ถงึ บญั ชรี ายรบั -รายจ่ายวา่ รายไดโ้ ดยรวมของ ครอบครวั เป็นอยา่ งไรทัง้ น้ีเพอ่ื ตรวจสอบใหม้ ่นั ใจว่าครอบครัวมกี าลงั ใน การใช้จ่ายซ้อื สินคา้ และบริการได้มากน้อยเพยี งใด สาหรับรัฐบาลก็มรี ายรบั -รายจา่ ยเช่นเดียวกนั กับระดบั ครอบครวั แต่รฐั บาลเปน็ องค์กรที่มขี นาดใหญ่ และมหี น่วยงานบาง หน่วยงานทาหน้าทแี่ สวงหารายได้เขา้ ประเทศ เชน่ กรมสรรพากร มีหน้าทเี่ ก็บภาษรี ายไดจ้ ากประชาชน กรมสรรพสามิต มีหนา้ ท่เี ก็บ ภาษสี นิ คา้ หรือกรมศลุ กากร มีหน้าทีเ่ ก็บภาษมี นิ ค้านาเข้าจาก ต่างประเทศ เป็นตน้ ซ่ึงรัฐบาลต้องอาศยั รายไดเ้ หล่าน้ีสาหรับซอ้ื สนิ คา้ และอุปกรณ์ตา่ งๆ เพอ่ื นามาใชบ้ ริหารปกครองประเทศ รวมทง้ั จัดสรร รายไดส้ ่วนหนงึ่ สาหรบั เป็นค่าจา้ งและเงินเดอื นของพนกั งานและ ข้าราชการทว่ั ไป
29/7/2564 การผลติ การผลติ เป็นกจิ กรรมขั้นพ้นื ฐานท่จี ะแปรสภาพทรพั ยากรซึง่ มอี ยูอ่ ย่าง จากดั ให้เปลยี่ นเปน็ สนิ คา้ และบรกิ ารท่ีเพมิ่ ประโยชนแ์ ละอรรถประโยชน์ มากยงิ่ ขน้ึ 1. กระบวนการผลติ กระบวนการผลิต เปน็ กระบวนการที่นาวัตถุดิบ มาแปรสภาพเปน็ ผลผลิต เชน่ โรงสีข้าวจะนาข้าวเปลือกมาสีเป็น ข้าวสาร โรงงานนา้ ตาลนาอ้อยมาหบี และเขา้ สู่กระบวนกานผลติ เปน็ นา้ ตาล เป็นตน้ 2. ปจั จัยการผลติ ปัจจัยการผลิต หมายถึง สิง่ จาเป็นขั้นพ้ืนฐานที่ผู้ผลติ นามาผ่านกระบวนการผลติ จนเกดิ เปน็ สนิ คา้ และบริการ ซ่ึงในทาง เศรษฐศาสตร์ไดม้ กี ารแบง่ ปจั จัยการผลิต ออกเป็น ๔ ประเภท ดงั นี้ 1. ทดี่ นิ 2. แรงงาน สามารถแบง่ ออกเปน็ ๒ ประเภท ดงั น้ี 2.1 แรงงานฝมี อื เปน็ แรงงานท่ีได้รับการอบรมความรู้เฉพาะ ทางมาเปน็ อยา่ งดี
29/7/2564 2.2 แรงงานไรฝ้ ีมอื 2.3 ทุน เป็นปัจจัยการผลติ ทส่ี าคัญอกี ประการหน่งึ โดยทุนจะ หมายถึงสงิ่ ท่มี นษุ ย์สร้างข้ึน การบริโภค 1. ความหมายของการบรโิ ภค การใชจ้ ่ายเงนิ เพื่อนามาซ้อื สนิ ค้าและ บริการถอื เปน็ สง่ิ ที่สาคญั เพราะจะสง่ ผลตอ่ ความกนิ ดีอยดู่ ีของบคุ คลในครอบครวั ถา้ ผ้บู รโิ ภ ครจู้ กั เลอื กซ้อื สนิ คา้ และบริการอยา่ งฉลาดก็จะไดร้ ับประโยชนส์ ูง สุด 2. บทบาทหน้าทขี่ องผบู้ ริโภค ในปจั จบุ นั หนว่ ยธรุ กจิ ต่างๆไดม้ ีการ เสนอสินคา้ และบริการต่อประชาชนในจานวนทมี่ ากขน้ึ ทุกขณะ โดยต่างแข่งขนั กนั เพ่อื ขายสนิ คา้ และบริการ ซง่ึ วิธีการหนึง่ ที่ นามาใช้ในการแขง่ ขัน คอื การนาหลกั วชิ าการในทางการตลาด และการโฆษณามาใช้สง่ เสรมิ สนับสนุนการขายสินค้าและบริการ ของตน
29/7/2564 3. หลกั การและวิธเี ลอื กบรโิ ภค ในการบรโิ ภคสนิ ค้าและบรกิ าร อันดับแรกทผ่ี บู้ ริโภคควรคานงึ ก็คือ หลกั การของการเลอื กอุปโภคบริโภคเพื่อทผ่ี บู้ ริโภคจะไดร้ ับความ พงึ พอใจสงู สดุ จากการซ้อื สนิ ค้าในแต่ละคร้งั ซง่ึ หลกั การทคี่ วรคานงึ ถึงดงั กลา่ ว ไดแ้ ก่ ความประหยัด ประโยชน์ คณุ ภาพ ราคา และความปลอดภยั 4. กฎหมายคุม้ ครองผ้บู ริโภคถงึ แมผ้ ูบ้ ริโภคจะเป็นผูอ้ ยูท่ อี่ ยู่ในฐานะ ซึง่ สามารถตัดสนิ ใจซอ้ื หาสินค้าเพือ่ การอปุ โภคบรโิ ภคอยา่ งมี เหตผุ ล เหตผุ ลสาคญั ทางเศรษฐศาสตรท์ าใหร้ ฐั บาลตอ้ งคมุ้ ครองผบู้ ริโภค ไดแ้ ก่ 1. ปญั หาการผูกขาดสนิ คา้ กอ่ ใหเ้ กิดการคา้ กาไรเกินควรและเป็ นการเอารัดเอาเปรยี บผู้บรโิ ภค ซงึ่ มอี านาจต่อรองต่ากว่ามาก 2. ปัญหาขอ้ จากัดทางดา้ นข้อมูลข่าวสาร ทาใหผ้ ้บู ริโภคมีความรู้ เกีย่ วกบั สนิ ค้าและคณุ ภาพ สนิ คา้ ไม่เพียงพอท่จี ะปอ้ งกนั มใิ หถ้ กู เอารดั เอาเปรยี บ
29/7/2564 ระบบการแลกเปล่ยี น ความสมั พนั ธท์ างเศรษฐกจิ และการเปลยี่ นแปลง ระบบเศรษฐกจิ หนง่ึ จะมอี งคป์ ระกอบสาคญั เป็นหน่วยเศรษ ฐกิจต่างๆแตร่ ะบบ เศรษฐกจิ จะทางานไดห้ น่วยเศรษฐกจิ กต็ ้องมีบทบาทหนา้ ท่สี มั พั นธก์ นั ความสมั พนั ธ์ดังกล่าวนเ้ี รียกว่า ความสมั พนั ธท์ างเศรษฐกจิ ซงึ่ ประกอบด้วย 1. ความสมั พนั ธ์ทางเศรษฐกิจอันเปน็ ความสมั พันธ์ระหวา่ ง ปจั จัยการผลิตและผลผลิต 2. ความสัมพนั ธ์ทางการเปลย่ี นแปลงกรรมสิทธห์ิ รอื การเปน็ เจ้าขอ งสินค้าและบรกิ ารระหว่าง ผู้บรโิ ภคและผู้ทต่ี อ้ งการผลผลิต (ผู้บริโภค)
29/7/2564 เชค็ เด้งคอื อะไร เชค็ ทตี่ กี ลบั คือเชค็ ทส่ี ง่ คืนโดยธนาคารเนอ่ื งจากผเู้ ขยี นเช็คไมม่ เี งนิ ฝาก เพียงพอ การพดู ภาษานีห้ มายถึงความจรงิ ท่ีว่าเชค็ \"เดง้ \" กลับมาจาก ธนาคาร; เชค็ ดังกลา่ วเรียกอีกอยา่ งวา่ “ เช็คยาง” ในสหรฐั อเมริกาการ เปล่ยี นแปลงวิธีการตรวจสอบไดเ้ พ่มิ ความเป็นไปไดข้ องเช็คท่ีตกี ลับ เนือ่ งจากผูเ้ ขียนเชค็ ไมส่ ามารถพึ่งพา \"โฟลต\" ไดอ้ กี ต่อไป เม่ือมีคนเขยี นเชค็ ใหก้ บั บคุ คลอน่ื หรอื บริษัท นิติบคุ คลนั้นจะส่งเช็คไปที่ ธนาคาร เม่ือธนาคารดาเนนิ การฝากเช็คจะให้คาปรกึ ษาแกธ่ นาคารผู้ ออกเพอื่ ใหแ้ น่ใจวา่ ผู้เขียนเชค็ มเี งินเพียงพอทจ่ี ะชาระ หากเงนิ ทนุ สาหรับเชค็ เพยี งพอการฝากจะผ่านและเงนิ จะถูกโอนจากบัญชขี อง ผูเ้ ขียนไปยังบญั ชขี องผ้รู บั หากเงนิ ไมเ่ พยี งพอธนาคารดาเนนิ การจะตี กลับเชค็ กบั ผู้ทพ่ี ยายามฝากเงนิ เพอ่ื ทีเ่ ขาหรอื เธอจะไดท้ ราบวา่ เงินฝาก นั้นยังไมผ่ ่าน เนื่องจากเอกสารจานวนมากมาพร้อมกับเช็คเดง้ โดยทัว่ ไปธนาคารจะ เรียกเก็บคา่ ธรรมเนยี มในการดาเนนิ การ คา่ ธรรมเนยี มน้อี าจนาไปใช้ กับผทู้ พ่ี ยายามฝากเชค็ หรือกับผู้เขยี นเชค็ ในบางกรณีธนาคารจะ ครอบคลมุ การตรวจสอบเด้งแล้วเรียกเกบ็ เงินจากผู้เขยี นเพ่อื สร้างความ แตกต่างในกองทุน โดยท่วั ไปเม่ือเชค็ ตีกลบั เป็นรายบุคคลหรอื บริษทั การดาเนนิ การจะถูกดาเนินการกับผ้เู ขียนเพื่อก้เู งนิ เนอื่ งจากสันนิษฐาน ว่าผเู้ ขยี นมคี วามสขุ กับบรกิ ารที่เช็คเด้งควรจะจา่ ย ในบางภูมิภาคผู้คนจงใจเขยี นเชค็ ซง่ึ อาจเด้งโดยอาศยั แนวคดิ ทเี่ รยี กว่า \"โฟลท\" โฟลทสมมติวา่ ใช้เวลาหลายวนั กว่าจะไดร้ บั เชค็ และใน ชว่ งเวลานนั้ ผูเ้ ขียนเช็คสามารถระดมและฝากเงินได้ จาเป็นตอ้ ง ครอบคลมุ การตรวจสอบเดง้ การปฏบิ ตั นิ ี้ไมแ่ นะนาใหเ้ ลอื กเน่อื งจาก ธนาคารหลายแหง่ ใชก้ ารประมวลผลทนั ทซี งึ่ ในกรณนี ้กี ารขาดแคลน เงนิ ทุนชว่ั คราวอาจเป็นปัญหาร้ายแรง
29/7/2564 คนส่วนใหญพ่ ยายามหลีกเล่ยี งการสรา้ งเชค็ เด้งเพราะมนั สามารถ สะทอ้ นเรก็ คอร์ดเครดติ ไดไ้ มด่ แี ละเชค็ เดง้ ซ้าอาจนาไปส่กู ารขึน้ บญั ชี ดาของ บริษัท ใด บรษิ ัท หนง่ึ ตวั อยา่ งเชน่ เจา้ ของบา้ นอาจต้องชาระค่า เช่าในรูปของเงนิ สดหรอื ธนาณตั ใิ นอนาคตหากผู้เชา่ เขยี นเชค็ ทไี่ ม่ดี ค่าธรรมเนยี มสาหรบั เช็คทตี่ กี ลบั ยงั สามารถเพ่ิมขน้ึ อยา่ งรวดเร็วอย่าง น่าประหลาดใจและผเู้ ขียนสามารถรบั ผิดชอบตอ่ การกระทาผดิ ทาง อาญาในนามของผอู้ อกแบบเช็ค การกาหนดราคาและคา่ จา้ งในระบบเศรษฐกจิ ภายใต้ระบบเศรษฐกิจแบบเสรีนิยมหรอื ทุนนยิ มกลไกราคา จะเป็นเครอื่ งมอื สาคัญ ในการแก้ไขปัญหาพน้ื ฐานทางเศรษฐกจิ กล่าวคอื ราคาของสินค้าและบรกิ าร จะเป็นเครอื่ งชใ้ี หห้ นว่ ยธุรกิจ ตัดสนิ ใจวา่ จะผลติ สนิ ค้าและบริการอะไรบา้ ง อยา่ งไร และจานวนมาก นอ้ ยเพียงใด ซึง่ ในทางเศรษฐศาสตร์แล้วราคาจะถกู กาหนดมาจากอุป สงคแ์ ละอปุ ทานของตลาด 1.1 อปุ สงค์ (demand) อปุ สงค์ (demand) หมายถงึ ปรมิ าณความต้องการซอ้ื สนิ คา้ หรอื บริการ ชนิดใดชนิดหนึง่ ท่ผี ้บู ริโภคมคี วามเตม็ ใจท่จี ะซอ้ื และสามารถซือ้ หามา ไดใ้ นขณะใดขณะหน่ึง ณ ระดบั ราคาต่างๆที่ตลาดกาหนดมาให้ จากความหมายดงั กลา่ ว จะเหน็ ไดว้ า่ การจะเกดิ อุปสงคไ์ ด้นน้ั ประกอบดว้ ย 3 สว่ นทีส่ าคญั คือ - ความตอ้ งการซอื้ (wants) ลาดบั แรกผบู้ รโิ ภคจะตอ้ งมีความอยากได้ ในสนิ คา้ หรือบรกิ ารเหลา่ นน้ั ก่อน อย่างไรกต็ าม การมแี ต่ความตอ้ งการ ไมถ่ ือว่าเป็นอปุ สงค์ เพราะอุปสงค์จะต้องเป็นความต้องการท่ีสามารถซอ้ื ได้และเกดิ การซอ้ื ขายขึ้นจรงิ ๆ
29/7/2564 - ความเตม็ ใจทจี่ ะจา่ ย (willingness to pay) คอื การทผี่ ้บู ริโภคมีความ ยนิ ดที จ่ี ะยอมเสียสละเงินหรอื ทรัพยส์ นิ ท่ตี นมอี ยูเ่ พอ่ื แลกเปลย่ี นกับ สินคา้ หรือบริการต่างๆเหลา่ นัน้ มาเพ่ือใชใ้ นการบาบัดความต้องการของ ตน - ความสามารถทจี่ ะซอ้ื (purchasing power or ability to pay) ถอื ว่า เปน็ องค์ประกอบทมี่ คี วามสาคัญ คอื ไม่ว่าบุคคลน้ันจะมีความอยากได้ หรือความต้องการในสนิ คา้ หรอื บรกิ ารมากนอ้ ยเพยี งใดกต็ าม ถา้ ปราศจากความสามารถทจี่ ะซอื้ หรอื จดั หามาแลว้ การซ้ือขายจริงๆจะไม่ เกิดขึ้น นนั่ คอื จะเป็นแต่เพียงความต้องการท่ีมีแนวโน้มจะซ้ือ (potential demand) เทา่ นน้ั ซึ่งความสามารถที่จะซอ้ื โดยปกติจะถกู กาหนดจากขนาดของทรพั ย์สนิ หรือรายไดท้ ี่บุคคลนัน้ มหี รือหามาได้ โดยมีความสมั พนั ธ์ในทิศทางเดยี วกนั กล่าวคอื ถ้ามีรายไดห้ รอื ทรัพยส์ ินมากความสามารถ ที่จะซื้อจะมสี ูง ถา้ มีน้อยกจ็ ะมคี วามสามารถ ซือ้ ต่า 1.2 กฎของอปุ สงค์ (Law of Demand) ภายใตข้ อ้ สมมติวา่ ปจั จยั ตวั อื่นๆท่มี ีผลต่ออุปสงคม์ คี า่ คงท่ี (other- things being equal) ปริมาณอุปสงคข์ องสินคา้ ชนดิ ใดชนดิ หนึง่ จะมี ความสัมพันธใ์ นทศิ ทางตรงกันขา้ ม (ผกผัน) กบั ระดับราคาของสนิ คา้ ชนิดนั้น (inverse relation) กล่าวคอื เม่ือราคาลดลงปรมิ าณอปุ สงค์จะ เพิม่ ข้ึน และเม่อื ราคาสูงขึ้นปริมาณอปุ สงคจ์ ะลดลง ลักษณะทว่ั ไปของ เสน้ อุปสงค์จึงเป็นเสน้ ทอดลงจากซา้ ยไปขวา (สนิ คา้ ปกติ) ตวั อยา่ งตารางแสดงอปุ สงคก์ ารซอ้ื เงาะของนาย ก ราคา (บาท) ปรมิ าณอปุ สงค์ (กโิ ลกรมั ) 10 6 20 5 30 4 40 3 50 2 60 1
