Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ตำรับยาสภาอุณาโลมแดง ร.ศ. ๑๑๒

ตำรับยาสภาอุณาโลมแดง ร.ศ. ๑๑๒

Description: ✍️

Search

Read the Text Version

ตำ�รบั ยาสภาอณุ าโลมแดง ร.ศ. ๑๑๒ สภากาชาดไทย จดั พมิ พ์จากต้นฉบบั เพื่อ เฉลมิ พระเกยี รตสิ มเดจ็ พระศรพี ัชรินทรา บรมราชนิ นี าถ สภานายิกาพระองค์แรก ในวาระครบ ๑๕๐ ปีแห่งวันพระราชสมภพ วนั ท่ี ๑ มกราคม ๒๕๕๗ และองค์การศกึ ษาวิทยาศาสตร์ และวฒั นธรรมแหง่ สหประชาชาติ (UNESCO) ประกาศยกยอ่ งใหท้ รงเปน็ บคุ คลทม่ี ผี ลงานดีเดน่ ระดบั โลก ดา้ นการศกึ ษา ส�ำ หรบั เดก็ และสตรี การศกึ ษาด้านสาธารณสุขศาสตร์ วฒั นธรรม วิทยาศาสตรป์ ระยกุ ตแ์ ละสงั คม และมนษุ ยศาสตร์ สงวนลขิ สทิ ธ์ิตามพระราชบญั ญัติ การคดั ลอกส่วนใด ๆ ในหนงั สือนี้ เผยแพรใ่ นทุกรูปแบบ ต้องได้รับอนญุ าตเปน็ ลายลกั ษณอ์ กั ษรจากสภากาชาดไทย ยกเวน้ การอา้ งถงึ ขอ้ ความอนั เปน็ อญั พจนเ์ พอ่ื การศกึ ษา หรอื การวจิ ารณ์

ต �ำ รั บ ย า ส ภ า อุ ณ า โ ล ม แ ด ง ค�ำ นำ� (ครงั้ ที่ ๑) เน่ืองในวโรกาสที่สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี อุปนายิกาผู้อ�ำนวยการ สภากาชาดไทย ทรงเจรญิ พระชนมายุ ๕๕ พรรษา ในปี พ.ศ. ๒๕๕๓ และสภากาชาดไทย ครบรอบ ๑๑๗ ปี ในวันที่ ๒๖ เมษายน พ.ศ. ๒๕๕๓ พิพิธภณั ฑ์สภากาชาดไทย ได้ด�ำเนินการจัดพมิ พ์หนงั สอื “ต�ำรับยาสภาอุณาโลมแดงแห่งชาติสยาม ร.ศ. ๑๑๒” ซึ่งเป็นหน่ึงในโครงการจัดพิมพ์หนังสือหายาก ทม่ี คี ณุ คา่ ทางประวตั ศิ าสตรข์ องสภากาชาดไทย ส�ำหรบั เผยแพรแ่ กเ่ ยาวชน และประชาชนทวั่ ไป เปน็ หนงั สอื ท่มี คี ุณค่าในทางสาระความรู้ และคณุ คา่ ในเชิงประวัติศาสตร์ ต�ำรบั ยาสภาอณุ าโลมแดงแหง่ ชาตสิ ยาม ร.ศ.๑๑๒ ถอื ไดว้ า่ เปน็ ต�ำรบั ยาเลม่ แรกของสภากาชาดไทย ท่ีไดใ้ ช้ในการรกั ษาพยาบาลในคราวเหตวุ กิ ฤตกิ ารณ์ ร.ศ. ๑๑๒ (พ.ศ. ๒๔๓๖) จากส�ำเนาจดหมายเหตกุ ารประชุมกรรมการณิ สี ภา หน้าพระทีน่ ่ัง พระนางเจา้ พระวรราชเทวี สภานายกิ า เปน็ ประธาน ณ วนั ที่ ๒๐ พฤษภาคม ร.ศ. ๑๑๒ บนพระทน่ี งั่ บรมราชสถติ มโหฬาร ครง้ั ท่ี ๑ องคส์ ภานายกิ าฯ ไดม้ ีพระราชเสาวนียด์ �ำรัสความตอนหน่ึงว่า “...กรรมการณิ ที ง้ั ปวงทไี่ ดเ้ ชญิ มาประชมุ ในวนั นี้ มใี จชว่ ยกนั จดั การในสภานใี้ หแ้ ขง็ แรงจนเตม็ ก�ำลงั ทจี่ ะท�ำได้ เพอ่ื มใิ หก้ ารนน้ั เหลวไหลและเลวทรามตอ่ ไปในกาลภายหนา้ ทจ่ี ะใหเ้ ปน็ ทต่ี เิ ตยี นของคนทงั้ หลายไดว้ า่ เอาเงนิ ของเขามาท�ำเลอ่ื นลอยเปลา่ สว่ นเงนิ ทเ่ี รย่ี ไรไดน้ น้ั คดิ จะแบง่ เปน็ สามสว่ น สว่ น ๑ ในเวลาชน้ั แรกนี้ คดิ จะจดั การแตเ่ พยี งจำ� หนา่ ยยาและเครอ่ื งพยาบาล สง่ ไปทกุ กองทหารทปี่ ระจำ� รกั ษาพระราชอาณาเขตต์ ...และเงนิ ทจ่ี ะใชซ้ อื้ ยาและเครอื่ งทำ� ยา เครอ่ื งสำ� หรบั พยาบาลสง่ ไปทกุ กองทหารใหท้ วั่ ตามเวลา ทีจ่ ะส่งได้...” กรรมการิณีสภาอุณาโลมแดงที่ไดร้ ับมอบหมายจากท่ปี ระชุมฯ ใหไ้ ปท�ำยา ดงั เช่น : ยาประสะพมิ เสน, ยานัตถ์ุ ทา่ นผู้หญงิ ตลบั ภรรยาพระยาสหี ราชเดโชชัย ยาประสะกานพลู ทา่ นผู้หญิงเลอื่ ม ภรรยาพระยามนตรสี ุรยิ วงษ์ ยาเขยี วใบฉนวน, ยากาลกระบอื หมอ่ มใหญ่ ในพระเจ้านอ้ งยาเธอ กรมหลวงเทววงษ์วโรประการ ยาประจพุ ิษ, ยาวสิ มั พะยา ทรามสงวน ภรรยาพระอินทรเทพ ยาเขียวใบข้ีหนอน ท่านผู้หญงิ สุ่น ภรรยาพระยาโชฎกึ ราชเศรษฐี ยาอนิ ทรียธาตุ โป๋ ภรรยาพระยาภกั ดีภัทรากร ยาอุดม พระเจา้ น้องนางเธอ พระองคเ์ จ้านภาพรประภา ยาประทานพษิ พร ภรรยาพระยาพิบลู ยพ์ ฒั นากร น้�ำมันยางหวาย ผชู้ ว่ ยเลขานกุ ารณิ ี ยาประสะลูกจันทน์ สังวาล ภรรยาพระยามหาเทพ สวน ภรรยาพระยาไพบลู ย์สมบตั ิ ยาจนั ทหฤทยั เอี่ยม ภรรยาพระยาอินทราธบิ ดี สีหราชรองเมือง ปน้ั ภรรยาหลวงอุปการโกษากร (เวศ) ยาธาตุบรรจบ ทา่ นผหู้ ญงิ จับ ภรรยาพระยามหาอ�ำมาตย์ (ช่นื ) ยาแดงแก้บิด เชอ้ื ภรรยาพระอาณัตินรากร หม่อมเจ้าแฉง่ ในพระเจา้ น้องยาเธอ กรมหมืน่ พรหมวรานรุ กั ษ์ ยาหอมนวโกฏฐ ์ หมอ่ มเจา้ เลอ่ื น ในพระเจา้ บรมวงศเ์ ธอ พระองคเ์ จา้ จรญู โรจเรอื งศรี ยามหานลิ แทง่ ทอง หนู ภรรยานายเจยี ม * ฯลฯ 2

สภากาชาดไทย ค�ำ นำ� (ต่อ) ท่านผู้หญิงเปล่ียน ภาสกรวงศ์ เลขานุการิณี สภาอุณาโลมแดงฯ ได้มีหนังสือลงวันท่ี ๑๖ มิถุนายน ร.ศ. ๑๑๒ กราบบังคมทูลพระกรุณาพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ความตอนหน่ึงวา่ “... และกรรมการณิ สี ภา ไดป้ รกึ ษากนั จดั การไปแลว้ น้ัน คอื ยาฝรัง่ ท่เี ปน็ ของเคยใชไ้ ด้ดี มยี า ควินินโคลโลดีน เป็นต้น ก็ได้จัดซื้อตามท่ีมีอยู่ในกรุงเทพ ฯ นี้ จนสิ้น และได้ส่ังท้ังทางโทรเลขและ ทางหนังสือไปยงั ร้านขายยาในประเทศยุโรปโดยทางตรง ใหร้ ีบสง่ เข้ามาให้พอแก่การทจ่ี ะใช้ สว่ นยาไทยนน้ั ในพวกกรรมการิณกี ็รบั หน้าที่ไปทำ� คนละขนาน ๒ ขนานใหท้ นั การ ...” * สภาอุณาโลมแดงได้ส่งยา และเคร่อื งพยาบาลไปให้ก�ำลงั ทหารในมณฑลสถานและกองตา่ ง ๆ คือ มณฑลลาวกาว กองพระเจ้าน้องยาเธอ กรมหลวงพิชติ ปรชี ากร พลทหารประมาณ ๑๒,๐๐๐ คน กองพระพเิ รนทรเทพ พลทหารประมาณ ๒,๐๐๐ เศษ กองพระประสทิ ธศิ ัลการ เมืองนครราชสมี า พลทหารประมาณ ๒,๐๐๐ เศษ กองทหารเมืองศรโี สภณ คนประมาณ ๕๐๐ กองทหารเมอื งกระบินทร์บรุ ี คนประมาณ ๕๐๐ กองทหารเมอื งพระตะบอง คนประมาณ ๑๐๐ มณฑลลาวพวน กองพระเจ้านอ้ งยาเธอ กรมหมน่ื ประจกั ษ์ศลิ ปาคม คนประมาณ ๑,๐๐๐ เศษ กองทหารเมืองปราจนี บรุ ี คนประมาณ ๒๐๐ ส่งพระวรวงษ์เธอ พระองคเ์ จ้าขจรจรัศวงษ์ ส�ำหรบั ทหารเมอื งตราด และเกาะกง ให้พระอินทรเทพ ขา้ หลวงจบั ผูร้ ้าย เมอื งราชบุรี กองพระยามหาเทพ คนประมาณ ๕๐ * ต�ำรบั ยาสภาอณุ าโลมแดงฯ ร.ศ.๑๑๒ นี้ เปน็ สมดุ ปกแขง็ สดี �ำ ตรงกลางมเี ครอื่ งหมายอณุ าโลม ดา้ นใน ใสก่ ระดาษฟลู สแกป็ เขยี นต�ำรบั ยา ดว้ ยหมกึ และดนิ สอ สมดุ ขนาดกวา้ ง ๒๕.๕ ซม. ยาว ๓๗ ซม. มเี อกสารจ�ำนวนทงั้ หมด ๘๖ หน้า กระดาษมสี ภาพเก่าจนเป็นสีเหลือง และลายมือเขียนก็ลบเลอื นลงไป มาก ต�ำรับยาสภาอุณาโลมแดงแหง่ ชาตสิ ยามนี้ เป็นต�ำรับยาแพทย์แผนไทย และสมุนไพรไทย ที่เป็น ภูมิปัญญา และมรดกทางวัฒนธรรมที่สามารถน�ำองค์ความรู้ดังกล่าวไปปรุงยาได้ การจัดพิมพ์ข้ึนใหม่จึง เปน็ การอนุรักษ์ และเผยแพรห่ นงั สอื ทหี่ ายากทส่ี �ำคญั ของสภากาชาดไทย. * จากหนังสอื “ตำ�นานสภากาชาดสยาม ตอนท่ี ๑-๓” สมเดจ็ พระเจา้ ภคินเี ธอ เจา้ ฟา้ เพชรรัตนราชสุดา สริ ิโสภาพณั ณวดี โปรดให้พมิ พเ์ นอื่ งในการพิธีเปิดตกึ มงกุฎ - เพชรรตั น ร.พ.จฬุ าฯ วันท่ี ๒๔ พฤศจกิ ายน ๒๕๑๐. 3

ต �ำ รั บ ย า ส ภ า อุ ณ า โ ล ม แ ด ง คำ�น�ำ (ครั้งที่ ๒) การแพทย์แผนไทยและสมุนไพรเปน็ สว่ นหนงึ่ ของวิถีชวี ิตคนไทยมาแตโ่ บราณ ดงั ท่มี ีต�ำรายาไทย ในหลายยุคสมัย เช่น ต�ำราโอสถพระนารายณ์ถือว่าเป็นต�ำรายาช้ินแรกของประวัติศาสตร์การแพทย์ไทย ต�ำราโรงพระโอสถในสมยั รชั กาลท่ี ๒ และยงั มีต�ำราไทยอกี มากมายจากหมอพน้ื บา้ นและพระภิกษหุ ลายรปู เช่น ต�ำรายาหลวงปศู่ ขุ เปน็ ต้น ต�ำราสภาอุณาโลมแดง ร.ศ. ๑๑๒ (พ.ศ. ๒๔๓๖) เป็นต�ำราอกี เล่มหน่งึ ท่ีมีคุณค่าต่อการแพทย์ ไทย เกดิ ขนึ้ ในสมยั รชั กาลท่ี ๕ ซง่ึ ในเวลานนั้ เกดิ การสรู้ บระหวา่ งไทยกบั ฝรง่ั เศสกรณพี พิ าทดนิ แดนฝง่ั แมน่ ำ�้ โขง มที หารและชาวบา้ นบาดเจบ็ เปน็ จ�ำนวนมากแตข่ าดแคลนยา จงึ มอี งคก์ ารกศุ ลทเี่ ปน็ บรรพสตรชี าวสยาม ในนาม “สภาอณุ าโลมแดง” ชว่ ยกนั รวบรวมต�ำรายาไทยเพ่ือท�ำการผลติ และปรุงยาสง่ ไปใช้รักษาทหารและ ชาวบา้ น จนเมอื่ เหตกุ ารณส์ งบจงึ มกี ารรวบรวมเปน็ เลม่ ไวใ้ ชส้ บื ตอ่ กนั มา จงึ ไดช้ อ่ื วา่ “ต�ำรายาสภาอณุ าโลมแดง” ซง่ึ มีต�ำรับยาหลายขนานท่อี ยใู่ นบัญชยี าหลกั แหง่ ชาติท่ีใช้อยใู่ นปจั จบุ ัน ทก่ี ลา่ วมาน้ี เปน็ สงิ่ ทย่ี นื ยนั วา่ คณุ คา่ ยาแผนไทยและสมนุ ไพรไทยซงึ่ เปน็ ภมู ปิ ญั ญาทถ่ี า่ ยทอดจาก บรรพบุรุษสืบต่อกันมายังมีคุณค่าไม่เส่ือมคลาย แม้ปัจจุบันเต็มไปด้วยยาสมัยใหม่และเทคโนโลยีทางการ แพทยท์ ี่กา้ วหนา้ กต็ าม แตม่ ีอีกหลายๆประเทศโดยเฉพาะประเทศจนี และประเทศอินเดียที่เขายังพงึ่ พาและ ผสมผสานการใช้ยาจากภมู ปิ ัญญาดัง้ เดิมเข้ากบั การแพทยส์ มยั ใหมไ่ ด้อย่างลงตวั กรมพฒั นาการแพทยแ์ ผนไทยและการแพทยท์ างเลอื ก กระทรวงสาธารณสขุ จงึ ไดจ้ ดั พมิ พ์ “ต�ำรา ยาสภาอุณาโลมแดง” ซึง่ เปน็ ต้นฉบบั จากสภากาชาดไทย เพอ่ื เผยแพรต่ �ำรับยาดีๆ จากการแพทย์แผนไทย เพื่อใหป้ ระเทศชาติของเราพงึ่ พาตนเองไดใ้ นเร่ืองยา รกั ษาความมน่ั คงทางยาของชาติไวอ้ ย่างย่ังยืนสบื ไป (นางวิลาวัณย์ จงึ ประเสริฐ) อธบิ ดกี รมพฒั นาการแพทยแ์ ผนไทยและการแพทย์ทางเลือก 4

คำ�นำ� (คร้ังท่ี ๓) เน่ืองในอภิลักขิตสมัยวันคล้ายวันพระราชสมภพของสมเด็จพระศรีพัชรินทรา บรมราชินีนาถ สภานายกิ าสภากาชาดไทยพระองค์แรก ในวนั ที่ ๑ มกราคม ๒๕๕๗ ประกอบกับโอกาสท่อี งค์การศึกษา วทิ ยาศาสตรแ์ ละวัฒนธรรม แห่งสหประชาชาติ (UNESCO) ประกาศยกยอ่ งสดุดพี ระเกียรติคณุ ให้ทรงเป็น บุคคลท่ีมผี ลงานดเี ดน่ ระดับโลก เมื่อวนั ที่ ๒๐ พฤศจิกายน ๒๕๕๖ เพื่อเฉลมิ พระเกียรตเิ น่ืองในโอกาส วนั พระราชสมภพ ๑๕๐ ปี ในด้านการศึกษาส�ำหรบั เด็กและสตรี การศกึ ษาสาธารณสุขศาสตร์ วัฒนธรรม วิทยาศาสตรป์ ระยกุ ต์ สังคมศาสตร์ และมนษุ ยศ์ าสตร์ พิพิธภัณฑ์สภากาชาดไทย ขอร่วมเฉลิมฉลองศุภสมัยท้ังสองด้วยการจัดพิมพ์ “ต�ำรับยา สภาอณุ าโลมแดงแหง่ ชาตสิ ยาม ร.ศ.๑๑๒” ซง่ึ ถอื ไดว้ า่ เปน็ ต�ำรบั ยาเลม่ แรกของสภากาชาดไทย ทไ่ี ดใ้ ชใ้ น การรกั ษาพยาบาลในคราวเกดิ เหตวุ กิ ฤตกิ ารณ์ ร.ศ.๑๑๒ (พ.ศ.๒๔๓๖) เปน็ หนงั สอื หายากทม่ี คี ณุ คา่ ทาง ประวตั ศิ าสตร์ของสภากาชาดไทย และเปน็ ต�ำรบั ยาแพทยแ์ ผนไทยทเี่ ป็นภมู ปิ ัญญาและมรดกทางวัฒนธรรม ท่ีสามารถน�ำองคค์ วามร้ไู ปปรงุ ยาได้ การจัดพิมพ์คร้ังแรกเนื่องในวโรกาสที่สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี อปุ นายกิ าผอู้ �ำนวยการสภากาชาดไทย ทรงเจรญิ พระชนมายุ ๕๕ พรรษา ในเดอื นเมษายน พ.ศ.๒๕๕๓ จ�ำนวน ๓,๐๐๐ เลม่ และตอ่ มากรมพฒั นาการแพทยแ์ ผนไทยและการแพทยท์ างเลอื ก กระทรวงสาธารณสขุ ไดข้ ออนญุ าตน�ำตน้ ฉบบั มาจดั พมิ พใ์ หม่ จ�ำนวน ๑,๕๐๐ เลม่ และมอบใหพ้ พิ ธิ ภณั ฑส์ ภากาชาดไทย จ�ำนวน ๑๐๐ เล่ม และหนังสอื ดงั กล่าวไดแ้ จกจา่ ยเผยแพร่ไปหมดลงแล้ว ในการพิมพ์คร้ังท่ี ๓ น้ี พพิ ธิ ภณั ฑส์ ภากาชาดไทยไดค้ น้ พบเอกสาร “ต�ำรับยาสภาอุณาโลมแดง ร.ศ.๑๑๒” เพิ่มเตมิ จ�ำนวน ๒๕ หนา้ จึงได้น�ำมาจัดพมิ พข์ ้ึนใหม่เพอื่ ความสมบรู ณข์ องหนงั สอื นี้ สมเด็จพระศรีพชั รนิ ทรา บรมราชินนี าถ สภานายกิ าสภากาชาดไทยพระองคแ์ รก ทรงพระปรีชา ญาณ และมพี ระราชคณุ ปู การอนั ใหญห่ ลวงตอ่ สภากาชาดไทย ดว้ ยทรงประกอบพระราชกรณยี กจิ เปน็ อเนก ประการ ในด้านตา่ งๆ สมควรท่ีจะไดศ้ กึ ษา และร�ำลกึ ถงึ พระมหากรณุ าธคิ ุณ อาทิ ทรงรับด�ำรงต�ำแหน่งสภานายิกาสภากาชาดไทยพระองค์แรก ตั้งแต่ พ.ศ.๒๔๓๖ จนถึงวัน เสดจ็ สวรรคต พ.ศ.๒๔๖๓ ทรงบริจาคพระราชทรัพย์ส่วนพระองค์ในการก่อต้ังสภาอุณาโลมแดง ร.ศ.๑๑๒ จ�ำนวน ๔๐,๐๐๐ บาท เสด็จพระราชด�ำเนนิ ไปเปน็ องค์ประธานในการประชุมกรรมการณิ ีสภาอณุ าโลมแดง คร้ังแรก เมอ่ื วนั ท่ี ๒๐ พฤษภาคม ร.ศ.๑๑๒ และคร้ังท่ี ๒ ในวนั ที่ ๑๖ มถิ ุนายน ร.ศ.๑๑๒ ณ พระทีน่ ง่ั บรมราช สถิตย์มโหฬาร ทรงปฏิบัติหน้าที่สภานายิกาสภากาชาดด้วยพระวิริยะอุตสาหะเป็นอย่างยิ่ง ทรงพระปรีชา สามารถวินิจฉัยเร่ืองตา่ งๆ เช่น ทรงมอบหมายใหค้ ณะกรรมการิณไี ปจัดท�ำยา และสง่ เครือ่ งพยาบาลไปให้ ทหารทบ่ี าดเจ็บตามชายแดน มีรับสั่งให้น�ำความข้ึนกราบบังคมทูลพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลท่ี ๕ ขอเชญิ เสด็จเป็น “องค์ทานมยปู ถัมภก ผูบ้ �ำรงุ การอยา่ งสูงสุด” และขอเชิญพระบรมวงศ์ผู้ใหญ่ มุขมาต ยาธบิ ดีเจ้าประเทศราช ให้เปน็ ผบู้ �ำรงุ การ เพือ่ เป็นเกียรติ และเชิญฝ่ายหนา้ ให้ช่วยการและเปน็ ที่ปรึกษาของ กรรมการณิ สี ภาดว้ ย ซงึ่ ตอ่ มาพระบาทสมเดจ็ พระจลุ จอเกลา้ เจา้ อยหู่ วั ไดพ้ ระราชทานพระราชหตั ถเ์ ลขาทรง พระกรุณาโปรดเกล้าฯ รับต�ำแหนง่ “ทานมยูปถมั ภก” เมอื่ วันท่ี ๒๒ พฤษภาคม ร.ศ.๑๑๒

นอกจากน้ี ได้พระราชทานพระราชทรพั ยส์ ว่ นพระองค์ในการอุปถมั ภส์ ภากาชาดสยาม เช่น การ สรา้ งโรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ และการจดั ต้งั โรงเรียนนางพยาบาลข้นึ ในปี พ.ศ. ๒๔๕๗ และพระราชทาน พระราชทรพั ยส์ ว่ นพระองคจ์ ดั สรา้ งอาคารผปู้ ว่ ยสตรที ่ี โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ จ�ำนวน ๑๐๖,๐๐๐ บาท พระราชทานนามวา่ “ตึกปัญจมราชนิ ”ี และทรงพระกรณุ าเสด็จพระราชด�ำเนนิ ไปทรงเปิด เมอื่ วนั ที่ ๒๔ ธนั วาคม ๒๔๕๙ เปน็ ต้น ขอพระราชทานอุทิศถวายกุศลวิทยาทานจากการจัดพิมพ์หนังสือ “ต�ำรับยาสภาอุณาโลมแดง แห่งชาติสยาม ร.ศ.๑๑๒” คร้ังท่ี ๓ น้ี เป็นเครื่องสักการบูชาสมเด็จพระศรีพัชรินทรา บรมราชินีนาถ สภานายกิ าสภากาชาดไทยพระองคแ์ รก ผทู้ รงพระคณุ อนั ยงิ่ ใหญต่ อ่ สภากาชาดไทย และในสากลตลอดกาลนาน. พพิ ธิ ภัณฑส์ ภากาชาดไทย พิมพค์ ร้ังที่ ๑ : เมษายน ๒๕๕๓ เน่ืองในโอกาสวันสถาปนาสภากาชาดไทยครบ ๑๑๗ ปี ในวนั ท่ี ๒๖ เมษายน พ.ศ. ๒๕๕๓ จ�ำ นวนพิมพ์ : ๓,๐๐๐ เล่ม พมิ พค์ รง้ั ท่ี ๒ : สิงหาคม ๒๕๕๔ ในงานมหกรรมสมันไพรแห่งชาติ คร้ังท่ี ๘ “ยาไทย เด็กใช้ได้ ผู้ใหญ่ใช้ดี” ณ อิมแพ็ค เมืองทองธานี ฮอลล์ ๗ - ๘ จำ�นวนพมิ พ์ : ๒,๐๐๐ เล่ม พิมพ์ครง้ั ที่ ๓ : กันยายน ๒๕๕๗ เพื่อเฉลิมพระเกียรตสิ มเดจ็ พระศรพี ชั รินทราฯ บรมราชนิ ีนาถ สภานายิกาพระองค์แรก จ�ำ นวนพมิ พ์ : ๑,๐๐๐ เลม่ ท่ปี รกึ ษา : นายเตช บนุ นาค ผู้ชว่ ยเลขาธิการสภากาชาดไทย ฝ่ายบริหาร ออกแบบจดั รปู เล่ม : งานศลิ ปกรรมและออกแบบ ส�ำ นักสารนเิ ทศและสือ่ สารองคก์ ร สภากาชาดไทย พิมพท์ ี่ : บริษทั ร่งุ ศลิ ปก์ ารพมิ พ์ (๑๙๗๗) จำ�กดั โทรศพั ท์ ๐ ๒๗๔๓ ๙๐๐๐ โทรสาร ๐ ๒๗๔๖ ๓๓๘๗ ISBN : 978-616-7287-23-2

สภากาชาดไทย 7

ต �ำ รั บ ย า ส ภ า อุ ณ า โ ล ม แ ด ง 8

สภากาชาดไทย 9

ต �ำ รั บ ย า ส ภ า อุ ณ า โ ล ม แ ด ง 10

สภากาชาดไทย 11

ต �ำ รั บ ย า ส ภ า อุ ณ า โ ล ม แ ด ง 12

สภากาชาดไทย 13

ต �ำ รั บ ย า ส ภ า อุ ณ า โ ล ม แ ด ง 14

สภากาชาดไทย 15

ต �ำ รั บ ย า ส ภ า อุ ณ า โ ล ม แ ด ง 16

สภากาชาดไทย 17

ต �ำ รั บ ย า ส ภ า อุ ณ า โ ล ม แ ด ง 18

สภากาชาดไทย 19

ต �ำ รั บ ย า ส ภ า อุ ณ า โ ล ม แ ด ง 20

สภากาชาดไทย 21

ต �ำ รั บ ย า ส ภ า อุ ณ า โ ล ม แ ด ง 22

สภากาชาดไทย 23

ต �ำ รั บ ย า ส ภ า อุ ณ า โ ล ม แ ด ง 24

สภากาชาดไทย 25

ต �ำ รั บ ย า ส ภ า อุ ณ า โ ล ม แ ด ง 26

สภากาชาดไทย 27

ต �ำ รั บ ย า ส ภ า อุ ณ า โ ล ม แ ด ง 28

สภากาชาดไทย 29

ต �ำ รั บ ย า ส ภ า อุ ณ า โ ล ม แ ด ง 30

สภากาชาดไทย 31

ต �ำ รั บ ย า ส ภ า อุ ณ า โ ล ม แ ด ง 32

สภากาชาดไทย 33

ต �ำ รั บ ย า ส ภ า อุ ณ า โ ล ม แ ด ง 34

สภากาชาดไทย 35

ต �ำ รั บ ย า ส ภ า อุ ณ า โ ล ม แ ด ง 36

สภากาชาดไทย 37

ต �ำ รั บ ย า ส ภ า อุ ณ า โ ล ม แ ด ง 38

สภากาชาดไทย 39

ต �ำ รั บ ย า ส ภ า อุ ณ า โ ล ม แ ด ง 40

สภากาชาดไทย 41

ต �ำ รั บ ย า ส ภ า อุ ณ า โ ล ม แ ด ง 42

สภากาชาดไทย 43

ต �ำ รั บ ย า ส ภ า อุ ณ า โ ล ม แ ด ง 44

สภากาชาดไทย 45

ต �ำ รั บ ย า ส ภ า อุ ณ า โ ล ม แ ด ง 46

สภากาชาดไทย 47

ต �ำ รั บ ย า ส ภ า อุ ณ า โ ล ม แ ด ง 48