Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับบัญชี1

ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับบัญชี1

Published by 945sce00465, 2020-04-30 02:51:59

Description: ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับบัญชี1

Search

Read the Text Version

ความรทู้ ว่ั ไปเกย่ี วกบั บญั ชี บทที่ ๑ ความรเู้ บอ้ื งตน้ เกย่ี วกบั บญั ชี ความหมายของบญั ชี การบัญชี (Book Keeping) หมายถึง การจดบันทึกเหตุการณต์ ่างๆ เกี่ยวกบั การรบั - จ่ายเงนิ หรอื สง่ิ ของทก่ี าหนด มลู คา่ เปน็ เงนิ ไว้เป็นหลักฐานไว้ในสมดุ บญั ชอี ยา่ งสมา่ เสมอ จัดแยกประเภทต่างๆ ให้เปน็ ระเบียบถูกตอ้ งตามหลักการ และแสดงผลการดาเนนิ งาน และฐานะการเงนิ ของกิจการในระยะเวลาหน่งึ ได้ เพ่ือให้เปน็ ประโยชน์ตอ่ การดาเนินงาน ตลอดจนการวิเคราะหผ์ ลการดาเนนิ งานน้นั ซง่ึ การบญั ชนี ี้เปน็ ส่วนหนึ่งของวชิ าการบัญชี (Accounting) จดุ ประสงค์ของการบญั ชี ๑. เพอ่ื จดบันทึกรายการค้าต่างๆทเ่ี กิดขนึ้ โดยเรียงลาดบั ก่อนหลังและจาแนกประเภทของรายการคา้ ไวอ้ ย่าง สมบูรณ์ ๒. เพอ่ื ให้การจดบันทกึ รายการค้านนั้ ถกู ตอ้ ง เป็นตามหลักการบัญชแี ละตามกฎหมายวา่ ดว้ ยการบัญชี ๓. เพื่อแสดงผลการดาเนินงานในรอบระยะเวลาหนงึ่ และแสดงฐานะการเงนิ ของกจิ การในระยะเวลาหนึง่ ประโยชนข์ องขอ้ มลู ทางบญั ชี ๑. ชว่ ยใหเ้ จ้าของกจิ การสามารถ ควบคมุ ดแู ล รกั ษาสินทรพั ยข์ องกจิ การได้ ๒. ช่วยใหท้ ราบผลการดาเนนิ งานของกิจการในระยะเวลาใดเวลาหนง่ึ ว่ามผี ลกาไรหรอื ขาดทุนเป็นจานวนเงินเทา่ ใด ๓. ชว่ ยใหท้ ราบฐานะทางการเงนิ ของกจิ การ ณ วันใดวันหน่งึ วา่ มีสินทรัพยห์ น้สี นิ และสว่ นของเจา้ ของเป็นจานวนเงิน เท่าใด ๔. ข้อมูลทางการบญั ชเี ปน็ ประโยชนต์ อ่ ผู้บริหารชว่ ยในการกาหนดนโยบายในการวางแผนและช่วยในการตัดสนิ ใจต่างๆ ในการบรหิ ารงานไดอ้ ย่างมปี ระสิทธภิ าพ ๕. ข้อมลู ทางบัญชีท่ีจดบนั ทกึ ไว้ สามารถชว่ ยในการตรวจสอบหาข้อผดิ พลาดในการดาเนินงานได้ ประวัติและความเป็นมาของการบญั ชี การบัญชี แบ่งออกเป็น ๓ ยคุ ตามระยะเวลาทเ่ี ปลี่ยนแปลงดงั นี้ ๑. ยคุ กอ่ นระบบบญั ชีคู่ เกดิ ขนึ้ กอ่ น ค.ศ. ๓๐๐๐ ปี จนถึงศตวรรษที่ ๑๓ มีการจดบนั ทึกขอ้ มลู ทางบญั ชี เนอื่ งจากการลงทุนในการคา้ สภาพเศรษฐกจิ และการเมืองจากระบบการแลกเปลีย่ นมาเปน็ ระบบการซ้ือขาย และมกี าร พัฒนาทางเทคโนโลยกี ารจดั บันทกึ ขอ้ มลู ทางบัญชใี นยุคนีไ้ ดจ้ ดบนั ทกึ ไว้บนแผ่นขผี้ ้ึง ๒. ยคุ ระบบบัญชคี ู่ (Double Entry Book - keeping) ในปลายศตวรรษที่ ๑๓ ในยคุ นีม้ ีการลงทุนทางการคา้ ใน รปู ของการค้ารว่ มหรอื ห้างหนุ้ สว่ นเริม่ มีการก่อตัง้ ธนาคารมเี รอื ใบในการขนส่งสนิ ค้าและมกี ารพิมพห์ นังสือลงในกระดาษ ค.ศ. ๑๒๐๒ ไดค้ ้นพบการจัดบันทึกบัญชตี ามหลกั บญั ชีคทู่ สี มบูรณ์ชดุ แรกที่เมอื งเจนวั ประเทศอติ าลี ในปี ค.ศ. ๑๓๔๐ ซึ่งเปน็ ศูนย์กลางทางการคา้ ตอ่ มาในศตวรรษที่ ๑๕ อิตาลเี ริม่ เส่ือมอานาจลงศนู ย์การคา้ ได้เปลีย่ นไป ยงั ประเทศในยุโรป เช่น สเปน โปรตุเกส และเนเธอรแ์ ลนดก์ ารบนั ทกึ ข้อมลู ทางบัญชใี นยุคน้ีได้มกี ารหาผลการดาเนินงาน เมื่อส้นิ งวดบัญชี ๓. ยคุ ปัจจบุ นั ในศตวรรษท่ี ๒๐ มกี ารปฏิวตั ิอุตสาหกรรมทาใหค้ วามตอ้ งการทางบญั ชมี มี ากขึน้ และวตั ถปุ ระสงค์ ของขอ้ มูลทางบัญชีเปลีย่ นไปจากเดมิ ผ้บู รหิ ารเป็นผู้ใช้ขอ้ มูลมาเปน็ ผูล้ งทุนเจ้าหนี้ และรฐั บาลเป็นผใู้ ชข้ ้อมลู ทางการบญั ชี

“วชิ าชพี บญั ช”ี หมายความว่า วชิ าชีพในดา้ นการทาบัญชี ด้านการสอบบญั ชี ดา้ นการบัญชีบริหาร ดา้ นการวางระบบ บัญชี ด้านการบญั ชีภาษีอากร ด้านการศกึ ษาและเทคโนโลยกี ารบญั ชี และบริการเกีย่ วกับการบญั ชีด้านอน่ื ตามท่ีกาหนด โดยกฎกระทรวง สภาวชิ าชีพบญั ชี มีฐานะเปน็ นิติบุคคล โดยมีวตั ถุประสงค์เพอื่ สง่ เสริมและพัฒนาวิชาชพี บญั ชี สภาวิชาชพี บญั ชมี ีอานาจหนา้ ที่ ดงั ตอ่ ไปนี้ (๑) ส่งเสรมิ การศึกษา การอบรม และการวจิ ัยเกีย่ วกับวิชาชีพบญั ชี (๒) ส่งเสรมิ ความสามัคคีและผดงุ เกียรติของสมาชิก จดั สวสั ดกิ ารและการสงเคราะหร์ ะหว่างสมาชิก (๓) กาหนดมาตรฐานการบัญชี มาตรฐานการสอบบัญชี และมาตรฐานอ่ืนท่เี ก่ียวกับวชิ าชพี บญั ชี (๔) กาหนดจรรยาบรรณผปู้ ระกอบวชิ าชพี บัญชี (๕) รบั ขนึ้ ทะเบียนการประกอบวิชาชพี บญั ชี ออกใบอนญุ าต พกั ใช้ หรอื เพิกถอนใบอนุญาตผปู้ ระกอบวชิ าชีพบญั ชี (๖) รบั รองปรญิ ญาหรือประกาศนยี บตั รในวิชาการบญั ชขี องสถาบันการศกึ ษาต่าง ๆ เพื่อประโยชน์ในการรบั สมัครเป็น สมาชิก (๗) รบั รองความรู้ความชานาญในการประกอบวชิ าชพี บัญชี (๘) รบั รองหลกั สูตรการฝกึ อบรมเปน็ ผ้ชู านาญการและการศกึ ษาตอ่ เนอื่ งในด้านตา่ ง ๆ ของผูป้ ระกอบวชิ าชีพบัญชี (๙) ควบคมุ ความประพฤตแิ ละการดาเนินงานของสมาชิกและผู้ข้นึ ทะเบยี นอันเกีย่ วกับการประกอบวิชาชพี บญั ชีให้ ถูกตอ้ งตามจรรยาบรรณแห่งวชิ าชพี บัญชี (๑๐) ช่วยเหลือ แนะนา เผยแพร่ และใหบ้ รกิ ารวิชาการแก่ประชาชนเกีย่ วกับวิชาชพี บญั ชี (๑๑) ออกขอ้ บังคับสภาวิชาชพี บญั ชี (๑๒) เปน็ ตัวแทนของผปู้ ระกอบวชิ าชีพบญั ชี (๑๓) ให้คาปรกึ ษาและเสนอแนะตอ่ รฐั บาลเก่ียวกับนโยบายและปัญหาของวิชาชพี บัญชี (๑๔) ดาเนนิ การอ่ืนเพื่อให้เป็นไปตามวตั ถปุ ระสงคแ์ ละอานาจหน้าทขี่ องสภาวชิ าชพี บัญชีตามพระราชบัญญตั ินี้ สมาชิกสภาวชิ าชพี บัญชมี สี ป่ี ระเภท ดงั น้ี (๑) สมาชกิ สามัญ (๒) สมาชิกวิสามญั (๓) สมาชิกสมทบ (๔) สมาชกิ กิตตมิ ศักด์ิ ให้มคี ณะกรรมการสภาวชิ าชีพบญั ชี ประกอบดว้ ย (๑) นายกสภาวชิ าชพี บญั ชี ซงึ่ ท่ปี ระชุมใหญเ่ ลอื กตั้งจากสมาชกิ สามัญ (๒) กรรมการโดยตาแหน่ง ไดแ้ ก่ ประธานคณะกรรมการวชิ าชีพบัญชที ุกด้าน ประธานคณะกรรมการกาหนดมาตรฐาน การบญั ชี และประธานคณะกรรมการจรรยาบรรณ (๓) กรรมการผู้ทรงคณุ วฒุ ิ ซ่ึงนายกสภาวชิ าชีพบญั ชแี ละกรรมการโดยตาแหน่งตาม (๒) มีมติแตง่ ต้ังจากผู้ทรงคณุ วฒุ ิ เกย่ี วกับวชิ าการบญั ชสี องคน และผทู้ รงคณุ วฒุ ทิ างด้านกฎหมายหนง่ึ คน (๔) กรรมการซึ่งทปี่ ระชมุ ใหญ่เลอื กตั้งจากสมาชกิ สามญั มีจานวนไมเ่ กนิ หา้ คน

ใหเ้ ลขาธกิ ารสภาวิชาชพี บญั ชเี ปน็ กรรมการและเลขานกุ าร และจะให้มีผชู้ ว่ ยเลขานุการกไ็ ดต้ ามความจาเป็นและตามมติ ของคณะกรรมการสภาวชิ าชีพบญั ชี นายกสภาวชิ าชพี บัญชี และกรรมการ มวี าระการดารงตาแหนง่ คราวละสามปี จรรยาบรรณผูป้ ระกอบวชิ าชพี บัญชี ๑. ความซอ่ื สัตยส์ จุ ริต ความซ่ือสตั ยส์ จุ รติ เป็นหลักพน้ื ฐานท่ีผปู้ ระกอบวิชาชีพนกั บัญชีพึงมี เนอ่ื งจากทุกสิ่งน้นั มี ความเกี่ยวพันกบั องคก์ รทง้ั หมด ข้อกาหนด ๑.๑ ผปู้ ระกอบวิชาชีพบัญชี ต้องปฏิบตั ิงานดว้ ยความสจุ รติ ไมว่ า่ จะมีการขาดทุน ได้กาไร กจ็ ะต้องรายงาน ปญั หาท้งั หมดท่เี กิดข้ึนใหก้ ับผูบ้ ริหาร เพอ่ื ใหม้ ีการวางแผนแกไ้ ขปญั หา หรือปรบั กลยทุ ธ์ตอ่ ไป ๑.๒ ผู้ประกอบวชิ าชีพบญั ชี ตอ้ งปฏบิ ัตงิ านอยา่ งตรงไปตรงมา ไมม่ ีการปดิ บัง ซ่อนเรน้ หรอื บิดเบือนขอ้ เทจ็ จรงิ เพื่อใหเ้ กดิ ประโยชนส์ ว่ นตัว ถา้ หากมีการตรวจสอบพบว่าคนในโรงงานกาลงั ประพฤติผดิ กฎหมาย ดว้ ยการโกงบัญชี หรือ ปญั หาอนื่ ๆ ผู้ประกอบวชิ าชพี บญั ชีจะต้องรายงานไปโดยตรงตามข้อเทจ็ จรงิ ๒. ความเที่ยงธรรม ความเทย่ี งธรรม หรือความเปน็ กลางที่ไม่เอนเอยี งไปฝั่งใดฝ่ังหน่งึ เพ่อื ใหเ้ กิดผลประโยชน์ บางประการจากการปฏิบัตหิ นา้ ทข่ี องผู้ประกอบวิชาชพี บัญชี ข้อกาหนด ๒.๑ ผ้ปู ระกอบวิชาชีพบัญชี ตอ้ งมีความเทีย่ งธรรม ๒.๒ หลักฐานท่ปี รากฏโดยปราศจากความลาเอยี ง หรอื อคตสิ ว่ นบุคคล ๒.๓ ผู้ประกอบวิชาชีพบญั ชี ต้องใช้ดุลพินจิ ของตวั เองในการพจิ ารณาเรื่องราวต่าง ๆ โดยไม่ยดึ ติดกับ ความสมั พันธก์ บั บคุ คลใด ๆ ๓. ความรอบคอบ การทางานทเ่ี กยี่ วขอ้ งกับตัวเลขนนั้ จะต้องมีความรอบคอบ และตรวจสอบเพ่อื ไม่ใหเ้ กดิ ความ ผิดพลาดอยูเ่ สมอ เพราะถ้าหากผดิ พลาดข้ึนแมแ้ ตจ่ ดุ เดยี วก็อาจสรา้ งความเสยี หายให้กบั องคก์ รได้ ข้อกาหนด ๓.๑ ผู้ประกอบวชิ าชีพบญั ชี ตอ้ งใชค้ วามรู้ ความสามารถ ความชานาญ ประสบการณ์ และความรอบคอบในการ ปฏบิ ตั ิหนา้ ท่ีอย่างเต็มท่ี ๓.๒ ผ้ปู ระกอบวชิ าชีพบญั ชี ตอ้ งมคี วามสามารถเพยี งพอในการปฏิบัติงานทไ่ี ด้รบั มอบหมายใหส้ าเรจ็ ๓.๓ ผปู้ ระกอบวชิ าชีพบัญชี ตอ้ งให้บรกิ ารด้วยความขยนั หม่ันเพียรอยู่เสมอ เพราะส่วนมากแล้วงานบัญชเี ปน็ งานทต่ี อ้ งทาแบบวนั ตอ่ วัน ๓.๔ ผปู้ ระกอบวิชาชีพบญั ชี ต้องมกี ารศึกษาหาความรู้ใหม่ ๆ เพิ่มเติมอยู่เสมอ ๔. รักษาความลับ เอกสารท่ีเกี่ยวข้องกับทางบัญชี ถือเปน็ ความลบั ทางธุรกิจอย่างหนง่ึ ทไี่ ม่ควรนาไปเปดิ เผยให้ สาธารณชนทราบโดยเด็ดขาด ขอ้ กาหนด ๔.๑ ผู้ประกอบวชิ าชีพบัญชี ต้องไมเ่ ปิดเผยความลับทกุ อยา่ งทีเ่ ก่ยี วข้องกับองคก์ รโดยทไ่ี มไ่ ดร้ ับอนญุ าต เวน้ เสยี แตว่ า่ เป็นการหน้าที่ทีต่ ้องรบั ผิดชอบตามกฎหมายที่จาเป็นต้องเปิดเผย ๔.๒ ผู้ประกอบวิชาชีพบัญชี ต้องไม่นาความลับทีเ่ กี่ยวขอ้ งกับองคก์ ร ไปใชเ้ พ่ือประโยชน์ส่วนบุคคล หรอื เพ่ือ ผู้อ่ืนท่ีมคี วามสัมพันธด์ ้วย

๕. การประพฤตติ นอยา่ งมอื อาชพี การประพฤตติ นอย่างมอื อาชีพ หรอื ผปู้ ระกอบวชิ าชีพ จรรยาบรรณวชิ าชพี นักบัญชี ดว้ ยการปฏบิ ัตติ นในทางที่ชอบ รวมถึงการกระทาตามหลกั กฎหมาย เปน็ การรักษาช่อื เสยี งให้กบั วชิ าชพี อย่าง แทจ้ รงิ ขอ้ กาหนด ๕.๑ ผปู้ ระกอบวชิ าชีพบัญชี ต้องไม่กระทาการใด ๆ ท่ที าใหเ้ กิดความเสอ่ื มเสยี ตอ่ วชิ าชพี ท้ังตอ่ ตวั เองและ สว่ นรวม ๕.๒ ผู้ประกอบวชิ าชีพบญั ชี ตอ้ งไมย่ ินยอมให้ผูอ้ ื่นอ้างชอื่ วา่ เปน็ ผู้ดูแลและปฏิบตั ิหนา้ ท่ที างวชิ าชีพ หากไม่ได้ เปน็ ผู้กระทาเองอยา่ งแทจ้ ริง ๕.๓ ผู้ประกอบวชิ าชีพบญั ชี ตอ้ งไมน่ าเสนอการบรกิ ารและความสามารถของตนเองเกนิ ความเปน็ ๖. ความโปร่งใส การปฏบิ ัติงานด้วยความโปร่งใส สามารถตรวจสอบไดท้ กุ เมื่อทีต่ อ้ งการ โดยไมพ่ ยายามปิดบัง ซอ่ นเร้นข้อมลู ใด ๆ เป็นส่งิ ทน่ี กั บัญชพี งึ กระทา ขอ้ กาหนด ๖.๑ ผปู้ ระกอบวชิ าชีพบญั ชี จะต้องปฏบิ ัติงานด้วยความโปรง่ ใส สามารถตรวจสอบย้อนหลังได้เทา่ ทต่ี อ้ งการ ๖.๒ ผู้ประกอบวิชาชีพบัญชี จะต้องให้ผทู้ ่มี ผี ลกระทบจากการปฏบิ ตั ิหน้าที่ เข้ามาตรวจสอบดูข้อมูลท่จี าเป็นได้ ซึง่ เป็นไปตามความเหมาะสมในแตล่ ะกรณี ๗. ความเป็นอสิ ระ จรรยาบรรณวชิ าชพี นกั บญั ชี การปฏิบัตงิ านด้วยความอิสระ ภายใต้กรอบวชิ าชีพบัญชี จะทา ใหผ้ ลงานท่อี อกมามปี ระสทิ ธภิ าพ และเปน็ ที่น่าเชือ่ ถอื โดยท่ีไม่ตอ้ งมกี ารตรวจสอบ ข้อกาหนด ๗.๑ ผู้ประกอบวิชาชีพบัญชี ต้องใชด้ ลุ พินจิ ของตัวเองในการปฏิบัติหน้าท่โี ดย ๗.๒ ผปู้ ระกอบวิชาชีพบัญชี พึงไม่ปฏบิ ตั ิงานท่ีขาดความเป็นอิสระ เพื่อไม่ใหต้ กเป็นเครอ่ื งมือ หรอื เส่ือเสยี แก่ วชิ าชีพ ๘. มาตรฐานการปฏิบัติหนา้ ท่ี การปฏิบัติตนตามมาตรฐาน ดว้ ยการรวบรวมข้อมูล วางแผน และควบคุมงาน เพอ่ื ให้เปน็ ไปตามการปฏิบตั ิงานทเี่ หมาะสม เป็นอีกส่ิงทม่ี คี วามจาเปน็ ขอ้ กาหนด ๘.๑ ผู้ประกอบวชิ าชีพบญั ชตี ้องใหบ้ รกิ าร โดยสอดคล้องกบั มาตรฐานวชิ าชีพ และมาตรฐานวิชาการ ๘.๒ ผู้ประกอบวิชาชีพบญั ชตี อ้ งมคี วามรอบคอบ โดยสอดคลอ้ งกับมาตรฐานวชิ าชพี และมาตรฐานวิชาการ ๙. ความรบั ผดิ ชอบต่อหนา้ ที่ จรรยาบรรณวชิ าชพี นักบญั ชี การปฏิบตั ิหนา้ ทด่ี ว้ ยความรับผดิ ชอบ จะสง่ ผลให้ เกดิ ความนา่ เช่ือถอื และเปน็ ประโยชน์ต่อองค์กรเป็นอย่างย่งิ ข้อกาหนด ๙.๑ ผปู้ ระกอบวชิ าชีพบญั ชี ตอ้ งมคี วามรบั ผิดชอบต่อผูร้ ับบรกิ าร ผบู้ รกิ าร และตาแหนง่ อน่ื ๆ ทีน่ กั บัญชีจะตอ้ ง ปฏิบัตงิ านให้ตรวจสอบ ๙.๒ ผปู้ ระกอบวชิ าชีพบญั ชี ตอ้ งมคี วามรับผดิ ชอบในการปฏบิ ตั หิ น้าทีข่ องตนเพื่อให้เกดิ ความน่าเช่อื ถอื มาก ภายใต้กรอบการทางานวิชาชีพ

แมบ่ ทการบญั ชกี าหนดขน้ึ เพ่ือใช้เป็นแนวทางสาหรับกลุ่มบุคคล ต่อไปนี้ ๑. คณะกรรมการมาตรฐานการบัญชี ใช้เป็นแนวทางสาหรบั พฒั นามาตรฐานการบญั ชใี นอนาคต ทบทวนมาตรฐาน การบัญชีทมี่ อี ยู่ในปจั จุบัน รวมทัง้ ใชเ้ ปน็ หลักเกณฑใ์ นการปรับขอ้ กาหนดมาตรฐานการบัญชแี ละการปฏิบตั ิทาง การบญั ชใี ห้สอดคลอ้ งกนั ๒. ผจู้ ดั ทางบการเงนิ ใช้เป็นแนวทางในการนามาตรฐานการบญั ชมี าปฏบิ ตั ิ และเป็นแนวปฏิบัติสาหรบั เรอื่ งทยี่ งั ไม่มี มาตรฐานการบัญชีรองรบั ๓. ผสู้ อบบญั ชี ใช้เปน็ แนวทางในการแสดงความเห็นต่องบการเงนิ ว่าไดจ้ ดั ทาข้ึนตามมาตรฐานการบญั ชหี รือไม่ ๔. ผู้ใชง้ บการเงนิ ใชเ้ ป็นแนวทางใหส้ ามารถเขา้ ใจความหมายของขอ้ มลู ที่แสดงในงบการเงินท่จี ัดทาข้นึ ตามมาตรฐาน การบัญชี ๕. ผสู้ นใจงานบัญชี ใชศ้ ึกษาเพอื่ ให้ทราบแนวทางท่คี ณะกรรมการมาตรฐานการบัญชไี ด้กาหนดมาตรฐานการบัญชี บทที่ ๒ สินทรพั ย์ หน้ีสิน และส่วนของเจา้ ของ - สนิ ทรพั ย์ (Assest) หมายถงึ สงิ่ ที่มีตวั ตนและไมม่ ตี วั ตนทมี่ ีมลู คา่ เป็นตัวเงนิ โดยมบี คุ คลหรอื กจิ การเป็น เจ้าของ เช่น เงินสด เงนิ ฝากธนาคาร สลากออมสิน พนั ธบัตรรฐั บาล สมั ปทานเหมอื งแร่ ลิขสิทธเิ์ พลง เป็นตน้ - หนส้ี นิ (Liability) หมายถึง ภาระผูกพนั ท่ีบคุ คลภายนอกพึงมีตอ่ กิจการอันเกิดจากการซ้อื สนิ ทรพั ย์ หรอื การใช้ บรหิ ารและยังไมไ่ ด้ชาระเงนิ ให้หรือชาระเพียงบางสว่ น เช่น ซอื้ รถยนตโ์ ดยผอ่ นชาระ ซอ้ื คอมพิวเตอรโ์ ดย แบ่งชาระ 4 งวด ซ้อื เฟอรน์ เิ จอรโ์ ดยขอเครดติ 1เดอื น ได้รับใบแจง้ หน้คี า่ ไฟฟา้ ยังไม่ได้นาเงนิ ไปชาระ เปน็ ตน้ - ส่วนของเจา้ ของ (Owner,s equity) หมายถงึ กรรมสิทธท์ิ ่ีบคุ คลหรือกจิ การมีในสินทรพั ย์ ซึ่งคานวณไดจ้ าก สินทรัพย์ - หนส้ี ิน และในกรณีที่บคุ คลหรอื กจิ การไม่มหี นีส้ นิ สว่ นของเจ้าของ= สนิ ทรพั ย์ ดงั น้นั ส่วนของเจา้ ของอาจเรียกว่าสนิ ทรพั ยส์ ทุ ธิ(Net Assets or Net Worth) สมการบญั ชี สมการบญั ชี คอื สมการทแี่ สดงความสาพันธ์ระหว่างสนิ ทรัพย์ หนส้ี นิ และสว่ นของเจ้าของ(ทุน) จะแสดงความ สมดุลกันอยู่เสมอ สามารถเขยี นเป็นรูปสมการบัญชี ไดด้ ังน้ี ๑. กิจการท่ีไมม่ หี นสี้ ิน สมการจะเปน็ ดงั น้ี สนิ ทรพั ย์ = สว่ นของเจา้ ของ (ทุน) ๒. กิจการท่มี หี นส้ี นิ สมการจะเป็นดังนี้ สนิ ทรัพย์ = หนส้ี นิ + ส่วนของเจ้าของ (ทนุ ) Assets = Liabilities + Owners Equity ประเภทของหนส้ี นิ ในการจัดประเภทหนี้สนิ แบ่งออกเปน็ ๕ ประเภท ๑. หนี้สนิ หมนุ เวยี น (Current Liabilities) หมายถึง หนี้สนิ ซึง่ มรี ะยะเวลาการชาระคนื ภายใน ๑ ปี หรอื ภายในระยะเวลา รอบการดาเนินงานตามปกติของกจิ การดว้ ยสนิ ทรัพย์หมุนเวยี น หรอื ด้วยการกอ่ หนส้ี นิ ระยะส้ันอน่ื แทน ๒. หน้ีสินระยะยาว (Long-term Liabilities) หมายถึง หนี้สินซ่ึงมรี ะยะเวลาการชาระคืนมากกว่า ๑ ปี หรือเกนิ กว่ารอบ ระยะเวลาการดาเนนิ งานตามปกติของกิจการ ๓.หนส้ี นิ โดยประมาณ (Estimated Liabilities) หมายถึง หนส้ี นิ ซง่ึ ไม่ทราบจานวนแน่นอนและได้ประมาณข้ึน

๔. หน้สี นิ อันอาจเกิดขน้ึ (Contingent Liabilities) หมายถึง รายการที่อาจจะเปน็ พันธะผกู พนั ในอนาคต ๕.หนสี้ ินอน่ื ๆ (Other Liabilities) หมายถึง หนส้ี นิ ซ่ึงไมอ่ าจจดั เขา้ ในหนส้ี ินประเภทใด ๆได้ ความหมายของงบแสดงฐานะการเงิน งบแสดงฐานะการเงนิ หมายถงึ รายงานท่ีแสดงใหท้ ราบถึงฐานะทางการเงนิ ของบคุ คลหรือกจิ การ ณ วนั ใดวนั หนง่ึ ว่ามสี นิ ทรัพย์ หน้สี นิ และสว่ นของเจา้ ของเป็นจานวนเทา่ ใด ประเภทของสินทรพั ย์ ในการจัดประเภทของสนิ ทรพั ย์ แบง่ ออกเป็น 3 ประเภท ได้แก่ ๑. สินทรพั ยห์ มุนเวยี น (Current Assets) หมายถึง เงนิ สด หรือสนิ ทรัพยอ์ ื่น ๆทีม่ ีเหตผุ ลจะคาดหมายไดว้ า่ จะ เปล่ียนเปน็ เงนิ สด หรือขาย หรือใชห้ มดไประหว่างรอบระเวลาการดาเนินงานตามปกติของกิจการ ถ้ารอบ ระยะเวลาการดาเนินงานตามปกติของกิจการสัน้ กวา่ ๑ ปี ให้ถอื ระยะเวลา ๑ ปีเป็นเกณฑ์ในการจัดประเภท สนิ ค้าหมุนเวยี น ได้แก่ เงนิ สด เงินฝากธนาคาร เงนิ ลงทนุ ช่ัวคราว ลกู หนี้ สนิ ค้าคงเหลอื ฯลฯ ๒. สนิ ทรัพย์ไม่หมนุ เวียน ( Non Current Assets) หมายถึงสนิ ทรัพยท์ ี่ไมเ่ ป็นไปตามข้อกาหนดของสินทรพั ย์ หมนุ เวียนใหจ้ ัดเป็นประเภท สินทรัพยท์ ี่ไมห่ มุนเวยี น ได้แก่ เงนิ ลงทนุ ระยะยาว ทดี่ นิ อาคาร และอปุ กรณ์ สนิ ทรัพยไ์ ม่มีตวั ตน ๓. สินทรัพย์อน่ื (Other Assets Sundry Assets ) หมายถึงสินทรพั ย์ท่ไี ม่อาจจัดเข้าเป็นสนิ ทรัพยห์ มนุ เวียน หรอื สนิ ทรพั ยถ์ าวรได้ เช่น เงนิ ลงทนุ ระยะยาว ท่ดี นิ ทมี่ ไิ ด้ใช้ในการดาเนินกจิ การในปจั จุบัน การจัดประเภทของรายการในงบแสดงฐานะการเงนิ และประเภทของงบแสดงฐานะการเงนิ การประเภทของรายการในงบแสดงฐานะการเงนิ แบง่ ออกได้ ๓ ส่วน ได้แก่ ๑. สินทรัพย์ แบ่งออกเปน็ สนิ ทรพั ย์หมุนเวียน ท่ีดิน อาคาร และอุปกรณ์ ๒. หนส้ี นิ แบง่ ออกเป็น หน้สี นิ หมนุ เวียนแล ะหน้สี ินระยะยาว ๓. สว่ นของเจ้าของ ไดแ้ ก่ ทนุ ใช้ถอนส่วนตวั งบแสดงฐานะการเงนิ แบ่งออกเป็น 2 ประเภท ๑.งบแสดงฐานะการเงิน แบบบัญชี ๒.งบแสดงฐานะการเงิน แบบรายงาน บทท่ี ๓ การวเิ คราะหร์ ายการค้า ความหมายของการวเิ คราะหร์ ายการค้า การวิเคราะหร์ ายการคา้ (Business Transaction Analysis) หมายถึง การพิจารณาว่ารายการค้าทเ่ี กดิ ขึ้น มผี ลทาให้ สินทรัพย์ หนีส้ นิ และส่วนของเจา้ ของ เปลยี่ นแปลงไปในทางที่เพิม่ ขน้ึ หรอื ลดลงเปน็ จานวนเท่าใด เมื่อวิเคราะหร์ ายการ คา้ ได้แลว้ จึงนาไปบันทึกลงในสมุดบัญชีตา่ ง ๆ หลักในการวเิ คราะหร์ ายการคา้ ความหมายของการบันทกึ รายการคา้ ในสมดุ บญั ชี การบนั ทึกรายการค้าในสมดุ บญั ชี หมายถงึ การจดเรอ่ื งราวเก่ียวกับรายจา่ ย หรือสง่ิ ของทต่ี ีมลู ค่าเปน็ จานวนเงนิ ลงใน รปู แบบบัญชที ก่ี าหนด จะได้ผลจากการดาเนินงานไปสรุปผลในวันสนิ้ งวดบญั ชี เพอื่ หาผลกาไรขาดทนุ รายการคา้ ------> สมดุ บัญชแี ยกประเภท ----------> งบแสดงฐานะการเงิน

ดงั นน้ั การวิเคราะห์รายการคา้ รายการหนง่ึ ๆ จะตอ้ งบันทกึ บัญชที างด้านเดบิตบญั ชหี นึ่งและทางด้านเครดิตอกี บญั ชีหนึ่ง ในจานวนเปน็ ท่เี ท่ากัน หลกั การบนั ทกึ บญั ชลี ักษณะนี้เรยี กวา่ หลักการบญั ชคี ู่ (Double Entry System) ลักษณะของบญั ชแี ยกประเภท บัญชีแยกประเภทโดยทัว่ ไป มลี กั ษณะแบ่งเปน็ ๒ ดา้ น ดา้ นหน่งึ สาหรบั จดบันทกึ รายการคา้ ทเี่ พิ่มข้นึ และอกี ดา้ น หนึง่ สาหรบั จดบันทึกรายการค้าท่ลี ดลง ทางดา้ นซ้ายมอื ของบญั ชแี ยกประเภท เรยี กวา่ ด้านเดบิต (Debi )ตัวยอ่ Dr ทางด้านขวามือของบญั ชแี ยกประเภท เรียกว่า ดา้ นเครดิต(Credit)ตัวยอ่ Cr หลกั ในการบนั ทึกบญั ชี การบนั ทึกบัญชหี ลักจากการวิเคราะหร์ ายการคา้ แบง่ ออกเป็น ๓ ประเภท ได้แก่ ๑. สินทรัพยเ์ พม่ิ สนิ ทรัพย์ลด ๒. หน้สี นิ เพม่ิ หนีส้ นิ ลด ๓. สว่ นของเจา้ ของเพิ่ม ส่วนของเจา้ ของลด หลกั ในการบนั ทึกบัญชีประเภทสินทรพั ย์ เมอ่ื สินทรัพยเ์ พมิ่ ข้ึน ใหบ้ ันทกึ บญั ชีสนิ ทรัพย์ ดา้ นเดบิต เมอ่ื สินทรพั ย์ลดลง ใหบ้ ันทึกบัญชีสินทรัพย์ ดา้ นเครดิต หลักในการบนั ทึกบญั ชีประเภทหน้ีสนิ เม่อื หน้ีสินเพม่ิ ขน้ึ ให้บนั ทึกบญั ชีหนส้ี นิ ดา้ นเครดติ เมอื่ หนี้สนิ ลดลง ใหบ้ ันทกึ บญั ชีหนีส้ ิน ดา้ นเดบติ หลักในการบนั ทึกบัญชีประเภทส่วนของเจา้ ของกจิ การ เม่ือส่วนของเจา้ ของกิจการเพม่ิ ขึ้น ใหบ้ นั ทึกบัญชีส่วนของเจ้าของ ด้านเครดิต เมอ่ื สว่ นของเจา้ ของกิจการลดลง ให้บันทึกบัญชสี ่วนของเจ้าของ ด้านเดบิต ประเภทของบัญชี แบง่ ออกเป็น ๓ ประเภท ดงั นี้ ๑. บัญชปี ระเภทสนิ ทรัพย์ ไดแ้ ก บัญชีประเภทสินทรพั ย์หมุนเวียน สนิ ทรัพยถ์ าวร และสินทรัพย์อ่นื ๆ ๒. บญั ชีประเภทหนส้ี นิ ไดแ้ ก่ บญั ชีประเภทหนสี้ ินหมุนเวยี น และหน้สี ินระยะยาว ๓. บัญชีประเภทส่วนของเจ้าของ ไดแ้ ก่ บัญชปี ระเภททุน และการถอนเงนิ ไปใชส้ ่วนตัว หลักเกณฑ์ในการพิจารณาการกาหนดชอ่ื บัญชแี ยกประเภท มีดงั นี้ ๑. ใชช้ ื่อบญั ชีทนี่ ิยมใช้โดยทั่วไป ๒. ตงั้ ช่ือใหม้ ีความหมายตามประเภทและหมวดของบญั ชี ๓. ไมค่ วรตั้งชอื่ บญั ชยี าวไป หรอื ช่ือแปลก ๔. ชอ่ื บญั ชที ี่ตง้ั นนั้ ควรลงรายการคา้ ไดม้ าก ๆ การตง้ั ชอ่ื บญั ชีตามประเภทของบัญชี มดี งั น้ี ๑. บญั ชีประเภทสินทรัพย์ ได้นาชือ่ ของสินทรพั ย์มาต้ังชื่อบัญชี เช่น บญั ชีเงินสด บัญชลี กู หน้ี บัญชวี ัสดสุ านักงาน ฯลฯ ๒. บญั ชปี ระเภทหนส้ี ิน ใหน้ าชื่อหนส้ี ินมาตงั้ เปน็ ช่ือบัญชี เช่น บญั ชีเจา้ หน้ี บญั ชเี งนิ กู้ ฯลฯ ๓. บัญชปี ระเภทส่วนของเจา้ ของ ใหน้ าชอ่ื ประเภทส่วนของเจ่าของมาตงั้ เปน็ ชื่อบญั ชี เชน่ บญั ชีทุน บญั ชถี อนใช้ สว่ นตวั ฯลฯ