29/7/2564 1.3 ปจั จยั สาคญั ทมี่ อี ทิ ธพิ ลตอ่ อุปสงค์ เสน้ อปุ สงค์ท่กี ล่าวมาแล้วเปน็ ความสมั พนั ธ์ระหว่างปรมิ าณความ ต้องการซอื้ กับราคาของสินคา้ และบรกิ ารนน้ั โดยกาหนดให้ปจั จัยอ่นื ๆ คงที่ หากเรานาปัจจยั ตวั อืน่ เข้ามาพิจารณาจะเห็นวา่ ปรมิ าณความ ตอ้ งการซือ้ สินคา้ หรอื ปริมาณอุปสงคม์ ิไดข้ ึน้ อยูก่ บั ราคาของสนิ คา้ และ บริการนน้ั แต่เพียงอยา่ งเดยี ว ยังขน้ึ อยู่กบั ปัจจยั ตวั อ่ืนๆซึ่งได้แก่ - ราคาสนิ คา้ ชนิดอนื่ ซึง่ ข้นึ อยูก่ บั ว่าเป็นสินค้าที่ใช้ประกอบกนั หรือใช้ ทดแทนกนั เช่น กาแฟกับนา้ ตาลซึ่งเป็นสินคา้ ที่ใชป้ ระกอบกนั (complementary goods) ถา้ ราคาของกาแฟสงู ขึ้น อุปสงค์ในกาแฟจะ ลดลง ทาใหป้ รมิ าณความตอ้ งการซือ้ หรอื อุปสงคใ์ นนา้ ตาลลดลงดว้ ย ในทางกลับกนั ถา้ ราคาของกาแฟลดลง อปุ สงค์ในกาแฟจะเพ่มิ ขึ้น สง่ ผลใหอ้ ปุ สงคใ์ นน้าตาลเพมิ่ ขนึ้ ตาม ดังน้ันสาหรับกรณีสนิ คา้ ทใี่ ช้ ประกอบกนั ราคาของสนิ คา้ ชนดิ หนึ่งเพม่ิ ขน้ึ -ลดลง จะทาให้ปริมาณ ความต้องการซอื้ หรอื อุปสงค์ในสนิ คา้ อกี ชนิดหนง่ึ ลดลง-เพมิ่ ขน้ึ ตามลาดบั แตถ่ า้ เปน็ สนิ ค้าท่ใี ชท้ ดแทนกนั (substitution goods) เชน่ เนอื้ ไก่กบั เนอ้ื หมู เมื่อราคาของเน้อื ไกส่ งู ข้นึ ผูบ้ ริโภคจะหนั ไปบริโภค เน้ือหมแู ทนเน้อื ไก่ เนื่องจากราคาเน้อื หมถู กู กวา่ เนื้อไก่โดยเปรยี บเทยี บ นน่ั คือปรมิ าณความต้องการซื้อหรอื อปุ สงคใ์ นเนอ้ื ไก่จะลดลง สว่ นของ เนือ้ หมูจะเพ่มิ ข้ึน
29/7/2564 ตรงกนั ขา้ ม ถา้ ราคาเนอื้ ไก่ลดลง จะส่งผลใหอ้ ปุ สงค์ในเนอื้ ไก่และเนอ้ื หมเู พิ่มขนึ้ และลดลงตามลาดบั นน่ั คอื ถ้าเป็นสนิ คา้ ทใี่ ช้ทดแทนกันราคา ของสนิ คา้ ชนดิ หนงึ่ เพมิ่ ข้ึน-ลดลง จะทาใหป้ รมิ าณความตอ้ งการซอื้ หรืออุปสงค์ในสนิ คา้ อีกชนดิ หนึ่งเพ่มิ ขน้ึ -ลดลง ตามลาดับ - จานวนของประชากร แนน่ อนว่าจานวนประชากรกบั ปริมาณความ ตอ้ งการซ้อื หรอื อปุ สงค์ในสนิ ค้าใดๆจะเปลี่ยนแปลงไปในทศิ ทาง เดยี วกนั กลา่ วคือ เมื่อประชากรเพ่ิมขนึ้ -ลดลง ความตอ้ งการในสินคา้ และบริการตา่ งๆกจ็ ะเพ่มิ ข้นึ -ลดลงตาม - รสนยิ มของผบู้ รโิ ภค ปรมิ าณความตอ้ งการซ้อื หรอื อปุ สงคใ์ นสินค้า ใดๆขนึ้ อยกู่ ับ กาลเวลา แฟชัน่ วยั เพศ ระดบั การศกึ ษา ความชอบ ฯลฯ ซง่ึ เปน็ รสนิยมของแต่ละบุคคล ตัวอยา่ งเช่น อปุ สงคใ์ นกางเกงยนี ใน กลมุ่ วยั รนุ่ จะมากกวา่ ในกลุม่ ของผใู้ หญ่ (วยั ) อุปสงค์ในเครือ่ งสาอาง ของกลมุ่ ผูช้ ายจะนอ้ ยกว่าของกลุม่ ผ้หู ญงิ (เพศ) ฯลฯ - ฤดกู าล เช่น ในฤดูรอ้ น อุปสงคใ์ นผา้ ห่มจะมนี ้อยลง สว่ นอปุ สงคใ์ น เคร่ืองปรบั อากาศและ พดั ลมจะมีเพิม่ ข้ึน หรืออย่างในฤดูหนาว อุปสงค์ ในครมี บารุงผวิ จะมีมากกวา่ ในฤดรู อ้ น และในฤดูฝนอปุ สงคใ์ นร่มจะ เพ่มิ ขึน้ เมอ่ื เทยี บกบั ฤดูอ่นื ๆ เป็นตน้ - วฒั นธรรม ประเพณี เชน่ ผู้บริโภคทีน่ บั ถอื ศาสนาอิสลามจะไมม่ อี ปุ สงค์ในเนอ้ื หมูเลย หรอื ผบู้ รโิ ภคที่เปน็ ชาวจีนสว่ นใหญ่จะไม่นิยมการ บรโิ ภคเนอื้ วัว ทาใหป้ รมิ าณความต้องการซอ้ื หรอื อุปสงคใ์ นเน้ือวัวมี นอ้ ย ฯลฯ - การคาดคะเนราคาในอนาคตของผบู้ รโิ ภค กลา่ วคอื ถา้ ผบู้ รโิ ภคคาดวา่ ในอนาคตราคาสินคา้ จะสูงข้นึ ผ้บู รโิ ภคกจ็ ะมอี ปุ สงคใ์ นสนิ คา้ เหลา่ น้นั ในปจั จบุ ันเพิ่มขึน้ ตรงกนั ขา้ มถา้ คาดว่าราคาสนิ คา้ จะลดลง ผูบ้ ริโภคก็ จะชะลอการใช้จ่ายในปจั จุบนั ลง นน่ั คืออุปสงค์ของสนิ ค้าเหล่าน้นั ใน ปจั จบุ นั จะน้อยลง
29/7/2564 1.4 พฤตกิ รรมการบรโิ ภคกบั ทฤษฎอี รรถประโยชน์ นอกจากปจั จยั ตา่ ง ๆ ท่กี ลา่ วมาแล้ว พฤตกิ รรมการบริโภคก็เปน็ ตวั กาหนดหรือมอี ทิ ธิพลตอ่ ปรมิ าณความต้องการซอื้ หรอื อุปสงคใ์ น สนิ คา้ และบรกิ ารตา่ งๆ ซง่ึ มที ฤษฎที ีเ่ กี่ยวข้องกบั พฤติกรรมการบริโภค คอื ทฤษฎีอรรถประโยชน์ คาวา่ อรรถประโยชน์ (Marginal Utility) นกั เศรษฐศาสตรไ์ ดใ้ ห้ ความหมายว่า ความพอใจทบ่ี ุคคลไดร้ บั จากการบริโภคสินค้า ในทางเศรษฐศาสตร์น้นั ความต้องการและความสามารถในการซอื้ เรยี กว่า อุปสงค์ (Demand) หากสมมตวิ า่ เราเป็นคนทม่ี เี หตุมีผลในทาง เศรษฐศาสตร์ การตัดสนิ ใจวา่ จะซ้ือสนิ ค้าและบริการหรือไมน่ น้ั กเ็ ปน็ ไป ตามหลักการคดิ แบบหน่วยสดุ ทา้ ย กลา่ วคอื ตอ้ งมีการเปรยี บเทยี บความ พึงพอใจทจี่ ะได้รับจากการบริโภคเพ่มิ ขนึ้ อกี หน่ึงหนว่ ย (Marginal Utility: MU) กับตน้ ทุนท่ีเกดิ ขน้ึ จากการบรโิ ภคหนว่ ยนั้นท่เี พิม่ ขนึ้ (Marginal Cost: MC) หาก MU ที่ไดร้ บั เทา่ กนั หรอื มากกวา่ MC ท่ี เกิดขึ้นจากการบรโิ ภคแลว้ กจ็ ะทาการซ้ือสินค้าชิน้ นน้ั อยา่ งไรกด็ ี MU ท่ไี ด้รบั จากการบรโิ ภคนัน้ ไม่ไดค้ งท่ีเสมอไป ลองนึกถึง ความพึงพอใจทไ่ี ด้รับจากการได้กนิ ขา้ วแกงจานแรกกบั ความพึงพอใจ ที่ได้รบั จากการกนิ ข้าวแกงจานท่สี อง สาม และสี่ จะเหน็ ไดว้ ่าขา้ วจาน แกงแรกให้ความพงึ พอใจกบั เรามากกว่าข้าวจานตอ่ ๆ ไป การลดลงของ ความพงึ พอใจท่ไี ด้รบั จากการบรโิ ภคเมอื่ มีการบริโภคสนิ ค้าหรือบรกิ าร ชนิดเดิมเพม่ิ ขึน้ เรอ่ื ยๆ นนั้ เรยี กว่า “กฎการลดนอ้ ยถอยลงของ อรรถประโยชน”์ (Law of Diminishing Marginal Utility) ถ้าเราเพม่ิ ข้อสมมตเิ ขา้ ไปอกี วา่ ความพงึ พอใจสามารถตีค่าออกมาเป็น ตัวเงินได้ เชน่ ข้าวจานแรกให้ MU กับเราเทา่ กับ 30 บาท ขา้ วจานท่ี สองให้ MU กบั เราเทา่ กับ 20 บาท ถา้ ข้าวแกงราคาจานละ 25 บาท (MC) หากตัดสนิ ใจตามหลักเศรษฐศาสตร์ เราก็จะซ้ือขา้ วแกงจานแรก มากินเนอื่ งจาก MU>MC แต่จะไมซ่ อื้ ขา้ งแกงจานท่สี องเพราะความพึง พอใจท่ไี ดร้ ับน้อยกวา่ ตน้ ทนุ ทเี่ กดิ ขน้ึ จากการบริโภค หากขา้ วแกงราคา จานละ 15 บาท เรากจ็ ะซ้อื ข้าวแกงเพิม่ ขึ้น จากเดิมที่เคยซ้อื แคจ่ าน เดียว กเ็ พิ่มมาเปน็ สองจาน เพราะข้าวแกงจานท่ีสองน้นั MU>MC
