การปฏบิ ตั งิ านทีเ่ ปน็ เลิศ ( Best Practice ) กลมุ่ อาชพี พาณิชยกรรมและบรกิ าร Digital E-Maket กาดนัดเดก็ ดอย โรงเรียนราชประชานเุ คราะห์ 31 อ.แมแ่ จม่ จ.เชียงใหม่ สงั กดั สานักบริหารงานการศึกษาพิเศษ
Best Practice กลมุ่ อาชพี พาณชิ ยกรรมและบริการ โรงเรียนราชประชานเุ คราะห์ 31 อ.แม่แจม่ จ.เชยี งใหม่ สงั กดั สานกั บรหิ ารงานการศึกษาพเิ ศษ ..................................................................................... 1. ชอื่ ผลงานทเ่ี ปน็ Best Practice Digital E-Market 2. ข้อมลู ทว่ั ไป 2.1 ขอ้ มลู พน้ื ฐานโรงเรยี น โรงเรียน/หนว่ ยงาน โรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ 31 จังหวดั เชยี งใหม่ ท่ีอยู่ เลขที่ 99 หมู่ 10 ตำบลชำ่ งเคิ่ง อำเภอแม่แจ่ม จังหวัดเชียงใหม่ 50270 สงั กดั สานักบริหารงานการศึกษาพเิ ศษ สำนักงำนคณะกรรมกำรกำรศึกษำขัน้ พ้นื ฐำน กระทรวงศกึ ษำธิกำร โทรศพั ท์ 053-268642 โทรสาร 053-268643 Website : http://www.rpk31school.ac.th เปดิ สอนต้ังแต่ระดบั ชั้นประถมศึกษำปีท่ี 1 ถึงระดับชัน้ มัธยมศึกษำปีที่ 6 2.2 ขอ้ มูลผูบ้ ริหาร 2.2.1) ชอื่ –สกลุ : นางวลิ าวลั ย์ ปาลี ตาแหนง่ : ผู้อานวยการโรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ 31 โทรศัพท์ : 087-180-5595 ,๐62-3087040 E-mail : ywilawan5770@gmail.com 2.2.2) ชื่อ-สกลุ : นายวเิ ศษ ฟองตา ตาแหนง่ : รองผู้อานวยการโรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ 31 โทรศพั ท์ : 088-5905162 , 098-7800193 E-mail : Viset_fongta@hotmail.com 3. ความเปน็ มาของนวตั กรรม โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 31 จังหวัดเชียงใหม่ เป็นสถานศึกษาที่จัดการเรียนการสอนสาหรับ เด็กด้อยโอกาส ตามท่ีคณะกรรมการปฏิรูปการศึกษาเพื่อคนพิการ ผู้ด้อยโอกาสและผู้มีความสามารถพิเศษ ของกระทรวงศึกษาธิการ กาหนดไว้เม่ือปี พ.ศ. 2543 10 ประเภท คือ เด็กถูกบังคับให้ขายแรงงาน หรือแรงงานเด็ก เด็กเร่ร่อน เด็กท่ีอยู่ในธุรกิจทางเพศหรือโสเภณีเด็ก เด็กที่มีความสมัครใจหรือถูก เด็กที่ถูก ทอดทิ้ง/กาพร้า เด็กที่ถูกทาร้ายทารุณ เด็กยากจน (มากเป็นพิเศษ) เด็กในชนกลุ่มนอ้ ย เด็กท่ีมีปัญหาเกี่ยวกับ ยาเสพติด เด็กท่ีได้รับผลกระทบจากโรคเอดส์ หรือโรคติดต่อร้ายแรงท่ีสังคมรังเกียจ และเด็กในสถานพินิจ และคมุ้ ครองเดก็ และเยาวชน
ทางโรงเรียนได้จัดกิจกรรมส่งเสริมอาชีพอิสระเพื่อการมีรายได้ระหว่างเรียน และส่งเสริมการศึกษา เพ่ือการมีงานทาให้กับนักเรียน เพ่ือฝึกทักษะให้นักเรียนเป็นผู้ประกอบการขนาดเล็ก โดยการเปิดตลาด จาหนา่ ยสินค้าอาหาร ประเภทข้าว ประเภทเส้น ขนมหวาน ผลไมส้ ด เคร่ืองดื่ม (ประเภทน้าสมุนไพร หรือน้า ผลไม้) อ่นื ๆ เชน่ ขนมปัง แซนวิช ของทอด และยังได้ประชาสัมพนั ธ์ให้กับ ประชาชนในหมู่บา้ นมาร่วมเปดิ ร้าน ขายอาหารและเครื่องดื่ม โดยทางโรงเรียนได้มีข้อกาหนดของการนาสินค้ามาจาหน่าย คือ ไม่ใช้ภาชนะ พลาสติกทุกประเภท รวมถึง ภาชนะกระดาษที่เป็นขยะเสีย และโฟมทุกชนิด เพ่ือเป็นการบริหารจัดการ ระบบกาจัดขยะของโรงเรียน โดยให้ใช้ภาชนะอ่ืนท่ีไม่เป็นพิษต่อสิ่งแวดล้อมเช่น ใบตองและภาชนะอ่ืนท่ี สามารถทดแทนได้ อีกท้ังอาหารท่ีนามาจาหน่ายในตลาดน้ีนั่นจะต้องสะอาด ปลอดภัย และถูกหลัก โภชนาการ โดยทางโรงเรียน จะมีการนานักเรียนชมรม อย.น้อย เข้าไปสุ่มตรวจสารปนเป้ือนในอาหาร เครื่องด่ืม เดอื นละ 1 ครง้ั การจาหน่ายสินค้าสาหรบั นกั เรียนกลมุ่ สอร. สามารถจาหน่ายได้ทุกเยน็ วันจันทร์ ถึง วันศุกร์ ต้ังแต่เวลา 16.30 น. ถึง เวลา 19.30น. และจาหน่ายสินค้าทุกวันเสาร์และอาทิตย์ ตั้งแต่เวลา 10.00น. ถึง เวลา 16.30น. พร้อมประชาชนท่ัวไปท่ีมีความประสงค์เปิดร้าน สามารถเข้ามาจาหน่ายสินค้า ทกุ วันเสาร์และวันอาทิตย์แรกของเดือน ซ่งึ ในทุกๆ วนั เสารแ์ ละอาทติ ย์นน้ั ทางโรงเรยี นได้แจกบัตรประจาตวั ที่ มี QR code ให้นักเรียนและทาการโอนเงินเข้าระบบให้กับนักเรียนจานวน 30 บาท (สาหรับม้ือกลางวัน ) เพื่อนาไปซื้ออาหารเครื่องดื่ม โดยให้ทางร้านค้าสแกนคิวอาร์โคต ของนักเรียนเพื่อหักเงินค่าอาหารในส่วนท่ี นกั เรียนซ้อื โดยใชว้ นั ต่อวนั เทา่ น้ัน ทั้งน้ี การจัดกิจกรรมส่งเสริมอาชีพอิสระเพื่อการมีรายได้ระหว่างเรียน(กาดนัดเด็กดอย ) เป็นการ ส่งเสริมให้ผู้เรียนได้เรียนรู้จากประสบการณ์จริงในด้านอาชีพ การเสริมทักษะการแก้ปัญหา การหาราย ได้ ระหวา่ งเรียน และยงั ชว่ ยเสริมสรา้ งใหผ้ ู้เรียนนาไปประกอบอาชพี ในอนาคตได้ 4. วตั ถปุ ระสงค์ 4.1 เพอื่ เป็นการพฒั นาและนาระบบ การซื้อขายแบบ Digital E-Market มาใชใ้ นการบริหารจัดการซ้อื ขาย 4.2 เพ่อื ให้นกั เรยี นรวู้ ิธีการวางแผนการทางาน การแกป้ ญั หา และดาเนนิ การอาชพี ทเี่ ลือกจนสาเรจ็ 4.2 ไดเ้ รียนรูจ้ ากประสบการณจ์ ริงในด้านอาชีพ การเสริมทกั ษะการแก้ปัญหา การหารายไดร้ ะหวา่ งเรยี น 5. ขนั้ ตอนการดาเนนิ การในรปู แบบ PDCA 5.1 ขน้ั ตอนการวางแผน ( P ) 5.1.1 ประชุมปรึกษาหารือชี้แจงในกลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพร่วมกับกลุ่มนักเรียน คณะครแู ละชมุ ชนตามโครงการสง่ เสรมิ อาชีพอสิ ระเพ่ือการมีรายได้ระหวา่ งเรยี น 5.๑.๒ รว่ มออกแบบรูปแบบการขายพร้อมนาผลการดาเนินงานที่ผา่ นมามาปรบั ปรงุ แผนการ ดาเนนิ การ 5.๑.๓ เตรียมวสั ดุอุปกรณ์ เครอ่ื งมือเครื่องใช้ในการดาเนินการตามกล่มุ ท่ีเสนอขาย 5.1.4 วางแผนการจัดทา ระบบ E – Market เพ่ือใช้เป็นระบบการจ่ายเงินผ่าน QR Code โดยการใช้บตั รนกั เรียนเปน็ ตัวกลางในการจา่ ยเงิน
5.๒ ขนั้ ตอนการปฏบิ ตั ิ (D) 5.2.1 ดาเนินการพัฒนาระบบ E – Market ให้ร้านค้า และดาเนินการจัดพิมพ์บัตรนักเรียน พร้อม QR Code ของแต่ละบุคคลบนหลังบัตรนักเรียน เพอื่ ใชเ้ ปน็ กระเป๋าเงนิ อิเล็กทรอนกิ ส์ในการซ้ือ ขาย ท่ี กาดนดั เดก็ ดอย 5.2.2 ติดต่อร้านค้า ท่ีจะมาทาการขาย กาดนัดเด็กดอย โดยเลือกสินค้าท่ีทาการขายที่ หลากหลาย มีการประชุมทาความเขา้ ใจการใช้ ระบบ E – Market ในการดาเนนิ กิจกรรม กาดนดั เดก็ ดอย 5.2.3 ดาเนินการซ้ือขายกิจกรรมกาดนัดเด็กดอยโดยใช้ระบบกระเป๋าเงินอิเล็กทรอนิกส์ (Digital E-Market) 5.๓ ขน้ั ตอนการตรวจสอบ (C) 5.๓.๑ ตั้งคณะกรรมการเพ่ือตรวจสอบปัญหาและข้อเสนอแนะในการดาเนนิ การกาดนดั เดก็ ดอย 5.๓.๒ นเิ ทศกากบั กจิ กรรม และประเมินผลงานการดาเนินงาน 5.๔ ขนั้ ตอนการปรบั ปรุงแกไ้ ข (A) 5.๑ สรุปอภิปรายปัญหาและอุปสรรคในการพฒั นา 5.๒ ปรบั ปรงุ และพฒั นาอย่างต่อเนื่อง 5.๓ สรุปและรายงานผลเปน็ ระยะ รปู ท่ี 1 ขนั้ ตอนการดาเนนิ การในรปู แบบ PDCA
6. ปญั หา อปุ สรรคทพี่ บระหวา่ งดาเนนิ การและแนวทางแก้ไข 6.1 ปญั หาอปุ สรรค 6.1.1 ระบบการดาเนนิ งานช่วงแรกติดขดั ในเรือ่ งระบบสแกนคิวอาร์โค้ดทไ่ี มเ่ สถยี ร 6.2 แนวทางการแก้ไข 6.2.1 ดาเนินการปรบั ปรงุ ระบบให้มีความเสถยี รมากขน้ึ 7. ผลทเี่ กดิ ขน้ึ กบั โรงเรยี นและนกั เรยี น 7.1 ผลทเี่ กดิ ขน้ึ กับโรงเรยี น - โรงเรยี นเป็นแหลง่ บ่มเพาะอาชีพทีห่ ลากหลายกระจายรายไดส้ ูน่ กั เรยี นอยา่ งเปน็ ระบบ - โรงเรียนเป็นตลาดกระจายรายได้สู่ชุมชน ผู้ปกครองนักเรียนเรียนรู้การทางานเอ้ือเฟื่อ เผอ่ื แผ่ซง่ึ กนั และกนั 7.2 ผลท่ีเกดิ ขน้ึ กับผูเ้ รยี น - นักเรียนมีทักษะอาชีพและทกั ษะชวี ิตในการเรียนร้กู ารประกอบอาชพี และการดาเนินชีวิตที่ ดใี นสังคม - นักเรียนมีรายได้ระหว่างเรียนและสามารถนาความรู้ที่ได้รับไปประกอบอาชีพได้ในโอกาส ต่อไป 8. ชอ่ งทางการจาหนา่ ยผลผลติ และการประชาสัมพนั ธ์ - ประชาสมั พนั ธ์ผา่ นเวบไซด์,line,Facebook โรงเรียน 9. แนวทางการดาเนนิ งานทส่ี ง่ ผลต่อความยงั่ ยนื - การพฒั นาระบบกระเปา๋ เงนิ อิเล็กทรอนิกส(์ Digital E-Market) เพือ่ การดาเนนิ การทีย่ ั่งยืนลดการพก เงนิ สดอนั มีความเสีย่ งสญู หาย 10. ปจั จยั ต่อความสาเรจ็ - นักเรียนมีการวางแผนกระบวนการทางานอย่างเป็นระบบ มีการเรียนรู้ทักษะอาชีพและทักษะชีวิต เรียนรู้การทางานและการแก้ไขปัญหาในการทางานได้ดีและมีรายได้ระหวา่ งเรียนเป็นแนวทางในการประกอบ อาชพี ได้
กาดนดั เดก็ ดอยอเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ (Digital E-Market) โรงเรียนราชประชานเุ คราะห์ 31 ตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง ความพอประมาณ - ใช้แหลง่ เรียนรไู้ ดอ้ ย่ำงเหมำะสม - ใช้อุปกรณ์ระบบและอปุ กรณ์ได้อยำ่ ง เหมำะสม ใช้อยำ่ งคมุ้ คำ่ และเกดิ ประโยชนส์ งู สุด ความมเี หตุผล มภี ูมิค้มุ กนั ในตวั ทด่ี ี -ผเู้ รียนมคี วำมรูจ้ ำกแหลง่ เรยี นรแู้ ละ -ใช้เวลำวำ่ งใหเ้ ปน็ ประโยชน์ สถำนท่ปี ฏบิ ตั งิ ำนจริง -วำงแผนกำรทำงำนอย่ำงรอบคอบ -รูจ้ กั แกป้ ญั หำโดยใช้เหตผุ ลในกำร -นำควำมรูไ้ ปใช้ในกำรดำเนนิ ชวี ิต ตดั สินใจ -นำหลักปรัชญำของเศรษฐกิจพอเพยี ง เงื่อนไขคณุ ธรรม ไปใช้ -มวี ินยั ในชีวิตประจำวัน -ซือ่ สตั ย์ สุจริต -ประหยัด อดออม เง่อื นไขความรู้ -ใฝ่เรียนรู้ -กำรตออกแบบรูปแบบกำรขำย -มจี ิตอำสำรณะ -กำรใช้ระบบ E - Market วัตถุ สมดลุ และพรอ้ มรบั การเปลยี่ นแปลง 4 มิติ วฒั นธรรม -รวู้ ิธกี ำรใช้วัสดอุ ุปกรณ์อยำ่ ง สงั คม ส่งิ แวดล้อม -เรียนรู้วิธกี ำรใชจ้ ่ำยเงินผำ่ น ประหยัด คมุ้ คำ่ ด้วยควำม QR Code โดยใชบ้ ตั ร ระมดั ระวังและปลอดภยั -มที กั ษะในกำรอยูร่ ว่ มกันใน -ใชท้ รัพยำกรอยำ่ งประหยดั นักเรียนเป็นตัวกลำงในกำร -มที กั ษะในกำรใช้วสั ดอุ ปุ กรณ์ใน สงั คมอยำ่ งมคี วำมสุขโดยกำรมี คุม้ ค่ำ เก็บวัสดเุ ปน็ ระเบียบ จ่ำยเงิน กำรจำหน่ำยสนิ คำ้ และกำรใช้ ระเบยี บวนิ ยั เครพกฎกตกิ ำ เรียบร้อย หลังเลกิ ใชง้ ำน กระเป๋ำเงนิ อเิ ล็กทรอนกิ ส์ มำรยำทของกำดนัดเด็กดอย -มกี ำรแยกขยะกอ่ นทงิ้ (Digital E-market) อย่ำง -เห็นควำมสำคัญของของหลกั -ใช้วสั ดจุ ำกธรรมชำติในกำร ระมดั ระวงั ปรัชญำของเศรษฐกิจพอเพยี ง ทำบรรจุภัณฑอ์ ำหำร -ตระหนกั ถงึ ผลกระทบทเ่ี กดิ จำก และนำมำใชใ้ นกำรดำรงชวี ิต กำรใชร้ ะบบกำรจำ่ ยเงิน ประจำวนั อิเลก็ ทรอนิกสอ์ ยำ่ งไม่ ระมัดระวัง
ภาคผนวก
การจดั การอบรมให้แกร่ ้านคา้ กอ่ นการเปดิ ตลาด
กจิ กรรม เปดิ กาดนดั เดก็ ดอย ( Digital E – Market )
ภาพบรรยากาศบรเิ วณ กาดนดั เดก็ ดอย
ภาพบรรยากาศบรเิ วณ กาดนดั เดก็ ดอย
ภาพบรรยากาศบรเิ วณ กาดนดั เดก็ ดอย
Search
Read the Text Version
- 1 - 12
Pages: