Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ประวัติศาสตร์พม่า

ประวัติศาสตร์พม่า

Description: ประวัติศาสตร์พม่า

Search

Read the Text Version

ประวัติเงินตราไทย ดินแดนซ่งึ เป็นทีต่ ั้งของประเทศไทยในปจั จุบนั เปน็ ท่อี ย่อู าศยั ของมนุษย์มาตัง้ แต่ กอ่ น พทุ ธศตวรรษที่ 6 ซึง่ กล่มุ ชนเหล่านี้ได้มกี ารตดิ ต่อกบั ชมุ ชนอื่นในบรเิ วณ ใกล้เคยี ง โดยใชส้ อื่ กลางใน การแลกเปลย่ี นหลายรปู แบบ เชน่ ลูกปัด เปลือก หอย เมลด็ พืช เปน็ ตน้ สําหรบั ชนชาติไทยสันนษิ ฐานวา่ ได้มกี ารนําโลหะเงนิ มาใช้ เปน็ เงินตรามาตั้งแตใ่ นสมยั สุโขทัย เรียกกนั วา่ เงินพดด้วง ซง่ึ มีเอกลักษณ์ เปน็ ของตัวเอง และแสดงให้เห็นถึงความเจรญิ ของชนชาติไทยท่ไี ดผ้ ลติ เงินตราขึ้นใช้เอง เปน็ เวลาหลายรอ้ ยปีจวบจนมกี ารนําเงินเหรยี ญตามแบบสากลเข้ามาใช้ เงนิ ตรา เงินตรา คอื วตั ถุที่ใชใ้ นการแลกขายซ้อื เปลีย่ น เป็นตวั แทนการวดั มูลค่าของสินค้าท่ี แลกเปล่ยี นกนั เงินตราในอดีตเริ่มจากการใชเ้ ปลอื กหอย อัญมณี พัฒนามาเป็นโลหะ ปัจจบุ ัน ใช้เป็น เหรียญกษาปณ์ และ ธนบัตร สะสมเหรยี ญ การสะสมเหรียญ ไม่วา่ จะเป็นสะสมเหรียญที่ระลกึ เหรยี ญกษาปณ์ทีร่ ะลึก เหรียญกษาปณ์ หมนุ เวียนทง้ั ยุคเก่าและยุคปจั จุบนั เป็นทีน่ ยิ มกว้างขวางมากข้ึนในท่ีนจี้ ะพูดถึงเฉพาะการ สะสมเหรียญกษาปณ์ในยุค ปัจจบุ ันเทา่ น้นั เพราะการสะสมเหรยี ญในยคุ ก่อนจะตอ้ งศกึ ษาหา ความรอู้ ีกมาก รวมทั้งราคาสูงและมขี องปลอมอย่มู ากด้วย เหรยี ญสะสม การสะสมเหรียญ(เหรยี ญสะสม) ไม่วา่ จะเปน็ เหรยี ญสะสมเหรยี ญท่ีระลึก เหรียญกษาปณท์ ่ี ระลกึ เหรยี ญกษาปณห์ มุนเวยี นทง้ั ยุคเกา่ และยุคปจั จบุ นั เป็นทนี่ ิยมกวา้ งขวางมากข้ึนใน ที่นี้จะพูดถึงเฉพาะการสะสมเหรียญกษาปณ์ในยุคปจั จบุ ันเทา่ นั้น เพราะการสะสมเหรียญในยคุ ก่อนจะตอ้ งศึกษาหาความร้อู กี มาก รวมทงั้ ราคาสูงและมขี องปลอมอย่มู ากด้วย

เงินตรา ฟูนัน อาณาจกั รฟนู นั ก่อตัวขึน้ บรเิ วณทางใต้ของลุ่มน้าํ โขง ประมาณ พุทธศตวรรษท่ี 6 และลม่ สลายลง ประมาณพทุ ธศตวรรษที่ 12 จากการโจมตี ของพวกเจนละ อาณาจักรฟนู ันได้รับอารยธรรมดา้ นการปกครองโดยกษตั รยิ ์ และการนบั ถือศาสนาพราหมณห์ รอื ฮนิ ดูจากอินเดยี เงนิ ตราท่ใี ชจ้ ะมี สญั ลกั ษณ์ เก่ยี วกบั กษตั ริย์ การปกครอง และศาสนา โดยมีลกั ษณะเป็น เหรียญเงินดา้ นหนงึ่ มีสัญลักษณ์พระอาทติ ย์คร่งึ ดวงเปล่งรัศมี อกี ด้านหนงึ่ เป็นรูปพระศรวี ัตสะ กลองบัณเฑาะวท์ ่ีพราหมณใ์ ชใ้ นพธิ ีตา่ งๆ และมี เครอ่ื งหมายสวสั ดกิ ะซึง่ หมายถงึ ความโชคดี เงนิ ตรา ทวารวดี อาณาจักรทวารวดีเร่มิ มคี วามสาํ คัญขน้ึ ในพทุ ธศตวรรษที่ 12 และ ล่มสลายลงในพุทธศตวรรษที่ 16 สนั นษิ ฐานว่ามีศูนย์กลางการปกครองอยู่ บรเิ วณจงั หวดั นครปฐม การปกครองยังคงอย่ใู นระบบกษตั ริย์ ประชาชนนบั ถอื พทุ ธศาสนานิกายมหายาน เงินตราทีพ่ บยังคงมสี ญั ลกั ษณ์เก่ียวกับกษตั รยิ ์ อาํ นาจการปกครอง ความอุดมสมบรู ณ์ และศาสนา เชน่ เหรยี ญเงนิ ด้านหน่ึง เปน็ รูปบรู ณกลศ (หมอ้ น้ําทม่ี นี ้าํ เต็ม) ซ่งึ หมายถงึ ความอุดมสมบรู ณ์ อกี ดา้ นเป็นภาษาสนั สกฤตโบราณ อ่านวา่ \"ศรที วารวดี ศวรปุณยะ\" แปลว่า \"บญุ กศุ ลของพระราชาแหง่ ศรที วารวดี\" เปน็ ต้น

เงินตรา ศรวี ชิ ัย ประมาณพทุ ธศตวรรษท่ี 13 การคา้ ทางทะเลมคี วามสําคญั มากข้นึ สง่ ผลให้เมอื งทอี่ ย่บู น คาบสมทุ รสวุ รรณภมู ิ ได้แก่ ไชยา และ นครศรีธรรมราช ซง่ึ เปน็ ตลาดกลางของสินค้าจากทวปี ยุโรป ตะวนั ออกกลาง และอินเดยี ทางฝั่งตะวันตก และสนิ ค้าจากจนี ขอม ทวารวดี ทางฝัง่ ตะวนั ออก มีความสาํ คัญข้นึ เช่นกนั จนในทส่ี ดุ ดนิ แดนแถบน้จี นถึงเกาะสุ มาตราไดร้ วมตัวกันเปน็ อาณาจักรศรวี ชิ ัย การปกครองไดใ้ ช้ระบบ พระมหากษัตริย์ ประชาชนนบั ถือศาสนาพทุ ธนกิ ายมหายาน เงินตราท่ีใช้ทาํ ด้วยเงนิ และทองคาํ มี 2 ชนิด คอื \"เงนิ ดอกจนั \" ด้านหนึ่งมีลวดลายเป็นรปู สี่แฉก อีกดา้ นหน่งึ มอี กั ษร สันสกฤตว่า \"วร\" แปลวา่ \"ประเสรฐิ \" เงนิ ตราอกี ชนดิ หนง่ึ เรียกวา่ \"เงินนโม\" ด้านหน่งึ มรี อ่ งเล็กๆ คล้าย เมลด็ กาแฟอีกด้านหน่ึงเปน็ ภาษาสันสกฤตวา่ \"น\" ด้วยเหตุท่ปี ระชาชนในบริเวณนนี้ บั ถือพทุ ธศาสนา จึงได้ ตั้งช่อื เงินตราท่มี อี กั ษร \"น\" วา่ \"เงนิ นโม\" อาณาจักรศรีวชิ ยั เสอ่ื มอาํ นาจลงในพุทธศตวรรษท่ี 18 เงนิ ตรา สโุ ขทยั ราวพทุ ธศตวรรษท่ี 19 ราชอาณาจกั รสโุ ขทยั ถอื กําเนดิ ขน้ึ ไดต้ ดิ ต่อ ค้าขายกับราชอาณาจกั รในลมุ่ เจ้าพระยา คือกรงุ ศรีอยุธยา ตลอดจนดาํ เนนิ การคา้ ทาง ทะเลกบั จนี อินเดยี ยโุ รป และกลมุ่ ชนทางตอนเหนอื ของไทย เชน่ ลา้ นชา้ ง ยนู นาน นา่ นเจา้ และไปไกลถงึ เปอรเ์ ซีย อาหรบั โดยท่ี ราชอาณาจักรสโุ ขทยั ได้ผลิต เงินตราข้นึ ใชใ้ นระบบเศรษฐกจิ คือ เงนิ พดดว้ ง นอกจากน้ยี งั ใช้ \"เบ้ีย\" เปน็ เงนิ ปลกี สาํ หรับแลกเปลี่ยนสินคา้ ราคาต่ํา เงินพดด้วงสันนษิ ฐานว่ามีมาตั้งแต่ก่อนสมยั สุโขทยั และใชต้ อ่ เน่อื งกันมาตั้งแตส่ มยั สโุ ขทัย อยุธยา กรุงธนบุรี กรุงรตั นโกสนิ ทร์ตอนตน้ รวมเปน็ เวลากว่า 600 ปี โดยทาํ ขึน้ จากแท่งเงินทบุ ปลายงอเขา้ หากนั แลว้ ตอกประทับตราประจาํ แผ่นดนิ และตราประจํารชั กาลลงไป ดว้ ยเหตุทม่ี สี ณั ฐานกลมคล้ายตัวดว้ ง คน ไทยจึงเรยี กว่าเงินพดดว้ ง ขณะที่ชาวต่างประเทศเรียกเงินชนดิ นี้ว่า เงนิ ลกู ปนื (BULLET MONEY) เงนิ พดดว้ งถอื ได้วา่ เป็นเงนิ ทีม่ ีรูปร่างเปน็ เอกลกั ษณ์ไม่เหมือนเงินตราตระกูลใดในโลก ในสมยั สุโขทยั เงนิ พดดว้ งมักมีตราประทับไวม้ ากกวา่ 2 ดวง และเปน็ รูปสตั ว์ชน้ั สูง เช่น ววั กระต่าย หอยสงั ข์ และราชสหี ์ เปน็ ต้น

เงนิ ตรา สมัยกรงุ ศรอี ยุธยา ในสมัยน้ยี ังคงใชเ้ งินพดดว้ งเป็นเงนิ ตรา แต่หลวงผูกขาดใน การผลติ เงินพดด้วงในสมัยนี้ คลา้ ยเงนิ พดด้วงในสมยั สโุ ขทัย แตต่ รง ปลายขาที่งอจรดกันไม่แหลมเหมือนเงนิ พดดว้ งสุโขทยั ตราที่ประทบั สว่ น ใหญ่เป็นตราจกั รและตราประจาํ รชั กาล เช่น ครฑุ ช้าง ราชวัตร พุ่มขา้ วบณิ ฑ์ เปน็ ต้น เงนิ ตรา สมัยกรงุ ธนบรุ ี ในสมัยกรุงธนบุรี ยงั คงใช้เงนิ พดด้วงเชน่ ครงั้ กรุงเกา่ สันนษิ ฐานวา่ มกี ารผลิตเงินพดด้วงข้นึ ใชเ้ พยี ง 2 ชนดิ คอื เงนิ พดดว้ งตรา ตรีศลู และตราทววิ ุธ

เงนิ ตรา สมยั กรงุ รัตนโกสินทร์ ในปี พ.ศ. 2325 พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก ทรงยา้ ยเมืองหลวงจากกรุงธนบุรี มา อยฝู่ ง่ั ตรงข้ามคือ กรงุ เทพมหานคร และสถาปนาราชวงศจ์ กั รขี ึ้น เงนิ ตราท่ใี ชใ้ นยุคต้นๆ ยังคงใชเ้ งนิ พดด้วง โดยที่ตราประทับบนเงนิ พดดว้ งคือตราจกั ร ซึ่งเป็นตราประจําแผ่นดิน และตราประจาํ รชั กาล ซง่ึ ได้แก่ รชั กาลท่ี 1 ตราบัวอุณาโลม รัชกาลท่ี 2 ตราครุฑ รชั กาลที่ 3 ตราปราสาท รชั กาลท่ี4 ตรามงกฏุ รัชกาลที่ 5 ตราพระเก้ยี ว สมัยรัชกาลที่ 1 เงนิ พดดว้ งในรชั กาลน้ี เดมิ ประทบั ตราจกั ร และตราตรศี ูล แต่ หลงั จากบรมราชาภิเษกแล้ว ไดโ้ ปรดเกลา้ ฯ ให้ผลิตเงินพดดว้ งประจาํ รชั กาล แลว้ ประทับตราพระแสงจกั ร-บวั อุณาโลม สมัยรชั กาลที่ 2 ตราที่ประทบั บนเงินพดด้วย คอื ตราจักรและตราครุฑ สนั นิษฐานวา่ ตราครุฑ มาจากพระนามเดิมของรชั กาลท่ี 2 คือ \"ฉมิ \" ซงึ่ เป็น วิมานของพญาครฑุ

สมยั รัชกาลที่ 3 ตราปราสาทเป็นตราประจาํ พระองค์ของรชั กาลท่ี 3 ผลติ เมอื่ พระองคเ์ สด็จเถลิงถวัลราชสมบัติในปี พ.ศ. 2367 นอกจากนย้ี งั มีการผลติ เงินพดด้วงเป็นทร่ี ะลกึ ในโอกาสสําคัญๆ ประทบั ตราตา่ งๆ เช่น ดอกไม้ ครุฑ เสย้ี ว ใบมะตูม และเฉลว เปน็ ต้น สว่ นการจดั ทําเงินเหรียญข้นึ ใชต้ ามแบบสากลนิยมนัน้ มี แนวคิดมาต้ังแต่สมัยพระบาทสมเดจ็ พระน่ังเกล้าเจ้าอยู่หัว โดยโปรดเกลา้ ฯ ส่ังจัดทาํ ตวั อยา่ งเหรยี ญทองแดงส่งเขา้ มา แตย่ ังไมโ่ ปรดเกล้าฯ ใหน้ ําออกใช้ สมัยรชั กาลที่ 4 ในรัชสมัยพระบาทสมเดจ็ พระจอมเกล้าเจา้ อยู่หัว การค้าระหว่าง ไทยกบั ตา่ งประเทศก็ไดข้ ยายตัวขึ้นอย่างรวดเร็ว พอ่ คา้ ชาวต่างประเทศเขา้ มา ค้าขายมากขนึ้ และได้นําเงินเหรียญของตนมาแลกกับเงินพดดว้ งจากรัฐบาล ไทยเพ่อื นําไปซ้ือสนิ คา้ จากราษฎร แตด่ ว้ ยเหตทุ เ่ี งนิ พดด้วงผลิตด้วยมอื จึงทํา ให้มีปรมิ าณไมเ่ พียงพอกบั ความตอ้ งการ ส่งผลใหเ้ กดิ ความไมส่ ะดวกและ การค้าของประเทศเสียประโยชน์ พระองค์จึงมีพระราชดาํ รทิ ี่จะเปลยี่ นรูปเงนิ ตรา ของไทยจากเงินพดด้วงเปน็ เงินเหรยี ญ ในปี พ.ศ. 2400 พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หวั โปรดเกล้าฯ ให้คณะทูตไทยไปเจริญ สมั พันธไมตรกี บั สมเดจ็ พระนางเจ้าวิคตอเรยี ท่ปี ระเทศอังกฤษ สมเด็จพระนางเจา้ วิคตอเรีย ได้จดั สง่ เคร่อื งทาํ เหรยี ญเงนิ ขนาดเล็กเขา้ มาถวาย เป็นราชบรรณาการ พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว จึงโปรดเกลา้ ให้ จดั ทาํ เหรยี ญกษาปณ์จากเครอื่ งจกั รขน้ึ เปน็ ครงั้ แรก เรยี กกนั ว่า \"เหรียญเงนิ บรรณาการ\" ในขณะเดียวกนั คณะทตู ก็ได้ส่ังซอื้ เครื่องจกั รทําเงินจากบรษิ ัท เทเลอร์ เขา้ มาในปลายปี 2401 พระองค์จึงโปรด เกลา้ ให้สรา้ งโรงงานผลติ เหรียญกษาปณข์ ้ึนที่หนา้ พระคลงั มหาสมบตั ิ ในพระบรมมหาราชวงั พระราชทานนาม วา่ \"โรงกระสาปณ์สทิ ธิการ\" ในสมัยน้จี ึงถือวา่ มกี ารใช้เหรียญกษาปณ์แบบสากลนยิ มข้ึนเปน็ คร้ังแรก ต่อมาแม้ ไดป้ ระกาศให้ใชเ้ งินตราแบบเหรยี ญแล้วก็ยังโปรดเกล้าฯ ใหใ้ ชเ้ งินพดดว้ งอยเู่ พียงแต่ไม่มีการผลิตเพ่ิมเติม จนกระทง่ั รัชสมยั พระบาทสมเดจ็ พระจุลจอมเกลา้ เจา้ อยหู่ ัว หลงั จากท่ีมกี ารนาํ ธนบตั รออกใชแ้ ลว้ จงึ ทรงพระ กรุณาโปรดเกล้าฯ ใหเ้ สนาบดกี ระทรวงพระคลงั มหาสมบัติ ออกประกาศให้เลิกใชเ้ งนิ พดด้วงทกุ ชนดิ ตัง้ แต่ วันที่ 28 ตุลาคม 2447 เปน็ ตน้ มา

สมัยรชั กาลที่ 5 ในรชั สมยั พระบาทสมเดจ็ พระจุลจอมเกลา้ เจ้าอยูห่ วั ไดม้ กี าร เปล่ยี นแปลงทางการเงนิ ทีส่ าํ คัญ พระองค์มีพระราชดาํ รวิ า่ มาตราของไทยทีใ่ ช้ อยู่ในขณะนั้น คือ ชงั่ ตําลึง บาท สลงึ เฟอื้ ง เปน็ ระบบท่ียากตอ่ การ คํานวณ และการจัดทาํ บัญชี จึงทรงพระกรุณาโปรดเกลา้ ฯ ให้ปรับปรุงใหม่ โดยใชห้ น่วยเปน็ บาท และสตางค์ คอื 100 สตางค์ เปน็ 1 บาท ตง้ั แต่ พ.ศ. 2441 อนั เปน็ มาตราเงนิ ตราไทยมาจนถงึ ปัจจบุ ัน นอกจากนย้ี ังมกี าร เปลี่ยนแปลงท่ีสาํ คัญอีกอย่างหนง่ึ คือ ทรงพระกรณุ าโปรดเกล้าฯ ใหน้ ําพระ บรมรูปของพระองค์ประทับลงบนเหรยี ญ ซ่งึ นับเป็นครั้งแรกทีม่ ีการนําพระบรมรปู ของพระมหากษตั ริยไ์ ทย ประทบั ลงบนเหรยี ญกษาปณ์ สมัยรชั กาลที่ 6 ในรชั สมยั พระบาทสมเดจ็ พระมงกฎุ เกลา้ เจา้ อยู่หวั พระบาทสมเด็จพระ ปกเกลา้ เจ้าอยหู่ วั และพระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยูห่ วั อานันทมหดิ ล มกี ารผลติ เหรยี ญ กษาปณ์ออกใชแ้ ตไ่ ม่มี การเปลี่ยนแปลงรูปแบบมากนกั สว่ นใหญ่เปน็ เหรยี ญกษาปณ์ ท่ีมีราคาไมส่ งู นกั คอื 1 บาท, 50 สตางค์, 25 สตางค์, 10 สตางค์, 5 สตางค์, และ 1 สตางค์ ในช่วงตน้ รชั กาลยงั คงใช้เหรยี ญทผ่ี ลติ ในรัชกาลท่ี 5 ต่อมาในปี พ.ศ. 2456 จึงโปรดเกลา้ ฯให้ ผลิตเหรยี ญเงนิ หนึง่ บาทประจํารชั กาล เปน็ เหรยี ญตราพระบรมรูป-ไอราพต สมยั รชั กาลที่ 7 ในรัชกาลนีม้ กี ารผลติ เหรยี ญหมนุ เวยี นออกใชไ้ มม่ ากนัก เนือ่ งจากอย่ใู น ภาวะเศรษฐกจิ ตกตํา่ เหรียญประจํารชั กาลท่ีนาํ ออกใช้เปน็ เหรียญชนิดราคา 50 และ 25 สตางค์ ตราพระบรมรปู -ชา้ งทรงเครอ่ื ง

สมยั รัชกาลท่ี 8 เหรยี ญประจํารัชกาลที่ผลติ ออกใชห้ มนุ เวียน เปน็ เหรียญตราพระ บรมรปู -พระครฑุ พ่าห์ ชนิดราคา 50, 25, 10 และ 5 สตางค์ มี 2 รนุ่ คือ รุ่นแรกมีพระบรมรปู เม่อื ครั้นเจริญพระชนมพรรษา สมยั รชั กาลที่ 9 เหรยี ญกษาปณห์ มนุ เวยี นที่ใชใ้ นรชั กาลปจั จุบนั มี 8 ชนดิ ราคา คอื 1 สตางค์ 5 สตางค์ 10 สตางค์ 25 สตางค์ 50 สตางค์ 1 บาท 5 บาท และ 10 บาท นอกจากนี้ยงั มีการจัดทาํ เหรียญกษาปณท์ ี่ระลกึ เพ่อื บันทกึ เหตุการณ์สําคญั อันเก่ียวเนื่องกับ สถาบนั ชาติ ศาสนา พระมหากษตั รยิ ์ และหน่วยงานตา่ ง ๆ โดยผลติ ทัง้ เหรียญประเภทธรรมดาและเหรยี ญ ประเภทขัดเงา

เงนิ ตราสยาม เงนิ ตราสยาม มคี วามหลากหลายในรปู พรรณและสัณฐาน มีความเป็นเอกลักษณข์ องชาติ ไทย และมีประวัตคิ วามเปน็ มาทีน่ า่ สนใจยิง่ ววิ ัฒนาการของเงนิ ตราไทยจึงย้อนอดตี ไป ตง้ั แตส่ มัยก่อนท่ี มนษุ ย์จะรจู้ ักใชเ้ งนิ ตรา และมกี ารนาํ ส่ิงของตา่ งๆมาใชแ้ ทนเงินตรา เชน่ เปลือกหอย ลูกปัด กําไล หนิ ขวาน หนิ เปน็ ตน้ โดยนาํ มาใชเ้ ป็นสอื่ กลางสําหรบั การแลกเปลย่ี น เงนิ ตราในยุคแรกเร่มิ ไดม้ กี ารขุดพบเงนิ ตราในยคุ แรกเริ่ม ในบรเิ วณท่ตี งั้ ของประเทศไทยในปจั จุบัน ได้แก่ เหรียญเงนิ ฟูนัน ทวารวดี และศรีวิชัย ( เงินนโม และ เงินดอกจนั ทน์ ) นอกจากน้ยี ังมเี งินภาคเหนือและภาค ตะวันออกเฉยี งเหนอื คอื เงินลา้ นนา ( เงินเจียง เงินใบไม้ เงนิ ผกั ชี และเงินท๊อก ) และเงนิ ชา้ ง ( เงินฮาง เงนิ ฮอ้ ย เงนิ ลาด และเงินลาดฮ้อย ) เงินตราเหล่าน้เี ป็นเงินตราก่อนมกี ารต้ังรฐั ไทย จากลักษณะของลวดลาย บนเงนิ ตรา แสดงใหเ้ หน็ ว่าชมุ ชนทอ่ี าศยั อยู่บรเิ วณน้ไี ด้รับอิทธิพลจากจนี บ้าง อินเดยี บ้าง เงินพดดว้ ง สมยั กรุงสุโขทยั ได้มีการผลติ เงนิ พดด้วงข้นึ ใช้ จงึ ถอื ไดว้ า่ “ เงินพดดว้ ง” เป็น เงนิ ตราของไทยโดยแท้ โดยมีเอกลักษณไ์ ม่ซาํ้ แบบใคร และใช้แลกเปลย่ี นหมุนเวียนในประเทศไทยเป็นเวลา ยาวนานที่สดุ ประมาณกว่า 600ปี ตั้งแต่กรงุ สุโขทยั อยธุ ยาจนถึง กรงุ รัตนโกสินทรต์ อนต้น ในสมัยรัชกาลท่ี 5เงินพดดว้ งผลิตดว้ ยมอื โดยทาํ จากแทง่ เงินบริสทุ ธิ์ ทุบปลายทงั้ สองข้างใหง้ อเขา้ หากนั มีรปู ร่างคลา้ ยลูกปืน โบราณ ชาวตา่ งประเทศเรียกเงนิ ชนดิ นว้ี า่ “Bullet Coin” ในสมยั สโุ ขทยั ยงั ไมม่ กี ารผูกขาดการผลิต เงิน พดด้วง จึงมีความหลากหลายในเนื้อเงินที่ใชท้ ํา ตลอดจนน้ําหนักและขนาด ในสมัยกรงุ ศรีอยธุ ยา ทางการจึง หา้ มราษฎรผลติ เงนิ ตราข้ึนเอง เงินพดด้วงจึงได้มาตรฐาน และมตี ราประทบั 2 ดวงเป็นสําคญั คือ ตราประจาํ แผ่นดนิ และตราประจาํ รัชกาล เงินพดด้วงใช้หมนุ เวยี นอยู่เปน็ ระยะเวลายาวนาน จนถงึ ในสมยั พระบาทสมเด็จ พระจอมเกล้าเจา้ อยู่หวั จงึ เลิกผลติ หลังจากได้ทําสญั ญาทางพระราชไมตรีและการค้า เน่อื งจากการคา้ กับ ตา่ งประเทศขยายตัวอย่างรวดเรว็ การผลิตเงินพดด้วงดว้ ยมอื จงึ ไมท่ นั กับความตอ้ งการ พระบาทสมเดจ็ พระ จอมเกลา้ เจา้ อยู่หวั จึงทรงมีพระราชดาํ ริ ท่จี ะใชเ้ คร่ืองจกั รผลติ แทน เพ่อื ความรวดเรว็ ทางการค้า ทรงขอใหค้ ณะ ทูตท่กี ําลงั จะเดนิ ทางไปเฝา้ สมเด็จพระนางเจ้าวิคตอเรยี ทก่ี รงุ ลอนดอน ตดิ ตอ่ ซื้อเครื่องจกั รเพอ่ื นาํ มาใชใ้ นการ ผลิตเงนิ จาก บริษทั เทเลอรแ์ ละชาลเลน ( Taylor & Challen Limited , Birmingham ) และ ทรงโปรดเกล้าฯใหส้ ร้างโรงงานขึ้นทีห่ น้าพระคลงั มหาสมบตั ิ ซ่ึงอยู่ในพระบรมมหาราชวัง เม่อื พ.ศ. 2400 มีช่อื เรียกวา่ “ โรงกษาปณส์ ทิ ธกิ าร

เหรยี ญกษาปณ์ไทย มีการผลติ เหรยี ญกษาปณร์ ูปทรงแบนตามสมยั นยิ มขนึ้ แทนเงินพดดว้ ง ในสมยั รชั กาลที่ 5 มีการทําเหรยี ญกษาปณต์ ราพระเกี้ยวออกใช้ เหรยี ญท่ีสําคญั ได้แก่ เหรยี ญเงนิ ตราพระแสงจกั ร - พระมหา มงกุฎ พระเต้า ซึง่ เป็นเหรียญแบนร่นุ แรก ผลติ ขน้ึ ในสมยั รัชกาลที่ 5 เหรียญเงนิ บรรณาการ ผลิตจาก เครื่องจักรทส่ี มเด็จพระนางเจ้า วคิ ตอเรยี ถวายเปน็ ราชบรรณาการ เหรยี ญอฐั โสฬส ผลิตเพื่อใช้เป็นเงินปลกี แทนเบีย้ หอย เหรียญนิกเกลิ ผลติ ออกใช้ในสมัยรัชกาลท่ี 5 หลังจากท่ีไดท้ รงปรับปรงุ หน่วยเงินจาก ชงั่ ตําลงึ บาท มาเป็น บาท และ สตางค์ เปน็ ตน้ จนกระท่ังถงึ เหรยี ญกษาปณ์ ท่ีใชอ้ ยู่ในยุคปจั จุบนั น้ี สรปุ ได้ วา่ ในสมยั รัชกาลที่ 5 มกี ารผลิตเหรียญกษาปณ์ ทง้ั ชนิดทใ่ี ช้เป็นเงินทุนหมนุ เวยี น และชนิดทเ่ี ป็นเหรยี ญที่ ระลึกออกมาใช้มากทสี่ ุด เนอ่ื งจากพระองค์ทรงครองราชย์นานถึง 42 ปี เหรยี ญกษาปณท์ ีผ่ ลิตในรชั กาลท่ี 6,7 และ 8 ส่วนใหญ่ใช้สตางค์ทรี่ ู้จกั กนั ดกี ค็ อื สตางค์มรี ู ชนดิ 10 สตางค์ 5 สตางค์ 1 สตางค์ และครง่ึ สตางค์ และเลิกใชส้ ตางคม์ รี ใู นสมยั รัชกาลที่ 8 นีเ้ อง สมยั รัชกาลที่ 9 มกี ารผลิตเหรียญกษาปณ์ ทงั้ ชนดิ ทีใ่ ช้ หมนุ เวยี น รวมถึงเหรยี ญกษาปณท์ ่ีระลึกตา่ งๆออกมามากมายหลายชนิด และสามารถนาํ มาใชช้ าํ ระหนีไ้ ด้ เชน่ เดยี วกบั เงินหมนุ เวียน เช่น เหรยี ญกษาปณ์ท่ีระลกึ เสดจ็ นิวัติ จากการเสด็จประพาสยโุ รป และอเมริกา ในปี พ.ศ. 2504 และเหรียญอื่นๆอีกมากมาย บทบาทของเหรียญกษาปณเ์ ร่ิมลดลง เมอ่ื การคา้ ขยายตวั ขึน้ จนมีการ รเิ รมิ่ นาํ เงินกระดาษมาใช้ ธนบตั รไทย วิวัฒนาการของการใช้เงินกระดาษ หรอื ท่ีเรียกว่า “ ธนบตั รไทย ” ตั้งแต่ “ หมาย ” “ ใบพระราชทานเงินตรา ” “ อัฐกระดาษ ” “ บตั รธนาคาร ” ซ่ึงมกี ารนาํ ออกมาใช้ครงั้ แรก โดยธนาคารฮ่องกง และเซย่ี งไฮ้ “ตว๋ั เงินกระดาษ ” หรือ “ เงินกระดาษหลวง ” มาจนกระทง่ั ถงึ ธนบัตรทีใ่ ช้กันอยใู่ นปัจจุบันนี้ หลงั จากรัชกาลที่4 ทรงข้ึนครองราชยไ์ มน่ าน ปรากฏว่ามีการทําเงนิ พดด้วงปลอมกันมาก พระองค์จึงทรงโปรด เกลา้ ฯ ให้มกี ารทาํ “ หมาย ” ขึ้นใช้ นับเป็นเงินกระดาษชนดิ แรกของระบบเงนิ ตราไทย ธนบตั รไทยไดม้ ีการ เปลยี่ นแปลง รปู แบบ สี ระบบพมิ พ์ วสั ดุ และเทคนคิ ในการพมิ พม์ าตลอดเวลา ธนบัตรทม่ี ชี ื่อแปลก ๆ เชน่ “ ธนบัตรหนา้ เดียว ” ( แบบหน่งึ พิมพ์หน้าเดยี ว ) “ ธนบัตรแบบไถนา ” (ด้านหลงั เป็นรูปพระราชพธิ จี รด พระนงั คลั แรกนาขวัญ) “ ธนบตั รไวท้ ุกข์ ” ( แบบพิมพ์ซ่ึงเตรียมไว้ใชใ้ น 4 รฐั มลายู ชนดิ ราคาหนงึ่ ดอลลาร์ และนํามาแกเ้ ป็นชนดิ ราคา 50 บาท โดยใช้หมกึ ดาํ และ แดง พิมพท์ บั อักษรจีนและมลายู ) “ ธนบตั รแบบ บุก ” หรือ “ Invasion Note ” ( ทางการของทหารอังกฤษจัดพมิ พข์ น้ึ เพ่ือเตรยี มไวใ้ ชจ้ ่ายหาก สามารถบุกเข้ายึดพนื้ ท่ีในประเทศไทยได้ )

ธนบตั รแบบต่างๆท่ีมีการจดั พมิ พ์ ธนบัตรรฐั บาลสยามแบบท่ีหนึง่ เปน็ ธนบัตรแบบแรกของประเทศไทย ประกาศใช้ ตั้งแต่ พ.ศ. 2445 - 2468 ธนบตั รรฐั บาลสยามแบบท่สี อง ประกาศใชต้ ้งั แต่ พ.ศ.2468 - 2471 ธนบตั รรฐั บาลสยามแบบทสี่ าม ประกาศใช้สมัยรัชกาลท่ี 7 กําหนดให้มีตราพระบรม ฉายาลกั ษณข์ องพระบาทสมเดจ็ พระเจ้าอยหู่ ัว พมิ พ์ลงในธนบัตรเป็นครงั้ แรก ธนบัตรรัฐบาลสยามแบบทส่ี ่ี พิมพ์ออกใช้ในสมัยรัชกาลที่ 8 มี 5 ชนดิ คอื ราคา 1 บาท ( สฟี ้า ) 5 บาท ( สีม่วง ) 10 บาท ( สนี ้าํ ตาล ) 20 บาท ( สเี ขียวใบไม้ ) และ 1000 บาท ( สี แดงเข้ม ) ธนบัตรรัฐบาลสยามแบบทห่ี ้า (รนุ่ นายเล้ง ทา่ ฉาง) ธนบตั รรุน่ นพ้ี มิ พใ์ นประเทศ ญปี่ ุ่น โดยขนส่งมาทางเรอื แล้วขนขึ้นทท่ี า่ เรือสงิ คโปร์ ลําเลียงมาทางรถไฟเพอื่ เขา้ กรุงเทพ ขณะทเี่ ดินทาง มาถึงสถานที ่าฉาง จงั หวดั สุราษฎร์ธานี ไดถ้ กู คนรา้ ยถีบหบี ธนบัตรจากตูร้ ถไฟ ซง่ึ เปน็ ธนบัตรชนดิ ราคา 5 บาท 10 บาท 20 บาท และ 100 บาท เหตุเกดิ เมื่อ วนั ที่ 24 สงิ หาคม พ.ศ. 2488 ซึง่ ชาวบา้ นเรยี ก ธนบตั รรนุ่ นว้ี ่า “ ธนบตั รไทยถบี ” หรือ “ ธนบตั รรนุ่ นายเล้งทา่ ฉาง ” เพราะปลอมลายมอื ของ นายเลง้ ศรี สมวงศ์ ซ่ึงเปน็ รฐั มนตรีวา่ การกระทรวงการคลังในขณะนั้น สว่ น “ ทา่ ฉาง ”เปน็ ชือ่ สถานทท่ี ่คี นรา้ ยถีบหีบ ธนบตั รลงมา รวมเปน็ จํานวนเงินมูลคา่ ทงั้ สิ้น 8,146,800 มาท ธนบัตรแบบทห่ี ก มี 2 ชนดิ ราคา คือ 20 บาทและ 100 บาท รูปพรรณของธนบตั ร เหมอื นแบบท่ีส่ี ธนบัตรแบบที่เจด็ เปน็ ธนบัตรทีพ่ มิ พ์ใชเ้ องเหมือนแบบท่ีส่แี ละแบบทห่ี ก ธนบตั รแบบที่แปด มี 5 ราคาด้วยกัน คือ1 บาท 5 บาท 10 , 20 และ 100 บาท ธนบัตรแบบทเี่ ก้า เปน็ ธนบตั รทใ่ี ชก้ ันนานมากคอื ต้งั แต่ พ.ศ. 2491- 2522 ธนบัตรแบบทีส่ ิบ จัดพมิ พโ์ ดย บริษัทโทมัส เดอ ลารู เปน็ ธนบัตรท่ีพมิ พ์โดย บริษัทต่างประเทศรุ่นสดุ ทา้ ย หลังจากนนั้ กจ็ ัดพมิ พ์ในประเทศไทยทงั้ หมด ธนบัตรแบบทีส่ ิบเอด็ ได้มีการจดั ตัง้ โรงพมิ พ์ธนบัตรข้นึ เปน็ คร้ังแรกในประเทศไทย เมอื่ ปี พ.ศ. 2512 เป็นธนบตั รรุน่ แรกทจ่ี ดั พมิ พโ์ ดยโรงพิมพ์ธนบตั รไทย ดาํ เนินการโดยธนาคารแหง่ ประเทศ ไทย ผู้ออกแบบธนบัตรเปน็ ชา่ งชาวอิตาเลยี น ธนบัตรโพลเิ มอร์ เป็นเงินพลาสติกท่ีธนาคารแหง่ ประเทศไทยใชแ้ ทนธนบตั รกระดาษ เป็นครงั้ แรก จัดพมิ พ์เน่ืองในมหามงคลวโรกาสท่ี พระบาทสมเด็จพระเจา้ อยู่หวั ภมู ิพลอดลุ ยเดชมหาราช ทรง ครองสริ ิราชสมบัติครบ 50 ปี ในปี พ.ศ. 2539 โดยธนาคารแหง่ ประเทศไทย ไดจ้ ดั พิมพธ์ นบตั รทร่ี ะลกึ ราคา 500 บาท แบบพเิ ศษ ( โพลเิ มอร์ ) จาํ นวน1 ล้านฉบับ เมื่อวันที่ 9 กรกฎาคม พ.ศ. 2539 ซึ่งสามารถใช้ ชําระหนไี้ ด้ตามกฎหมาย เช่นเดียวกบั เงนิ หมุนเวียน และในวันท่ี 3 ธันวาคม พ.ศ. 2539 ไดอ้ อกใช้ธนบตั รที่ ระลึก ชนิดราคา 50 บาท แบบพิเศษ ( โพลเิ มอร์ ) จํานวน 100 ล้านฉบบั

เหรยี ญทองคาํ รชั กาลท่ี 4 ทรงมพี ระราชดําริ จดั ทําเหรียญทองคําข้ึนควบคู่ไปกบั เหรยี ญเงิน จงึ ทรงมี ประกาศความวา่ \" … ตามอย่างเมอื งอ่ืนท่ีเปน็ เมืองแผ่นดินใหญๆ่ นนั้ หลายเมืองเม่ือทองคํามมี ากขน้ึ ผู้ครอง แผน่ ดินเมอื งนัน้ ๆก็คดิ ทาํ เป็นเหรียญทองมีตราหลวงเปน็ สําคญั ให้ราษฎรใช้ในการกําหนดราคาน้ันๆ ไมต่ อ้ ง เกีย่ งน้าํ หนักแลเนอื้ ทองตรี าคากนั ผใู้ ดได้ทองตราทองเหรยี ญไป เม่อื ต้องการเงนิ มาขอข้ึนเงนิ ตอ่ คลงั หลวง ฤาเศรษฐีเจา้ ทรพั ยก์ ไ็ ด้ ตามกําหนดซง่ึ พิกัดไว้ … \" จงึ เกดิ คําวา่ \" ทองตรา \" ขึน้ เหรยี ญทองคําท่ีไดจ้ ัดทํา ขน้ึ ตามพระราชดําริของรัชกาลที่ 4 มี 3 ขนาด ขนาดใหญ่ ราคา 8 บาท เทยี บเทา่ กับ เหรียญทองปอนด์ สเตอร์ลิงก์ เรียกวา่ \" ทศ \" ขนาดกลางราคา 4 บาท เรียกว่า \" พศิ \" ส่วนขนาดเลก็ ราคาสบิ สลงึ เรยี กวา่ \" พัดดึงส์ \" เทียบเท่า 1 ตําลึงจนี ในสมัยตอ่ มา มกี ารจดั ทําเหรยี ญทองคําท่ีระลกึ และเหรยี ญท่ีระลกึ ทจ่ี ดั ทาํ ขน้ึ ในโอกาสพิเศษต่างๆ เชน่ เหรยี ญทรี่ ะลกึ พระราชพธิ มี หามงคลเฉลมิ พระชนมพรรษา 5 รอบ พระบาทสมเด็จ พระปรมนิ ทรมหาภูมพิ ลอดุลยเดช ท่ีระลึกเนอื่ งใน มหามงคลสมยั พระราชพิธีรัชมังคลาภิเษก รวมถึงเหรียญท่ี ระลึก พระราชพธิ ีมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา 5 รอบ สมเดจ็ พระนางเจ้าพระบรมราชนิ ีนาถ เป็นตน้ ข้อมลู จาก สาํ นักหอสมุดกลาง ม.รามคาํ แหง


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook