Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore อบรมภาษาจีน ครั้งที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวประเทศจีนและภาษาจีน

อบรมภาษาจีน ครั้งที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวประเทศจีนและภาษาจีน

Published by baningpoo, 2022-07-06 02:37:05

Description: อบรมภาษาจีน ครั้งที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวประเทศจีนและภาษาจีน

Search

Read the Text Version

ความรเู บื้องตน เกี่ยวประเทศจนี และภาษาจนี

ท่ีตัง้ ต้งั อยูดานตะวันออกของทวีปเอเชยี มพี ื้นท่ี 9.6 ลา นตารางกิโลเมตร นบั วา ใหญ ท่ีสดุ ของทวีปเอเชยี มพี รมแดนติดตอ ประเทศตาง ๆ โดยรอบ 15 ประเทศ ไดแก เกาหลเี หนอื รัสเซยี มองโกเลยี คาซัคสถาน เคอรกิซสถาน อฟั กานิสถาน ปากีสถาน อินเดยี เนปาล สกิ ขิม ภูฐาน พมา ลาว และเวียดนาม โดยมีเสนพรมแดนทางบกยาว กวา 2 หมนื่ กโิ ลเมตร ขณะทที่ ิศตะวนั ออกและทิศใตจดทะเลเหลือง ทะเลจีนตะวนั ออก และทะเลจนี ใต ประชากร ประมาณ 1,400 ลานคน สํารวจเม่ือป 2019 (ไมรวมเขตบริหารพิเศษฮองกง มาเกา และไตหวัน) มีประชากรมาก เปนอันดับหนึ่งของโลก 93% เปนชาวฮั่น สวนท่ี เหลือ 7 % เปนชนกลุมนอย ไดแก ชนเผาจวง หุย อุยกูร หยี ทิเบต แมว แมน จู มองโกล ไตหรอื ไท เกาซัน รัฐบาลจีนมีนโยบายเพื่อควบคมุ จํานวนประชากรชาวฮ่ัน ซง่ึ ครอบครัวหน่งึ ควรมบี ตุ รเพียงหน่ึงคนเทาน้นั นโยบายนีไ้ มไดบ ังคับใชใ นชนกลุมนอย แตเ มือ่ 1 มกราคม 2016 รฐั บาลจีนอนุญาตใหค ลอดลกู คนที่ 2 ไดแลว

ชนชาติ มีชนชาติตาง ๆ อยูรวมกัน 56 ชนชาติ โดยเปนชาวฮั่น รอยละ 93.3 ที่เหลือเปน ชนกลุม นอยอืน่ ๆ ท่สี ําคญั ไดแ ก ชนเผา จวง ซ่ึงสวนใหญอยูในเขตปกครองตนเองกวางสี และมณฑลยูนนาน ชนเผาหุยในมณฑลหนงิ เซี่ยและกานซู ชนเผาอยุ กูร ในมณฑล ซินเกียง ชนเผาหยีในมณฑลเสฉวน ชนเผาทิเบตในเขตปกครองตนเองทิเบตและมณฑล ชิงไห ชนเผาแมวในมณฑลยูนนานและกุยโจว ชนเผาแมนจู ในมณฑลทางภาค ตะวันออกเฉยี งเหนอื ชนเผา มองโกลในเขตปกครองตนเองมองโกเลียในและซินเจยี ง ชนเผาไตหรือไทในมณฑลยูนนาน และชนเผาเกาซนั ในไตหวัน เมอื งหลวง Běijīng ปกก่ิง หรือ 北 京 Beijing เปยจิง ตามภาษาราชการจีน ต้ังอยูทางภาค ตะวันออกเฉียงเหนอื ของประเทศ เปนศูนยกลางการปกครองของประเทศ ศนู ยกลางดาน เศรษฐกิจการคา วิทยาศาสตร เทคโนโลยี และวัฒนธรรม เปนที่ต้ังของสถาน เอกอัครราชทูตตางๆ หนวยงานของสหประชาชาติ และองคการระหวางประเทศ สาํ นักขา วจากตางประเทศ รวมทง้ั บริษัทตา งชาติจาํ นวนมาก

รปู แบบการปกครอง สถาปนาประเทศเม่ือวันท่ี 1 ตุลาคม พ.ศ.2492 มีพรรคคอมมิวนิสตจีนดําเนนิ การ ปกครองประเทศตามแนวทางพื้นฐานของลัทธิมารกซ - เลนิน และความคิดเหมาเจอตง โดยประยุกตเขากับแนวทฤษฎีการสรางสรรคความทันสมัยใหแกระบอบสังคมนิยม ของ นายเติง้ เสี่ยวผิง พรรคคอมมิวนิสตจีนเปนแกนนําในการปกครอง โดยมีพรรคการเมืองอื่น อกี 8 พรรค เปนแนวรวม ภายใตการปกครองในลักษณะสังคมนิยมท่ีมีเอกลักษณเฉพาะ แบบจีน ผูนาํ จนี ประธานาธิบดี : สจี น้ิ ผงิ (ขวา) 习近平 Xí Jìnpíng เกดิ 15 มถิ ุนายน 2496 นายกรฐั มนตรี : หลเี่ คอ เฉยี ง (ซา ย) 李克强 Lǐ Kèqiáng เกดิ 1 กรกฎาคม 2498 เม่ือสภาประชาชนจีนจีนมีมติแกไขรัฐธรรมนูญ เพ่ือเปดทางใหสีจิ้นผิงดํารง ตาํ แหนงประธานาธบิ ดี และเม่ือ 11 มีนาคม พ.ศ. 2561 มีการแกร ฐั ธรรมนูญและมีการลง มตใิ หม ผลคอื ไดรับคะแนนเสียงและมตินีก้ ผ็ า น ทาํ ใหเ ปนประธานาธบิ ดโี ดยไมจาํ กดั วาระ การดํารงตําแหนง หรือเปนไดตลอดชีพ เทียบเทา ประธานาธิบดีเหมาเจอตุง เดิมที สามารถดาํ รงตําแหนงไดสูงสุด 2 วาระ โดยมีวาระละ 5 ป รวมกันเตม็ ทไี่ ด 10 ป แตจรงิ ๆ นอกจากเรอ่ื งน้ีแลว การแกไขรัฐธรรมนญู จนี ในครั้งนี้ ยังมีการแกไ ขเนื้อหารัฐธรรมนญู ใน เรอ่ื งใหญอ ีก 3 เรือ่ ง ซึง่ ลว นมีความสําคญั และสะทอ นทศิ ทางการเมืองจนี

เรื่องที่ 1 คือ การแกไขมาตราแรกของรัฐธรรมนูญจีน เพ่ิมเติมขอความวา ลักษณะพื้นฐานของสังคมนิยมอนั มเี อกลักษณแ บบจีน คือการนําโดยพรรคคอมมิวนิสต กอนหนาน้ี รัฐธรรมจีนพูดถึงการนําของพรรคคอมมิวนิสตไวแคในอารัมภบทของ รฐั ธรรมนูญ แตเ นื้อหามาตราตางๆ ของรัฐธรรมนูญไมมีตรงไหนกลา วถึงพรรคคอมมวิ นสิ ต เลย ทเ่ี ปน เชนนี้เพราะในสมัยเต้ิงเสีย่ วผิง ไดพยายามปฏิรูปโดยการแยกพรรคคอมมวิ นสิ ต ออกจากองคกรทางการของรัฐ เวลาผูนําจีนติดตอกับโลกตะวันตก ก็จะไดไมขัดเขิน สามารถใชส ถานะประธานาธบิ ดี นายกฯ หรือผนู าํ องคกรรัฐ ไมใชผ ูนําพรรคคอมมวิ นิสต เร่ืองที่ 2 คือ บรรจุ \"ความคิดสจี ิ้นผงิ วาดวยสังคมนิยมอันมีเอกลักษณแบบจีน สําหรับยุคใหม\" ไวในอารัมภบทของรัฐธรรมนูญ เรียงตอจากความคิดเหมาเจอตง ทฤษฎีเต้ิงเสี่ยวผิง แนวคิด 3 ตัวแทน (ของอดีตประธานาธิบดีเจียงเจอหมิน) และทัศนะ การพัฒนาอยางเปนวิทยาศาสตร (ของอดีตประธานาธิบดหี ูจินเทา) เร่ืองน้ีสะทอ นอํานาจ และอิทธิพลอันมหาศาลของสีจ้ินผิง เพราะผูนําในอดีตทุกคน (ยกเวนเหมาเจอตง) จะไดร ับเกียรติบรรจุความคิดไวในรัฐธรรมนญู ก็ตอเมื่อลงจากตาํ แหนงแลว (อยางทัศนะ ของหจู นิ เทา กเ็ พิ่งไดรับการบรรจุพรอมกบั ความคิดสีจิน้ ผงิ ในครั้งนเี้ อง) เปา หมายการพฒั นาจีนของสีจิน้ ผิงน้ัน แตกตางจากคําท่ีผูนาํ คนกอนๆ เคยใชโดย เพิม่ คาํ ใหมม า 2 คํา คอื คําวา “มหาอาํ นาจ” สะทอ นวา สจี น้ิ ผิงตอ งการใหจ ีนกา วข้ึนมา เลนบทบาทนาํ มากขน้ึ ในเวทีโลก และสรางความภาคภูมิใจและปลกุ กระแสชาตินยิ มวาจีน ไดกลับมาแข็งแกรงอีกคร้ัง และคําวา “สวยงาม” ตองการบอกกับประชาชนวา เขาเขา ใจความกังวลและเสียงไมพอใจปญหาส่ิงแวดลอมในจีนท่ีรุนแรงข้ึนเรื่อยๆ และตองการ สรางจนี ใหมท่ีเปนมิตรกบั สงิ่ แวดลอ ม เรื่องที่ 3 คือ มีการเพ่ิมเติมบทบัญญัติในรัฐธรรมนูญวาดวยการจัดต้ังองคกร ใหม คือองคกรปราบคอรรัปชัน โดยมีสถานะเทียบเทากับ ครม. ศาล และอัยการ กอนหนา นี้ การปราบปรามคอรร ัปชันคร้งั มโหฬารของสีจิน้ ผิงใชกลไกหนว ยวินัยพรรคเปน หลัก แตองคกรใหมจะมีอํานาจตรวจสอบเจาหนาท่ีของรัฐท้ังหมด ไมใชแตเฉพาะ เจาหนาท่ีของรัฐที่เปน สมาชิกพรรคคอมมวิ นิสต . เมื่อดูการแกไขรัฐธรรมนูญทั้ง 3 เร่ืองใหญ รวมเขากับการแกไขใหสีจิ้นผิงดํารง ตําแหนงโดยไมจํากัดเวลา ก็สะทอนชัดเจนถึงอํานาจสูงสุดของสีจ้ินผิงในขณะน้ีแต ขอสังเกตสําคัญ ก็คือ สีจิ้นผิงเองไดเลือกใชอํานาจ และวางระบบการรวบอํานาจ ผานระบบทางการของรฐั โดยการแกไขรฐั ธรรมนญู แทนท่ีจะใชระบบทไี่ มเปนทางการดัง การนําของพรรคคอมมิวนสิ ตใ นอดตี ที่มาบทความ อ.ดร.อารม ตงั้ นริ ันดร “ทําไมการแกรฐั ธรรมนญู จีนจงึ สาํ คญั ” (มีการปรบั )

โครงสราง ระบบบรหิ ารและเขตการปกครองของจนี การบรหิ ารประเทศของจีนสามารถแบง เปน 2 ระดับใหญๆ ไดแ กการบรหิ าร ระดบั ประเทศ (สว นกลาง) และการบรหิ ารระดับทองถิน่ (1) การบรหิ ารระดบั ประเทศ (สว นกลาง) สถาบนั สําคัญในการบริหารประเทศ ไดแ ก สภาผูแทนประชาชนแหง ชาติ (National People’s Congress: NPC) ประธานาธิบดี (President/Chairman of the State) คณะรฐั บาล หรอื มุขมนตรี (State Council) สําหรับรัฐบาลถอื เปนคณะผบู รหิ ารประเทศตามมติท่ีพรรคคอมมิวนิสตจนี กาํ หนด และ ผา นการเหน็ ชอบของสภา NPC โดยคณะรัฐบาลของจีนประกอบดว ย นายกรัฐมนตรี (Premier) รองนายกรฐั มนตรี (Vice Premier) มนตรแี หงรฐั (State Councilors) และ รฐั มนตรี (Minister) กระทรวงตา งๆ ประธานคณะกรรมการและสํานักตางๆ ที่ขน้ึ ตรงตอ สํานักนายกโดยตรง ซงึ่ มีฐานะเทียบเทา กระทรวงอยูในตําแหนง คราวละ 5 ปแ ละไมเ กนิ 2 สมัย (2) การบรหิ ารในระดับทองถ่ิน ตามมาตรา 30 ของรัฐธรรมนูญแหง สาธารณรัฐ ประชาชนจนี ระบบการปกครองของจนี จําแนกได ดงั น้ี ระดับทห่ี นง่ึ แบงเปน 22 มณฑล (province) (ไมรวมไตห วัน ) 5 เขตปกครอง ตนเอง (autonomous region) 4 มหานคร (municipality) และ 2 เขตบริหารพเิ ศษ (Special Administration Region: SAR) ซ่ึงมลี กั ษณะสาํ คัญ ดงั น้ี - มณฑล จะแบงเปนเมอื ง และ อาํ เภอ - มหานคร/เขตปกครองสวนกลาง เปนเมืองขนาดใหญม ฐี านะเทยี บเทา มณฑลโดย ขึน้ ตรงตอรัฐบาลกลาง มี 4 มหานคร ไดแก ปก กิ่ง เทยี นจิน เซย่ี งไฮ และฉงชิ่ง - เขตปกครองตนเอง เนื่องดวยประชากรในประเทศจนมีชนกลุมนอยมากถึง 56 ชนเผา กระจายอยูท่ัวประเทศ โดยประชากรหลักจะเปนชาวฮั่น และเพื่อให ชาวฮั่นอยูรวมกันกับชนกลุมนอยอยางสันติภายใตการปกครองของพรรค คอมมิวนิสต จึงกําหนดใหเขตพ้ืนท่ีที่มีประชากรสวนใหญ เปนชนกลุมนอย มฐี านะเปน “เขตปกครองตนเอง” เทียบเทามณฑล มี 5 เขตการปกครองตนเอง ไดแ ก เขตการปกครองกวางสี หนงิ เซย่ี ซนิ เจียง มองโกเลียใน และทิเบต

- เขตบรหิ ารพิเศษ ไดแก ฮองกง และมาเกา ซ่งึ สามารถมีอิสระในการบรหิ าร ตนเอง โดยเฉพาะในดา นเศรษฐกจิ สงั คม รวมทัง้ อํานาจตุลาการ ยกเวน นโยบาย ตา งประเทศและการปองกนั ประเทศทยี่ ังตอ งอยูใตก ารกาํ กบั ของจนี แผนดินใหญ ระดับทส่ี อง ไดแ ก เมือง (市/ shì)/แควนปกครองตนเอง/เขตของมหานคร ในภาษาอังกฤษ จะใชคําวา prefectures และ cities หรือ 市 ทั่วประเทศจนมี เมอื งในกลมุ นีป้ ระมาณ 667 แหง ระดบั ท่สี าม ไดแก อาํ เภอ (counties) หรอื (县/ Xiàn)ในภาษาจนี กลาง เปน หนว ยงานระดับลา งสดุ ท่ีทําหนาท่ีกาํ หนดแผนพฒั นาเศรษฐกจิ และสังคม ระดับที่สี่ ไดแ ก ตําบลและหมูบ าน ใชคําวา township หรอื (乡/ Xiāng) ใน ภาษาจนี กลาง ตลอดจนชุมชนเมืองเล็กๆ (towns) ท้งั หมดนี้ขึ้นตรงตอ รฐั บาลระดบั มณฑล/เขตปกครองตนเอง/มหานคร และ มีขอบเขต อํานาจบริหารภายในเขตพืน้ ท่ีของตน ทั้งนี้ หนว ยปกครองระดบั ตาํ บล บางพื้นทีย่ ังทําหนา ทใี่ หบริการในหลายๆ ดา น และสามารถดาํ เนินธุรกิจตา งๆ ได เรียกวา วสิ าหกิจชมุ ชน (township and village enterprise: TVEs) ธงชาติ ธงชาติจนี เปนรปู ดาวสเี หลอื ง 5 ดวงบนพน้ื สีแดง ดาวดวงใหญ หมายถึง พรรค คอมมิวนิสตจนี ซึ่งเปนผนู าํ ดาวเลก็ ท้งั 4 ดวง หมายถึง ชนชั้น ทป่ี ระกอบข้ึนเปน สงั คมจีน คอื ชนชั้นกรรมกร ชนชั้นชาวนา ชนชั้นนายทุนนอย และชนชั้นนายทุนแหงชาติ ซ่ึงมี ความหมายถึงเอกภาพของประชาชนจีนทุกชนช้ันภายใตการนําของพรรคคอมมวิ นสิ ตจ ีน

ตราแผนดนิ ของสาธารณรฐั ประชาชนจีน ตราแผนดินของสาธารณรัฐประชาชนจีน (อักษรจีน: 中华人民共和国国徽) เปนสัญลักษณท่ีแสดงภาพของประตูทางเขาพระราชวังตองหามที่จัตุรัสเทียนอันเหมิน ภายในวงกลมทีค่ ลายพวงมาลาพน้ื สีแดง เหนอื ประตูดังกลาวมรี ูปดาว 5 ดวงซึ่งปรากฏอยู บนธงชาติ หมายถึงความสามัคคีของคนในชาติจากชนเช้ือชาติตางๆ 5 เช้ือชาติหลักใน ประเทศจีน โดยนัยหน่งึ อาจหมายถงึ ชนชน้ั ทั้ง 5 ระดบั ตามทฤษฎกี ารปฏวิ ตั กิ ไ็ ด รอบขอบ วงกลมมีรูปรวงขา วโอบลอ มทัง้ สองดาน สะทอนถงึ ปรชั ญาการปฏวิ ตั ิทางเกษตรกรรม สวน ท่ี ต ร ง ก ล า ง ด า น ล า ง สุ ด ข อ ง ข อ ง ต ร า เ ป น รู ป ฟ น เ ฟ อ ง เ ป น สั ญ ลั ก ษ ณ แ ท น แ ร ง ง า น อุตสาหกรรม รปู เหลาน้ีเปน สีทอง ตราสัญลักษณน้ีไดรับการออกแบบโดย คณาจารยภาควิชาโยธา มหาวิทยาลัย ชิงหวั ภายใตก ารนําของศาสตราจารยเหลียงซอื เฉิง สถาปนิกชื่อดังของจนี ท่ีประชุมสภาที่ ปรึกษาทางการเมืองของจีนไดใหการรับรองแบบของตราแผนดินเม่ือวันที่ 20 กันยายน พ.ศ. 2493 และประกาศใชครงั้ แรกในวันท่ี 1 ตุลาคม ปเดียวกัน พรอมกับเพลง ชาตแิ ละธงชาตสิ าธารณรัฐประชาชนจนี

ภาษา P ǔtōnghuà ภาษาแมนดาริน (Mandarin) หรือ เรยี กวา 普 通 话 ผูทงฮ่วั เปน ภาษา ราชการ และมภี าษาทอ งถ่นิ อกี จํานวนมาก เชน ภาษากวางตงุ แตจ๋ิว เซ่ยี งไฮ แคะ ฮกเกีย้ น เสฉวน หหู นาน ไหหลาํ เปน ตน สวนใหญใ ชอักษรจนี แบบยอ (Simplified Chinese) มอี ักษรท้งั หมด 56,000 ตวั ใชประจํา 6,763 ตวั ถา รูเพยี ง 3,000 ตัว กอ็ า น หนังสือพมิ พแ ละทว่ั ไปได ศาสนา ลัทธิขงจื้อ เตา พุทธ อิสลาม และคริสต โดยเฉพาะความคิดลัทธิขงจื้อและเตามี อิทธิพลหยั่งรากลึกซ้ึงในภาษาและ วัฒนธรรมของจีนมานับพันๆ ป ปจจุบันจีนไมมี ศาสนาประจําชาติ เน่ืองจากเกิดการปฏิวัติวัฒนธรรมของเหมานับวาเร่ิมข้ึนต้ังแต 16 พฤษภาคม 1966 หลังคณะกรรมการกลางพรรคคอมมิวนิสตออกจดหมายเวียนแสดง ถึงแนวคิดในการปฏิวัติวัฒนธรรมของเหมา กอนสิ้นสุดลงในป 1976 หลังเหมาเสียชีวิต ชว งเวลาดังกลาวเปนการสูญเสียท่ีรายแรงทสี่ ุด สรางความถดถอยท่ีสุดในประวัติศาสตร นบั แตการกอตงั้ สาธารณรัฐประชาชนจีน

yuán jiǎo fēn เงินตรา 元  角  分 rénmín b ì สกลุ เงินเรียกวา “เหรินหมนิ ป” (人 民 币 ) โดยมหี นว ยเรยี กเปน “หยวน” (元) มอี ตั ราแลกเปล่ียน 1 หยวน ประมาณ 5 บาท ; 1 หยวน มี 10 “เจ่ยี ว” ( 角 ) 1 เจ่ียว มี 10 เฟน (分) แตสวนใหญแลวเวลาตั้งราคาสินคาจะไมคอยมีเฟนแลว เพราะจะหาเงินทอนลาํ บาก อาจจะใชแ ค หยวนและเจีย่ ว มากกวา ฤดกู าล dōngtiān ฤดหู นาว ( 冬 天 ) (พฤศจิกายน-มนี าคม) อากาศจะอยปู ระมาณ 10 องศาลงมา chūntiān ฤดใู บไมผลิ ( 春 天 ) (มนี าคม-พฤษภาคม) อากาศจะอยูประมาณ 10-22 องศา xiàtiān ฤดรู อน (夏 天 ) (พฤษภาคม-สิงหาคม) อากาศจะอยูประมาณ 22 องศาขนึ้ ไป qiūtiān ฤดใู บไมร ว ง (秋 天 ) (กนั ยายน-ตลุ าคม) อากาศจะอยปู ระมาณ 10-22 องศา เวลา ประเทศจนี เวลาจะเรว็ กวาประเทศไทยประมาณ 1 ช่วั โมง

ประวตั ศิ าสตรแ ละราชวงศโ ดยหลกั ๆ กวา 4,000-5,000 ป ชว ง 3,500 ป เปน ยุคประวตั ศิ าสตรร าชวงศแรกสุดคือ ราชวงศเ ซ่ีย ราชวงศส าํ คัญของจนี เชน ฉิน ฮนั่ ถงั ซง จนี ปกครองแบบสาธารณรัฐเมอื่ ค.ศ.1911 และเปน คอมมิวนสิ ตเมอ่ื ค.ศ.1949 เซี่ย 夏 ถงั 唐 สาธารณรัฐจนี 中华民国 ซาง 商 ซง 宋 สาธารณรฐั ประชาชนจีน 中华人民共和国 โจว 周 หยวน 元 ฉนิ 秦 หมิง 明 ฮ่ัน 汉 ชิง 清 สามกก 三国 เซี่ย ราว 2070 – 1600 กอ นค.ศ. ซาง ราว 1600 – 1046 กอนค.ศ. โจว ราว 1046 – 221 กอนค.ศ. 1. โจวตะวันตก ราว 1046-771 กอ นค.ศ. 2. โจวตะวนั ออก 2.1 ยุคชนุ ชิว 770-476 กอ นค.ศ. ขงจื้อ 2.2 ยุคจานกั๋ว 475-221 กอนค.ศ. เมิ่งจอ้ื ฉนิ ราว 221 – 206 กอ นค.ศ. *จักรพรรดคิ นแรก คอื จนิ๋ ซฮี องเต ตั้งระบบศกั ดนิ าเปน ราชวงศแ รก รวมแผน ดนิ จีน สรา งกําแพงเมืองจนี ปรับระบบตวั อกั ษรจนี ระบบมาตรการช่งั วัดตวง ระบบเงินเดยี ว ฮ่ัน ราว 206 กอ นค.ศ. – ค.ศ. 220 * เรม่ิ เขายุค ค.ศ. เสนทางสายไหม ฮัน่ ตะวันตก - ตะวันออก จนี ตดิ ตอยโุ รป พงศาวดารประวตั ศิ าสตร จนี “ซือจ้ี” โดยซอื หมาเชียน สามกก ราว ค.ศ. 220 – 280 รฐั 魏 เวย 蜀 สู 吴 อู คานอาํ นาจกนั

สุย ราว ค.ศ. 581 – 618 เรม่ิ ระบบสอบจอหงวน 科举 เคอจว่ี ถงั ราว ค.ศ. 618 – 907 ยคุ รุงเรืองทสี่ ดุ ของจีนบูเช็กเทียน(อเู จอเทียน) อยูฉางอาน(ปจจบุ ัน คอื เมอื งซอี าน มณฑล สา นซี) พระถังซมั จงั๋ ไปอัญเชิญพระไตรปฎก ยุคทองของกลอนโบราณจีน 李白 หลีไ่ ป (เซยี นกวี) และ 杜甫 ตูฝู (ปราชญกวี) 白居易 ไปจ วอี ้ี (ราชากว)ี ซง ราว ค.ศ. 960 – 1127 包青天 (เปาชงิ เทยี น) หรอื เปาบุนจน้ิ ยคุ ทองของกลอนโบราณจนี 词 ฉือ หยวน ราว ค.ศ. 1279 – 1368 บนั ทกึ การเดินทางของมาโคโปโล (ชาวอติ าลี) ยุคทองววรณกรรมงวิ้ จนี 关汉卿 กวนฮน่ั ชิง หมิง ราว ค.ศ. 1368 – 1644 郑和 เจิง้ เหอ ออกทะเลตะวนั ตก ตําราจนี สมนุ ไพรจนี 本草纲目 เปน เฉากางมู ยุคทองนวนิยาย ซอ งกงั สามกก ไซอว๋ิ ชงิ ราว ค.ศ. 1614 – 1911 พระเจา คังซี โยงเจิ้งและเฉยี นหลง นวนิยาย ความรกั ในหอแดง ---------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- สาธารณรฐั จีน ราว ค.ศ. 1912 – 1949 สงครามฝน, ปฏิรปู การปกครองซุนยดั เซนกบั การปฏิวตั ิซนิ ไฮ, การเคลือ่ นไหววนั ที่ 4 พ.ค. สาธารณรัฐประชาชนจีน สถาปนา ค.ศ. 1949 ผูสถาปนา คอื ทา น 毛泽东 เหมาเจอ ตง เติ้งเสยี่ วผิงกับนโยบายปฏิรูปและเปดประเทศ ฮองกงกลบั คนื สูจนี ค.ศ. 1997 มาเกากลัคืนสจู ีน ค.ศ. 1999 โอลิมปก ค.ศ.2008 งานเซีย่ งไฮเอ็กซโ ป ค.ศ. 2010

ววิ ฒั นาการตัวอักษรจีน ตัวอกั ษรจีนเปนอักษรทเี่ กา แกท ี่สุดในโลกและในปจ จบุ ัน และยังเปนตัวอักษรที่มีคนใชมาก ทีส่ ุดในโลก โดยประวตั ิความเปนมาของตัวอักษรจนี ที่ไดมีการวิวัฒนาการตามชว งเวลาตางๆและ พัฒนามากวา 3000 ป ตวั อกั ษรจีนมตี นกาํ เนิดจาก “อกั ษรภาพ” เพอ่ื ใชจดบันทกึ เร่ืองราวตางๆ ประเภท ยุคสมยั 1. 甲骨文 มีมาประมาณกวา 4000 ปก อ น ค.ศ. เจย๋ี กเู หวนิ และสมบูรณตั้งแตร าชวงศซ าง (1600-1046 กอน ค.ศ.) ถือเปน ตัวอกั ษรท่เี กา แกท่สี ดุ อกั ษรกระดองเต่าและกระดกู สตั ว์ 2. 金文 ยุคราชวงศซาง (1600-1046กอ น ค.ศ.) จนิ เหวิน แตมีมาตรฐานและระเบยี บมากกวา อักษรบนสาํ ริดหรอื ทองเหลือง ยุคราชวงศฉ นิ (221 – 206 กอ น ค.ศ.) 3. 小篆 เปนอกั ษรทางการในราชวงศฉ นิ เส่ียวจวน และถอื วาเปนการสน้ิ สดุ ยุคสมยั อกั ษรภาพ อักษรบนไมไ ผ 4. 隶书 ใชควบคกู บั เสีย่ วจว นเพ่ือเปนการเสรมิ และแพรห ลาย ลีซ่ ู อยางกวางขวางในราชวงศฮ่ันตะวนั ออก เขยี นบนกระดาษ ยคุ ฮัน่ ตะวันตก (ราว 206 กอนค.ศ. – ค.ศ. 220) 5. 草书 พัฒนามาจากลซ่ี ู กอข้ึนมาจากฮน่ั ตะวนั ตกแพรไ ปยัง เฉาซู ฮ่ันตะวันออก (อักษรหวัด) เกดิ ขนึ้ ชวงปลายฮัน่ ตะวันออก (ค.ศ. 25 – 220) พฒั นามาจากลซี่ ู และแพรห ลายมาจนถึงราชวงศฮน่ั 6. 楷书 ซึ่งขา ยซเู ปนรูปแบบตัวอักษรมาตรฐานในการอา งอิงของ ขา ยซู การเขยี นอักษรจนี ดว ยมอื ในปจจบุ ัน (อกั ษรบรรจง) ตวั อกั ษรเต็ม - ยอ

7. 行书 เกดิ พรอมขายซู และใชอ ยา งกวางขวางในราชวงศ สิงซู จ้ินตะวนั ออก (ค.ศ. 317 – 420) ตัวอกั ษรผสมระหวาง (อกั ษรบรรจงแกมหวัด) เฉา ซ+ู ขายซู ปจ จบุ นั สงิ ซูเปนฟอนตตวั อักษรท่ีใชมาก ทีส่ ดุ ในการเขียนตวั อักษรจีน 8. 宋体字 ยคุ ราชวงศซ ง (ค.ศ. 960 – 1279) ซงถ่ีจื้อ ฟอนตพ มิ พมาตรฐานในการจดั ส่ิงพิมพต า งๆ ท่มี ีการใช . มากทสี่ ุด 楷书 日 月 车 马