Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ความรู้เกี่ยวกับนิทรรศการพลังงานไฟฟ้า

ความรู้เกี่ยวกับนิทรรศการพลังงานไฟฟ้า

Published by 945sce00465, 2020-04-30 02:58:55

Description: นิทรรศการพลังงานไฟฟ้า เป็นนิทรรศการที่ให้ความรู้เกี่ยวกับหลักทำงานของโรงไฟฟ้า ข้อดีข้อเสียของโรงไฟฟ้าชนิดต่างๆ เชื้อเพลิงที่ใช้ในการผลิตกระแสไฟฟ้า นักวิทยาศาสตร์ผู้ค้นพบหลักการทางด้านไฟฟ้า รวมทั้งกลยุทธ์ที่ช่วยในการประหยัดไฟฟ้า นอกจากผู้เข้าชมจะได้ความรู้เกี่ยวกับโรงไฟฟ้าชนิดต่างๆ แล้ว ยังสามารถสัมผัสและสนุกสนานกับเครื่องเล่นภายในนิทรรศการอีกมากมาย

Search

Read the Text Version

ความรูเ้ กีย่ วกับนิทรรศการพลังงานไฟฟา้ ปจั จบุ ันไฟฟ้ามีบทบาทกับชวี ติ ประจาวนั ของมนุษย์มากข้นึ ประเทศทจี่ ะพฒั นาไดน้ ัน้ ต้องใช้พลังงานไฟฟา้ มาก เพราะวา่ เครื่องมือหรือส่ิงประดษิ ฐใ์ หม่ ๆ ตอ้ งใช้ไฟฟา้ ถึงแม้วา่ ไฟฟ้าจะมีประโยชนแ์ ต่มโี ทษแก่มนษุ ย์ เหมอื นกันถ้าใช้ไฟฟา้ อย่างประมาท นทิ รรศการพลังงานไฟฟ้า เป็นนทิ รรศการที่ใหค้ วามรเู้ ก่ียวกับหลักทางานของโรงไฟฟา้ ขอ้ ดีข้อเสียของ โรงไฟฟ้าชนดิ ต่างๆ เช้ือเพลงิ ทีใ่ ชใ้ นการผลติ กระแสไฟฟา้ นักวิทยาศาสตร์ผูค้ น้ พบหลักการทางดา้ นไฟฟ้า รวมท้ังกล ยุทธท์ ี่ช่วยในการประหยดั ไฟฟ้า นอกจากผู้เข้าชมจะได้ความร้เู กยี่ วกบั โรงไฟฟา้ ชนิดต่างๆ แลว้ ยงั สามารถสมั ผสั และสนุกสนานกบั เคร่ืองเลน่ ภายในนิทรรศการอีกมากมาย ภายในนทิ รรศการพลงั งานไฟฟ้าแบง่ เนื้อหาออกเป็น 7 โซน ดังนี้ Zone 1 ความหวงั ของอนาคต ก๊าซธรรมชาติ คือสารประกอบไฮโดรคาร์บอนชนิดหนึ่งที่ประกอบไปด้วยไฮโดรเจนและคาร์บอนท่ีเกิดจากการทับ ถมของซากพืชซากสตั วป์ ระเภทจลุ นิ ทรีย์ท่มี ีอายุหลายร้อยล้านปี ซึ่งสามารถแยก ส่วนประกอบได้เป็น มีเทน อีเทน โพรเพน บวิ เทน เพนเทน เปน็ ต้น หรอื หมายถงึ ปิโตรเลียมท่มี ีสภาพเปน็ แกส๊ กา๊ ซธรรมชาตเิ ป็นพลังทีส่ ะอาด ถา่ นหนิ คอื หินตะกอนชนดิ หนง่ึ และเปน็ แรเ่ ชื้อเพลิงสามารถตดิ ไฟได้ มสี ีน้าตาลอ่อนจนถงึ สีดา มีท้ังชนิดผิวมันและ ผิวด้าน น้าหนักเบา ประกอบด้วยธาตุที่สาคัญ 4 อย่าง ได้แก่ คาร์บอน ไฮโดรเจน ไนโตรเจน และออกซิเจน นอกจากนน้ั มีธาตหุ รือสารอ่นื ๆ เชน่ กามะถนั เจอื ปนเล็กนอ้ ย ชีวมวล คือ สารอินทรีย์ทุกรูปแบบที่เป็นแหล่งกักเก็บพลังงานจากธรรมชาติและสามารถนามาใช้ผลิตเป็นพลังงาน ได้ โดยมากมาจาก กากหรือเศษวสั ดุเหลอื ใช้จากการเกษตร หรือ กากจากกระบวนการผลิตทางอตุ สาหกรรม พลังงานนิวเคลียร์ คือ พลังงานความร้อนที่เกิดจากปฏิกิริยาแตกตัวของยูเรเนียม-235 ในเช้ือเพลิง นิวเคลียร์ (Nuclear Fission Reaction) ทาให้น้ากลายเป็นไอน้าท่ีมีแรงดันสูง แล้วส่งไอน้าไปหมุน กังหันไอน้า ซ่ึงตอ่ กับเครอื่ งกาเนดิ ไฟฟ้า เพอื่ ผลติ ไฟฟ้า พลงั งานลม เปน็ พลงั งานจากธรรมชาติท่ีสามารถนามาใชผ้ ลิตกระแสไฟฟ้า เน่ืองจากพลังงานลม มีอยู่โดยทั่วไป ไม่ ต้องซ้อื เป็นพลังงานที่สะอาด ในการผลิตไฟฟา้ นนั้ ใบกังหนั ลมจะถกู ต่ออย่กู ัแกนเครื่องกาเนิด เมื่อกังหันลมเริ่มหมุน กจ็ ะเกดิ เป็นพลังงานไฟฟา้ พลังน้า เป็นพลังงานจากธรรมชาติ ในการผลิตไฟฟ้าจะใช้พลังงานจลน์ของน้า ซึ่งเกิดจากการปล่อยน้าจากที่สูงไป หมุนกังหันน้า (Turbine) ท่ีถูกต่อกับเคร่ืองกาเนิดไฟฟ้า โดยกระแสไฟฟ้าที่ได้ จะขึ้นอยู่กับแรงดันและปริมาณน้าที่ ไหลผา่ นเครื่องกังหันน้า พลังงานแสงอาทิตย์ เป็นพลังงานจากธรรมชาติ ท่ีมีความสะอาดปราศจากมลพิษ และสามารถนา มาใช้อย่างไม่ หมดส้ิน ในการนาแสงอาทิตย์มาผลิตไฟฟ้านั้นจะต้องใช้เซลล์แสงอาทิตย์ (Solar Cell) สาหรับเปลี่ยนพลังงาน แสงอาทิตย์ให้เป็นพลังงานไฟฟ้า หลักการทางานเม่ือแสงตกกระทบบน แผ่นเซลล์รังสีของแสงท่ีมีอนุภาคของ

พลังงานประกอบท่ีเรียกว่า โปตอน (Proton)จะถ่ายเทพลังงาน ให้กับอิเล็กตรอน (Electron) ในสารกึ่งตัวนาจนมี พลังงานมากพอท่ีจะกระโดด ออกมาจากแรงดึงดูดของอะตอม (atom) และเคลื่อนท่ีได้อย่างอิสระ ดังนั้นเม่ือ อเิ ล็กตรอนเคล่ือนท่ี ครบวงจรจะทาให้เกิดไฟฟา้ กระแสตรงขึ้น ความรู้เรื่องค่าไฟฟ้าค่าไฟฟ้าฐานสะท้อนต้นทุนในการก่อสร้างโรงไฟฟ้า ระบบสายส่ง ระบบจาหน่าย และค่าการ ผลิตพลังงานไฟฟ้า ภายใต้สมมุติฐานความต้องการใช้ไฟฟ้า ราคาเช้ือเพลิง อัตราแลกเปล่ียน และอัตราเงินเฟ้อ ระดับหนงึ่ โดยมสี ว่ นประกอบตามประเภทผู้ใช้ไฟฟา้ ดังน้ี คา่ Ftค่า Ft หมายถงึ คา่ ใชจ้ า่ ยดา้ นเช้ือเพลงิ ค่าซื้อไฟฟ้าของ กฟผ. และคา่ ใช้จา่ ยตามนโยบาย ภาครัฐท่ี เปลยี่ นแปลงไปจากระดบั ท่ีกาหนดไวใ้ นคา่ ไฟฟา้ ฐาน ค่า Ft มีการปรับปรงุ ทุก ๆ 4 เดอื นภาษมี ลู ค่าเพมิ่ นอกจากคา่ ไฟฟ้าฐาน และคา่ Ft ดังกล่าวแล้ว ผใู้ ช้ไฟฟา้ จะต้องชาระภาษีมูลค่าเพม่ิ (VAT รอ้ ยละ 7) รวมกับ คา่ ไฟฟ้าฐาน และคา่ Ft ด้วย หลกั การการผลิตไฟฟ้า 1. การผลติ กระแสไฟฟ้าจากโรงไฟฟา้ พลงั ความร้อนร่วม ใช้ก๊าซธรรมชาติเป็นเชื้อเพลิงให้กับเคร่ืองยนต์ กงั หันกา๊ ซทีต่ อ่ กบั เครื่องกาเนิดกระแสไฟฟ้า เมื่อเดินเครื่องกังหันก๊าซ เราจะได้กระแสไฟฟ้ามาส่วนหน่ึง และความ ร้อนจากไอเสียของกังหันก๊าซจะถูกนาไปใช้ต้มน้าให้ได้ไอน้า โดยไอน้าท่ีได้น้ีจะนาไปขับกังหันไอน้าที่ต่ ออยู่กับ เคร่ืองกาเนิดกระแสไฟฟ้าเพ่ือผลิตไฟฟ้าอีกต่อหน่ึง โดยโรงไฟฟ้าพลังความร้อนร่วมจะผลิตไฟฟ้าได้จาก 2 ส่วน คือ จากกงั หนั ก๊าซและกงั หันไอน้า 2. การกระแสไฟฟ้าจากโรงไฟฟ้าพลังงานนิวเคลียร์ อาศัยความร้อนจากปฏิกิริยาการแตกตัวหรือ ปฏิกิรยิ าฟิชชันของเชอื้ เพลงิ ยเู รเนียม โดยความรอ้ นท่ไี ด้ จะถูกนาไปต้มน้า เพื่อให้ได้ไอน้าไปขับกังหันไอน้าที่ต่อกับ เครือ่ งกาเนิดกระแสไฟฟา้ ผลิตไฟฟ้าออกมา ใชง้ าน

ความร้เู รอื่ งโรงไฟฟ้า 1.โรงไฟฟา้ พลงั ความรอ้ นรว่ ม ก๊าซธรรมชาติ เป็นพลังงานปิโตรเลียมชนิดหนึ่ง เกิดจากการทับถมของซากพืชและซากสัตว์ นานหลาย แสนหลายล้านปี ระหว่างนั้นก็มีการเปลี่ยนแปลงตามธรรมชาติจนซากสัตว์และซากพืช กลายเป็นก๊าซธรรมชาติ ที่ สามารถนามาใชผ้ ลติ กระแสไฟฟา้ ในโรงไฟฟ้าพลังความรอ้ นร่วม ก๊าซธรรมชาติท่ีน้ามาใช้ในประเทศไทย มาจาก 2 แหล่ง คือ 1. แหล่งจากประเทศพม่า(23 %)ได้แก่ แหล่งยานาดาและแหล่งเยตากุนบริเวณอ่าวเมาะตะมะ 2. แหล่งภายในประเทศไทย (77 %) ได้แก่ บริเวณอ่าวไทย และ อ.น้าพอง จ.ขอนแกน่ การผลิตกระแสไฟฟ้าจากโรงไฟฟ้าพลังความร้อนร่วม ใช้ก๊าซธรรมชาติเป็นเช้ือเพลิงให้กับเคร่ืองยนต์ กังหันก๊าซทตี่ อ่ กับเครื่องกาเนิดกระแสไฟฟ้า เมื่อเดินเครื่องกังหันก๊าซ เราจะได้กระแสไฟฟ้ามาส่วนหนึ่ง และความ ร้อนจากไอเสียของกังหันก๊าซจะถูกนาไปใช้ต้มน้าให้ได้ไอน้า โดยไอน้าที่ได้น้ีจะนาไปขับกังหันไอน้าที่ต่ออยู่กับ เครื่องกาเนดิ กระแสไฟฟ้าเพื่อผลิตไฟฟ้าอีกต่อหน่ึง โดยโรงไฟฟ้าพลังความร้อนร่วมจะผลิตไฟฟ้าได้จาก 2 ส่วน คือ จากกงั หนั ก๊าซและกงั หนั ไอนา้ 2.โรงไฟฟ้าถา่ นหินและชวี มวล ถ่านหิน เกิดจากซากพืชท่ีสะสมและจมอยู่ใต้เปลือกโลกนานหลายล้านปี และเกิดการ เปลี่ยนแปลงทาง เคมีจากความร้อนและความดันใต้เปลือกโลก ถ่านหินมีสีน้าตาลอ่อนจนถึงสีดา ประกอบด้วยธาตุ ที่สาคัญ 4 อย่าง ได้แก่ คาร์บอน ไฮโดรเจน ไนโตรเจน และออกซิเจน นอกจาก นั้นมีธาตุหรือสารอ่ืนๆ เช่น กามะถัน เจือปน เล็กน้อย ถ่านหินท่ีนิยมนามาผลิตไฟฟ้ามี 3 ประเภท ได้แก่ ลิกไนต์ ซับบิทูมินัส และบิทูมินัส โดยโรงไฟฟ้าถ่านหิน (ลิกไนต์) ทใ่ี หญท่ ี่สดุ ในประเทศไทย คอื โรงไฟฟ้าแม่เมาะท่ี จ.ลาปาง ชีวมวล คือ สารอินทรีย์ซ่ึงอาจเป็นวัสดุเหลือใช้จากการเกษตรรวมถึงกากจาก กระบวนการผลิตทาง อุตสาหกรรม เช่น แกลบ ชานอ้อย ซังข้าวโพด ข้ีเลื่อย เศษหญ้า เศษไม้ เป็นต้น ซ่ึงสามารถนามาใช้ เป็นเช้ือเพลิง สาหรับการผลิตไฟฟา้ ของโรงไฟฟา้ ชวี มวลได้ การผลติ กระแสไฟฟ้าจากโรงไฟฟา้ ถา่ นหนิ และชวี มวล มีหลักการเหมือนกนั คือ นาเช้ือเพลงิ ไปเผา ให้ เกิดความร้อน ความร้อนที่ได้นาไปต้มน้าเพ่ือให้ได้ไอนา้ ไปขบั กังหนั ไอนา้ ทตี่ อ่ กับเครื่องกาเนดิ กระแสไฟฟ้าผลติ ไฟฟ้าออกมาใชง้ าน 3. โรงไฟฟ้าพลงั งานนวิ เคลยี ร์ แรย่ ูเรเนยี มเป็นแร่ธาตุท่ีมีอย่ใู นธรรมชาติ พบในดินและหนิ เราสามารถนาแร่ยเู รเนียมมา ใช้งานได้โดยการ ทาเหมอื ง ยูเรเนียมจดั เป็นธาตทุ ี่พบอยู่มากมายในธรรมชาติ พอๆ กบั แรด่ บี ุก ซง่ึ แร่ยเู รเนยี มจะถูกใช้เป็นเชื้อเพลงิ ในการผลติ กระแสไฟฟ้าของโรงไฟฟา้ พลงั งานนวิ เคลยี ร์ การผลติ กระแสไฟฟา้ จากโรงไฟฟ้าพลังงานนิวเคลยี ร์ อาศัยความร้อนจากปฏิกริ ิยาการแตกตัวหรือ ปฏกิ ิริยาฟชิ ชันของเชอ้ื เพลิงยูเรเนยี ม โดยความร้อนที่ได้ จะถูกนาไปต้มนา้ เพื่อให้ได้ไอน้าไปขบั กังหนั ไอนา้ ท่ีต่อกบั เครื่องกาเนดิ กระแสไฟฟา้ ผลิตไฟฟ้าออกมา ใช้งาน

4. โรงไฟฟา้ พลงั ลม ลม คอื อากาศทีเ่ คลื่อนทไี่ ปในแนวราบ เกิดจากการแทนทขี่ องอากาศ เน่ืองจากอากาศใน บริเวณท่ีร้อนจะ ลอยตัวสูงข้ึนในขณะท่ีอากาศบริเวณใกล้เคียงท่ีอุณหภูมิต่ากว่าจะเคล่ือนที่เข้ามาแทนที่มวลอากาศท่ีเคล่ือนที่นี้เรา จะนามาใชใ้ นการผลติ กระแสไฟฟา้ การผลติ ไฟฟ้าจากพลงั ลม จะใช้กงั หนั ลมเป็นอุปกรณ์ในการเปล่ียนพลังงานลมเป็นพลังงานไฟฟ้า เมื่อลม พัดมาปะทะจะทาให้ใบพัดหมุน แรงจากการหมุนของใบพัดจะทาให้แกนหมุนที่เชื่อมอยู่กับ เคร่ืองกาเนิดไฟฟ้าหมุน เกดิ การเหนีย่ วนาและได้ไฟฟ้าออกมา โดยปริมาณไฟฟ้าที่ได้จากกังหันลม จะข้ึนอยู่กับความเร็วลม ความสม่าเสมอ ของลม และความยาวนานของการเกิดลม 5. โรงไฟฟ้าพลงั น้า น้า เปน็ ทรัพยากรทม่ี คี วามจาเป็นต่อการดารงชีวติ ซง่ึ มีอยูม่ ากมายในธรรมชาติ และยงั สามารถนามาใช้ในการผลติ ไฟฟ้าได้ โดยประเทศไทยมีโรงไฟฟ้าพลังน้าอยู่หลายแห่ง เช่น โรงไฟฟ้าพลังน้าที่ เข่ือนสิริกิต์ิ เขื่อนศรีนครินทร์ และเข่ือนภูมิพลซึ่งเป็นเข่ือนผลิตไฟฟ้าท่ีใหญ่ ที่สุดของประเทศไทย แต่ท้ังนี้ เขื่อน ของประเทศไทยมีวัตถุประสงค์หลักเพ่ือการกักเก็บน้าไว้ใช้ใน การอุปโภค การบริโภค และการเกษตร ดังนั้นการ ผลติ ไฟฟา้ ดว้ ยพลงั น้าจากเข่ือนจึงเปน็ เพยี งผล พลอยได้เทา่ นัน้ การผลิตไฟฟ้าจากพลังงานนา้ ใชแ้ รงดันของนา้ จากเข่ือนและอ่างเก็บน้าซ่ึงอยู่ในระดับสูงกว่าโรงไฟฟ้าไป หมุนกงั หันนา้ ทีต่ ่อกับ เครือ่ งกาเนิดกระแสไฟฟ้าผลติ ไฟฟา้ ออกมาใช้งาน 6. โรงไฟฟา้ พลังงานแสงอาทิตย์ พลังงานแสงอาทติ ย์ เป็นพลังงานจากธรรมชาตทิ ีส่ ามารถนามาใช้อยา่ งไม่หมดสิน้ แต่พลังงาน แสงอาทติ ย์ มีขอ้ จากดั คือสามารถใชป้ ระโยชนไ์ ดแ้ ค่ช่วงท่ีมีแสงแดดเท่านัน้ การผลติ ไฟฟา้ จากพลังงานแสงอาทิตย์ ใช้อปุ กรณ์ท่เี รยี กว่า เซลลแ์ สงอาทติ ย์ (Solar Cell) เปลีย่ น พลังงานแสงอาทติ ย์ให้เป็นพลังงานไฟฟา้ ประสทิ ธิภาพของการผลิตไฟฟา้ ขนึ้ อย่กู บั ความเข้ม ของแสงอาทติ ย์ ซ่งึ จะ มีค่าเปลีย่ นแปลงไปตามพืน้ ที่ ช่วงเวลา ฤดูกาล และสภาพอากาศ Zone 2 รจู้ ักพลงั งานไฟฟ้า ไฟฟ้าเป็นปัจจัยที่สาคัญในการดาเนินชีวิต และการดาเนินกิจกรรมทางเศรษฐกิจในช่วงท่ีผ่านมาความ ต้องการไฟฟ้าของไทยเพิ่มขึ้นอย่างต่อเน่ืองทาให้เกิดความกังวลว่าไฟฟ้าจะไม่เพียงพอต่อการใช้งานเพ่ือรองรับการ เจริญเติบโตทางเศรษฐกจิ ความต้องการใช้ไฟฟ้าในหนึ่งวันมีความแตกต่างกันในแต่ละช่วงเวลา ปัจจุบันการใช้ไฟฟ้า แบ่งออกเป็น 2 ช่วงเวลา คือช่วงเวลาท่ีมีการใช้ไฟฟ้าสูง ระหว่างเวลา 09.00 – 22.00 น. เนื่องจาก มีความต้องการใช้พลังงาน ไฟฟ้าในภาคอุตสาหกรรมและการทางานระหว่างวันของประชาชน ส่วน ช่วงเวลาที่มีการใช้ไฟฟ้าต่า ระหว่างเวลา 22.00 – 09.00 น. เปน็ ชว่ งเวลาท่ีภาคอตุ สาหกรรมบาง ส่วนลดกาลังการผลิต และเปน็ ช่วงเวลาพักผ่อนทาให้มีการ

ใช้ไฟฟ้านอ้ ยลง จากลกั ษณะความต้องการ พลังงานไฟฟ้าท่ีเปลี่ยนแปลงไปในแต่ละช่วงเวลาของวันพบว่า สามารถ แบ่งกลุ่มของโรงไฟฟ้าที่ใช้ผลิต ไฟฟ้าได้ โดยกลุ่มแรกคือโรงไฟฟ้าที่จะต้องเดินเคร่ืองตลอดเวลา โดยโรงไฟฟ้า เหล่านี้จะต้องผลิต ไฟฟ้าได้ตลอด 24 ชม. และมีต้นทุนการผลิตไฟฟ้าต่า เช่น โรงไฟฟ้าถ่านหิน โรงไฟฟ้าพลังงาน นิวเคลียร์ โรงไฟฟ้าก๊าซธรรมชาติกลุ่มท่ีสอง คือ โรงไฟฟ้าที่มีการปรับกาลังผลิตตามความต้องการไฟฟ้าที่ เปลี่ยนแปลงไปตามช่วงเวลา โดยเป็นโรงไฟฟ้าท่ีปรับกาลังการผลิตได้ง่าย เช่น โรงไฟฟ้าพลังน้า โรงไฟฟ้าก๊าซ ธรรมชาติ โรงไฟฟ้าดเี ซล 1. นิทรรศการการจา้ ลองเกิดไฟฟ้าสถิต เซอร์วิลเลียมกิลเบิร์ต ผู้เปิดประตูสู่โลกของไฟฟ้าปี ค.ศ. 1600 เซอร์วิลเลียม กิลเบิร์ต (Sir William Gilbert) ไดท้ ดลองเก่ยี วกบั ไฟฟา้ สถติ และเรยี กแรงดึงดดู ของไฟฟ้าสถิตนีว้ า่ “อเิ ล็กตรกิ ซิต้ี (Electricity)” 2. นทิ รรศการจ้าลองเกิดไฟฟ้าสถติ เธลีส ผคู้ ้นพบไฟฟา้ สถติ เมื่อราว 640-546 ปกี ่อนครสิ ตศักราช เธลีส แห่งมเิ ลทัส (Thales of Miletus) นกั ปรชั ญาและนักคณิตศาสตร์ชาวกรีกโบราณ ไดค้ น้ พบ “ไฟฟ้าสถติ ” โดยสังเกตเหน็ ว่าเศษไมช้ ิ้นเล็ก ๆ เคล่ือนท่ี เขา้ หาแทง่ อาพันท่ีเขานาผ้าขนสตั ว์มาเช็ดทาความสะอาด 3. นิทรรศการจ้าลอง Plasma ball เบนจามิน แฟรงกลิน กบั การทดลองเสี่ยงตายปี ค.ศ. 1752 เบนจามิน แฟรงกลนิ (Benjamin Franklin) นกั วิทยาศาสตรช์ าวอเมรกิ นั เปน็ ผคู้ ้นพบประจุไฟฟ้าในชัน้ บรรยากาศจากการทดลองเล่นว่าในขณะฝนตก ซึ่งนาไปสู่การประดิษฐ์สายล่อฟา้ ทใ่ี ชใ้ นการปอ้ งกนั ความเสียหาย ของอาคารจากการถูกฟ้าผ่า 4.นทิ รรศการชดุ จ้าลองแบตเตอร์ร้ี อเลก็ ซานโดร โวลตา ผนู้ ้ามนุษยเ์ ขา้ สู่ยุคไฟฟ้าปี ค.ศ. 1800 อาเลก็ ซานโดร จูเซปเป อันโตนโิ อ อนาสตาซิโอ โวลตา (Alessandro Giuseppe Antonio Anastasio Volta ) นักฟสิ ิกส์ชาวอิตาลไี ด้ประดิษฐ์แบตเตอร่ีท่ีเกดิ จากปฎกิ ริ ิยาเคมรี ะหวา่ งโลหะและกรดเพอ่ื ใช้จ่าย กระแสไฟฟ้าขน้ึ เป็นคร้งั แรกของโลกและเพื่อเปน็ การยกย่องในผลงานของโวลตา นกั วทิ ยาศาสตรจ์ งึ เรียกหนว่ ย วัดเเรงเคล่ือนไฟฟา้ และความตา่ งศักย์ไฟฟ้าว่า “โวลต์ (volt)” ตามชอ่ื ของเขา 9. นทิ รรศการชดุ จ้าลองการท้างานของคอยล์แมเ่ หล็ก ฮนั ส์ คริสเทยี น เออร์สเตด ผู้คน้ พบความสัมพันธ์ไฟฟา้ กบั แม่เหลก็ ในปี ค.ศ.1820 ฮนั ส์ คริสเทยี น เออร์สเตด (Hans Christian Orsted) นักฟิสิกสแ์ ละนักเคมชี าวเดนมารก์ ไดค้ ้นความสมั พนั ธร์ ะหว่างไฟฟ้าและ แมเ่ หลก็ จากการทดลองในห้อง เรียนจงึ เรยี กความสมั พนั ธน์ ี้ว่า ”ฟฟ้าทฤษฎีแม่เหล็กไ“ 10.นิทรรศการชดุ จา้ ลองเคร่อื งกา้ เนิดไฟฟ้า ไมเคลิ ฟาราเดย์ ผู้ก่อก้าเนิดเครอื่ งผลิตไฟฟ้าปี ค.ศ. 1827 ไมเคลิ ฟาราเดย์ (Michael Faraday) นกั เคมแี ละนักฟสิ ิกส์ชาวองั กฤษไดค้ น้ พบว่าการเหนีย่ วนาทางแมเ่ หล็กสามารถสรา้ งกระแสไฟฟา้ ได้ และเขาได้ ประดษิ ฐ์เคร่ืองกาเนดิ กระแสไฟฟ้าที่เรียกว่า “ไดนาโม (Dynamo)”

11.นทิ รรศการชุดจ้าลองเครื่องกา้ เนิดไฟฟ้าในสยาม จอมพลเจ้าพระยาสรุ ศักดม์ิ นตรี (เจมิ แสง-ชโู ต) ผู้นา้ ไฟฟ้ามาสู่ประเทศสยามในปี พ.ศ. 2427 จอมพล เจ้าพระยาสุรศกั ดิ์มนตรี (เจิมแสง-ชโู ต) เป็นผ้นู าไฟฟ้ามาใช้ในประเทศไทยเป็นครัง้ แรก ณ พระทนี่ ัง่ จักรีมหา ปราสาทในวันเฉลิมพระชนมพรรษาของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลา้ เจา้ อย่หู ัว รชั กาลท่ี 5 โซนท่ี 3 การผลิตไฟฟ้า นิทรรสการชดุ โรงไฟฟ้าพลงั งานความรอ้ น โรงไฟฟา้ พลังความรอ้ นร่วมกา๊ ซธรรมชาติ เป็นพลังงานปิโตรเลียมชนิดหน่ึง เกิดจากการทับถมของซากพืช และซากสัตว์ นานหลายแสนหลายล้านปี ระหว่างน้ันก็มีการเปลี่ยนแปลงตามธรรมชาติจนซากสัตว์และซากพืช กลายเป็นก๊าซธรรมชาติ ท่สี ามารถนามาใชผ้ ลิตกระแสไฟฟา้ ในโรงไฟฟ้าพลังความร้อนร่วม ก๊าซธรรมชาติท่ีนามาใช้ ในประเทศไทย มาจาก 2 แหล่ง คือ 1. แหล่งจากประเทศพม่า(23 %)ได้แก่ แหล่งยานาดาและแหล่งเยตากุน บริเวณอ่าวเมาะตะมะ 2. แหลง่ ภายในประเทศไทย (77 %) ได้แก่ บริเวณอ่าวไทย และ อ.นา้ พอง จ.ขอนแก่น การผลิตกระแสไฟฟา้ จากโรงไฟฟ้าพลังความร้อนร่วม ใช้ก๊าซธรรมชาติเป็นเช้ือเพลิงให้กับเคร่ืองยนต์กังหัน ก๊าซที่ต่อกับเครื่องกาเนิดกระแสไฟฟ้า เมื่อเดินเครื่องกังหันก๊าซ เราจะได้กระแสไฟฟ้ามาส่วนหน่ึง และความร้อน จากไอเสียของกังหันก๊าซจะถูกนาไปใช้ต้มน้าให้ได้ไอน้า โดยไอน้าท่ีได้นี้จะนาไปขับกังหันไอน้าท่ีต่ออยู่กับ เคร่ือง กาเนิดกระแสไฟฟ้าเพื่อผลิตไฟฟ้าอีกต่อหนึ่ง โดยโรงไฟฟ้าพลังความร้อนร่วมจะผลิตไฟฟ้าได้จาก 2 ส่วน คือจาก กังหันกา๊ ซและกังหันไอน้า นทิ รรสการชดุ โรงไฟฟ้าพลังงานถ่านหนิ และชีวมวล โรงไฟฟ้าถ่านหินและชีวมวลถ่านหิน เกิดจากซากพืชท่ีสะสมและจมอยู่ใต้เปลือกโลกนานหลายล้านปี และเกิดการ เปลี่ยนแปลงทางเคมีจากความร้อนและความดันใต้เปลือกโลก ถ่านหินมีสีน้าตาลอ่อนจนถึงสีดา ประกอบด้วยธาตุ ท่ีสาคัญ 4 อย่าง ได้แก่ คาร์บอน ไฮโดรเจน ไนโตรเจน และออกซิเจน นอกจาก น้ันมีธาตุหรือ สารอนื่ ๆ เช่น กามะถัน เจือปนเลก็ น้อย ถา่ นหินท่ีนยิ มนามาผลติ ไฟฟา้ มี 3 ประเภท ได้แก่ ลิกไนต์ ซับบิทูมินัส และ บทิ ูมินสั โดยโรงไฟฟ้าถา่ นหนิ (ลกิ ไนต์) ท่ีใหญ่ท่ีสดุ ในประเทศไทย คือ โรงไฟฟ้าแมเ่ มาะที่ จ.ลาปาง ชีวมวล คือ สารอินทรีย์ซ่ึงอาจเป็นวัสดุเหลือใช้จากการเกษตรรวมถึงกากจาก กระบวนการผลิตทาง อุตสาหกรรม เช่น แกลบ ชานอ้อย ซังข้าวโพด ขี้เลื่อย เศษหญ้า เศษไม้ เป็นต้น ซ่ึงสามารถนามาใช้ เป็นเช้ือเพลิง สาหรบั การผลติ ไฟฟ้าของโรงไฟฟา้ ชวี มวลได้ การผลติ กระแสไฟฟ้าจากโรงไฟฟ้าถา่ นหนิ และชวี มวล มีหลักการเหมือนกัน คือ นาเช้ือเพลิงไปเผา ให้ เกดิ ความร้อน ความร้อนที่ได้นาไปต้มนา้ เพื่อใหไ้ ด้ไอนา้ ไปขับกงั หนั ไอนา้ ทีต่ อ่ กับเคร่ืองกาเนิด กระแสไฟฟ้าผลิต ไฟฟา้ ออกมาใชง้ าน

นทิ รรสการชดุ โรงไฟฟา้ พลังงานนวิ เคลียร์ แร่ยเู รเนียมเป็นแร่ธาตุทีม่ อี ยู่ในธรรมชาติ พบในดินและหินเราสามารถนาแร่ยูเรเนียมมา ใช้งานได้โดยการ ทาเหมือง ยูเรเนียมจัดเป็นธาตุท่ีพบอยู่มากมายในธรรมชาติ พอๆ กับแร่ดีบุก ซ่ึงแร่ยูเรเนียมจะถูกใช้เป็นเชื้อเพลิง ในการผลิตกระแสไฟฟ้าของโรงไฟฟา้ พลงั งานนิวเคลียร์ การผลิตกระแสไฟฟ้าจากโรงไฟฟ้าพลังงานนิวเคลียร์ อาศัยความร้อนจากปฏิกิริยาการแตกตัวหรือ ปฏกิ ริ ยิ าฟิชชนั ของเชื้อเพลิงยูเรเนียม โดยความรอ้ นท่ีได้ จะถูกนาไปต้มน้า เพื่อให้ได้ไอน้าไปขับกังหันไอน้าท่ีต่อกับ เครอ่ื งกาเนิดกระแสไฟฟ้าผลติ ไฟฟ้าออกมา ใช้งาน นทิ รรสการชดุ โรงไฟฟา้ พลังงานลม ลม คอื อากาศท่เี คล่ือนที่ไปในแนวราบ เกิดจากการแทนท่ีของอากาศ เน่อื งจากอากาศใน บรเิ วณทรี่ อ้ นจะ ลอยตัวสูงขึ้นในขณะท่อี ากาศบริเวณใกล้เคยี งทอี่ ุณหภมู ติ ่ากว่าจะเคลื่อนท่เี ข้ามาแทนที่มวลอากาศทเ่ี คล่อื นทน่ี ี้เรา จะนามาใช้ในการผลติ กระแสไฟฟ้า การผลติ ไฟฟ้าจากพลงั ลม จะใช้กังหันลมเป็นอุปกรณ์ในการเปลย่ี นพลังงานลมเป็นพลังงานไฟฟา้ เม่ือลม พดั มาปะทะจะทาให้ใบพัดหมุน แรงจากการหมนุ ของใบพัดจะทาให้แกนหมนุ ทเี่ ช่อื มอยู่กับ เครื่องกาเนดิ ไฟฟ้าหมุน เกิดการเหนยี่ วนาและได้ไฟฟ้าออกมา โดยปริมาณไฟฟ้าที่ไดจ้ ากกังหนั ลม จะข้นึ อยู่กับความเรว็ ลม ความสมา่ เสมอ ของลม และความยาวนานของการเกิดลม นทิ รรสการชดุ โรงไฟฟา้ พลงั งานน้า นา้ เป็นทรัพยากรทม่ี ีความจาเป็นต่อการดารงชวี ติ ซึง่ มีอยู่มากมายในธรรมชาติ และยงั สามารถนามาใชใ้ น การผลิตไฟฟา้ ได้ โดยประเทศไทยมีโรงไฟฟ้าพลงั น้าอยู่หลายแห่ง เช่น โรงไฟฟ้าพลงั น้าท่ีเขือ่ นสิรกิ ิต์ิ เขื่อนศรี นครินทร์ และเข่ือนภูมิพลซ่ึงเปน็ เขอื่ นผลติ ไฟฟา้ ทใี่ หญ่ ทส่ี ดุ ของประเทศไทย แต่ท้ังนี้ เขื่อนของประเทศไทยมี วัตถุประสงคห์ ลกั เพ่ือการกักเก็บน้าไว้ใช้ใน การอุปโภค การบรโิ ภค และการเกษตร ดังนั้นการผลิตไฟฟา้ ดว้ ยพลงั นา้ จากเขื่อนจึงเปน็ เพียงผล พลอยได้เท่านัน้ การผลิตไฟฟ้าจากพลังงานน้า ใชแ้ รงดันของน้าจากเข่ือนและอา่ งเกบ็ น้าซ่ึงอยู่ในระดับสงู กวา่ โรงไฟฟ้าไป หมุนกังหนั น้าท่ีต่อกบั เครอ่ื งกาเนิดกระแสไฟฟา้ ผลิตไฟฟ้าออกมาใชง้ าน นทิ รรสการชุด โรงไฟฟ้าพลงั งานแสงอาทิตย์ พลงั งานแสงอาทติ ย์ เป็นพลงั งานจากธรรมชาตทิ ส่ี ามารถนามาใชอ้ ยา่ งไมห่ มดสนิ้ แตพ่ ลังงาน แสงอาทิตย์ มีข้อจากัด คือสามารถใช้ประโยชนไ์ ด้แคช่ ว่ งท่ีมแี สงแดดเท่านั้น การผลิตไฟฟ้าจากพลงั งานแสงอาทติ ย์ ใช้อุปกรณท์ เ่ี รยี กวา่ เซลล์แสงอาทติ ย์ (Solar Cell) เปล่ยี นพลงั งาน แสงอาทติ ย์ใหเ้ ปน็ พลงั งานไฟฟ้าประสิทธิภาพของการผลติ ไฟฟ้าข้นึ อยู่กับความเข้ม ของแสงอาทติ ย์ ซึ่งจะมีคา่ เปลยี่ นแปลงไปตามพืน้ ที่ ช่วงเวลา ฤดูกาล และสภาพอากาศ

โซนที่ 4 โครงสร้างทางไฟฟา้ นทิ รรสการชุด ระบบส่งและจ้าหนา่ ยไฟฟ้า ระบบสง่ ไฟฟ้า (Transmission system) ระบบผลติ กาลังไฟฟา้ หมายถึงระบบท่ีมีการเปล่ยี นรปู พลงั งานจากพลังงานรูปแบบอ่ืน ๆ เปน็ พลังงานไฟฟ้า เชน่ เปล่ียนจากพลงั งานศักย์ของน้าเป็นพลงั งานไฟฟา้ หรือเปล่ยี นพลังงานความร้อนที่ได้จากถ่านหิน แกส๊ น้ามนั หรอื ปฏกิ ิริยานวิ เคลยี ร์เปน็ พลงั งานไฟฟ้า เป็นตน้ กระบวนการทเ่ี ปลี่ยนพลังงานรปู แบบอ่นื เป็น พลงั งานไฟฟ้าน้นั สว่ นใหญจ่ ะผ่านรูปของพลังงานกล กอ่ นเสมอและใช้พลังงานกลเป็นตัวขบั (Prime mover) เครือ่ งกาเนดิ ไฟฟ้าอีกทีหน่ึงแรงดนั ไฟฟา้ ที่ได้จากเคร่ืองกาเนิดไฟฟา้ จะถูกส่งมายังสถานีไฟฟ้าย่อยหรอื ลานไกไฟฟา้ (Switch yard) เพอ่ื เปลี่ยนแรงดันไฟฟา้ ให้สงู ขึน้ ลานไกไฟฟ้านเ้ี ปน็ ท่ตี ิดตั้งอปุ กรณ์ควบคุมและป้องกนั ความผดิ ปกตอิ าจเกิดขึน้ ระหว่างระบบผลิตกาลงั ไฟฟา้ กับระบบสง่ กาลงั ไฟฟา้ ระบบผลติ กาลงั ไฟฟ้าบางคร้งั เรียกว่า โรงไฟฟ้าหรือโรงจกั รไฟฟ้า (Power plant) การเรียกชอื่ โรงไฟฟ้านัน้ นิยมเรียกตาม ลกั ษณะของแหลง่ พลงั งานหรืออาจเรยี กตามชนดิ ของตัวขับแรงดันไฟฟ้าท่ผี ลิตขน้ึ จากเครื่องกาเนิดไฟฟา้ โดยทวั่ ๆ ไปมคี า่ ไม่เกนิ 20 kV ทั้งน้ีเกิดจากสาเหตุของฉนวนในเครื่องกาเนิดไฟฟ้าและการคานงึ ถงึ ผลทาง เศรษฐศาสตร์ดว้ ย ซง่ึ เครื่องกาเนิดไฟฟ้าของโรงไฟฟ้าท่ีใชใ้ นปจั จุบนั มี คา่ แรงดนั จ่ายออกหลายระดบั เช่น 3.5 kV, 11 kV และ 13.8 kV แรงดันดงั กลา่ วจะถูกแปลงให้สูง ข้ึนทลี่ านไกไฟฟ้า (Switch yard) มีคา่ เปน็ ไปตามระดบั แรงดันมาตรฐานที่ใชส้ ง่ กาลังไฟฟ้า คือ 69 kV, 115 kV, 230 kV หรอื 500 kV การส่งกาลังไฟฟ้าจากจุดหนึ่งไปยัง อกี จุดหนึ่งจะเลือกส่งดว้ ยระดับแรงดนั ระดบั ใดขึ้นอยกู่ บั ระยะทางทใ่ี ชส้ ่งเปน็ สาคญั ในการส่งกาลงั ไฟฟ้าแรงดันสูง นั้นจะส่ง ด้วยระบบ 3 เฟส เพราะว่าการเพ่ิมสายส่งข้ึนอีกหนึง่ เสน้ จะสามารถส่งกาลังไฟฟ้าได้สงู กวา่ ระบบเฟสเดยี ว ถึง 75 เปอรเ์ ซน็ ต์ ท้งั น้ีเม่อื เปรียบเทยี บขณะใชแ้ รงดนั และกระแสไฟฟา้ จานวนเทา่ ๆ กัน นิทรรศการชุดเคร่อื งเล่นแสดงระบบส่งไฟฟ้า ปจั จบุ ันไฟฟ้ามบี ทบาทกับชีวิตประจาวันของมนุษย์มากข้ึน ประเทศท่ีจะพัฒนาได้น้ันต้องใช้พลังงานไฟฟ้า มาก เพราะว่าเครื่องมือหรือสิ่งประดิษฐ์ใหม่ ๆ ต้องใช้ไฟฟ้าถึงแม้ว่าไฟฟ้าจะมีประโยชน์แต่มีโทษแก่มนุษย์ เหมือนกันถา้ ใชไ้ ฟฟ้าอยา่ งประมาท

โซนท่ี 5 โครงสร้างทางพลงั งานไฟฟา้ สถิติไฟฟ้า 1. ปริมาณสารองเชื้อเพลิงแต่ละประเภทในประเทศไทยและโลก ประเภทเชอ้ื เพลงิ เหลอื ใช้ได้ (ปี) ไทย โลก 42 นา้ มัน 7 64 กา๊ ซธรรมชาติ 9 110 ถ่านหนิ 72 2. การกระจายสัดส่วนเชื้อเพลิง ในการผลติ ไฟฟ้าของไทยและโลก ประเภทเช้ือเพลิง ร้อยละ ไทย โลก กา๊ ซธรรมชาติ 66.37 23 ถ่านหนิ 22.49 40 น้า 7.77 17 นา้ มนั 0.67 4 2.64 5 พลังงานทดแทน 11 นวิ เคลยี ร์ 0 3. ตน้ ทนุ การผลติ ไฟฟา้ ต่อหน่วยจากเชอื้ เพลงิ แตล่ ะประเภท ทนุ การผลิตไฟฟ้า (บาท/หน่วย) ประเภทเชื้อเพลิง 2.50-3 กา๊ ซธรรมชาติ 2.50-3 ถ่านหนิ 2.50-3 นวิ เคลยี ร์ 4-5 ชวี มวล(>3เมกะวัตต์) 3-5 ขยะ 6-7 ลม 2-2.50 น้า 4.50-7 แสงอาทิตย์

4.เปรยี บเทยี บราคาไฟฟา้ ภาคครวั เรือนแตล่ ะประเทศ ประเทศ ราคาไฟฟา้ สัดส่วนของเช้ือเพลิง (%) ภาคครัวเรือน นวิ เคลีย ถ่าน กา๊ ซ นา้ หมนุ เวีย อ่นื ๆ (บาท/หน่วย) ร์ หนิ ธรรมชาติ น 6.9 0 ฝรงั่ เศส 6.44 49 4 8 19.7 12.4 13.8 4.6 เยอรมนี 12.77 6.8 27.6 16 3.1 46.5 5.9 11.8 ญ่ีปนุ่ 7.98 2 30.3 43.2 8.5 2.2 4.7 เกาหลีใต้ 3.34 23.8 28.2 29.9 7.4 6.1 2.7 8 มาเลเซีย 2.59 0 25.8 54.3 11.2 2.8 1.3 เดนมารค์ 13.12 0 39.3 14.7 0.1 34.1 สหรัฐอเม 3.99 9.9 29.7 39.4 9.7 6.6 รกิ า จนี 3.77 3.56 65.2 3.14 19.2 6.07 5 ไทย 3.78 0 13.1 68.2 16 1.4 5. เปรียบเทียบปรมิ าณการใช้เช้อื เพลงิ ในการผลิตไฟฟ้า ประเภทเชื้อ ปรมิ าณเชอื้ เพลิง เปรียบเทยี บพลังงานทีไ่ ด้จากเชื้อเพลิงแต่ ความสามารถในการ เพลงิ เดินเครื่องผลิตไฟฟ้าใน 1 ปี สาหรบั โรงไฟฟา้ ขนาด ละชนิด ทน่ี า้ หนัก 1 กิโลกรมั (%) กา๊ ซธรรม ชาติ 1000 เมกะวัตต์ ใน1 ปี 85 ถา่ นหิน นา้ มัน 970,000 ตนั 6 หนว่ ย (kWh) 85 85 นิวเคลียร์ 2,360,000 ตนั 3 หน่วย (kWh) 85 ชวี มวล 1,310,000 ตนั 4 หนว่ ย (kWh) 85 300,000 หนว่ ย (kWh) ลม 21 ตนั 0.6 หน่วย (kWh) 20 แสงอาทติ ย์ 8,216,000 17 ตนั - - - -

6.เปรยี บเทียบการปล่อยกา๊ ซเรอื นกระจกจากการผลิตไฟฟา้ ของเช้ือเพลิงแต่ละประเภท ประเภทเชอื้ เพลิง กา๊ ซเรอื นกระจก (กรัม co2/kWh) ถ่านหิน 1000 น้ามัน 840 469 กา๊ ชธรรมชาติ 16 นวิ เคลยี ร์ 4 น้า 18 ชีวมวล 12 ลม 46 แสงอาทติ ย์ 45 ความรอ้ นใตพ้ ิภพ 7. เปรียบเทียบโรงไฟฟ้า ประเภท พืน้ ท่กี อ่ สรา้ ง ข้อดี ขอ้ เสีย การจดั การสิ่งแวดลอ้ ม โรงไฟฟา้ โรงไฟฟา้ ขนาด 1,000 เมกกะวตั ต์ (ไร่) โรงไฟฟ้า 625-2,500 -สามารถเริม่ เดิน -น้ามันเช้ือเพลงิ -มกี ารตรวจวดั ระดับเสยี ง นา้ มัน เครอ่ื งได้อย่าง มีราคาแพง บริเวณเคร่อื งจักรโรงไฟฟ้า ดเี ซล รวดเร็ว -ปลอ่ ยก๊าซเรือน และชุมชน -เหมาะสาหรบั กระจก -มีการตรวจสอบคุณภาพ -ปริมาณเช้ือ จ่ายพลังงานไฟ เพลิงสารอง เหลอื นา้ ท้งิ อยา่ งสม่าเสมอ ฟ้าในชว่ ง น้อย -ติดตั้งสถานตี รวจวัดคณุ กรณฉี ุกเฉิน ภาพอากาศ โรงไฟฟ้า 625-2,500 -ผลิตไฟฟา้ ไดม้ าก -ราคาผนั ผวน -มีการตรวจวดั ระดบั เสยี ง ก๊าซธรรม -ผลติ ไฟฟ้าได้ เนื่องจากราคา บริเวณเครอื่ งจักรโรงไฟฟา้ ชาติ ตลอด 24 ช่ัวโมง กา๊ ซธรรมชาตผิ ูก และชมุ ชน -มีความยืดหยุ่น กับราคานา้ มนั -มีการตรวจสอบคุณภาพ ในการเดินเครื่อง -ปรมิ าณเชอ้ื นา้ ท้ิงอย่างสม่าเสมอ -มลภาวะต่า เพลิงสารอง -ติดตง้ั สถานตี รวจวดั เหลือนอ้ ย คณุ ภาพอากาศ - ปล่อยกา๊ ซเรือน

โรงไฟฟ้า 625-2,500 -ผลิตไฟฟา้ ได้มาก กระจก -มีการควบคุมคณุ ภาพ ถา่ นหนิ -ผลติ ไฟฟา้ ได้ - ปล่อยก๊าซเรือน อากาศน้าเสียงและฝุน่ ตลอด 24 ชั่วโมง กระจก ละอองให้อย่ใู นเกณฑต์ ามท่ี -ราคาเชือ้ เพลงิ ถกู -เกิดก๊าซไนโตร กฎหมายกาหนด -ปริมาณเชื้อ เจนออกไซด์ซัล -มีการตดิ ต้ังเคร่อื งดกั จับ เพลงิ สารองมีมาก เฟอร์ไดออกไซด์ ฝนุ่ ระบบไฟฟ้าสถิตย์ (ESP) และฝุ่นขนาดเล็ก -ตดิ ตัง้ เตาเผาไหม้เพื่อลด ซ่ึงต้องใชเ้ ทคโน การเกดิ กา๊ ซออกไซดข์ อง โลยีในการบาบัด ไนโตรเจน (Low NOx Burner) -ตดิ ต้งั เครือ่ งดักจบั ก๊าซ ซลั เฟอร์ไดออกไซด์ (FGD) -ติดตั้งสถานีตรวจวัด คณุ ภาพอากาศ -ติดตง้ั ระบบตรวจวดั มลสารทร่ี ะบายออกจาก ปล่อง โรงไฟฟ้า 625-2,500 -ผลิตไฟฟา้ ไดม้ าก - ใช้เวลากอ่ สรา้ ง -มกี ารควบคุมคุณภาพ พลงั งาน -ผลิตไฟฟ้าได้ นาน อากาศนา้ และเสยี งให้อยู่ใน นวิ เคลยี ร์ ตลอด 24 ชัว่ โมง - ตอ้ งมรี ะบบ เกณฑ์ตามท่ีกฎหมาย -ราคาเช้อื เพลงิ ถูก ปอ้ งกันรงั สีและ กา หนด -ปรมิ าณเชอื้ มรี ะบบจัดการ -มรี ะบบการจัดการเช้อื เพลิงสารองมีมาก สารกมั มนั ตรงั สที ี่ เพลิงใชแ้ ล้วและกาก -ไม่ปลอ่ ยกา๊ ซ รัดกมุ กัมมันตรงั สี เรือนกระจกขณะ ราคาคา่ ก่อ- -มกี ารตรวจสอบคุณภาพ เดนิ เครอื่ ง สร้างสูง น้าทงิ้ อย่างสมา่ เสมอ -สามารถนาเชื้อ -มกี ารตรวจวัดการปน เพลงิ ใช้แล้วมา เป้อื นของรังสีสสู่ ่ิง แวดล้อม ผ่านกระบวนการ โดยรอบโรงไฟฟ้า เพอื่ นากลับมาใช้ ใหมไ่ ด้

โรงไฟฟ้า 218,750 - -เปน็ แหลง่ พลงั -ใชพ้ น้ื ทีใ่ นการ -มีการปลกู ปา่ ทดแทนพ้ืน พลงั น้า 281,250 งานสะอาด -ไมม่ ีต้นทุนคา่ กอ่ สรา้ งมาก ซง่ึ ที่ที่ใช้ในการสรา้ งเข่ือน เชอ้ื เพลิง -ใช้ในการชล โดยมากเปน็ -มกี ารติดตามระบบนิเวศ ประทานและเป็น สถานทที่ ่องเทยี่ ว พืน้ ที่ปา่ ในพืน้ ท่เี ข่ือน -พน้ื ทกี่ ่อสรา้ ง ต้องมีลักษณะ เฉพาะ -ผลติ ไฟฟ้าได้ น้อยเนื่องจากน้าใน เข่ือนต้องใช้ เพ่อื อปุ โภคบรโิ ภค และการ ชลประทาน -การผลติ ไฟฟ้า ขึ้นกบั ปริมาณนา้ ใน เขอ่ื น โรงไฟฟ้า 31,250-93,750 -เป็นพลงั งาน -ต้นทุนการผลติ -มกี ารบรหิ ารจัดการส่งิ พลังลม สะอาด -ไม่ปลอ่ ยกา๊ ซ ไฟฟา้ สูง แวดล้อมใหเ้ ป็นไปตามที่ เรอื นกระจก -ไมม่ คี ่าเชอื้ เพลิง -ใช้พนื้ ทมี่ าก กฎหมายกาหนด -บารงุ รักษางา่ ย -ไมส่ ามารถผลติ -มีการฟ้นื ฟูบรเิ วณพน้ื ที่ ไฟฟ้าได้ตลอด 24 ก่อสรา้ งกงั หนั ลม ชั่วโมง -ปลกู ต้นไม้ตามแนวถนน -เกิดมลภาวะทาง และบริเวณชมุ ชนเพื่อเป็น เสยี ง กาแพงกน้ั เสียงธรรมชาติ -พน้ื ท่ีก่อสรา้ ง -ติดต้งั สถานตี รวจวดั ต้องมีลมพัดสมา่ คุณภาพอากาศและตรวจ เสมอและมี วัดเสียง ความเร็วลมท่ี เหมาะสม โรงไฟฟ้า 12,500-31,250 -เป็นพลังงาน -ต้นทุนการผลติ -มีระบบจดั การขยะ พลังงาน สะอาด แสงอาทิตย์ -ไม่ปลอ่ ยกา๊ ซ สงู อิเล็กทรอนิกส์ เรือนกระจก -บารุงรักษาง่าย -ใช้พ้นื ท่ใี นการ -ไม่มีค่าเชื้อเพลงิ ติดตง้ั มาก -ผลติ ไฟฟ้าได้ เฉพาะตอนกลางวัน

โรงไฟฟ้าชวี 625-2,500 -เป็นการใช้ -เมอื่ หมดอายจุ ะ -มีการควบคุมคุณภาพ มวล ประโยชน์จาก เปน็ ขยะ อากาศนา้ เสยี งและฝุ่น วสั ดุเหลอื ใช้ อเิ ล็กทรอนกิ ส์ ละอองให้อยใู่ นเกณฑต์ ามที่ ทางการเกษตร ท่ีตอ้ งมกี ารจัด กฎหมายกาหนด การโดยเฉพาะ -ตดิ ตง้ั สถานีตรวจวดั -ปริมาณเชอ้ื คณุ ภาพอากาศและตรวจ เพลิงไม่แน่นอน วัดเสีย ขน้ึ อยูก่ ับฤดูกาล -มกี ารตรวจสอบคุณภาพ -มปี ลอ่ ยก๊าซ น้าทิ้งอย่างสม่าเสมอ เรอื นกระจก และฝนุ่ ละออง ซงึ่ ตอ้ งใชเ้ ทคโน โลยใี นการบาบดั กอ่ นปล่อยออกสู่ ส่ิงแวดลอ้ ม โซนท่ี 6 กฟผ. ผลิตไฟฟา้ เพือ่ ความสุขของคนไทย 1.นทิ รรศการชุด กฟผ.ผลติ ไฟฟ้าเพ่อื ความสุขของคนไทย นิทรรศการชดุ CSR โครงการปลกู ป่า กฟผ. กฟผ. ปลกู ปา่ ตน้ น้า ปา่ ชมุ ชน และป่าปลกู เฉลิมพระเกียรติ 60 พรรษา สมเด็จพระเทพรัตนราชสดุ าฯ สยามบรมราชกุมารี “ใครก็ตามไม่ว่าเปน็ เด็กหรอื ผู้ใหญ่ เมื่อมีความรู้ไดศ้ ึกษาธรรมชาตแิ ล้ว จะเหน็ คณุ คา่ รักและ ไม่ทาลาย ในสมัยโบราณเรื่องการอนรุ ักษป์ ่าอาจไม่ได้เปน็ เร่ืองท่มี ีความสาคัญอยา่ งยิ่งยวดเหมือนปัจจบุ นั นี้ เนอื่ งจากสมัยก่อนพน้ื ท่ปี า่ ยงั มีมาก ประชากรยงั มีน้อย การอนุรกั ษ์ท่ีสาคัญ ต้องปลกู ป่าในใจคน การท่เี ราไมไ่ ป รังแกป่า ป่ากจ็ ะฟื้นตวั ขนึ้ มาเอง”พระราชดารสั สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกมุ ารใี นโอกาสเสดจ็ ฯ เปน็ องคป์ ระธานการประชมุ วิชาการ “รักษ์ปา่ น่าน” ปี 2 กวา่ 20 ปแี ล้ว ที่ กฟผ. ได้นอ้ มนาหลักการทรงงานด้าน การอนุรักษ์ปา่ มาปฏิบตั โิ ดยตลอด 20 ปที ่ผี า่ นมา กฟผ. ปลูกปา่ ในพืน้ ท่ี จ.นา่ น มาแลว้ กวา่ 60,000 ไร่ และปลูก เพ่ิมอกี 12,000 ไร่ ในปี 2557-2558 เพ่ือเฉลิมพระเกียรติในโอกาสทรงมีพระชนมายุ 60 พรรษา โดยแบ่งเปน็ ป่า ต้นนา้ และป่าชมุ ชน ท่ี กฟผ. ร่วมกับชมุ ชนปลกู และดูแล ให้ชุมชนไดพ้ ึง่ พิงผลติ ผลของป่าและมีคุณภาพชวี ติ ท่ีดี อยา่ งยง่ั ยนื ในโอกาสเฉลมิ พระเกียรติ 60 พรรษาน้ี กฟผ. ไมเ่ พียงแตป่ ลกู ป่าในพ้นื ท่ตี ้นนา้ นา่ นเท่านั้น แตเ่ ขต เข่ือน และโรงไฟฟ้า กฟผ. ทัว่ ประเทศ กจ็ ะร่วมกนั ปลูกป่าถวายเจ้าฟ้านกั อนรุ ักษ์ ผทู้ รงหว่ งใยความเป็นอยู่ของพสกนิกร เช่นเดยี วกนั นอกจากน้ี โครงการอนุรักษ์พนั ธกุ รรมพชื อันเนอื่ งมาจากพระราชดาริ สมเด็จพระเทพรตั นราชสุดาฯ สยามบรมราชกมุ ารี สนองพระราชดารโิ ดย กฟผ. หรอื อพ.สธ.-กฟผ. กไ็ ด้มโี ครงการเฉลมิ พระเกยี รติ “ปลกู ปา่ ใน

ปา่ ปลูก” เพื่อปลูกป่าพนั ธกุ รรมพชื หายาก ป่าสมุนไพร และป่าชมุ ชน บนพื้นที่ 3,500 ไร่ ณ เขื่อนสริ นิ ธร ซึ่งเป็น เขอ่ื นพระราชทานนาม ในโอกาสมหามงคลนดี้ ว้ ยเช่นกนั ในวโรกาสทส่ี มเดจ็ พระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ทรงมีพระชนมายุครบ 60 พรรษา ในปี 2558 กฟผ. รสู้ ึกซาบซ้งึ ในพระมหากรุณาธคิ ุณอันลน้ พน้ ท่ี กฟผ. ไดส้ นองพระราชปณธิ านในการอนุรักษ์ทรัพยากร ป่าไม้อีกวาระหน่ึง ในโครงการปลูกปา่ กฟผ. เฉลิมพระเกียรติ 60 พรรษา ในครง้ั นี้ ขอพระองค์ทรงพระเจริญยง่ิ ยนื นาน 10.นทิ รรศการชุด CSR โครงการชีววี และ แว่นแก้ว กฟผ. โครงการชวี วถิ ีเพอ่ื การพฒั นาอยา่ งย่งั ยนื 2542 มาถึงปจั จุบนั โดยได้นอ้ มนาแนว พระราชดารัสเศรษฐกจิ พอเพยี งด้วยการนาเกษตรผสมผสานใช้ปยุ๋ ชวี ภาพฟืน้ ฟคู ุณภาพดนิ และสงิ่ แวดลอ้ มเพื่อให้เกษตรกรไทยทากินอย่าง ยั่งยนื โครงการแว่นแกว้ กฟผ. ร่วมมือกบั โรงพยาบาลเมตตาประชารกั ษ์ วัดไรข่ งิ บริษทั หอแว่นกรปุ๊ จากัด ออก หนว่ ยวัดสายตาประกอบแวน่ ให้แกผ่ ้ดู ้อยโอกาส มาตง้ั แตป่ ี พ. ศ. 2546 จนถึงปัจจุบัน นทิ รรศการชดุ อุปกรณ์ประหยัดไฟฟา้ อ. ที่หน่ึง คือ อุปกรณ์ประหยัดไฟฟ้า เป็นโครงการที่มุ่งม้ันรณรงค์ส่งเสริมให้ทุกครัวเรือนในประเทศไทย เปลี่ยนมาใช้อุปกรณ์ประสิทธิภาพสูง พร้อมไปกับขอความร่วมมือจากบริษัทผู้ผลิตผู้นาเข้าอุปกรณ์ไฟฟ้า ประสิทธิภาพสูง แทนอุปกรณ์ไฟฟ้าประสิทธิภาพต่าโดยเร่ิมต้นท่ีหลอดประหยัดไฟฟ้า หรือที่เรียกกันว่า \"หลอด ผอม\" ซึง่ ประสบความสาเร็จเปน็ อยา่ งมากจากการทาใหห้ ลอดไฟฟ้าประสิทธิภาพต่าหรือ หลอดอ้วนหมด ไปไปจาก ตลาด ทั้งยังเป็นแรงผลักดันให้มีการพัฒนาอุปกรณ์ไฟฟ้าชนิดอ่ืน ๆ ให้เป็นเคร่ืองใช้ไฟฟ้าประสิทธิภาพสูงตามไป ด้วย ได้แก่ ตู้เย็น เคร่ืองปรับอากาศ บัลลาสต์ หลอดตะเกียบ และพัดลม โดยจะเดินหน้าส่งเสริมให้มีการพัฒนา เครอื่ งใช้ไฟฟา้ อน่ื ๆให้เป้นเคร่ืองใช้ไฟฟา้ ประสทิ ธภิ าพสูง ใหแ้ พรห่ ลายอย่างกว้างขวางและเพ่ิมข้ึน อาทิหม้อหุงข้าว เตารดี และตแู้ ช่ เปน็ ตน้ เพ่ือใหผ้ ู้บริโภคได้รับประโยชน์ในการประหยัดพลังงานจากเคร่ืองใช้ไฟฟ้าประสิทธิภาพสูง มากยิ่ง ขนึ้ โดยมี ฉลากเบอร์ 5 เป็นเครื่องหมายรบั รองประสทิ ธิภาพของผลิตภัณฑต์ า่ งๆ นิทรรศการชุด อาคารประหยดั ไฟฟา้ อ. ที่สอง คือ อาคารประหยัดไฟฟ้า เป็นโครงการท่ีมุ่งมั้นรณรงค์ให้ผุ้ประกอบการธรุกิจและอุตสาหกรรม ต่างๆ ซงึ่ มกี ารใช้ไฟฟ้า จานวนมากตระหนกั และให้ความสนใจด้านการประหยัดไฟฟ้าในอาคารต่าง ๆ ท้ังภาคธุรกิจ และภาคอุตสาหกรรมท้ังอาคารเก่าและอาคารใหม่ด้วยการให้ความรู่ความเข้าใจเก่ียวกับการใช้พลัง งานอย่างมี ประสิทธิภาพพร้อมท้ังจัดทาโครงการนาร่องเพ่ือให้เห็นผลการประหยัดท่ีคุ้มค่าอย่าง เป็นรู้ธรรมการจูงใจให้ ผู้ประกอบการเปล่ยี นมาใช้อุปกรณ์ประหยดั ไฟฟ้า การปรบั ปรุงประสิทธิภาพเครื่องปรับอากาศ การจัดระบบการใช้ ไฟฟ้าอยา่ งมีประสิทธภิ าพ รวมไปถึงการปรบั ปรุงระบบป้องกนั ความรอ้ นเข้าสู่อาคาร และการเป็นท่ีปรึกษาด้านการ อนุรักษ์พลังงาน โดยประสานความร่วมมือทั้งภาครัฐและเอกชน สถาบันการเงิน บริษัทจัดการพลังงานและ ผูเ้ ข้ารว่ มโครงการ เพ่ือใหเ้ กดิ ผลในการอนุรักษพ์ ลังงานอย่างถาวรต่อไป

นทิ รรศการชุด อุปนิสัยประหยดั ไฟฟา้ อ. ท่ีสาม คือ อุปนิสัยประหยัดไฟฟ้า เป็นการปลูกจิตสานึกและอุปนิสัยให้คนไทยใช้พลังงานอย่างมี ประสทิ ธภิ าพโดยเฉพาะอยา่ งยิ่งเยาวชนไทย ด้วยการจัดทาโครงการห้องเรียนสีเขียวขึ้นในระดับต่าง ๆ ทั่วประเทศ เพ่ือปลูกฝังให้เยาวชนของชาติได้เรียนรู้และเข้าใจถึงความจาเป็นท่ีจะต้องช่วยกันประหยัดพลังงานด้วยการใช้ไฟ อย่างรู้คุณค่า ถูกวิธี และมีประสิทธิภาพสูงสุด นอกจากนี้ กฟผ.ยังได้ดาเนินกิจกรรมต่าง ๆ รวมทั้งโฆษณา ประชาสัมพันธ์อย่างต่อเนื่อง เพ่ือรณรงค์ให้ประชาชนมีอุปนิสัยในการประหยัดไฟฟ้าอันจะ ส่งผลให้เกิดการ ประหยัด ไฟฟ้าและพลังงานในระยะยาวอย่างย่ังยืนตลอดไป นอกจากน้ี กระทรวงพลังงานยังได้จัดการรณรงค์ ปฏบิ ตั ิการ 4 ป. ขอความร่วมมือ รวมใจคนไทย สู้วิกฤตไฟฟ้า ปฏิบัติการ 4 ป. “ปิดไฟ ปรับแอร์ ปลดปล๊ัก เปลี่ยน อุปกรณ”์ ชว่ ยชาตปิ ระหยัดพลงั งาน ได้แก่ นทิ รรศการชดุ 4 ป เพอื่ ประหยัดพลังงาน 1.ปิดไฟ ...ปดิ ไฟดวงที่ไม่ใช้ทุกครงั้ แม้จะเปน็ การหยุดใชใ้ นช่วงเวลาสน้ั ๆ กต็ าม การเปิดปิดไฟบ่อย ๆ จะ ไม่ทาใหส้ ้นิ เปลอื งไฟแต่อยา่ งใด แต่ทุกครงั้ ท่ีปดิ กลับจะช่วยใหเ้ กิดการประหยัดไฟมากขนึ้ นอกจากน้ี ต้องหมั่นทา ความสะอาดพ้ืนผวิ โคมไฟและหลอดอย่างสม่าเสมอ เพอื่ ให้มกี ารส่องสว่าง อย่างเตม็ ประสิทธิภาพ 2.ปรบั แอร์ ..ปรับอณุ หภูมแิ อร์ที่ 26 องศาเซลเซียสหรอื มากกว่า ทกุ อณุ หภูมทิ ี่เพ่มิ ขนึ้ 1 องศาเซลเซยี ส จะประหยดั ไฟฟ้าได้ร้อยละ 10 แต่ไม่ควรตง้ั อุณหภูมเิ กนิ 28 องศาเซลเซียส เพราะนอกจากจะไม่ 3.ปลดปล๊ัก...เคร่ืองใช้ไฟฟ้าทุกชนิดที่ไม่จาเป็นหรือหยุดใช้งานออกทุกครั้ง การปิดเคร่ืองใช้ไฟฟ้าโดยไม่ ปลดปลั๊กออก หรือการปิดโทรทัศน์ด้วยรีโมทคอนโทรล จะยังคงมกระแสไฟฟ้าวิ่งหล่อเลี้ยงระบบวงจร อเิ ลก็ ทรอนกิ สภ์ ายในเครอ่ื งใชไ้ ฟฟ้าตลอดเวลา ดว้ ยเหตนุ ี้ จึงทาใหเ้ กดิ การสน้ิ เปลอี ง พลังงานโดยเปลา่ ประโยชน์ 4.เปลี่ยน คือ เปล่ียนมาใช้อุปกรณ์หรือเคร่ืองใช้ไฟฟ้าท่ีประหยัดพลังงาน สาหรับมาตรการเพิ่มเติมของ กฟผ. ในสถานการณด์ ังกลา่ ว แบ่งเป็น 5 เรือ่ งหลัก ได้แก่ 1) ระบบปรับอากาศ ให้ปรับอุณหภูมิไม่ต่า กว่า 26 องศาเซลเซียส กาหนดเวลาเปิด -ปิด เครอ่ื งปรับอากาศแบบแยกส่วน โดยให้เปิดระหว่างเวลา 08.00-15.30 น. และ ปิดเมื่อไม่อยู่ในห้อง รวมถึงในช่วงพั กกลางวนั เวลา 11.30-13.00 น. 2) ระบบไฟแสงสวา่ งในอาคาร ใหเ้ ปิดไฟแสงสว่างระหว่าง 08.00-16.00 น. โดยปิดในช่วงพักกลางวัน และขณะที่ไม่มีผปู้ ฏบิ ัตงิ านอยใู่ นหอ้ ง 3) ลิฟต์ รณรงค์การเดินขึ้น-ลงบันได 2 ช้ัน และสาหรับการใช้ลิฟต์ในสานักงานกลาง เปิดให้ใช้งาน เวลา 07.00 – 16.30 น. 4) อุปกรณส์ านกั งาน เคร่ืองคอมพวิ เตอร์ ใหเ้ ปิดใช้เครอื่ งและอปุ กรณ์ต่อพ่วง เช่น Printer เฉพาะเวลา ใชง้ าน และปิดเคร่อื งทันทีเมื่อไม่ใชง้ าน 5) อปุ กรณ์อื่นๆ ต้นู ้าเยน็ -ร้อน ให้ถอดปลก๊ั ออกหรือปิดสวิตซ์เม่ือไม่ใชง้ าน

นทิ รรศการชุด ผนู้ ้าดา้ นการอนรุ ักษ์พลังงาน กฟผ มงุ่ สู่การเปน็ ผูน้ าดา้ นการอนุรกั ษ์พลังงาน เปน็ การเน้นสร้างประสิธิทาพและแรงจูงใจการลดการใช้ พลังงานไฟฟ้า ซึง้ สามารลดความต้องการใชไ้ ฟฟา้ ของประเทศ โซนท่ี 7 ววิ ฒั นาการไฟฟา้ นิทรรศการชดุ แสงแรกแหง่ สยาม เม่ือวันที่ 1 พฤษภาคม พ.ศ. 2512 รัฐบาลได้รวมกับรัฐวิสาหกิจท่ีรับผิดชอบในการจัดหาไฟฟ้า ซ่ึงได้แก่ การลิกไนท์ ( กลน.) การไฟฟ้ายันฮี (กฟผ.) และการไฟฟ้าตะวันออกเฉียงเหนือ (กฟ. อน.) รวมเป็นงานเดียวกันคือ “ การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย ” มีช่ือย่อว่า “ กฟผ.” มีนายเกษม จาติกวณิช เป็นผู้ว่าการคนแรก โดยมี อานาจหน้าท่ีในการผลิตและส่งไฟฟ้าให้แก่ การไฟฟ้านครหลวงและการไฟฟ้าส่วนภูมิภาค เพ่ือจัดจาหน่ายให้แก่ ประชาชน นทิ รรศการชดุ กา้ เนิดไฟฟ้า หลวงพี่นิดจักรพรรดนิ ายเฉลิมร่วมกับนายเฉลยี วนารชี าวอเมรกิ นั ได้ก่อตงั้ บริษัท Bangkok Electric Light ซิม dtac ซึ่งเปน็ โรงไฟฟ้าเอกชนแห่งแรกของประเทศไทยแต่เน่ืองจากรายได้กบั รายจา่ ยไมค่ ้มุ กันจึงไดโ้ อนกิจการ ใหก้ ับนายเวสแลนด์โอนชาวเดนมารก์ จากบรษิ ัทไฟฟา้ สยามจากัดรบั ไปดาเนินการก่อสรา้ งโรงไฟฟา้ ต้งั อยใู่ นบริเวณ ที่ดนิ ของ วัดราชบรู ณะราชวรวหิ าร (วดั เลยี บ) พระบาทสมเด็จมงกุฎเกลา้ เจ้าอย่หู ัวรชั กาลที่ 6 ทรงโปรดเกล้าใหจ้ ดั ต้งั โรงไฟฟ้าหลวง 3 แสนข้นึ นบั เปน็ รฐั วสิ าหกจิ แหง่ แรกของไทยที่ดาเนนิ การผลิตและจาหนา่ ยไฟฟา้ ในพระนครโดยไดก้ ่อสร้างแลว้ เสร็จและเดนิ เครื่อง จ่ายไฟฟา้ ในปี พ.ศ. 2540 พ. ศ. 2457 พ. ศ. 2472 กจิ การไฟฟ้าในต่างจังหวดั เกิดขนึ้ เป็นคร้งั แรกท่เี ขตสขุ าภบิ าลเมืองราชบุรแี ละเมืองนครปฐม นิทรรศการชุด การผลติ ไฟฟา้ พ. ศ. 2512 รัฐบาลไดท้ าการร่วมรัฐวิสาหกจิ ท่ีรบั ผดิ ชอบในการผลิตไฟฟ้า ซง่ึ ไดแ้ ก่ การลกิ ไนต์การผลติ ไฟฟ้ายันฮี การผลิตไฟฟ้าตะวันออกเฉียงเหนือ เปน็ หน่วยงานเดียวกันคอื การไฟฟา้ ฝา่ ยผลิตแหง่ ประเทศไทย มชี ่อื ย่อว่า (กฟผ) มีนายเกษม จาติกวณิช เป็นผู้วา่ การคนแรกโดยมีอานาจหนา้ ท่ีในการผลิตและส่งไฟฟ้าใหแ้ ก่การ ไฟฟ้านครหลวงและการไฟฟา้ สว่ นภูมิภาคเพื่อจัดจาหน่ายใหแ้ ก่ประชาชนต่อไป .นทิ รรศการชดุ พลังงานทางเลอื ก พ. ศ. 2547 ถึงปจั จุบนั กฟผ พัฒนาพลังงานหมนุ เวยี นต่างๆหลายโครงการเพ่ือลดการพึ่งพาเชอ้ื เพลิงจาก ฟอสซิล กังหันลมผลิตไฟฟา้ ที่เขื่อนลาตะคองจังหวดั นครราชสมี า โรงไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์จงั หวดั แม่ฮอ่ งสอน จงั หวัดประจวบครี ีขนั ธแ์ ละจงั หวดั อบุ ลราชธานี แผนพัฒนากาลงั ผลติ ไฟฟา้ ของประเทศไทยสู่ความยงั่ ยนื ทางพลงั งาน ความมัน่ คงโรงไฟฟ้าเพียงพอและ ระบบไฟฟ้ามคี วามม่นั คง สงั คมและสงิ่ แวดล้อม ผลิตพลังงานไฟฟ้าอย่างเป็นมิตร ต่อชมุ ชนและส่งิ แวดลอ้ ม ราคา เปน็ ธรรมค่าไฟฟ้า ไมแ่ พงประชาชนทกุ คนทุกระดับ สามารถ จา่ ยได้ นิทรรศการชดุ 3 เหตุผลสมดลุ พลงั งานที่ประเทศไทยควรมี

สามเหตุผลสมดลุ พลังทปี่ ระเทศไทยควรมี 1. ก๊าชธรรมชาติในประเทศไทย เกอื บ 70 เปอรเ์ ซน็ ใชก๊าช ธรรมชาตผิ ลติ ไฟฟา้ ก๊าชธรรมชาติจะลดลงทุกปี และจาเป็นในการนาเข้ากา๊ ชธรรมชาติเหลวแพงกว่า 2 เท่าตวั 2. พลังงานทดแทนควรเป็นพลังงานเสริม หลังงานลม ทเี่ ป็นมติ รกบั สงิ่ แวดลอ้ ม ท่ีความเรว็ ลม 10 กโิ ลเมตรต่อช่ัวโมง ข้ึนไปถึงจะผลติ ไฟฟ้าได้ ผลิตกรแสไฟฟา้ เฉลยี ตอ่ วันละ 6ช่วั โมง ตน้ ทนุ การผลติ แพงกวา่ เช่ือเพลงิ ฟอสชวิ 2เท่า พลังงานแสงอาทิตย์ พลงั งานหมุ่นเวียนใชไ้ ด้ไม่มวี นั หมด ใช้พืน่ ทม่ี าก ผลติ ไฟฟา้ เฉลยี วันละหกชวั่ โมง ต้นทุนการ ผลติ แพงกวา่ เช่อื เพลงิ ฟอสชวิ 2 เท่า ขยะชีวมวล เพ่ิมมูลค่าและลดปริมาณขยะของเสยี ปริมาณจากัดมีตามฤดกู าล ปรมิ าณเช่อื เพลิงไมแ่ น่นอน ข้อเสียมากว่า 3. โรงไฟฟ้าหลัก ควรกระจายการใช้เชอ้ื เพลิงทม่ี ีเสถยี รภาพ ญ่ปี ุน่ 29 % ถา่ นหิน 2% นิวเคลยี ร์ 50% LNG 10% นา้ มนั 9% พลงั งานทดแทน อเมริกา 39 % ถา่ นหิน 19% นิวเคลยี ร์ 27% กา๊ ชธรรมชาติ 1% น้ามัน 13% พลงั งานทดแทน 1% อื่นๆ เยอรมัน 45 % ถ่านหนิ 15% นวิ เคลียร์ 11% ก๊าชธรรมชาติ 1% นา้ มัน 24% พลังงานทดแทน 4% อน่ื ๆ ไฟฟา้ = เศรษฐกจิ เขม้ แข็ง