29/7/2564 ด้วยสมมติฐานทัง้ สองขอ้ น้ีเองทที่ าให้เกดิ กฎของอปุ สงค์ (Law of Demand) ท่กี ล่าวถึงความสมั พนั ธใ์ นเชงิ ผกผันระหวา่ งราคาสินคา้ และ บรกิ ารกบั ปรมิ าณซอ้ื สนิ ค้านั้น เมื่อใดท่ีราคาสินคา้ เพิ่มขึ้น การซอ้ื สนิ ค้า ก็จะลดลง ในทางตรงกนั ข้าม เมื่อราคาสินค้าลดลง ความต้องการซือ้ สนิ ค้านั้นกจ็ ะเพิ่มขน้ึ 1) กฎการลดนอ้ ยถอยลงของอรรถประโยชน์ (Law of Diminishing Marginal Utility) เม่อื ผบู้ รโิ ภคไดร้ ับสินค้าหรอื บริการเพ่มิ ข้นึ เรอื่ ยๆ โดยท่รี สนิยมและ อุปนิสัยของผ้บู รโิ ภคไม่เปลยี่ นแปลง อรรถประโยชนข์ องผบู้ รโิ ภคจะ เพิ่มข้ึนในระยะแรก แล้วค่อยๆลดลง จนถงึ จดุ หนึง่ ส่วนทีเ่ พ่มิ จะเทา่ กบั ศนู ย์ จะลดลงตา่ กว่าศูนยซ์ ง่ึ เป็นไปตามกฎการลดน้อยถอยลงของ อรรถประโยชน์ 2) อรรถประโยชนเ์ พมิ่ และอรรถประโยชน์รวม (Marginal Utility and Total Utility) - อรรถประโยชน์เพิ่ม (Marginal Utility : MU) คอื ความพอใจท่บี ุคคล ไดร้ ับเพิ่มขน้ึ เมอ่ื ได้รบั สนิ คา้ และบริการการสนองความต้องการเพ่มิ ขึน้ ทีละหนว่ ย - อรรถประโยชนร์ วม (Total Utility : TU) คือ ผลรวมของ อรรถประโยชนเ์ พมิ่ ทบ่ี ุคคลไดร้ บั จากการบรโิ ภคสนิ ค้าและบรกิ ารชนิด ใดชนดิ หนงึ่ ขณะน้ัน
29/7/2564 ตวั อยา่ ง อรรถประโยชน์ทเี่ กดิ จากการบรโิ ภคนา้ ของบคุ คลหนง่ึ นา้ แกว้ ท่ี อรรถประโยชนเ์ พมิ่ (MU) อรรถประโยชนร์ วม (TU) 1 หนว่ ย หนว่ ย 10 10 28 18 36 24 44 28 52 30 60 30 7 -2 28 8 -4 24 เราเพม่ิ ขอ้ สมมติวา่ ความพงึ พอใจสามารถแทนเปน็ คา่ ได้ จะเหน็ ได้ว่า อรรถประโยชนท์ ี่เกดิ จากการดม่ื นา้ แก้วแรกจะมคี า่ มากท่ีสดุ แต่ อรรถประโยชนท์ ี่เกิดจากการดื่มนา้ แก้วตอ่ ๆไปเริ่มลดลงจนกระทง่ั แกว้ ท่ี หกร้สู กึ อมิ่ ทนั ทีคอื ไม่มีอรรถประโยชน์เลย คอื เทา่ กับศูนย์ แต่ถา้ เรายัง ดม่ื นา้ เข้าไปตอ่ แลว้ น้ันนอกจากจะไมม่ ีอรรถประโยชนแ์ ล้วใหโ้ ทษอีก ดว้ ยนัน่ คอื อรรถประโยชนต์ ิดลบ 1.4 อปุ ทาน (supply) อุปทาน (supply) หมายถึงปริมาณความต้องการเสนอขายสนิ ค้าหรอื บริการชนดิ ใดชนดิ หนงึ่ ทผี่ ู้ผลิตหรือผู้ประกอบการมคี วามเตม็ ใจที่จะ เสนอขาย และสามารถจดั หามาขายหรือใหบ้ ริการไดใ้ นขณะใด ขณะหนึง่ ณ ระดบั ราคาต่างๆที่ตลาดกาหนดมาให้
29/7/2564 จากความหมายของอปุ ทาน จะเห็นไดว้ า่ อุปทานประกอบดว้ ย 2 สว่ น สาคญั คอื - ความเตม็ ใจทจ่ี ะเสนอขายหรอื ให้บรกิ าร (willingness) กลา่ วคอื ณ ระดับราคาตา่ งๆ ทีต่ ลาดกาหนดมาให้ ผผู้ ลติ หรอื ผู้ประกอบการมีความ ยินดหี รอื เต็มใจท่จี ะเสนอขายสินคา้ หรือใหบ้ ริการตามความต้องการซอื้ ของผู้บรโิ ภค - ความสามารถในการจดั หามาเสนอขายหรอื ใหบ้ รกิ าร (ability to sell) กล่าวคือ ผ้ผู ลติ หรือผปู้ ระกอบการจะตอ้ งจัดหาให้มสี ินค้าหรือ บริการอยา่ งเพยี งพอทีจ่ ะตอบสนองความตอ้ งการซ้ือของผบู้ รโิ ภค ณ ระดับราคาของตลาดในขณะนนั้ ๆ (สามารถเสนอขายหรอื ให้บริการได้) เมอื่ กลา่ วถงึ คาวา่ อปุ ทาน จะเปน็ การมองทางดา้ นของผผู้ ลติ ซงึ่ ตรงข้าม กับอปุ สงคท์ เ่ี ปน็ การมองทางดา้ นของผูบ้ รโิ ภค ในทางเศรษฐศาสตร์แลว้ ความสมั พนั ธข์ องราคาสนิ คา้ ที่มีตอ่ อปุ ทานของสนิ คา้ น้นั จะเปน็ ไปตาม กฎของอปุ ทาน (Law of Supply) 1.5 กฎของอปุ ทาน (Law of Supply) ภายใตข้ อ้ สมมตวิ า่ ปจั จัยตวั อนื่ ๆท่มี ีผลต่ออปุ ทานมคี า่ คงที่ ปรมิ าณ อุปทานของสนิ ค้าชนิดใดชนิดหนึ่งจะเปลีย่ นแปลงไปในทศิ ทางเดยี วกนั กับราคาของสินคา้ ชนดิ น้ัน กลา่ วคือเมือ่ ราคาสินค้าสูงขน้ึ ปริมาณ อปุ ทานจะเพ่ิมขึ้น เนื่องจากผูผ้ ลติ มคี วามต้องการท่จี ะเสนอขายมากขึ้น เพราะคาดการณ์วา่ จะได้กาไรสงู ขน้ึ ในทางกลับกนั เมอื่ ราคาสินค้า ลดลงปรมิ าณอปุ ทานจะนอ้ ยลง เนอ่ื งจากคาดการณว์ า่ กาไรทีไ่ ด้จะ ลดลง ลักษณะท่วั ไปของเส้นอุปทานจงึ เป็นเส้นทีม่ ลี กั ษณะทลี่ ากเฉียง ข้นึ จากซ้ายไปขวา
29/7/2564 ตวั อยา่ งตารางแสดงอปุ ทาน การขายองนุ่ ของนาย B ราคา (บาท) ปรมิ าณอปุ ทาน (กิโลกรมั ) 10 1 20 2 30 3 40 4 50 5 60 6 1.6 ปจั จยั ทม่ี อี ทิ ธพิ ลตอ่ อปุ ทาน เส้นอุปทานทกี่ ล่าวมาแล้วเป็นความสัมพนั ธร์ ะหวา่ งปรมิ าณความ ตอ้ งการขายกบั ราคาของสินค้าหรอื บรกิ ารน้ัน โดยกาหนดใหป้ จั จัยอน่ื ๆ คงท่ี หากเรานาปจั จยั ตวั อนื่ เข้ามาพิจารณา จะเห็นวา่ ปรมิ าณความ ต้องการขายสนิ คา้ หรอื ปรมิ าณอปุ ทานมิไดข้ ึน้ อยกู่ บั ราคาของสนิ ค้า หรอื บรกิ ารนั้นแต่เพียงอย่างเดยี ว แต่ยังข้นึ อยู่กบั ปจั จัยตวั อื่นๆซึ่งไดแ้ ก่
29/7/2564 - ตน้ ทนุ การผลติ เป็นท่ียอมรบั กันทวั่ ไปวา่ ปรมิ าณความต้องการเสนอ ขายหรอื อุปทานจะเปล่ยี นแปลงไปในทศิ ทางกลับกันกบั ต้นทนุ การผลิต ของผลผลติ หรือสนิ คา้ หรือบรกิ ารนน้ั ๆ กลา่ วคอื ภายใต้ตน้ ทุนการผลิต ระดบั หน่ึงถา้ ต้นทนุ การผลติ ต่อหนว่ ยของสนิ ค้าหรอื บริการสูงขน้ึ ความสามารถในการเสนอขายหรืออปุ ทานจะมีปริมาณน้อยลง ถา้ ตน้ ทนุ การผลิตตอ่ หนว่ ยลดลงปริมาณอปุ ทานจะมีมากข้นึ - ราคาปจั จยั การผลติ เน่ืองจากราคาปจั จยั การผลิตเปน็ ตัวกาหนด ต้นทุนการผลิตของสินคา้ หรอื บริการ ซึ่งการเปลยี่ นแปลงของราคา ปจั จัยการผลติ ทาใหต้ น้ ทนุ การผลิตเปลี่ยนแปลงในทิศทางเดยี วกนั เชน่ ถ้าค่าจ้างแรงงานสงู ข้ึนจะทาใหต้ ้นทนุ การผลติ สินค้าโดยทวั่ ไปสูงขนึ้ สง่ ผลใหป้ รมิ าณความต้องการเสนอขายหรืออปุ ทานลดลงได้ และถา้ กลบั กนั กจ็ ะใหผ้ ลในทางตรงกนั ขา้ ม - ราคาสนิ ค้าชนิดอนื่ การเปล่ยี นแปลงของราคาสินคา้ ชนดิ หนงึ่ อาจมี ผลกระทบตอ่ ปริมาณความตอ้ งการเสนอขายหรอื อปุ ทานของสนิ คา้ ชนดิ หน่ึงได้ เช่น ถา้ ราคาสม้ ลดลง ชาวสวนอาจหันไปปลกู มะนาวแทน ทา ใหป้ รมิ าณความตอ้ งการขายสม้ ลดลง ส่วนของมะนาวเพม่ิ ข้ึน เนื่องจาก ผผู้ ลิตรายดังกลา่ วคาดว่าตนจะได้รบั กาไรเพมิ่ ขน้ึ จากการปลูกมะนาว แทนส้ม - เทคโนโลยกี ารผลติ ความกา้ วหน้าทางเทคโนโลยมี ผี ลทาใหต้ น้ ทุน การผลติ ตอ่ หนว่ ยลดลง เน่ืองจากปจั จัยการผลติ จานวนเท่าเดิมผูผ้ ลิต สามารถผลิตสินคา้ ได้ปรมิ าณมากขน้ึ นั่นคอื ความสามารถในการเสนอ ขายหรอื อปุ ทานของสินคา้ ของผู้ผลติ มเี พ่มิ ขนึ้ - ภาษี จานวนภาษที ี่รฐั บาลจดั เกบ็ จากการขายสนิ คา้ และบริการเปน็ ปจั จัยหน่งึ ทเ่ี ปน็ ตัวกาหนดตน้ ทุนการผลิตของสนิ คา้ และบริการ ถ้า รฐั บาลเก็บภาษใี นอัตราสูงจะทาใหต้ น้ ทุนการผลติ สนิ คา้ สูงขึ้น ทาให้ อปุ ทานลดลง แตถ่ า้ รฐั บาลเกบ็ ภาษใี นอัตราลดลง ทาให้ตน้ ทนุ การผลิต สนิ คา้ ลดลง และอุปทานจะเพมิ่ ขึ้น
29/7/2564 - การคาดการณร์ าคาสนิ คา้ ในอนาคต ถา้ ผผู้ ลติ คาดการณว์ ่าราคา สินคา้ ในอนาคตจะสงู ข้นึ ผู้ผลิตจะชะลอปรมิ าณการเสนอขายใน ปัจจบุ นั ลง เพอื่ จะเกบ็ ไว้รอขายในอนาคต (อปุ ทานลดลง) ในทาง กลับกัน ถา้ คาดการณว์ ่าราคาสนิ ค้าในอนาคตจะลดลง ผู้ผลติ จะเพิ่ม ปริมาณการเสนอขายในปจั จุบนั มากขึ้น (อุปทานเพิม่ ขึ้น) - สภาพดนิ ฟา้ อากาศ สว่ นใหญจ่ ะมอี ทิ ธพิ ลต่อผลผลิตทางการเกษตร ถ้าฝนฟ้าตกต้องตามฤดูกาลผลผลติ กจ็ ะมมี ากและอุดมสมบรู ณ์ แต่ถา้ สภาพดนิ ฟา้ อากาศไม่ดปี รมิ าณผลผลติ ก็จะมีน้อย กลา่ วโดยสรปุ จะเห็นไดว้ ่ามีปจั จยั ตา่ งๆมากมายท่เี ป็นตัวกาหนดหรอื มี อทิ ธิพลตอ่ ปริมาณความตอ้ งการเสนอขายหรอื อุปทานของสินคา้ และ บริการตา่ งๆ ซึง่ ในทนี่ ีจ้ ะขอกล่าวแต่เพยี งเท่านี้ 1.7 ราคาและราคาดลุ ยภาพ ในระบบเศรษฐกิจแบบเสรีนยิ มหรือทนุ นิยมนกั เศรษฐศาสตรเ์ ช่อื วา่ ราคา ของสินคา้ และบริการจะถูกกาหนดโดยอุปสงคแ์ ละอปุ ทานของตลาด เนื่องจากอุปสงคจ์ ะแสดงถงึ พฤตกิ รรมของผบู้ รโิ ภคในการซอ้ื สนิ คา้ ชนิดหน่งึ เปน็ ปริมาณเทา่ ใดในแตล่ ะระดบั ราคา ส่วนอุปทานจะเป็นการ แสดงถึง พฤติกรรมของผผู้ ลติ ในการขายสินค้าชนิดนัน้ เป็นปรมิ าณ เท่าใดในแต่ละระดบั ราคา โดยปกติแล้วปริมาณความตอ้ งการซ้อื หรือ อุปสงค์ในสินคา้ ไม่จาเปน็ จะต้องเทา่ กับปริมาณความตอ้ งการเสนอขาย หรือ อุปทานในสินค้า ณ ขณะใด พฤตกิ รรมการเปลีย่ นแปลงของราคา สินคา้ จะเปน็ ไปตามกฎของอุปสงคแ์ ละอุปทานดังนี้ ถา้ อุปสงคข์ องสนิ ค้าชนิดใดชนดิ หน่ึงมปี รมิ าณมากกวา่ อปุ ทานของ สินค้าชนดิ นั้น ราคาสนิ คา้ น้ันจะมีแนวโน้มสงู ข้นึ และเมอื่ ราคาสนิ คา้ สงู ข้นึ จะทาใหอ้ ปุ ทานเพ่ิมขึ้น อปุ สงค์ลดลง ตรงกันขา้ ม ถา้ อุปสงคม์ ี ปริมาณนอ้ ยกว่าอปุ ทาน ราคาสนิ คา้ นัน้ จะมีแนวโนม้ ลดลง และเม่อื ราคา สนิ คา้ ลดลงจะทาใหอ้ ปุ ทานลดลง อุปสงค์เพ่ิมข้ึน การเปล่ียนแปลงของ อปุ สงคแ์ ละอุปทานของสนิ คา้ จะเคลอื่ นไหว สลบั ไปมาอย่างน้ีเร่อื ยไป จนกระท่ังเขา้ สู่ดลุ ยภาพของตลาด ณ จุดที่ปริมาณอุปสงคเ์ ทา่ กบั ปริมาณอปุ ทาน เราเรียกระดับราคาดังกลา่ ววา่ ราคาดลุ ยภาพ (equilibrium price)
29/7/2564 ราคาดลุ ยภาพ หมายถงึ ระดับราคา ณ จดุ ทป่ี รมิ าณอปุ สงคเ์ ท่ากับ ปรมิ าณอปุ ทาน (ดลุ ยภาพ ของตลาด) หรือกล่าวอกี นยั หนึ่งว่าเป็นราคา ท่ีความต้องการเสนอซือ้ เทา่ กนั พอดกี บั ความต้องการ เสนอขาย ถ้า พิจารณาจากกราฟ ราคาดลุ ยภาพจะเปน็ ระดบั ราคา ณ จุดท่เี สน้ อุปสงค์ ตดั กับเสน้ อปุ ทาน ตารางแสดงอปุ สงค์และอปุ ทานการซอื้ ขายส้มโอของตลาดแหง่ หนงึ่ ราคา (บาท) ปรมิ าณอปุ สงค์ ปรมิ าณอุปทาน (กโิ ลกรมั ) (กโิ ลกรมั ) 10 140 20 20 120 40 30 100 60 40 80 80 50 60 100 60 40 120 70 20 140 จากตาราง ราคาดุลยภาพเทา่ กบั 40 บาท ปรมิ าณดลุ ยภาพเทา่ กับ 80 หนว่ ย (ปริมาณอุปสงคเ์ ทา่ กบั ปรมิ าณอุปทาน) ระดบั ราคาท่ีอยู่เหนือราคาดุลยภาพจะทาให้เกดิ ภาวะสนิ คา้ ล้นตลาด (excess supply or surplus) เนอ่ื งจากระดบั ราคาดงั กล่าวสูงกว่าทคี่ วร จะเปน็ ทาให้ผผู้ ลติ มีความตอ้ งการทีจ่ ะเสนอขายมาก แตผ่ บู้ ริโภคมี ความต้องการซอ้ื น้อย เกดิ ความไม่สมดุล ณ ระดบั ราคาดงั กลา่ ว ถา้ ผูผ้ ลติ มีความตอ้ งการท่ีจะขายกจ็ ะต้องลดราคาลงมา เพื่อกระตนุ้ หรอื จงู ใจผู้บรโิ ภคใหต้ ัดสินใจซื้อ (มคี วามตอ้ งการซื้อ) มากขน้ึ โดยสรปุ ราคา จะมแี นวโนม้ ลดลงจากเดมิ จนเข้าสู่ราคาดุลยภาพ ในทางกลับกัน ถา้ ราคาอยู่ตา่ กว่าราคาดลุ ยภาพจะทาใหเ้ กิดภาวะสนิ คา้ ขาดตลาด (excess demand or shortage) ซ่งึ ราคาดงั กล่าว ต่ากวา่ ท่คี วรจะเปน็ ทาให้ผผู้ ลติ มีความตอ้ งการที่จะเสนอขายน้อย แตผ่ ู้บริโภคกลบั มคี วาม ตอ้ งการซอ้ื มาก เกิดความไมส่ มดุล เม่ือผ้บู รโิ ภคมคี วามต้องการซื้อมาก (อุปสงคเ์ พ่ิม) ส่งผลให้ราคาสินค้ามีแนวโนม้ สูงขึน้ เพอ่ื จงู ใจใหผ้ ผู้ ลิต เสนอขายสินคา้ มากข้นึ ในทส่ี ุดราคาจะมแี นวโน้มเขา้ สรู่ าคาดลุ ยภาพ
29/7/2564 กลา่ วโดยสรปุ ระดับราคาทีอ่ ย่สู งู กว่าหรอื ตา่ กวา่ ราคาดุลยภาพจะเปน็ ระดับราคาทีไ่ มม่ เี สถียรภาพ ราคาทอี่ ยู่สูงกว่าราคาดลุ ยภาพจะมี แนวโน้มลดลงมา สว่ นราคาทอี่ ยตู่ ่ากว่าราคาดุลยภาพ จะมีแนวโน้ม สูงขึน้ จนในท่สี ุดเขา้ สดู่ ลุ ยภาพของตลาด ซึง่ เป็นระดบั ราคาท่ีคอ่ นข้าง จะมเี สถยี รภาพ เปน็ ระดับราคา ณ จดุ ท่อี ุปสงคเ์ ทา่ กับอุปทาน (เสน้ อุป สงคต์ ดั กบั เส้นอปุ ทาน) 1.8 การเปลย่ี นแปลงในดลุ ยภาพของตลาด ดุลยภาพของตลาดอาจเปลย่ี นได้ หากเสน้ อุปสงค์เปลย่ี นหรอื เสน้ อุปทานเปลย่ี น หรือทัง้ สองเส้นเปลยี่ นพร้อมกนั อปุ สงคอ์ าจเปลย่ี นไปในทางทเ่ี พิ่มขน้ึ (เส้นอปุ สงค์ Shift มาทางขวา) หรอื อุปสงคอ์ าจเปลยี่ นไปในทางทลี่ ดลง (เส้นอุปสงค์ Shift มาทางซ้าย) ส่วนอุปทานอาจเปลี่ยนไปในทางทเี่ พ่มิ ข้ึน (เสน้ อปุ ทาน Shift มา ทางขวา) หรืออปุ สงคอ์ าจเปล่ียนไปในทางทล่ี ดลง (เส้นอปุ ทาน Shift มาทางซา้ ย)
29/7/2564 เรอ่ื งท่ี 2 ตลาดและประเภทของตลาด 2.1 ตลาดในทางเศรษฐศาสตร์ ตลาดในความหมายของบคุ คลทั่วไป หมายถงึ สถานทแี่ หง่ ใดแหง่ หนึ่งท่ี มผี นู้ าของไปขายแลว้ มีคนมาซือ้ เปน็ สถานทเี่ พ่อื แลกเปล่ียนซอ้ื ขาย สินค้าและบริการกนั เช่น ตลาดนดั สวนจตจุ กั ร ตลาดขายอาหารสด ทัว่ ไป ตลาดพาหรุ ดั ตลาดบางลาภู และตลาดบางเขน เป็นต้น แต่ในทางเศรษฐศาสตร์ คาวา่ ตลาด มีความหมายกว้างกวา่ น้ัน กล่าวคือ ตลาดเป็นขอบเขต การขายสนิ คา้ ชนิดใดชนิดหนึ่งทีผ่ ู้ซอื้ และ ผขู้ ายสามารถตดิ ต่อและทาความตกลงในการซื้อขายแลกเปลย่ี นกันได้ ดังนัน้ ตลาดในความหมายทางเศรษฐศาสตร์จึงไม่ไดเ้ นน้ ถงึ สถานทท่ี ที่ า การซ้ือขายกัน แม้ผู้ซ้อื และผ้ขู ายจะอย่คู นละมมุ โลกและไมม่ ีสถานที่ซ้อื ขายกนั กอ็ าจสร้างตลาดใหเ้ กดิ ขึ้นไดโ้ ดยตดิ ตอ่ ซ้อื ขาย กนั ทาง จดหมาย อเี มล โทรเลข โทรศพั ท์ วทิ ยุ หรอื ทางโทรสารกไ็ ด้ การซ้ือ ขายโดยไม่ต้องมตี ลาดเป็นตัวเปน็ ตน ไม่มีสถานท่ตี ัง้ แน่นอนนี้ จงึ ทาให้ สามารถขยายอาณาเขตการซือ้ ขายไดส้ ะดวก ดงั นน้ั ตลาดสนิ ค้าและ บรกิ ารบางอยา่ งจึงมีขอบเขตได้กวา้ งขวางท่วั โลกจงึ เรยี กวา่ ตลาดโลก ตลาดโลกจึงมไิ ด้ ตงั้ อยใู่ นทหี่ นึ่งท่ีใด แต่เปน็ เพยี งการช้ใี หเ้ ห็นถึง สภาวะการคา้ สนิ คา้ ตา่ งๆทว่ั โลกว่าในขณะนนั้ แตล่ ะประเทศทวั่ โลกมี ผลผลติ และมคี วามตอ้ งการซื้อขายสนิ ค้าชนิดใดกนั มากน้อยเพยี งใด นอกจากน้แี ลว้ ตลาดในทางเศรษฐศาสตร์ยังหมายความรวมถงึ ภาวะการตลาดด้วย เช่น การเกิดภาวะราคาขา้ วตกต่า ภาวะราคาหุ้น ตกตา่ ราคาสนิ ค้าถีบตวั สงู ขึน้ ภาวะทส่ี นิ คา้ ขาดตลาด หรอื ภาวะที่มี สินคา้ ลน้ ตลาด ความหมายของตลาดในทางเศรษฐศาสตร์จงึ กว้างมากและพอสรปุ ได้ ดังน้ี ตลาด หมายถงึ สภาวการณท์ ีผ่ ู้ซอ้ื และผูข้ ายตดิ ต่อกนั ได้ โดยสะดวก จนสามารถทาการแลกเปลย่ี นซ้ือขายสินค้ากันได้
29/7/2564 2.2 ประเภทของตลาดแบง่ ตามลกั ษณะการแข่งขัน การแบ่งตลาดตามลักษณะของการแขง่ ขนั หรอื เรียกว่าแบง่ ตามจานวน ผู้ขายและลกั ษณะของ สินคา้ การแบง่ ตลาดตามวธิ นี ้มี คี วามใกลเ้ คียง ความเปน็ จรงิ มาก เพราะในความเปน็ จริงน้นั จะมีผซู้ ื้อสนิ ค้าเปน็ จานวน มาก การแบง่ ตามจานวนผ้ขู ายยอ่ มจะแบ่งไดส้ ะดวกกวา่ สาหรบั การ วิเคราะหต์ ลาด ของนกั เศรษฐศาสตรก์ ็มุง่ ใหค้ วามสนใจในการแบง่ ตลาดตามวิธีน้ดี ว้ ย ซ่ึงแบง่ ออกไดเ้ ปน็ 2 ประเภท คือ 1) ตลาดทม่ี กี ารแข่งขนั สมบรู ณ์ (competitive market) หรืออาจ เรียกว่าตลาดที่มกี ารแข่งขนั อยา่ งสมบูรณ์ (perfect or pure competition) ตลาดประเภทน้ีมีอยนู่ ้อยมากในโลกแห่งความเปน็ จรงิ อาจกล่าวไดว้ า่ เป็นตลาดในอุดมคติ (ideal market) ของนัก เศรษฐศาสตร์ ตลาดชนดิ นเ้ี ปน็ ตลาดทรี่ าคาสินคา้ เกิดขึ้นจาก แรงผลกั ดนั ของอปุ สงค์และอปุ ทานโดยแท้จรงิ ไม่มีปจั จยั อืน่ ๆมาผลักดนั ในเรอ่ื งราคา ลกั ษณะสาคญั ของตลาดประเภทนี้ คือ - มผี ูซ้ ือ้ และผขู้ ายจานวนมาก (many buyers and sellers) แตล่ ะรายมี การซื้อขายเป็นส่วนน้อยเมอื่ เปรียบเทยี บกบั จานวนผู้ซอ้ื และผขู้ าย ทั้งหมดในตลาด การซื้อขายสนิ คา้ ของผซู้ ้ือหรือผ้ขู ายแตล่ ะรายไม่มี อทิ ธิพลตอ่ การกาหนดราคาในตลาด กล่าวคอื ถึงแม้ผซู้ ือ้ หรือผขู้ ายจะ หยดุ ซือ้ หรอื ขายสนิ คา้ ของตนกจ็ ะไมก่ ระทบกระเทอื นตอ่ ปริมาณสนิ คา้ ท้ังหมดในตลาด เพราะผซู้ อ้ื หรอื ผขู้ ายแตล่ ะคนจะซอ้ื สินค้าหรอื ขาย สนิ ค้าเป็นจานวนเล็กนอ้ ย เมือ่ เปรียบเทยี บกบั ปริมาณสนิ คา้ ทง้ั หมดที่มี อยูใ่ นตลาด - สนิ คา้ ที่ซื้อหรือขายจะตอ้ งมลี ักษณะเหมอื นกนั (homogeneity) สามารถที่จะใช้แทนกันไดอ้ ย่างสมบรู ณใ์ นทรรศนะหรอื สายตาของผู้ซื้อ ไม่ว่าจะซ้อื สินค้าประเภทเดยี วกันนจ้ี ากผู้ขายคนใดกต็ ามผู้ซื้อจะได้รบั ความพอใจเหมอื นกัน เชน่ ผงซกั ฟอก ถา้ ตลาดมีการแขง่ ขนั กนั อยา่ ง แท้จริงแลว้ ผ้ซู ือ้ จะไมม่ คี วามรู้สึกวา่ ผงซกั ฟอกแตล่ ะกลอ่ งในตลาดมี ความแตกต่างกัน คือใชแ้ ทนกันได้สมบรู ณ์ แตถ่ ้าเม่อื ใดก็ตามท่ผี ู้ซ้อื มี ความรู้สกึ วา่ สนิ คา้ มคี วามแตกตา่ ง เมือ่ นั้นภาวะของความเปน็ ตลาด แขง่ ขันอย่างสมบูรณก์ จ็ ะหมดไป
29/7/2564 - ผู้ซื้อและผขู้ ายจะต้องมีความรอบรู้ในภาวะของตลาดอย่างสมบูรณ์ คอื มีความรภู้ าวะของอุปสงค์ อปุ ทาน และราคาสินคา้ ในตลาด สนิ คา้ ชนิด ใดมีอปุ สงคเ์ ป็นอยา่ งไร มอี ปุ ทานเปน็ อยา่ งไร ราคาสูงหรือตา่ กส็ ามารถ จะทราบได้ - การตดิ ตอ่ ซื้อขายจะตอ้ งกระทาได้โดยสะดวก หมายความว่าทงั้ ผซู้ อื้ และผขู้ ายสามารถทาการตดิ ต่อคา้ ขายกนั ไดอ้ ยา่ งสะดวกและรวดเร็ว รวมถึงการเคลอ่ื นยา้ ยปจั จยั การผลติ จะตอ้ งเปน็ ไปอย่างสะดวกและ รวดเรว็ ดว้ ย - หน่วยธรุ กิจสามารถเขา้ หรอื ออกจากธุรกจิ การค้าโดยเสรี ตลาด ประเภทน้จี ะต้องไมม่ ีข้อจากัดหรือข้อกีดขวางในการเขา้ มาประกอบ ธุรกิจของนักธรุ กิจรายใหม่ หมายความว่าหนว่ ยการผลติ ใหม่ๆจะเข้ามา ประกอบกจิ การแขง่ ขันกบั หนว่ ยธรุ กิจทมี่ ีอยกู่ อ่ นเมอ่ื ใดก็ได้ หรือในทาง ตรงกนั ขา้ มจะเลิกกจิ การเมอ่ื ใดกไ็ ด้ 2) ตลาดแข่งขนั ไมส่ มบรู ณ์ (non-perfect competition market) เนอ่ื งจากตลาดที่มกี ารแข่งขันอยา่ งสมบูรณเ์ ป็นตลาดทีห่ าไดย้ ากเพราะ เปน็ ตลาดในอดุ มคติของนกั เศรษฐศาสตร์ ตลาดตามสภาพทแ่ี ทจ้ ริงใน โลกน้ีส่วนใหญเ่ ปน็ ตลาดทม่ี ีการแขง่ ขนั ไมส่ มบรู ณ์ ทงั้ น้ีเนอื่ งจากสนิ ค้าที่ ซ้ือขายในทอ้ งตลาดส่วนมากมลี ักษณะไมเ่ หมอื นกัน ทาให้ผู้ซอ้ื เกดิ ความ พอใจสินคา้ ของผู้ขายคนหน่งึ มากกว่าอีกคนหน่งึ นอกจากนี้ ผูซ้ ือ้ หรือ ผ้ขู ายในธรุ กิจมีนอ้ ยเกินไป จนกระทงั่ มอี ิทธพิ ลเหนือราคาทจี่ าหน่าย กล่าวคอื แทนทจ่ี ะเป็นผูย้ อมรบั ปฏบิ ตั ติ ามราคาตลาดกก็ ลบั เปน็ ผกู้ าหนด ราคาเสียเอง สินคา้ ที่ซ้อื ขายในตลาดท่ัวๆไปกม็ ักจะเคลอ่ื นย้ายไปยงั ท่ี ตา่ งๆไม่สะดวก เพราะถนนไม่ดี การตดิ ต่อสือ่ สารไมด่ ี และอาจจะมี กฎหมายการห้ามส่งสินค้าเขา้ ออกนอกเขตอกี ด้วย ประกอบกบั ผ้บู ริโภค ไม่ค่อยจะรอบรู้ในสภาวะของตลาดอยา่ งดีจึงทาใหต้ ลาดเป็นตลาดที่มี การแข่งขันอย่างไม่สมบูรณ์
29/7/2564 2.3 ประเภทของตลาดแข่งขันไมส่ มบรู ณ์ 1) ตลาดกง่ึ แข่งขนั กงึ่ ผกู ขาด (monopolistic competition) ตลาด ประเภทนมี้ ลี กั ษณะทส่ี าคญั คือ มผี ซู้ อ้ื และผขู้ ายเปน็ จานวนมาก และทง้ั ผูซ้ อ้ื และผขู้ ายต่างมีอิสระเตม็ ทีใ่ นการที่จะวางนโยบายการขายและการ ซอ้ื ของตนโดยไม่กระทบกระเทือนคนอนื่ แต่สินค้าทีผ่ ลิตมีลกั ษณะหรอื มาตรฐานแตกตา่ งกันถือเปน็ สินคา้ อย่างเดียวกนั แต่กม็ ีหลายตรา หลาย ยห่ี ้อ การบรรจุหีบห่อ การโฆษณาตา่ งกนั เป็นเหตใุ หผ้ ซู้ อ้ื ชอบหรอื พึง ใจในสนิ คา้ ยห่ี อ้ ใดยี่ห้อหนง่ึ โดยเฉพาะ ทาให้ผูข้ ายสามารถกาหนด ราคาสนิ ค้าของตนได้ทง้ั ๆทผ่ี ้ขู ายในตลาดชนิดนตี้ ้องแขง่ ขันกับผู้ขาย รายอืน่ เชน่ สินคา้ ผงซกั ฟอก สบู่ ยาสีฟัน ฯลฯ 2) ตลาดทม่ี ผี ูข้ ายนอ้ ยราย (oligopoly) ตลาดประเภทนี้จะมีผขู้ ายเพยี ง ไม่ก่ีราย และผู้ขายแตล่ ะรายจะขายสนิ ค้าเป็นจานวนมาก เมอื่ เทยี บกับ ปริมาณสินคา้ ทั้งหมดในตลาด ถา้ หากวา่ ผขู้ ายรายใดเปลีย่ นราคาหรือ นโยบายการผลิตและการขายแล้วกจ็ ะกระทบกระเทอื นตอ่ ผผู้ ลติ ราย อน่ื ๆ เช่น บริษทั ผขู้ ายนา้ มันในประเทศไทยซงึ่ มเี พียงไม่กี่ราย ผขู้ ายแต่ ละบริษทั จะต้องวางนโยบายของตน ให้สอดคล้องกบั นโยบายของบรษิ ทั อื่นๆเพอื่ ที่จะดาเนนิ การค้ารว่ มกันอยา่ งราบรนื่ และผขู้ ายทกุ คน กม็ ี อิทธพิ ลตอ่ การกาหนดราคาและปรมิ าณสินคา้ ในตลาด ถา้ บรษิ ทั ใด เปลี่ยนนโยบายการขายยอ่ มมี ผลกระทบกระเทือนตอ่ สินค้าชนิดนั้นๆ ท้ังหมด เช่น ถ้าบริษทั ใดบรษิ ทั หนงึ่ ลดราคา สินค้าของคูแ่ ขง่ ขนั กจ็ ะลด ราคาลงด้วยเพ่ือรักษาระดบั การขายไว้ 3) ตลาดผูกขาด (monopoly) คือตลาดท่ีมีผขู้ ายอยเู่ พยี งคนเดยี ว ทาให้ ผขู้ ายมอี ิทธิพลเหนอื ราคาและปริมาณสินคา้ อย่างสมบรู ณใ์ นการทจี่ ะ เพม่ิ หรือลดราคาและควบคุมจานวนขายทั้งหมด (total supply) ไดต้ าม ตอ้ งการ สว่ นมากจะเป็นธุรกจิ ขนาดใหญใ่ ชเ้ งนิ ลงทนุ มาก มีเทคโนโลยี ที่ทนั สมยั ทาให้ธุรกิจขนาดเล็กรายอน่ื ๆไม่สามารถเข้ามาแข่งขันได้ ตลาดประเภทน้ี ไดแ้ ก่ บรษิ ทั ผลติ เครอ่ื งบนิ เครอื่ งจักรกล หรอื กจิ การ สาธารณปู โภค เชน่ การเดนิ รถประจาทาง โรงงาน ยาสบู ไฟฟา้ น้าประปา โทรศัพท์ เป็นต้น
29/7/2564 2.4 สาเหตขุ องการผกู ขาด ผ้ผู ลติ หรือธุรกจิ ผกู ขาดเปน็ ผ้คู วบคมุ ปรมิ าณวตั ถดุ บิ แต่เพยี งผูเ้ ดยี ว เกดิ จากขอ้ กาหนดของกฎหมายด้วยการมลี ิขสทิ ธหิ์ รอื การขออนญุ าตแบบมี สมั ปทานเฉพาะรายธรุ กจิ ทาให้ธุรกจิ อน่ื ไม่สามารถเข้ามาแข่งขันได้ เป็นธุรกิจอตุ สาหกรรมขนาดใหญ่ ใช้เงนิ ลงทนุ สงู มีประสิทธิภาพใน การผลิตดว้ ยเทคโนโลยีทที่ นั สมัย รวมทั้งมีความได้เปรยี บทางด้าน ทรัพยากรต่างๆ ทาใหเ้ กิดลกั ษณะของการผูกขาดธรรมชาติ (natural monopoly) ธรุ กิจอื่นไม่สามารถเข้ามาแข่งขนั ได้ เรอื่ งที่ 3 บทบาทของรฐั ในการแทรกแซงราคาและควบคุมราคา จากการท่ีเราได้ทาการศกึ ษาเรื่องของอปุ สงค์ อุปทานและดุลยภาพของ ตลาดมาแลว้ ต่อไปเราจะศกึ ษาบทบาทของรัฐบาลท่เี ขา้ ไปแทรกแซง ตลาดหรอื นโยบายการควบคุมราคา เปน็ การยื่นมอื เขา้ มาให้ความ ช่วยเหลอื เพือ่ ทาให้ราคาสนิ คา้ มเี สถยี รภาพ ทงั้ นี้เพราะสนิ ค้าบางชนิด ราคาไมค่ ่อยมีเสถียรภาพ กลา่ วคือ เมอื่ ปริมาณการผลิตเปลีย่ นแปลงไป มกั จะทาใหร้ าคาเปล่ยี นแปลงไปด้วย ซ่งึ อาจจะสูงหรือตา่ เกินไปจนทา ให้ผบู้ รโิ ภคหรอื ผผู้ ลิตไดร้ บั ความเดือดรอ้ น ดังนน้ั รัฐบาลจงึ เข้ามาให้ ความชว่ ยเหลอื ทง้ั ทางด้านผู้บรโิ ภคและผ้ผู ลติ ซ่ึงมีผลกระทบต่อดุลย ภาพของตลาด โดยทั่วๆไปแบ่งออกเป็น 2 กรณี คือ 3.1 การกาหนดราคาขัน้ ตา่ (minimum price control) การกาหนดราคาข้ันตา่ รฐั จะเขา้ มาแทรกแซงตลาดโดยการประกัน ราคาหรอื พยงุ ราคาในกรณที ่สี นิ้ คา้ ชนดิ นนั้ มีแนวโนม้ จะต่ามากหรือตา่ กวา่ ราคาขัน้ ต่า การควบคมุ ราคาข้นั ตา่ เปน็ มาตรการทรี่ ัฐบาลควบคุม ราคาเพือ่ ให้ความชว่ ยเหลอื ผู้ผลิตไม่ใหไ้ ดร้ ับความเดอื ดร้อนจากการท่ี ราคาสนิ ค้าทีผ่ ลิตไดต้ า่ เกนิ ไปไมค่ มุ้ ทนุ ทีล่ งไป ราคาตลาดอยูต่ า่ กว่าราคาประกันหรอื ราคาขน้ั ตา่ จะกอ่ ให้เกดิ ความ เดอื ดรอ้ นแกผ่ ผู้ ลติ เพราะขายสินคา้ ได้น้อยกวา่ ราคาขั้นตา่ โดย หลักการแลว้ รฐั สามารถทาได้ 2 ทางคือ
29/7/2564 - เพ่ิมอุปสงค์ท่ีมีตอ่ สินค้าโดยรฐั อาจลดภาษสี นิ ค้าชนิดนน้ั หรือเชิญชวน ใหบ้ ริโภคสนิ คา้ ชนดิ น้ันมากขนึ้ - ลดอุปทาน โดยการจากัดการผลติ เชน่ การผลติ สนิ คา้ ชนิดน้ันลดลง และผลติ สินค้าชนิดอ่นื แทน 3.2 การกาหนดราคาขนั้ สงู (maximum price control) การกาหนดราคาขน้ั สูง เป็นมาตรการทรี่ ัฐบาลควบคมุ ราคาเพือ่ ใหค้ วาม ชว่ ยเหลอื ผูบ้ รโิ ภคท่ไี ดร้ ับความเดือดรอ้ นจากการท่ีสนิ คา้ ทจ่ี าเป็นแก่ การดารงชวี ิตมรี าคาสงู ขนึ้ การควบคุมราคาข้นั สงู รฐั บาลจะกาหนด ราคาขายสงู สดุ ของสินคา้ น้นั ไวแ้ ละหา้ มผู้ใดขายสินคา้ เกนิ กว่าราคาท่ี รฐั บาลกาหนด เรอื่ งที่ 4 การกาหนดคา่ จา้ งและกฎหมายทเ่ี ก่ยี วขอ้ ง 4.1 การกาหนดค่าจ้าง คา่ จ้าง (wage) หมายถึง ผลตอบแทนทีแ่ รงงานไดร้ ับจากการยนิ ยอมให้ ผ้ผู ลิตใช้บริการจากแรงงานของตน ผลตอบแทนทีแ่ รงงานได้รบั น้ีอาจ อย่ใู นรูปค่าจา้ งต่อชัว่ โมง ตอ่ วนั ตอ่ สปั ดาห์ หรอื อาจเปน็ คา่ จ้างเหมา เป็นจานวนเงนิ กอ้ นต่อชิน้ งานก็ได้ อตั ราค่าจ้างท่ีแรงงานไดร้ ับจะ แตกต่างกันไปตามประเภทของแรงงาน จานวนแรงงานท่ีมีอยแู่ ละอืน่ ๆ เป็นต้น อตั ราคา่ จา้ งดลุ ยภาพของแรงงานจะถกู กาหนดจากระดบั ท่ีอปุ สงค์ เท่ากับอปุ ทานของแรงงาน ถ้ากาหนดคา่ จา้ งสงู กวา่ ดลุ ยภาพ (w2) จะ เกิดปญั หาอุปทานมากกว่าอปุ สงค์ของแรงงานหรือเกดิ อปุ ทานแรงงาน ส่วนเกนิ (เกิดการว่างงาน) ถ้ากาหนดค่าจ้างต่ากวา่ ดลุ ยภาพ (w1) จะ เกดิ ปญั หาอปุ สงค์มากกว่าอุปทานของแรงงานหรอื เกดิ อปุ สงคแ์ รงงาน ส่วนเกิน (ขาดแคลนแรงงาน)
29/7/2564 4.2 กฎหมายวา่ ดว้ ยการกาหนดอตั ราคา่ แรงขน้ั ตา่ การออกกฎหมายว่าดว้ ยการกาหนดอัตราค่าแรงข้นั ตา่ เป็นการ แทรกแซงกลไกราคาในตลาดแรงงาน ซ่ึงเป็นมาตรการทีร่ ฐั ใช้ในการ ยกระดบั อตั ราค่าแรงใหส้ งู กวา่ อตั ราคา่ แรงดลุ ยภาพ เมอ่ื รฐั กาหนด อัตราค่าแรงขน้ั ต่าของแรงงานบางประเภท ผผู้ ลิตจะว่าจ้างแรงงานโดย ใหโ้ ดยให้อัตราคา่ แรงตา่ กวา่ อตั ราขน้ั ตา่ ท่ีกาหนดขึน้ ไมไ่ ด้ รัฐจะ กาหนดอตั ราคา่ แรงข้นั ต่าเม่อื เห็นวา่ คา่ แรงดลุ ยภาพต่าเกนิ ไปจนทาให้ แรงงานเดือดรอ้ น โดยปกตริ ัฐจะกาหนดอัตราคา่ แรงขนั้ ต่าโดยคานึงถึง ภาวะคา่ ครองชพี ในขณะนน้ั เปน็ หลกั แตเ่ นอื่ งจากสภาพความเปน็ จรงิ คา่ ครองชีพในแต่ละทอ้ งถิ่นจะต่างกนั ไปดงั นน้ั อตั ราคา่ แรงขัน้ ต่าท่ี กาหนดขน้ึ ในถ้องถิ่นต่าง ๆ จงึ ต่างกนั ไปดว้ ย แต่อัตราคา่ แรงข้นั ต่า มักจะทาใหเ้ กิดปญั หาการว่างงานตามมา
Search
Read the Text Version
- 1 - 28
Pages: