Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง

ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง

Description: ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง

Search

Read the Text Version

ปรชั ญาของ เศรษฐกิจพอเพียง สำนกั งานคณะกรรมการพฒั นาการเศรษฐกจิ และสงั คมแหง่ ชาต ิ

ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง จัดทำโดย สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการ เศรษฐกจิ และสังคมแหง่ ชาต ิ ISBN ๙๗๘-๙๗๔-๙๗๖๙-๗๗-๕ พมิ พค์ รัง้ ที่ ๑ : ธนั วาคม ๒๕๕๐ จำนวน : ๓๐,๐๐๐ เล่ม ภาพประกอบ ชยั ราชวัตร ศักดา แซเ่ อียว (เซีย ไทยรัฐ) ศักดา วมิ ลจนั ทร์ (สต่ี า) โอม รชั เวทย ์ ณรงค ์ จรงุ ธรรมโชต ิ บรษิ ทั ณัฐเฟม จำกัด พมิ พ์ท่ี โรงพิมพ์ ๒๑ เซ็นจรู ่ี เลขท่ี ๑, ๓ ซอย ๔๘ ถ.จรลั สนิทวงศ์ แขวงบางย่ขี ัน เขตบางพลดั กทม. โทรศัพท์ ๐-๒๘๘๓-๐๔๑๗-๘ โทรสาร ๐-๒๘๘๓-๐๔๑๙ e-mail : [email protected]

“...เศรษฐกจิ พอเพยี ง เป็นเสมือนรากฐานของชีวติ รากฐานความม่นั คงของแผน่ ดนิ เปรยี บเสมอื นเสาเขม็ ที่ถกู ตอกรองรบั บา้ นเรือนตวั อาคารไวน้ น่ั เอง สง่ิ กอ่ สรา้ งจะมนั่ คงไดก้ อ็ ยทู่ เ่ี สาเขม็ แต่คนส่วนมากมองไมเ่ ห็นเสาเข็ม และลืมเสาเข็มเสยี ด้วยซำ้ ไป...” พระราชดำรสั พระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อย่หู วั จากวารสารชัยพฒั นา ฉบบั ประจำเดือนสงิ หาคม ๒๕๔๒



คำนำ สำนกั งานคณะกรรมการพฒั นาการเศรษฐกจิ และสงั คมแหง่ ชาติ (สศช.) โดยคณะอนกุ รรมการ ขับเคล่ือนเศรษฐกิจพอเพียง ได้ริเริ่มการสร้าง ขบวนการขับเคลื่อนเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อ ส่ ง เ ส ริ ม ใ ห้ ป ร ะ ช า ช น ทุ ก ร ะ ดั บ มี ค ว า ม เข้ า ใจ ในหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ตลอดจน น้อมนำไปใช้เป็นพื้นฐาน และแนวทางในการ ดำเนนิ ชวี ติ “ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง” ฉบับน ้ี จัดทำข้ึนเพ่ือเผยแพร่สาระสำคัญของแนวคิด แ ล ะ ก า ร ป ร ะ ยุ ก ต์ ใช้ ป รั ช ญ า ข อ ง เ ศ ร ษ ฐ กิ จ พอเพียงในระดับต่างๆ ด้วยภาษาท่ีเข้าใจได้ง่าย โดยจัดทำเป็นฉบับพกพา เพื่อให้สะดวกต่อการ นำไปใช้ประโยชนใ์ นโอกาสต่างๆ

สำนักงานฯ หวังเป็นอย่างยิ่งว่า หนังสือ เล่มนี้จะมีส่วนช่วยเสริมสร้างความรู้ความเข้าใจ ในหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงและการ ประยุกต์ใช้ อันจะเป็นประโยชน์ต่อการเรียนรู้ และนำไปปรับใช้เป็นแนวทางในการดำเนนิ ชวี ติ เพ่ือให้พร้อมรับต่อการเปลี่ยนแปลงในทุกด้าน นำสู่ความก้าวหน้าอย่างสมดุล ม่ันคง และ ยง่ั ยืนสบื ไป สำนกั งเาศนรคษณฐกะกจิ รแรลมะกสางั รคพมฒัแหนง่าชกาาตร ิ ธนั วาคม ๒๕๕๐

สารบัญ หนา้ คำนำ ๓ ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียงคืออะไร? ๖ องคป์ ระกอบปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง ๑๓ การน้อมนำหลักปรัชญาฯ มาปฏบิ ตั ิ ๑๘ การประยกุ ตใ์ ชเ้ ศรษฐกจิ พอเพยี งในดา้ นตา่ งๆ ๒๒ ผลทค่ี าดว่าจะไดร้ บั ๒๔

ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง §อ◊ อ–‰ร? ป รชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง เปน็ แนวทาง การดำเนินชีวิตและวิถีปฏิบัติท่ีพระบาทสมเด็จ พระเจ้าอยู่หัวมีพระราชดำรัสชี้แนะแก่พสกนิกร ชาวไทยมาโดยตลอดนานกวา่ ๓๐ ป  และไดท้ รงเนน้ ยำ้ แนวทางพัฒนาที่ต้ังอยู่บนพน้ื ฐานของทางสายกลาง และความไมป่ ระมาท โดยคำนงึ ถงึ ความพอประมาณ ความมเี หตผุ ล การสรา้ งภมู คิ มุ้ กนั ในตวั ทด่ี ี ตลอดจน ใชค้ วามร ู้ และคณุ ธรรมเปน็ พน้ื ฐานในการดำรงชวี ติ การป้องกันให้รอดพ้นจากวิกฤต และให้สามารถ ดำรงอยู่ได้อย่างม่ันคงและย่ังยืนภายใต้กระแส โลกาภวิ ตั น์และความเปลยี่ นแปลงตา่ งๆ 6

ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง “เศรษฐกิจพอเพียง” เป็นปรัชญา ชี้ถึงแนวการดำรงอยู่และปฏิบัติตนของ ประชาชนในทุกระดับต้ังแต่ระดับครอบครัว ระดบั ชมุ ชน จนถึงระดบั รัฐ ทงั้ ในการพฒั นา และบรหิ ารประเทศใหด้ ำเนนิ ไปใน ทางสายกลาง โดยเฉพาะการพัฒนาเศรษฐกิจเพื่อให ้ ก้าวทันต่อยุคโลกาภิวัตน์ ความพอเพียง หมายถึง ความพอประมาณ ความมเี หตผุ ล ร ว ม ถึ ง ค ว า ม จ ำ เ ป็ น ท่ี จ ะ ต้ อ ง มี ร ะ บ บ ภูมิคุ้มกันในตัวท่ีดีพอสมควรต่อการมีผล

กระทบใดๆ อันเกิดจากการเปลี่ยนแปลง ทั้งภายนอกและภายใน ท้ังนี้จะต้องอาศัย ความรอบรู้ ความรอบคอบ และความ ระมัดระวังอย่างย่ิงในการนำวิชาการต่างๆ มาใช้ในการวางแผนและการดำเนินการ ทกุ ขน้ั ตอน และขณะเดยี วกนั จะตอ้ งเสรมิ สรา้ ง พ้ื น ฐ า น จิ ต ใ จ ข อ ง ค น ใ น ช า ติ โ ด ย เ ฉ พ า ะ เจ้าหน้าท่ีของรัฐ นักทฤษฏีและนักธุรกิจใน ทกุ ระดบั ใหม้ สี ำนกึ ในคณุ ธรรม ความซอ่ื สตั ย ์ สุจริต และให้มีความรอบรู้ที่เหมาะสม ดำเนินชีวิตด้วยความอดทน ความเพียร มีสติ ปัญญา และความรอบคอบ เพื่อให้

สมดลุ และพรอ้ มตอ่ การรองรบั การเปลย่ี นแปลง อย่างรวดเร็วและกว้างขวาง ทั้งด้านวัตถ ุ สังคม สิ่งแวดล้อม และวัฒนธรรมจากโลก ภายนอกได้เปน็ อยา่ งด ี 9

สำนกั งานคณะกรรมการพฒั นาการเศรษฐกจิ และสังคมแห่งชาติ (สศช.) ในฐานะหน่วยงาน หลักในการวางแผนของประเทศตระหนักถึงความ สำคัญของแนวคิดดังกล่าว จึงได้เชิญผู้ทรงคุณวุฒิ จากสาขาต่างๆ มาร่วมกันพิจารณากล่ันกรอง พระราชดำรัสของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ในโอกาสต่างๆ ท่ีเก่ียวข้องกับเศรษฐกิจพอเพียง สรุปออกมาเป็นนิยามความหมาย “ปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพยี ง” จากน้ัน สศช. ได้นำขึ้นทูลเกล้าฯ ขอ พ ร ะ ร า ช ท า น พ ร ะ บ ร ม ร า ช า นุ ญ า ต น ำ บ ท ค ว า ม ดังกล่าวไปเผยแพร่ เพื่อส่งเสริมให้ประชาชน ทุกระดับมีความเข้าใจในหลักปรัชญาฯ และใช้เป็น พื้นฐานและแนวทางในการดำเนินชีวิต ซ่ึงทรง พระกรุณาปรับปรุงแก้ไข และโปรดเกล้าฯ 10

พระราชทานพระบรมราชานุญาต ตามท่ีขอ พระมหากรุณา เมอ่ื วนั ท่ี ๒๙ พฤศจกิ ายน ๒๕๔๒ สศช. ได้อัญเชิญ “ปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพยี ง” มาเปน็ ปรชั ญานำทางในการจัดทำแผน พัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ ๙ (พ.ศ. ๒๕๔๕-๒๕๔๙) และฉบับท่ี ๑๐ (พ.ศ. ๒๕๕๐-๒๕๕๔) รวมทั้งได้เสริมสร้างความเข้าใจ ไปยงั ภาคสว่ นตา่ งๆ เพอ่ื ใหเ้ กดิ ความเขา้ ใจ เหน็ คณุ คา่ และนอ้ มนำไปประยุกต์ใชใ้ นวิถีชีวติ ต่อไป ภาพจากสือ่ การเรียนการสอน เรอ่ื ง วถิ ีชวี ติ แบบเศรษฐกิจพอเพียง โดย...บริษัท ณฐั เฟม จำกดั 11

“...คนเราถ้าพอในความต้องการ กม็ ีความโลภน้อย เมื่อมีความโลภนอ้ ย กเ็ บยี ดเบียนคนอืน่ นอ้ ย ถ้าทุกประเทศมคี วามคดิ อนั น้ไี ม่ใช่เศรษฐกิจ มคี วามคดิ วา่ ทำอะไรต้องพอเพยี ง หมายความว่าพอประมาณ ไมส่ ดุ โตง่ ไมโ่ ลภอยา่ งมาก คนเรากอ็ ยเู่ ป็นสขุ ...” พระราชดำรัสเน่ืองในโอกาสวนั เฉลมิ พระชนมพรรษา ๔ ธันวาคม ๒๕๔๑

อง§åปรเ–ศ°รอษ∫ฐปกรจิ ัชพญอาเพขอยี งง ป รั ช ญ า ข อ ง เ ศ ร ษ ฐ กิ จ พ อ เ พี ย ง นั บ เ ป็ น แ น ว ท า ง ป ฏิ บั ติ เ พื่ อ ใ ห้ ชี วิ ต ด ำ เ นิ น ไ ป ใ น ท า ง สายกลางที่เหมาะสมสอดคล้องกับวิถีความเป็นอย ู่ อันเรียบง่ายของคนไทย ซึ่งสามารถนำมาประยุกต์ ใช้ให้เหมาะสมกับประชาชนทุกระดับ ท้ังระดับ บุคคล ครอบครัว ชุมชน องค์กร และระดับ ประเทศได ้ โดยมคี ุณลกั ษณะท่สี ำคญั ดงั น ้ี • ความพอประมาณ หมายถงึ ความพอดีต่อ ความจำเป็นและเหมาะสมกับฐานะของตนเอง สังคม สิ่งแวดล้อม รวมท้ังวัฒนธรรมในแต่ละ ท้องถ่ิน ไม่มากเกินไป ไม่น้อยเกินไป และต้อง ไมเ่ บียดเบียนตนเองและผู้อน่ื 13

• ความมีเหตุผล หมายถึง การตัดสินใจ ดำเนินการเรื่องต่างๆ อย่างมีเหตุผลตามหลัก วิชาการ หลักกฎหมาย หลักศีลธรรม จริยธรรม และวัฒนธรรมที่ดีงาม คิดถึงปัจจัยที่เกี่ยวข้อง อย่างถ้วนถี่ โดยคำนึงถึงผลที่คาดว่าจะเกิดขึ้นจาก การกระทำน้นั ๆ อย่างรอบคอบ 14

• ภูมิคุ้มกันในตัวท่ีดี หมายถึง การเตรียมตัว ให้พร้อมรับผลกระทบและการเปลี่ยนแปลงในด้าน เศรษฐกิจ สังคม สิ่งแวดล้อม และวัฒนธรรม เพือ่ ให้สามารถปรับตวั และรบั มอื ไดอ้ ย่างทนั ท่วงที เ ง่ื อ น ไข ส ำ คั ญ เ พื่ อ ใ ห้ เ กิ ด ค ว า ม พ อ เ พี ย ง การตัดสินใจและดำเนินกิจกรรมต่างๆ ต้องอาศัย ทั้งเงื่อนไขคุณธรรม หลักวิชา และเง่ือนไขชีวิตเป็น พืน้ ฐาน • เงื่อนไขคุณธรรม เสริมสร้างพื้นฐานจิตใจ ของคนในชาตใิ ห้มคี วามซ่อื สัตย์สจุ ริต รู้ รกั สามคั คี ไม่โลภ ไมต่ ระหนี่ และรจู้ ักแบง่ ปันใหผ้ อู้ ื่น • เงอื่ นไขหลกั วชิ า อาศยั ความรอบรู้ รอบคอบ และระมัดระวังอย่างย่ิง ในการนำวิชาการต่างๆ มาใชว้ างแผนและดำเนนิ การทุกข้ันตอน 15

• เงื่อนไขชีวิต ดำเนินชีวิตด้วยความอดทน มีความเพียร มีสต ิ และปัญญา บริหารจัดการ การใช้ชีวิต โดยใช้หลักวิชาและคุณธรรม เป็นแนวทางพืน้ ฐาน 16

“...ใหพ้ อเพยี งนก้ี ็หมายความวา่ มกี นิ มีอยู่ ไม่ฟุ่มเฟอื ย ไมห่ รูหราก็ได้ แตว่ ่าพอ. แม้บางอย่างอาจจะดูฟุ่มเฟือย แต่ถา้ ทำใหม้ คี วามสุข ถา้ ทำไดก้ ็สมควรทจ่ี ะทำ สมควรที่จะปฏบิ ัติ. อันนก้ี ค็ วามหมายอกี อยา่ งของเศรษฐกจิ หรอื ระบบพอเพียง...พอเพยี งนี้อาจจะมีมาก อาจจะมขี องหรหู รากไ็ ด้ แตว่ า่ ตอ้ งไมไ่ ปเบยี ดเบยี นคนอนื่ . ตอ้ งใหพ้ อประมาณตามอัตภาพ พดู จากพ็ อเพยี ง ทำอะไรกพ็ อเพยี ง ปฏบิ ตั ติ นกพ็ อเพยี ง...” พระราชดำรสั เนอ่ื งในโอกาสวนั เฉลมิ พระชนมพรรษา ๔ ธันวาคม ๒๕๔๑

การนâอมนำหลักปรชั ญาœ ¡าปØ∫‘ ัµ‘ ทุ กคนสามารถนำหลักปรัชญาฯ มาเปน็ หลัก ปฏบิ ัติในการดำเนินชวี ติ ได ้ ไม่ใชเ่ ฉพาะในหมคู่ นจน หรอื เกษตรกร โดยตอ้ ง “ระเบดิ จากขา้ งใน” คอื การ เกดิ จิตสำนกึ มีความศรัทธาเชอ่ื มนั่ เห็นคณุ คา่ และ นำไปปฏิบัติด้วยตนเอง แล้วจึงขยายไปสู่ครอบครัว ชุมชน สังคม และประเทศชาตติ ่อไป • ความพอเพียงระดับบุคคลและครอบครัว มุ่งเน้นให้บุคคลและครอบครัวอยู่ร่วมกันอย่างม ี ความสุขทง้ั ทางกายและทางใจ พง่ึ พาตนเองอยา่ งเตม็ ความสามารถ ไม่ทำอะไรเกินตัว ดำเนินชีวิตโดย ไม่เบยี ดเบยี นตนเองและผอู้ นื่ รวมทงั้ ไฝร่ แู้ ละมกี าร พัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่อง เพื่อความมั่นคงใน 1

อนาคต และเป็นที่พึ่งให้ผู้อื่นได้ในที่สุด เช่น หา ปัจจัยส่ีมาเลี้ยงตนเองและครอบครัวจากการ ประกอบสมั มาชพี รขู้ อ้ มลู รายรบั -รายจา่ ย ประหยดั แตไ่ มใ่ ชต่ ระหนี่ ลด-ละ-เลกิ อบายมุข สอนให้เด็ก รู้จักคุณค่า รู้จักใช้ และรู้จักออมเงินและส่ิงของ เคร่ืองใช้ ดูแลรักษาสุขภาพ มีการแบ่งปันภายใน ครอบครัว ชุมชน และสังคมรอบข้าง รวมถึงการ รักษาวัฒนธรรม ประเพณี และการอยู่ร่วมกับ ทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดลอ้ มไดอ้ ยา่ งเหมาะสม • ความพอเพียงระดับชุมชน คนในชุมชน มีการรวมกลุ่มกันทำประโยชน์เพ่ือส่วนรวม ช่วย เหลอื เกอ้ื กลู กนั ภายในชมุ ชนบนหลกั ของความรู้ รกั สามคั คี สร้างเป็นเครือข่ายเช่ือมโยงกันในชุมชน และนอกชมุ ชนทงั้ ดา้ นเศรษฐกจิ สงั คม ทรพั ยากรธรรมชาติ และสง่ิ แวดลอ้ ม เชน่ การรวมกลมุ่ อาชพี องคก์ รการเงนิ 19

สวัสดิการชุมชน การช่วยดูแลรักษาความสงบ ความสะอาด ความเป็นระเบียบเรียบร้อย รวมท้ัง การใช้ภูมิปัญญาท้องถ่ินและทรัพยากรธรรมชาติ และส่ิงแวดล้อมในชุมชนมาสร้างประโยชน์ได้อย่าง เหมาะสม เพ่ือสร้างเสริมชุมชนให้มีความเข้มแข็ง และมคี วามเป็นอย่ทู ่พี อเพียง • ความพอเพียงในภาคธุรกิจเอกชน เริ่มจาก ความมุ่งมั่นในการดำเนินธุรกิจที่หวังผลประโยชน ์ หรือกำไรในระยะยาวมากกว่าระยะส้ัน แสวงหา ผลตอบแทนบนพนื้ ฐานของการแบง่ ปนั มงุ่ ใหท้ กุ ฝา่ ย ที่ เ ก่ี ย ว ข้ อ ง ไ ด้ รั บ ป ร ะ โ ย ช น์ อ ย่ า ง เ ห ม า ะ ส ม และเป็นธรรมทัง้ ลกู ค้า คคู่ ้า ผถู้ อื หนุ้ และพนกั งาน ด้านการขยายธุรกิจต้องทำอย่างค่อยเป็นค่อยไป รวมท้ังต้องมีความรู้และเข้าใจธุรกิจของตนเอง รู้จักลูกค้า ศึกษาคู่แข่ง และเรียนรู้การตลาด 20

อย่างถ่องแท้ ผลิตในสิ่งท่ีถนัดและทำตามกำลัง สร้างเอกลักษณ์ท่ีแตกต่างและพัฒนาคุณภาพ ผลิตภัณฑ์อย่างต่อเน่ือง มีการเตรียมความพรอ้ ม ต่อการเปล่ียนแปลงท่ีอาจเกิดข้ึน มีความซื่อสัตย ์ รั บ ผิ ด ช อ บ ต่ อ สั ง ค ม แ ล ะ ป้ อ ง กั น ผ ล ก ร ะ ท บ ต่อสิ่งแวดล้อม ที่สำคัญต้องสร้างเสริมความร ู้ และจัดสวัสดกิ ารให้แกพ่ นักงานอยา่ งเหมาะสม • ความพอเพียงระดับประเทศ เป็นการ บรหิ ารจดั การประเทศ โดยเรม่ิ จากการวางรากฐาน ใ ห้ ป ร ะ ช า ช น ส่ ว น ใ ห ญ่ อ ยู่ อ ย่ า ง พ อ มี พ อ กิ น และพ่ึงตนเองได้ มีความรู้และคุณธรรมในการ ดำเนินชีวิต มีการรวมกลุ่มของชุมชนหลายๆ แห่ง เพอ่ื แลกเปลย่ี นความรู้ สบื ทอดภมู ปิ ญั ญา และรว่ มกนั พัฒนาตามแนวทางเศรฐกิจพอเพียงอย่างรู้ รัก สามคั คี เสรมิ สรา้ งเครอื ขา่ ยเชอ่ื มโยงระหวา่ งชมุ ชน ให้เกดิ เปน็ สงั คมแหง่ ความพอเพยี งในทสี่ ุด 21

การประยกÿ ตå„ชเâ ศรษฐกิจพอเพยี ง „π¥âาπµาà งÊ ด้านเศรษฐกิจ ไม่ใช้จ่ายเกินตัว ไม่ลงทุน เกนิ ขนาด คดิ และวางแผนอยา่ งรอบคอบ มภี มู คิ มุ้ กนั ไม่เสย่ี งเกินไป ด้านจิตใจ มีจิตใจเข้มแข็ง มีจิตสำนึกท่ีดี เอ้ืออาทร เห็นแก่ประโยชน์ส่วนรวมมากกว่า ประโยชน์ส่วนตัว ด้านสังคมและวฒั นธรรม ช่วยเหลอื เก้ือกูลกนั รู้ รัก สามัคคี สร้างความเข้มแข็งให้ครอบครัว และชุมชน รักษาเอกลักษณ ์ ภาษา ภูมิปัญญา และวัฒนธรรมไทย

ด้านทรพั ยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอ้ ม ร้จู ัก ใช้และจัดการอย่างฉลาดและรอบคอบ ฟืนฟู ท รั พ ย า ก ร เ พ่ื อ ใ ห้ เ กิ ด ค ว า ม ยั่ ง ยื น แ ล ะ ค ง อ ย ู่ ช่ัวลูกหลาน ด้านเทคโนโลย ี รู้จักใช้เทคโนโลยีท่ีเหมาะสม สอดคล้องกับความต้องการและสภาพแวดล้อม พฒั นาเทคโนโลยีจากภูมิปัญญาชาวบ้าน 3

ºล∑ีËคา¥«่าจะ‰¥âรับ การน้อมนำปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง มาประยุกต์ใช้ในทุกภาคส่วนของสังคมอย่างจริงจัง จ ะ ส่ ง ผ ล ใ ห้ ก า ร พั ฒ น า ป ร ะ เ ท ศ ก้ า ว ห น้ า ไ ป อย่างสมดุล มั่นคง และยั่งยืน พร้อมรับต่อการ เปลี่ยนแปลงในทุกด้าน ทั้งด้านชีวิต เศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม ส่ิงแวดล้อม และเทคโนโลย ี อันจะนำไปสู่ “ความอยูเย็นเปนสุขรวมกัน ในสังคมไทย” ภาพจากส่ือการเรยี นการสอน เรือ่ ง วถิ ชี ีวติ แบบเศรษฐกิจพอเพยี ง โดย...บรษิ ัท ณฐั เฟม จำกัด 4



สำนกั งานคณะกรรมการพฒั นาการเศรษฐกจิ และสงั คมแหง่ ชาต ิ ๙๖๒ ถนนกรุงเกษม เขตป้อมปราบฯ กรุงเทพมหานคร ๑๐๑๐๐ กลมุ่ งานประชาสมั พนั ธ ์ โทรศัพท ์ ๐ – ๒๒๘๐ - ๔๐๘๕ ตอ่ ๑๓๐๓ - ๑๓๐๕ โทรสาร ๐ – ๒๖๒๘ – ๒๘๔๖ กลมุ่ งานเศรษฐกิจพอเพียง โทรศพั ท์ ๐ – ๒๒๘๐ - ๔๐๘๕ ตอ่ ๕๑๐๓ และ ๒๔๐๗ โทรสาร ๐ – ๒๒๘๒ – ๙๑๕๘ หรอื ๐ – ๒๒๘๑ – ๖๑๒๗ หhtรtือpเย:/ี่ย/มwชwมwได.n้ทe่ ี sdb.go.th http://www.sufficiencyeconomy.org


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook