Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore คู่มือการใช้สมุนไพรไทย-จีน

คู่มือการใช้สมุนไพรไทย-จีน

Description: คู่มือการใช้สมุนไพรไทย-จีน

Search

Read the Text Version

Page 101 คูมือการใชสมนุ ไพรไทย-จีน 91 วิธีที่ 2 คนทีสอผัด เตรียมโดยนาํ ตัวยาที่ไดจากวิธีที่ 1 ใสกระทะ นาํ ไปผัดโดยใชไฟระดับ ปานกลาง ผัดจนกระท่งั ผิวดานนอกสเี ขม ข้นึ นําออกจากเตา รอนเอากานผลและเยอื่ บาง ๆ สีขาวออก ตงั้ ทงิ้ ไวใหเยน็ ทุบใหแตกกอ นใช1 ,3 คุณภาพของตวั ยาจากลักษณะภายนอก: ตวั ยาทม่ี ีคณุ ภาพดี ผลตองมีขนาดใหญ มีเนอื้ มาก กลน่ิ หอม และปราศจากสงิ่ ปนปลอม4 สรรพคุณตามตาํ ราการแพทยแ ผนจีน: คนทสี อ รสเผด็ ขม เย็นเล็กนอย มีฤทธิ์ผอ นคลาย กระจายความรอ น ใชแ กหวัดจากการ กระทบลมรอน ปวดศีรษะ อาการผิดปกติตาง ๆ จากศีรษะ และมฤี ทธ์ริ ะบายความรอ นของศีรษะและตา ใชแกอ าการตาแดง บวม ปวดตา ตาลาย นา้ํ ตามาก1 คนทีสอผดั จะทาํ ใหร สเผ็ดของยาลดลง มฤี ทธิ์ระบายความรอ นในระดับช่ี ระงบั ปวด ใชร กั ษา อาการตาและหสู ูญเสียความสามารถ โรคไมเกรน3 สรรพคุณตามตําราการแพทยแผนไทย: 5 คนทสี อ รสเผ็ดรอน สรรพคุณ แกพ ยาธิ แกฟกบวม แกเสมหะ แกล ม แกรดิ สดี วงคอ ขนาดท่ีใชแ ละวธิ ีใช: การแพทยแผนจนี ใช 5-9 กรมั ตม เอานํา้ ด่ืม1 ขอมลู วชิ าการทเ่ี กย่ี วขอ ง: 1. มีรายงานวาสารสกัดน้ํามีฤทธิ์ฆาเชื้อจุลินทรียหลายชนิด เชน Staphylococcus aureus, Typhoid bacillus 6 ในหลอดทดลอง 2. สารสกดั น้าํ และสาร γ-aminobutyric acid ซึง่ แยกไดจากผลคนทสี อ แสดงฤทธ์ิลดความดัน โลหติ ในกระตา ย6 3. เมือ่ ใหส ารสกดั 70% เมทานอลทางปากหนถู บี จักรในขนาด 300, 500 มลิ ลกิ รัม/กโิ ลกรัม พบวา แสดงฤทธริ์ ะงบั ปวด และสารสกัดเมทานอลขนาด 300, 500, 1000 มลิ ลกิ รัม/กโิ ลกรมั แสดงฤทธ์ิ ตา นการอักเสบในหนูถบี จักรเมื่อใหโดยวธิ รี ับประทาน6 เอกสารอางอิง 1. The State Pharmacopoeia Commission of P.R. China. Pharmacopoeia of the People’s Republic of China. Vol.I. English Edition. Beijing: People’s Medical Publishing House, 2005. 2. ลีนา ผพู ัฒนพงศ, กองกานดา ชยามฤต, ธรี วัฒน บุญทวคี ุณ (คณะบรรณาธกิ าร). ชอ่ื พรรณไมแ หง ประเทศไทย (เต็ม สมติ ินนั ทน ฉบับแกไขเพมิ่ เตมิ พ.ศ. 2544). สาํ นักวชิ าการปา ไม. กรมปา ไม. พมิ พครัง้ ที่ 2. กรงุ เทพมหานคร : บรษิ ัท ประชาชน จาํ กัด, 2544. 3. Gong QF. Zhongyao Paozhi Xue. 2nd ed. Beijing: National Chinese Traditional Medicine Publishing House, 2003.

Page 102 92 กรมพัฒนาการแพทยแผนไทยและการแพทยทางเลือก 4. Liu TS, Pan QP, Zhou YS, Wu ZY. XiuZhen Zhongyaoyinpian Caise Tuben. 1st ed. Hunan: Hunan Science & Technology Publishing House, 2006. 5. วฒุ ิ วฒุ ิธรรมเวช. คัมภีรเภสัชรตั นโกสินทร. กรงุ เทพมหานคร : บริษทั ศิลปสยามบรรจภุ ัณฑและการพิมพ จํากัด, 2547. 6. Li CZ, Ma JK. Fructus Viticis: man jing zi. In: Wang BX, Ma JK, Zheng WL, Qu SY, Li R, Li YK (eds.). Modern study of pharmacology in traditional Chinese medicine. 2nd ed. Tianjin: Tianjin Science & Technology Press, 1999.

Page 103 คูมอื การใชส มุนไพรไทย-จีน 93 เฉากวย: Caoguo (草果) เฉากวย หรือ เฉาก่ัว คือ ผลสุกท่ีทําใหแหงของพืชท่ีมีชื่อวิทยาศาสตรวา Amomum tsaoko Crevost et Lemaire วงศ Zingiberaceae1 เฉากวย (Fructus Tsaoko) 1 เซนติเมตร ชื่อไทย: เฉากวย ช่ือจีน: เฉาก่ัว (จีนกลาง), เฉากวย (จีนแตจ๋ิว)1 ช่ืออังกฤษ: Caoguo1 ชื่อเคร่ืองยา: Fructus Tsaoko1 การเก็บเกีย่ วและการปฏิบตั หิ ลังการเกบ็ เกี่ยว: เก็บเกีย่ วผลสกุ ในฤดูใบไมรวง คดั แยกสง่ิ ปะปนท้ิง ตากแดดหรอื ทําใหแ หง ทอ่ี ณุ หภูมติ ่ํา เก็บ รักษาไวใ นทมี่ ีอากาศเย็นและแหง มีการระบายอากาศดี1 การเตรียมตัวยาพรอมใช: การเตรียมตัวยาพรอ มใชม ี 2 วธิ ี ดังน้ี วิธที ่ี 1 เฉากว ย เตรยี มโดยนําวัตถุดิบสมุนไพรมาผัดในภาชนะท่เี หมาะสมโดยใชไ ฟแรง ผดั จนกระทง่ั ผวิ นอกมีสีเหลอื งไหมแ ละพองตวั นาํ ออกจากเตา แลว ต้ังทิง้ ไวใ หเ ย็น กะเทาะเอาเปลือกออก ใช เฉพาะสวนเน้อื ใน ทบุ ใหแตกกอนใช2 ,3 วธิ ีที่ 2 เฉากวยผัดนาํ้ ขิง เตรียมโดยนาํ ตัวยาที่ไดจากวิธีท่ี 1 ใสในภาชนะทเี่ หมาะสม เติมน้ํา คัน้ ขงิ สด ตัง้ ท้งิ ไวใ หน ้าํ ขงิ สดแทรกซึมเขาเน้อื ในตัวยา นําไปผัดโดยใชร ะดบั ไฟปานกลาง ผดั จนกระทงั่ มีสี

Page 104 94 กรมพัฒนาการแพทยแ ผนไทยและการแพทยทางเลือก เหลืองอมน้าํ ตาล นาํ ออกจากเตา แลว ตง้ั ทิ้งไวใ หเ ยน็ ทุบใหแตกกอ นใช (ใชขงิ สด 10 กิโลกรัม ตอ ตัวยา 100 กิโลกรัม)2,3 คุณภาพของตวั ยาจากลักษณะภายนอก: 4 ตวั ยาทม่ี ีคณุ ภาพดี ผลตอ งมีขนาดใหญ เนอ้ื มาก สีนํา้ ตาลแดง กล่นิ หอมฉนุ สรรพคณุ ตามตําราการแพทยแ ผนจีน: เฉากวย รสเผ็ด อุน มีฤทธิ์สลายความช้ืน ขบั ความเย็น แกความเย็นกระทบกระเพาะอาหารและ ลาํ ไส ทําใหป วด จกุ เสยี ด แนน ทอ ง อาเจยี น ทอ งเสีย มีฤทธ์ขิ บั เสมหะ (ขบั ความเยน็ สลายความชืน้ ) และแกไ ขมาลาเรีย1 เฉากวยผัดนาํ้ ขงิ จะเพิม่ ฤทธิ์ใหค วามอบอุนแกก ระเพาะอาหารและระงบั อาเจยี น เหมาะสาํ หรับ ผูป ว ยทีม่ ีอาการปวดทอง จุกเสยี ดแนน ทอ ง อาเจียน3 ขนาดท่ีใชและวธิ ีใช: การแพทยแ ผนจีน ใช 3-6 กรัม ตม เอานาํ้ ด่ืม1 ขอมูลวิชาการท่ีเกย่ี วของ: 1. มีรายงานวาผลเฉากว ยมฤี ทธิช์ วยใหล ําไสเ ลก็ ทอนตน แข็งแรง และชว ยลดกรดในกระเพาะ อาหาร รวมทงั้ มฤี ทธิบ์ รรเทาอาการไอดว ย สารสกดั นํ้าชวยบรรเทาอาการหดตัวอยา งแรงของกลามเนอ้ื ลาํ ไสเล็กทอนปลายท่ีเกิดจากสาร acetylcholine5 2. น้ํามันหอมระเหยจากผลเฉากวยมฤี ทธติ์ า นเชื้อรา โดยมคี า MIC และ MFC ใกลเคียงกนั นอกจากนี้นาํ้ มันดังกลา วยงั มฤี ทธต์ิ า นเช้อื แบคทเี รียดวย5 3. การทดลองทางคลนิ ิก พบวา ผลเฉากว ยเมอ่ื ใชเ ดย่ี วหรือใชผสมกับตัวยาอื่นในตํารับมีสรรพคณุ ตานเชอื้ มาลาเรีย บรรเทาอาการถายอจุ จาระเปน เลือด คลน่ื ไสอ าเจยี นในสตรมี คี รรภ แกทองเสีย ภาวะ ไตลม เหลวชนิดเรือ้ รงั และตับอกั เสบ5 เอกสารอางอิง 1. The State Pharmacopoeia Commission of P.R. China. Pharmacopoeia of the People’s Republic of China. Vol.1. English Edition. Beijing: Chemical Industry Press, 2000. 2. Gong QF. Zhongyao Paozhi Xue. 2nd ed. Beijing: National Chinese Traditional Medicine Publishing House, 2003. 3. Lei GL, Dun BS. Zhongyao Paozhi Jishu Zhinan. 1st ed. Xi-an: World Library Publishing House, 2002. 4. Liu TS, Pan QP, Zhou YS, Wu ZY. XiuZhen Zhongyaoyinpian Caise Tuben. 1st ed. Hunan: Hunan Science & Technology Publishing House, 2006. 5. Deng JG, Wei SJ. Genuine and well-reputed medicinal materials in Guangxi. 1st ed. Beijing: Zhongguo Zhongyi Yao Publishing House, 2007.

Page 105 คมู ือการใชส มนุ ไพรไทย-จีน 95 ชะเอมเทศ: Gancao (甘草) ชะเอมเทศ หรอื กนั เฉา คอื รากแหง ของพชื ที่มชี ่ือวิทยาศาสตรวา Glycyrrhiza uralensis Fischer หรอื G. inflata Bat. หรือ G. glabra L. วงศ Leguminosae-Papilionoideae1 2 เซนติเมตร 2 เซนตเิ มตร ชะเอมเทศ (Radix Glycyrrhizae) ชะเอมเทศผัดนํ้าผึ้ง (Radix Glycyrrhizae Preparata) ชื่อไทย: ชะเอมจีน, ชะเอมเทศ, ชะเอมขาไก (ภาคกลาง)2,3 ชื่อจีน: กนั เฉา (จีนกลาง), กําเชา (จนี แตจ๋ิว)1 ชอ่ื องั กฤษ: Liquorice Root1 ชอื่ เคร่อื งยา: Radix Glycyrrhizae1 การเก็บเก่ียวและการปฏบิ ัตหิ ลังการเก็บเก่ียว: เก็บเกย่ี วรากและเหงาในฤดูใบไมผ ลแิ ละฤดใู บไมร ว ง แยกเอารากแขนงออก ตากแดดใหแ หง เก็บรักษาไวใ นที่มีอากาศเย็นและแหง มีการระบายอากาศดี1 การเตรยี มตวั ยาพรอ มใช: การเตรยี มตวั ยาพรอมใชม ี 2 วธิ ี ดงั น้ี วิธีที่ 1 ชะเอมเทศ เตรยี มโดยนําวตั ถดุ ิบสมุนไพรที่ได มาลางดว ยนาํ้ สะอาด ใสภาชนะปด ฝาไว เพือ่ ใหออ นนมุ ห่ันเปน แวนหนา ๆ และนําไปทาํ ใหแหง1,4,5 วธิ ที ี่ 2 ชะเอมเทศผดั นา้ํ ผึง้ เตรยี มโดยนาํ นาํ้ ผงึ้ บรสิ ทุ ธิม์ าเจือจางดวยน้ําตมในปริมาณทเี่ หมาะสม ใสตวั ยาทไ่ี ดจ ากวธิ ที ่ี 1 แลว คลุกใหเ ขา กัน หมักไวส กั ครเู พือ่ ใหนํา้ ผึ้งซึมเขาในตวั ยา จากนน้ั นําไปผดั ใน กระทะโดยใชระดบั ไฟปานกลาง ผัดจนกระท่ังมสี เี หลืองเขม และไมเหนยี วตดิ มือ นาํ ออกจากเตา แลว ตงั้ ทิ้งไวใ หเยน็ (ใชน าํ้ ผงึ้ บรสิ ทุ ธิ์ 25 กโิ ลกรมั ตอ ตัวยา 100 กโิ ลกรมั )1,4,5

Page 106 96 กรมพัฒนาการแพทยแผนไทยและการแพทยทางเลอื ก คุณภาพของตวั ยาจากลักษณะภายนอก: ตวั ยาทมี่ ีคุณภาพดี ผวิ นอกตองมสี นี า้ํ ตาลแดง มีคณุ สมบตั ิแข็งและเหนยี ว ดานหนาตัดสขี าว อมเหลือง มแี ปงมาก และมรี สหวาน6 สรรพคุณตามตําราการแพทยแ ผนจีน: ชะเอมเทศ รสอมหวาน สุขมุ คอ นขา งเย็นเล็กนอ ย มสี รรพคุณระบายความรอ น ขบั พิษ ปองกัน และรกั ษาแผลในกระเพาะอาหาร ชว ยยอ ยอาหาร แกไอ ขับเสมหะ ทําใหช ุมคอ แกอาการใจส่นั แก ลมชกั โดยทั่วไปมักใชเ ขาในยาตาํ รบั รกั ษาอาการไอมเี สมหะมาก พิษจากฝแ ผล คอบวมอกั เสบ หรอื พษิ 5,7 จากยาและอาหาร โดยสามารถชว ยระบายความรอ นและขบั พิษได ชะเอมเทศผดั นาํ้ ผึ้ง รสอมหวาน อนุ มีสรรพคณุ บํารุงมา มและกระเพาะอาหาร เสริมช่ี ทําใหการ เตนของชีพจรมีแรงและกลบั คืนสภาพปกติ โดยท่ัวไปมักใชเขาในตาํ รับยารกั ษาอาการมามและกระเพาะ อาหารออนเพลยี ไมมแี รง ชขี่ องหัวใจพรอ ง ปวดทอ ง เสน เอ็นและชพี จรตงึ แขง็ ชีพจรเตนไมส มํ่าเสมอ และชพี จรเตนหยุดอยา งมีจงั หวะ5 สรรพคณุ ตามตาํ ราการแพทยแ ผนไทย: ชะเอมเทศ รสหวาน ชุมคอ มสี รรพคณุ แกไอ ขบั เสมหะ ขับเลอื ดเนา บาํ รงุ หัวใจใหช ุม ชืน่ แก กําเดาใหเปน ปกติ ใชสําหรับปรุงแตงรสยาใหรับประทานงาย เปนยาระบายออ น ๆ3,5 ขนาดที่ใชและวิธีใช: การแพทยแ ผนจีน ใชขนาด 1.5-9 กรัม ตม เอานาํ้ ดมื่ 1 ขอ หามใช ขอควรระวัง และอาการขางเคยี ง: หามใชชะเอมเทศในผปู ว ยโรคความดันโลหิตสูง ผปู วยโรคตับแขง็ ผปู ว ยท่ีโลหติ มโี ปแทสเซียม ตาํ่ มากหรอื นอ ยเกินไป หรือผปู วยโรคไตบกพรอ งเร้อื รงั และสตรีมคี รรภ8 ขอมลู วิชาการทเ่ี ก่ยี วของ: 1. การศึกษาเปรยี บเทียบฤทธิ์เสรมิ ภูมคิ ุมกันของชะเอมเทศท่ีผดั นาํ้ ผงึ้ และไมไดผ ัด พบวาฤทธ์ิ เสริมภูมิคมุ กนั ของชะเอมเทศผดั นาํ้ ผ้งึ จะแรงกวาชะเอมเทศไมไ ดผ ดั มาก ดังน้นั ชะเอมเทศผดั นาํ้ ผึง้ จงึ นับเปน ตวั ยาทีม่ ีสรรพคณุ บํารงุ ชที่ ดี่ ที ส่ี ดุ ในทางคลินกิ 5 2. ชะเอมเทศมีฤทธิค์ ลา ยฮอรโ มนคอรตโิ ซน ระงบั ไอ ขบั เสมหะในหนูถีบจักร ลดการเกดิ แผล ในกระเพาะอาหารและบรรเทาอาการบวมอักเสบในหนขู าว แกแ พและเสรมิ ภมู ิตานทานในหนูตะเภา7,9

Page 107 คูมอื การใชสมุนไพรไทย-จีน 97 3. สารสกัดชะเอมเทศดว ยนาํ้ มีฤทธ์ิแกพ ิษของสตรคิ นนี ได และสารสกัดเขมขน สามารถแกพิษ เฉียบพลนั ของแอมโมเนียมคลอไรดไ ด รวมทงั้ สามารถปอ งกนั พษิ เฉียบพลันที่ทาํ ใหถงึ ตายของซลั ไพรินได นอกจากนช้ี ะเอมเทศยงั สามารถลดความเปนพิษของฮสี ตามีน คลอรอลไฮเดรท โคเคน แอซโิ นเบนซอลและ ปรอทไบคลอไรดไ ดอยางเดนชดั และสามารถแกพษิ ปานกลางหรือเลก็ นอ ยตอ คาเฟอีน นโิ คตนิ เปนตน10,11 4. ชะเอมเทศมีสรรพคณุ ระบายความรอ น ขับพษิ แกไอ ขบั เสมหะ โดย ทั่วไปมักใชเ ขาในยา ตํารับรักษาอาการไอมเี สมหะมาก พิษจากฝแผล คอบวมอักเสบ หรือพิษจากยาและอาหาร เปนตน โดย สามารถชวยระบายความรอ นและขบั พษิ ได7,9 5. ชะเอมเทศมีสรรพคุณรกั ษาโรคแผลในกระเพาะอาหารหรอื ลําไสเล็กในระยะเรม่ิ แรก จากการ ศึกษาในผูปวยจาํ นวน 50-200 ราย พบวาไดผลรอ ยละ 90 โดยเฉพาะผูป ว ยรายทมี่ ีอาการปวดเมอ่ื อวยั วะ มีการเคลอ่ื นไหวจะไดผลดี ปกตหิ ลงั รับประทานยาแลว 1-2 สปั ดาห อาการปวดจะหายหรอื ลดลงอยาง เดนชัด อจุ จาระเปนเลือดจะลดลง ชะเอมเทศสามารถรกั ษาแผลที่กระเพาะอาหารไดผลดีกวา แผลท่ีลาํ ไส เลก็ ในระยะเริ่มเปน หลังการรกั ษาแลวตรวจดว ยเอ็กซเรย พบวาแผลหายเรว็ กวา แตร ายทม่ี ีอาการโรคอ่นื แทรกซอ นมักไมไดผล อยางไรก็ตามผลการรกั ษายังไมเปนที่นาพอใจ เพราะคนไขท ่หี ายแลวจาํ นวนกวา คร่ึงเมื่อหยุดยาแลว จะปรากฎอาการข้ึนอกี 9,11 6. ผงชะเอมเทศมีสรรพคุณแกอ าการปส สาวะออกมากผิดปกติ (เบาจืด) จากการรักษาผปู วย โรคเบาจืดทเี่ ปน มานาน 4-9 ป จํานวน 2 ราย โดยใชผงชะเอมเทศ 5 กรมั รบั ประทาน 4 ครั้ง พบวา ไดผ ลในการรกั ษาอยา งมนี ัยสาํ คัญ โดยผูปว ยเมอื่ แรกเขาโรงพยาบาล ระดบั นํ้าเขาออกวนั ละ 8,000 มิลลิลติ ร หลงั จากรบั ประทานยาแลวปสสาวะลดลงเหลือวนั ละ 3,000-4,000 มิลลิลิตร มผี ปู ว ย 1 ราย ปสสาวะลดลงเหลอื 2,000 มลิ ลลิ ิตร9,11 7. ผูปวยวณั โรคปอดที่ไดรับยารักษาวัณโรคแลว ไดผ ลไมนา พอใจหรือมีอาการเลวลง เมอ่ื ให ยาสารสกดั ชะเอมเทศรวมดว ย จะชว ยใหผลการรักษาดีข้นึ สําหรบั ผูปวยที่มนี า้ํ เหลอื งและเย่อื หมุ ปอด อกั เสบ อาการอกั เสบจะหายเร็วขนึ้ ตออาการจุดแผลทปี่ อดและหนองในชองอก ไดผ ลคอ นขา งดแี ละ ชวยยนระยะเวลาในการรักษาดวย ผลการรกั ษาผปู วยวัณโรคปอดจาํ นวนหลายสบิ ราย พบวา เม่ือใหยา ผปู ว ยสว นใหญจ ะมีอาการดีขึ้นหรอื หาย และอตั ราการตกตะกอนของเมด็ เลือดแดงจะลดลง เช้ือวัณโรค จะหายไป ผลจากการตรวจดูดว ยเอ็กซเรย แผลทีป่ อดดีขึ้น อาการปอดช้นื จะหายไป น้ําทข่ี ังในชอ งอก ลดลงจนหายไป รูแผลท่ีปอดทมี่ ีลักษณะเปน เย่ือจะหดเล็กลง เนอื่ งจากชะเอมเทศมสี ารที่มีฤทธ์ิคลา ยกับ สารประเภทอ็อกซีคอรต ิโซน ซงึ่ ลดอาการอกั เสบและทําใหอาการตา ง ๆ ดังกลา วหายเรว็ ข้นึ และมีอาการ

Page 108 98 กรมพัฒนาการแพทยแผนไทยและการแพทยทางเลือก ขา งเคียงคลายกบั สารประเภทอ็อกซีคอรตโิ ซน เชน ทาํ ใหความดันโลหิตสงู ขึน้ ตวั บวมนํ้า บางรายมอี าการ หัวใจเตน ชาลงหรอื เรว็ กวา ปกติ ดังนั้น ผปู วยโรคความดนั โลหิตสงู หรอื การทาํ งานของหวั ใจไมป กติ ไม ควรใชช ะเอมเทศ10,11 8. ผลการรักษาผปู วยโรคหลอดลมอักเสบเร้อื รงั เปนหอบหืด โดยรับประทานผงชะเอมเทศ 5 กรัม หรือสารสกดั ชะเอมเทศ 10 มลิ ลิลิตร วันละ 3 ครัง้ พบวาไดผลดขี ึ้นอยางเดนชดั อาการหอบหืดจะ ดีขึ้นหรือหายไปเปนปกติในเวลา 1-3 วนั เสียงหอบหืดในหลอดลมจะหายไปในเวลา 11 วนั และการ ทํางานของปอดดขี ึ้น มผี ูปวย 1 รายที่มอี าการกลับมาเปนอีก และไดรักษาดว ยชะเอมเทศอีกกไ็ ดผ ล10,11 9. ผลการรักษาผปู วยจาํ นวน 13 รายท่มี อี าการตัวเหลือง โดยใหรบั ประทานสารสกดั ชะเอมเทศ ครงั้ ละ 15-20 มิลลลิ ิตร วนั ละ 3 ครั้ง พบวา อาการตวั เหลืองจะหายเปนปกตใิ นเวลาประมาณ 13 วนั ผูปวยที่มปี รมิ าณน้าํ ดีออกมาในปส สาวะในระดับ 3 จะหายเปนปกตใิ นเวลาประมาณ 10 วัน อาการตบั โตจะลดลงอยางเดน ชัดในเวลาประมาณ 10 วนั และอาการเจบ็ ท่ีตบั จะหายเปนปกติในเวลาประมาณ 8 วัน10,11 10. ชะเอมเทศมีสรรพคุณแกอาการของโรคพยาธิใบไมใ นเลอื ดไดผลดี เนอื่ งจากชะเอมเทศมี ฤทธ์คิ ลา ยสารประเภทออ็ กซคี อรติโซน จงึ สามารถใชแ ทนคอรต ิโซนได ทาํ ใหตอมหมวกไตขับสารออกมา ปกตเิ มอ่ื ใหผ ปู วยรับประทานยาประมาณ 1-2 วัน อาการไขเรมิ่ ลดลง และจะลดลงเปน ปกติในเวลา 5- 10 วัน ขณะเดยี วกนั สภาพท่ัวไปจะดขี ้ึนหรอื หายเปน ปกติ10,11 11. ผลการรกั ษาผปู วยลําไสเ ลก็ บบี ตัวผดิ ปกติจาํ นวน 254 ราย โดยใชส ารสกัดชะเอมเทศ รบั ประทานครั้งละ 10-15 มิลลิลิตร วนั ละ 3 ครัง้ พบวาไดผลอยางเดน ชัดจํานวน 241 ราย (รอ ยละ 94.8) โดยใชร ะยะเวลาในการรกั ษา 3-6 วัน10,11 12. ผลการรักษาผปู ว ยเสน เลอื ดขอดจาํ นวน 8 ราย โดยใหรบั ประทานสารสกัดชะเอมเทศวนั ละ 12-20 มลิ ลลิ ิตร หรอื รับประทานชะเอมเทศ 50 กรมั ตม นาํ้ แบงรบั ประทานกอ นอาหาร 3 ครัง้ พบวา ไดผ ลดี อาการปวดบวมเปนเสนหายไป เนือ่ งจากสารสําคัญในชะเอมเทศสามารถบรรเทาอาการอักเสบ ปวด และเพมิ่ ภูมติ า นทานใหแ กรา งกาย ระงบั การเกิดกลมุ กอนเน้ือ ผปู วยบางรายในระหวางรักษามีอาการ บวมนํา้ เลก็ นอย ความดันโลหิตสูงข้ึน เมือ่ ลดขนาดยาลงแลว อาการเหลา น้จี ะหายไป นอกจากนมี้ รี ายงาน วาหากรับประทานสารสกดั ชะเอมเทศวันละ 15 มิลลิลิตร โดยแบงรบั ประทานเปน 3 ครั้ง พบวาสามารถ รักษาอาการหลอดเลอื ดดําอุดตันและอกั เสบได หลงั รบั ประทานยาแลว 3 สปั ดาห พบวาอาการสวนใหญ จะหายไป ผวิ หนังสีแดงสดใสขนึ้ อนุ ข้นึ ขอ เทา และขอ ตา ง ๆ เคล่ือนไหวไดเปน ปกต1ิ 0,11

Page 109 คมู อื การใชส มนุ ไพรไทย-จนี 99 13. มีรายงานวา เมื่อใชสารละลายดางทบั ทิมในนํ้าในอัตราสว น 1:4,000 ลางชอ งคลอดของ ผปู ว ยกอนแลว ใชสาํ ลีเชด็ ใหแหง จากน้นั ใชส ารสกัดชะเอมเทศทาปากมดลกู พบวาไดผ ลดใี นผูปว ยที่ ปากมดลกู อักเสบระดับปานกลาง ปกตใิ ชเ วลาในการรักษา 2-3 รอบ (แตล ะรอบทา 5 คร้งั ) ผูปวยจะ หายเปน ปกติ ถา อกั เสบจากเชอื้ Trichomonas ก็ตอ งฆาเชื้อใหห มดเช้อื กอ น จงึ มารกั ษาปากมดลกู ท่อี กั เสบ เนา เปอยตอไป10,11 14. ผลการรักษาผปู ว ยผวิ หนังอักเสบจากการสัมผสั จํานวน 12 ราย โดยใชส ารสกัดชะเอมเทศ ดวยนา้ํ ความเขมขน 2% ทาบริเวณที่เปนใหช้ืน ทกุ 2 ชัว่ โมงตอ ครงั้ เวลาทายาแตละคร้งั ใหท านาน 15-20 นาที เปนเวลา 1-4 วัน อาการบวมแดงหายไป นํ้าเหลอื งหยดุ ไหล แผลทีเ่ นา เปอ ยจะหดเล็กลง และใชครมี ซิงคออกไซดหรือคาลาไมนทาตออกี หลายวัน กจ็ ะหายเปนปกติ หรอื ใชชะเอมเทศจํานวน 30 กรัม ตมเอา น้าํ ชะลา งแผลวนั ละคร้งั สามารถรักษาอาการผิวหนงั อักเสบเปนผ่ืนคันจากการแพไดผลดี นอกจากนี้มี รายงานผลการรกั ษาผูป ว ยผวิ หนังบรเิ วณแขนขาแตกเปน ขุยมากจาํ นวน 17 ราย โดยใชส ารสกดั ชะเอมเทศ ซ่ึงเตรยี มโดยใชช ะเอมเทศ 30 กรมั หนั่ เปนแผนบาง ๆ แชใน 75% เอทานอล จํานวน 100 มลิ ลลิ ิตร ทง้ิ ไว 24 ช่วั โมง กรอง สารสกดั ที่ไดน าํ มาผสมกับกลีเซอรีนและนา้ํ จนครบ 100 มลิ ลิลิตร ใชท าบรเิ วณ ที่เปนไดผลเปน ทนี่ า พอใจ10,11 15. มรี ายงานวา ผลการรกั ษาผูป วยทีม่ อี าการเย่อื ตาอกั เสบเปนผ่ืนแดงจํานวน 60 ราย โดยใช สารละลายสารสกัดชะเอมเทศดวยน้ําความเขมขน 10-30% ใชห ยอดตาทุก 1-2 ชั่วโมงตอ ครง้ั ตามอาการ ของโรค หยอดตาวันละ 3-4 ครง้ั พบวาผูปวยจํานวน 56 ราย ท่ีหายเปน ปกติหลงั การรักษา 2-7 วัน และ มีผปู วยจํานวน 2 รายท่ีหยุดยาเร็วเกนิ ไป ทาํ ใหอาการกลบั มาเปนใหมอ ีก นอกจากนย้ี งั มรี ายงานวา ผูปวยท่มี อี าการเย่ือตาเปน ผื่นแดงอักเสบใชยาน้ีเปนเวลา 2-14 วัน อาการปวด แดงจัด และผืน่ แดง ๆ คอย ๆ ลดลงและหายเปนปกติ10,11 16. ชะเอมเทศมพี ิษนอย แตการรับประทานตอเนือ่ งเปน เวลานาน จะทาํ ใหความดันโลหิตสูงขึ้น หรือมีอาการบวม7 การศึกษาพิษเฉียบพลันในหนูถีบจักร พบวา ขนาดของสารสกดั เทยี บเทาผงยาเมื่อ ฉีดเขาใตผวิ หนังทที่ ําใหห นถู ีบจักรตายรอยละ 50 (LD50) มคี า เทา กบั 3.6 กรัม/กิโลกรมั 9 เอกสารอางอิง 1. The State Pharmacopoeia Commission of P.R. China. Pharmacopoeia of the People’s Republic of China. Vol.I. English Edition. Beijing: People’s Medical Publishing House, 2005. 2. ลีนา ผพู ัฒนพงศ, กองกานดา ชยามฤต, ธรี วัฒน บุญทวีคุณ (คณะบรรณาธิการ). ช่อื พรรณไมแหง ประเทศไทย (เตม็ สมิตนิ ันทน ฉบบั แกไ ขเพมิ่ เติม พ.ศ. 2544). สํานักวิชาการปา ไม. กรมปา ไม. พิมพค ร้ังที่ 2. กรุงเทพมหานคร : บรษิ ัท ประชาชน จํากัด, 2544.

Page 110 100 กรมพัฒนาการแพทยแ ผนไทยและการแพทยทางเลอื ก 3. เย็นจิตร เตชะดาํ รงสิน. การพฒั นาสมุนไพรแบบบรู ณาการ. กรุงเทพมหานคร : สํานกั งานกจิ การโรงพมิ พ องคการทหารผา นศกึ ใน พระบรมราชูปถัมภ, 2550. 4. Gong QF. Zhongyao Paozhi Xue. 2nd ed. Beijing: National Chinese Traditional Medicine Publishing House, 2003. 5. Ye DJ, Zhang SC, Huang WL, Pan SH, Gong QF, Chen Q. Processing of traditional Chinese medicine. 7th ed. Shanghai: Publishing House of Shanghai College of Traditional Chinese Medicine, 2001. 6. Liu TS, Pan QP, Zhou YS, Wu ZY. XiuZhen Zhongyaoyinpian Caise Tuben. 1st ed. Hunan: Hunan Science & Technology Publishing House, 2006. 7. ชยันต วเิ ชียรสุนทร, แมน มาส ชวลิต, วเิ ชียร จีรวงศ. คําอธิบายตาํ ราพระโอสถพระนารายณ. พิมพคร้งั ท่ี 2. กรงุ เทพมหานคร : สํานักพิมพอมรนิ ทร, 2548. 8. World Health Organization. WHO monographs on selected medicinal plants. Volume 1. Geneva: World Health Organization, 1999. 9. Bensky D, Gamble A. Chinese herbal medicine: Materia medica. Revised edition. Washington: Eastland Press, 1993. 10. Zhou QL, Wang BX. Radix Glycyrrhizae: gan cao. In: Wang BX, Ma JK, Zheng WL, Qu SY, Li R, Li YK (eds.). Modern study of pharmacology in traditional Chinese medicine. 2nd ed. Tianjin: Tianjin Science & Technology Press, 1999. 11. เย็นจิตร เตชะดํารงสิน. ชะเอมเทศ. วารสารการแพทยแผนไทยและการแพทยทางเลือก 2547; 2 (3): 75-89.

Page 111 คูม อื การใชสมนุ ไพรไทย-จีน 101 ดอกคําฝอย : Honghua (红花) ดอกคําฝอย หรือ หงฮวา คือ ดอกที่ทําใหแหงของพืชท่ีมีช่ือวิทยาศาสตรวา Carthamus tinctorius L. วงศ Compositae1 ดอกคาํ ฝอย (Flos Carthami) 0.5 เซนติเมตร ช่ือไทย: ดอกคาํ ฝอย, ดอกคํา (ภาคเหนือ); ดอกคํา (ทั่วไป); ดอกคํายอง (ลําปาง)2 ชื่อจีน: หงฮวา (จีนกลาง), อั่งฮวย (จีนแตจิ๋ว)1 ชื่ออังกฤษ: Safflower1 ช่ือเครื่องยา: Flos Carthami1 การเก็บเกย่ี วและการปฏบิ ัตหิ ลงั การเก็บเกี่ยว: เก็บเก่ียวดอกในชวงเชาตรูที่มีแดดจัดในฤดูรอนเม่ือวงกลีบดอกเร่ิมเปลี่ยนสีจากสีเหลือง 1 เปนสีแดง ตากแดดหรือตากในท่ีรม เกบ็ รกั ษาไวใ นทมี่ ีอากาศเย็นและแหง มีการระบายอากาศดี การเตรียมตัวยาพรอมใช: นําวัตถุดิบสมุนไพรที่ได มาคัดแยกเอาสิ่งปนปลอมออก แลวรอนเอาเศษเล็ก ๆ ออก3 คุณภาพของตัวยาจากลักษณะภายนอก: ตัวยาที่มีคุณภาพดี ดอกตองละเอียด สีเหลืองแดงสด ไมมีกิ่งกาน คุณสมบัติเหนียวนุม3 สรรพคุณตามตาํ ราการแพทยแผนจีน: ดอกคําฝอย รสเผด็ อุน มฤี ทธิ์ทาํ ใหเลอื ดหมุนเวยี น ทะลวงจงิ ลว่ั แกประจาํ เดอื นไมม า ปวด

Page 112 102 กรมพฒั นาการแพทยแผนไทยและการแพทยทางเลอื ก ประจาํ เดือน ทาํ ใหชี่และเลอื ดหมนุ เวียน ระงบั ปวด และมฤี ทธก์ิ ระจายเลอื ดค่ัง ระงบั ปวด ชวยใหเ ลอื ด หมุนเวียน กระจายเลือดคั่ง ลดบวม ระงบั ปวด แกฟกชา้ํ ชํา้ ใน ปวดบวมจากเลอื ดคง่ั เสน เลือดหวั ใจ ตบี เจ็บ ปวด แนน บริเวณหัวใจ แกผ ่นื แดง เลอื ดค่ังเนื่องจากภาวะรอ น1 สรรพคุณตามตาํ ราการแพทยแ ผนไทย: ดอกคําฝอย รสหวานรอ น สรรพคณุ ขับระดู บํารงุ ประสาท บาํ รุงหัวใจ แกด พี กิ าร ขับเหง่อื ระงบั ประสาท บาํ รงุ โลหติ แกต กเลือด แกไ ขใ นเดก็ แกด ีซาน แกไขขอ อักเสบ แกห วดั นา้ํ มกู ไหล แก ปวดในรอบเดือน4 ขนาดทใี่ ชแ ละวธิ ีใช: การแพทยแผนจนี ใช 3-9 กรัม ตมเอาน้ําด่ืม1 ขอหา มใช ขอ ควรระวัง และอาการขางเคยี ง: การแพทยแผนจีน หา มใชในสตรมี ีครรภ ในกรณที ่ีเลอื ดออกงา ยควรใชด ว ยความระมัดระวงั 1 ขอมูลวิชาการที่เก่ียวขอ ง: 1. เมือ่ ใหสารสกัดแอลกอฮอลท างกระเพาะอาหารหนถู บี จกั รขนาด 500 มลิ ลกิ รัม/กโิ ลกรมั พบวา สารสกดั ดังกลา วแสดงฤทธ์แิ กปวดและลดไข แตเมือ่ ใหสารสกดั นํา้ ทางหลอดเลือดดาํ หนูถีบจักรในขนาด 10 กรัม/กโิ ลกรมั พบวา ไมแ สดงฤทธแ์ิ กปวด5 2. เม่ือใหสารสกัด 50% เมทานอลทางกระเพาะอาหารหนูถีบจักรในขนาด 30 มิลลิกรัม/ กโิ ลกรัม พบวาสารสกดั ดงั กลาวแสดงฤทธติ์ านการอักเสบ5 3. สารสกัดแอลกอฮอลแ สดงฤทธ์ิขยายหลอดเลอื ดหวั ใจในหนตู ะเภาและกระตา ย และสารสกดั น้าํ เม่อื ใหทางชองทองหนถู ีบจักรในขนาด 30 มิลลิกรัม/กโิ ลกรมั พบวา สามารถลดการรวมตัวของเกล็ด เลอื ด และปอ งกนั การสรางลม่ิ เลอื ดขึน้ มาใหมไ ด5 4. สารสกดั แอลกอฮอลแสดงฤทธ์ยิ บั ย้ังการเจรญิ เติบโตของเชื้อ Staphylococcus aureus, Bacillus subtilis, Candida albicans และ Salmonella typhosa ในหลอดทดลอง แตไ มม ผี ลตอเช้อื Escherichia coli และ Shigella dysenteriae5 5. จากการศึกษาพษิ เฉยี บพลันในหนูถีบจักรของสารสกัด 50% แอลกอฮอลจากดอกคําฝอย พบวา คา LD50 มคี ามากกวา 10 กรัม/กิโลกรมั เม่อื ใหโดยการปอ นหรือฉีดเขาใตผวิ หนงั 6

Page 113 คูมอื การใชส มุนไพรไทย-จีน 103 เอกสารอางองิ 1. The State Pharmacopoeia Commission of P.R. China. Pharmacopoeia of the People’s Republic of China. Vol.I. English Edition. Beijing: People’s Medical Publishing House, 2005. 2. ลีนา ผูพ ฒั นพงศ, กองกานดา ชยามฤต, ธีรวฒั น บุญทวีคณุ (คณะบรรณาธกิ าร). ช่อื พรรณไมแ หงประเทศไทย (เตม็ สมิตินนั ทน ฉบบั แกไขเพ่ิมเตมิ พ.ศ. 2544). สาํ นักวิชาการปา ไม. กรมปา ไม. พมิ พครง้ั ที่ 2. กรุงเทพมหานคร : บรษิ ัท ประชาชน จาํ กดั , 2544. 3. Mei XH. Shiyong Zhongyao Paozhi Zhinan. 1st ed. Hubei: Hubei Science & Technology Publishing House, 2005. 4. วุฒิ วฒุ ิธรรมเวช. คัมภีรเ ภสัชรตั นโกสินทร. กรุงเทพมหานคร : บริษัท ศิลปส ยามบรรจภุ ัณฑและการพิมพ จํากัด, 2547. 5. World Health Organization. WHO monographs on selected medicinal plants. Volume 3. Geneva: World Health Organization, 2002. 6. มงคล โมกขะสมิต, กมล สวัสดีมงคล, ประยทุ ธ สาตราวาหะ. การศกึ ษาพษิ ของสมุนไพรไทย. ใน: ปราณี ชวลิตธาํ รง, ทรงพล ชีวะพัฒน, เอมมนัส อตั ตวชิ ญ (คณะบรรณาธิการ). ประมวลผลงานวิจัยดา นพิษวิทยาของสถาบันวิจัยสมุนไพร เลม 1. พิมพค ร้ังท่ี 1. กรมวทิ ยาศาสตรการแพทย กระทรวงสาธารณสุข. กรุงเทพมหานคร : โรงพมิ พก ารศาสนา, 2546.

Page 114 104 กรมพฒั นาการแพทยแผนไทยและการแพทยทางเลือก ดบี วั : Lianzixin (莲子心) ดีบวั หรือ เหลยี นจือ่ ซิน คือ ครรภะ (ยอดออนแรกเกดิ ) ของเมล็ดท่ีแกจดั ทที่ ําใหแหงของพืชที่มี ช่อื วิทยาศาสตรวา Nelumbo nucifera Gaertn. วงศ Nymphaeaceae1 0.5 เซนติเมตร ดีบัว (Plumula Nelumbinis) ชื่อไทย: ดีบัว (ท่ัวไป)2 ชื่อจีน: เหลยี นจ่ือซนิ (จีนกลาง), ไหนจซี้ มิ (จนี แตจิ๋ว)1 ชื่ออังกฤษ: Lotus Plumule1 ช่ือเครื่องยา: Plumula Nelumbinis1 การเกบ็ เก่ยี วและการปฏบิ ตั หิ ลังการเกบ็ เกี่ยว: เก็บฝกแกนาํ มารวมบนลาน แลวใชไมทุบใหลูกบัวแกรวงหลุดจากฝก เอาดีบัวออกจากลูก บัว นําไปตากแดดใหแหง หรือผ่ึงใหแหงในที่รม เกบ็ รักษาไวในทม่ี อี ากาศเย็นและแหง มีการระบาย อากาศดี1,3 การเตรียมตัวยาพรอมใช: นาํ วัตถุดิบสมุนไพรท่ีได มาคัดแยกเอาส่ิงปนปลอมออก แลวรอนเอาเศษเล็ก ๆ ออก3,4 คุณภาพของตัวยาจากลักษณะภายนอก: ตัวยาท่ีมีคุณภาพดี ตองมีขนาดใหญ สีเขียว ตองไมผ า นการตม มากอน รสขมจัด3,4 สรรพคุณตามตาํ ราการแพทยแผนจีน: ดีบัว รสขมเล็กนอย เย็น มีสรรพคุณแกอ าการหงดุ หงดิ นอนไมห ลบั การตดิ เชื้อในชอ งปาก ชว ยลดความดันโลหติ บาํ รุงสายตา บาํ รงุ หัวใจ ปอด ไต และแกน ้ํากามเคล่ือนขณะหลบั 3,5

Page 115 คมู อื การใชส มุนไพรไทย-จนี 105 สรรพคุณตามตาํ ราการแพทยแผนไทย: ดบี ัว รสขม มีฤทธ์ิขยายหลอดเลอื ดทไ่ี ปเลี้ยงหวั ใจสาํ หรับผทู ่ีเปน โรคหัวใจ หลอดเลือดตีบ แก กระหายนาํ้ แกนา้ํ กามเคล่อื นขณะหลับ2,6 ขนาดท่ีใชและวิธีใช: การแพทยแผนจีน ใช 2-5 กรัม ตมเอานํ้าด่ืม1 ขอมูลวิชาการท่ีเกี่ยวของ: 1. สารสกดั นํ้าและสารสกัดแอลกอฮอลจากดีบวั ทําใหอัตราการเตนและแรงบีบตวั ของหวั ใจหนู ตะเภาเพิ่มขึน้ 7 สาร methylcorypalline ในดบี วั มฤี ทธิ์ขยายหลอดเลอื ดทไ่ี ปเลย้ี งหัวใจ ซึ่งนับวา เปน ประโยชนม ากตอ คนทเ่ี ปนโรคหัวใจขาดเลือดเนื่องจากหลอดเลอื ดตบี ตัน8 2. สารสกัดแอลคาลอยด (liensinine) จากดีบวั มีผลลด LVP และ SAP ในหนูขาวเหมือน verapamil และลดการบีบตวั ของหวั ใจของกระตาย นอกจากนี้ neferine ซึง่ เปนสารประเภทแอลคาลอยด ในดบี วั สามารถยับยั้งการเกิด transmembrane potential ยบั ยั้งการหดตวั ของกลามเนอ้ื และลด amplitude ของ action potential ของ capillary muscle ในหนตู ะเภา เนอื่ งจากยบั ยั้ง Na+, Ca++, K+ current ของ myocardium รวมทงั้ สามารถยับย้ังการเกาะกลมุ ของเกลด็ เลอื ด โดยมีผลยบั ย้งั การเกดิ TXA2 จาก arachidonic acid7 3. เม่อื ปอ นดบี วั ขนาด 20 มิลลกิ รมั /ตัว/วัน แกห นูถีบจักรเปนเวลา 3 สปั ดาห จากนั้นเหนย่ี วนาํ ใหหนเู กิดการอักเสบดว ยการฉดี lipopolysaccharide ขนาด 10 มลิ ลิกรัม/กโิ ลกรัม เขา ทางชองทองหนู พบวา ดบี วั มผี ลลดการอกั เสบได โดยลดระดบั ของ tumor necrosis factor-α (TNF-α) และเพิ่ม ระดับของ interleukin-109 เอกสารอางอิง 1. The State Pharmacopoeia Commission of P.R. China. Pharmacopoeia of the People’s Republic of China. Vol.I. English Edition. Beijing: People’s Medical Publishing House, 2005. 2. ชยนั ต วเิ ชยี รสุนทร, แมน มาส ชวลิต, วเิ ชียร จีรวงศ. คําอธบิ ายตําราพระโอสถพระนารายณ. พิมพครั้งท่ี 2. กรุงเทพมหานคร : สาํ นกั พมิ พอมรนิ ทร, 2548. 3. กรมวิทยาศาสตรก ารแพทย กระทรวงสาธารณสขุ . สมุนไพรไทย-จีน. กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพการศาสนา, 2547. 4. Mei XH. Shiyong Zhongyao Paozhi Zhinan. 1st ed. Hubei: Hubei Science & Technology Publishing House, 2005. 5. บรษิ ทั หลกั ทรัพยจัดการกองทุน กสิกรไทย จํากัด. มหศั จรรยสมุนไพรจนี . กรุงเทพมหานคร : บริษทั ซีเอด็ ยเู คชัน่ จาํ กัด มหาชน, 2550. 6. วุฒิ วฒุ ิธรรมเวช. คัมภรี เ ภสัชรัตนโกสินทร. กรุงเทพมหานคร : บริษทั ศิลปส ยามบรรจภุ ัณฑแ ละการพิมพ จํากัด, 2547. 7. บพิตร กลางกลั ยา, นงลักษณ สขุ วาณชิ ยศ ลิ ป. รายงานผลการศกึ ษาโครงการการประเมินประสิทธภิ าพและความปลอดภยั ของยา จากสมนุ ไพร. กรงุ เทพมหานคร : บริษัท เอส อาร พร้นิ ตงิ้ แมสโปรดกั ส จาํ กัด, 2544. 8. ลดั ดาวัลย บุญรัตนกรกิจ. สมนุ ไพรนา ใช. พมิ พค ร้งั ท่ี 1. กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ แทนทองปร้นิ ต้ิงเซอรว สิ , 2535. 9. วิสดุ า สวุ ทิ ยาวัญน (บรรณาธิการ). จุลสารขอมูลสมุนไพร. 2551; 25(2): 2.

Page 116 106 กรมพฒั นาการแพทยแ ผนไทยและการแพทยทางเลอื ก ดีปล:ี Bibo (荜茇) ดีปลี หรือ ปปอ คือ ผลใกลสุกหรือผลสุกที่ทาํ ใหแหงของพืชท่ีมีช่ือวิทยาศาสตรวา Piper longum L. วงศ Piperaceae1 1 เซนติเมตร ดีปลี (Fructus Piperis Longi) ชื่อไทย: ดีปลี, พริกหาง (ภาคกลาง)2 ช่ือจีน: ปปอ (จีนกลาง), ปก หวก (จนี แตจ ว๋ิ )1 ชื่ออังกฤษ: Long Pepper1 ชื่อเคร่ืองยา: Fructus Piperis Longi1 การเกบ็ เกยี่ วและการปฏบิ ตั หิ ลงั การเกบ็ เก่ียว: เกบ็ เกี่ยวผลใกลส กุ หรือผลสกุ เมื่อกานผลเรมิ่ เปลี่ยนจากสีเขยี วเปนสีดํา แยกเอาสิง่ ที่ปะปนออก ตากแดดใหแ หง เก็บรักษาไวใ นที่มีอากาศเย็นและแหง มกี ารระบายอากาศด1ี การเตรียมตวั ยาพรอมใช: หลังเก็บเกี่ยวสมนุ ไพรแลว แยกเอากานผลและส่ิงอน่ื ทป่ี ะปนออก ทบุ ใหแตกกอนใช1 คุณภาพของตวั ยาจากลักษณะภายนอก: ตวั ยาทีม่ คี ณุ ภาพดี ผลตอ งอวบใหญ มเี น้ือมาก แข็งและเหนียว สนี ํา้ ตาลดํา กล่นิ หอมฉุน3 สรรพคุณตามตาํ ราการแพทยแ ผนจีน: ผลดีปลี รสเผด็ รอ น มีฤทธ์ิขับความเยน็ ออกจากมามและกระเพาะอาหาร บรรเทาอาการเจบ็ หนา อก แกอ าเจียนและทอ งเสยี อันเนือ่ งจากความเยน็ และมฤี ทธิร์ ะงับปวด แกไ มเกรน ใชภายนอกแก

Page 117 คูมือการใชสมุนไพรไทย-จนี 107 ปวดฟน1 สรรพคุณตามตําราการแพทยแ ผนไทย: ผลดปี ลี รสเผ็ดรอน ขม มีสรรพคุณบํารงุ ธาตุ ขับลม แกท องอดื ทองเฟอ ธาตุพิการ ขบั เสมหะ แกห ืด แกหลอดลมอกั เสบ แกโ รคนอนไมหลบั แกโ รคลมบา หมู เปนยาขบั นา้ํ ดี เปน ยาขบั ระดแู ละทาํ ให แทงลูก เปนยาขับพยาธิในทอง ใชป รุงเปน ยาภายนอกสาํ หรับบรรเทาอาการปวดทกี่ ลามเนอ้ื ทาํ ใหรอ น แดง และมเี ลอื ดมาเล้ยี งท่ีบริเวณนั้นมากข้ึน แกอ กั เสบ4,5 ขนาดทใี่ ชแ ละวิธีใช: การแพทยแผนจีน ใช 1.5-3 กรมั 1 ตม เอานา้ํ ดื่ม การแพทยแผนไทย ใชดปี ลี 1-2 ผลฝนกับนา้ํ มะนาวและแทรกเกลอื 1-2 เม็ด ใชร บั ประทาน หรือใชก วาดคอชว ยขับเสมหะ4 ขอหามใช ขอ ควรระวัง และอาการขา งเคยี ง: ผลดปี ลสี กัดดว ยปโตรเลียมอเี ทอรใ หสัตวก ิน ทําใหสตั วทดลองแทง จึงควรระวังการใชใ นสตรี 4 มคี รรภ ขอ มลู วชิ าการท่ีเกี่ยวขอ ง: 1. เมื่อฉีดสารสกัดแอลกอฮอลเขาทางชองทองของหนูถีบจักรในขนาดเทียบเทาผงยา 17.8 กรมั /กโิ ลกรมั ชว ยใหการไหลเวยี นของเลือดไปเลยี้ งหวั ใจเพ่ิมขน้ึ 6 2. นํ้ามันดปี ลีมีฤทธิต์ า นเช้ือ Escherichia coli, Shigella dysenteriae และ Staphylococcus aureus และสาร sesamine ในผลดีปลีมฤี ทธต์ิ า นเช้อื Mycobacterium tuberculosis 6 และเชอ้ื ไขห วดั 3. เม่อื ใหสารสกดั แอลกอฮอลท างปากหนูขาวในขนาด 0.25 กรมั /กโิ ลกรมั สามารถตานการ อกั เสบในหนทู ที่ าํ ใหกระเพาะอาหารเปน แผลดวยแอลกอฮอลบ รสิ ุทธ์ิ หรอื แอสไพรนิ หรือ นา้ํ สมสายชู ไดผลด6ี 4. จากการศึกษาพษิ เฉียบพลนั ของนํ้ามนั ดีปลีชนิด unsaponification ในหนูถบี จกั ร พบวาคา LD50 เทากบั 49.73 มลิ ลิกรมั /กโิ ลกรมั เม่ือใหโดยการปอน และเม่อื ใหต ดิ ตอ กนั นาน 9 เดือน ไมพบ ความผิดปกติใด ๆ นอกจากนี้เมือ่ ปอนสารสกดั แอลกอฮอลในหนูถีบจกั ร พบวาคา LD50 เทา กับ 4.97 กรมั /กโิ ลกรมั 6

Page 118 108 กรมพฒั นาการแพทยแผนไทยและการแพทยทางเลือก เอกสารอางองิ 1. The State Pharmacopoeia Commission of P.R. China. Pharmacopoeia of the People’s Republic of China. Vol.I. English Edition. Beijing: People’s Medical Publishing House, 2005. 2. ลีนา ผูพัฒนพงศ, กองกานดา ชยามฤต, ธีรวฒั น บุญทวคี ณุ (คณะบรรณาธิการ). ช่ือพรรณไมแ หง ประเทศไทย (เตม็ สมิตินนั ทน ฉบบั แกไ ขเพ่มิ เตมิ พ.ศ. 2544). สาํ นักวิชาการปา ไม. กรมปา ไม. พิมพครั้งที่ 2. กรุงเทพมหานคร : บรษิ ทั ประชาชน จาํ กัด, 2544. 3. Mei XH. Shiyong Zhongyao Paozhi Zhinan. 1st ed. Hubei: Hubei Science & Technology Publishing House, 2005. 4. พเยาว เหมอื นวงษญ าต.ิ สมุนไพรกา วใหม. พิมพครัง้ ที่ 2. กรงุ เทพมหานคร : บริษัท ท.ี พ.ี พร้ิน จาํ กดั , 2537. 5. ชยนั ต วิเชียรสนุ ทร, แมน มาส ชวลิต, วิเชียร จรี วงศ. คาํ อธิบายตําราพระโอสถพระนารายณ. พมิ พครั้งที่ 2. กรงุ เทพมหานคร : สาํ นักพมิ พอมรินทร, 2548. 6. Qu SY. Fructus Piperis Longi: bi bo. In: Wang BX, Ma JK, Zheng WL, Qu SY, Li R, Li YK (eds.). Modern study of pharmacology in traditional Chinese medicine. 2nd ed. Tianjin: Tianjin Science & Technology Press, 1999.

Page 119 คมู อื การใชส มนุ ไพรไทย-จีน 109 ตนพมิ เสน : Huoxiang (藿香) ตนพมิ เสน หรือ ฮั่วเซยี ง คอื สว นเหนอื ดินทท่ี ําใหแ หง ของพชื ท่มี ชี ่อื วทิ ยาศาสตรว า Pogostemon cablin (Blanco) Benth. วงศ Labiatae1 2 เซนตเิ มตร ตนพมิ เสน (Herba Pogostemonis) ชื่อไทย: ตนพิมเสน2 ช่ือจีน: ฮ่ัวเซียง (จีนกลาง), คักเฮีย (จีนแตจิ๋ว)1 ช่ืออังกฤษ: Cablin Patchouli Herb1 ชื่อเครื่องยา: Herba Pogostemonis1 การเก็บเกีย่ วและการปฏบิ ตั หิ ลงั การเกบ็ เกี่ยว: เก็บเกี่ยวสวนเหนือดนิ ในระยะท่ีพชื เจริญเติบโตเต็มท่ี ตากแดดใหแหง เก็บรักษาไวในท่ีมีอากาศ เย็นและแหง มีการระบายอากาศดี1 การเตรียมตัวยาพรอมใช: หลังเกบ็ เก่ียวสมุนไพรแลว แยกเอารากและสงิ่ อ่นื ที่ปะปนออก เก็บเฉพาะสวนใบ แรงเอาฝุน ออก สว นลําตน นาํ มาลา งนาํ้ ใหสะอาด ใสภาชนะปดฝาไวเพอ่ื ใหอ อ นนุม หั่นเปนทอน ๆ ตากใหแหง แลว นาํ มาผสมกบั ใบ1 คุณภาพของตัวยาจากลักษณะภายนอก: ตัวยาที่มีคุณภาพดี ก่ิงและลาํ ตนมีสีเขียว ปริมาณใบมาก ไมมีสวนของรากปนปลอม กลิ่น หอมฉุน3

Page 120 110 กรมพฒั นาการแพทยแ ผนไทยและการแพทยทางเลอื ก สรรพคุณตามตาํ ราการแพทยแผนจีน: ตน พมิ เสน รสเผด็ อนุ มฤี ทธิส์ ลายความชื้น แกค วามชืน้ จงเจยี ว อาเจียน จกุ เสยี ด แนน อดึ อัดท่ลี น้ิ ป เบอื่ อาหาร มฤี ทธค์ิ ลายความรอน แกร อ นใน แกไขแ ละไขหวัดจากความรอ นชืน้ ทานอาหาร ผิดสาํ แดง เกดิ อาการไขหรอื จกุ เสยี ด อาเจียนหรอื ทอ งรวง และมีฤทธิร์ ะงบั อาเจียน แกอาเจียน1 สรรพคณุ ตามตําราการแพทยแผนไทย: ตนพมิ เสน มกี ล่นิ หอมเย็น ฉุน เปนเครื่องยาชนดิ หน่งึ ในยาหอมแกล ม ยาเย็นสาํ หรบั ดับรอ น ถอนพิษไขแ ละยาเขยี ว ใบสดใชต ม นํ้าดมื่ แกป วดประจําเดอื น เปนยาขบั ประจาํ เดือน ยาชงจากยอดแหง และรากแหง (1:10) 4 ดื่มเปน ยาขบั ปส สาวะและขับลม ขนาดทีใ่ ชและวธิ ใี ช: การแพทยแผนจีน ใช 3-9 กรมั ตมเอานํา้ ดืม่ 1 ขอ มลู วิชาการท่ีเก่ียวของ: 1. สารสกดั แอลกอฮอลค วามเขม ขน 1-5% และสารสกัดนาํ้ ความเขม ขน 3-12% มีฤทธ์ิตา น 5 เช้ือราท่ีเปน สาเหตุของโรคผวิ หนงั หลายชนิดในหลอดทดลอง สารสกัดนํา้ มีฤทธล์ิ ดอาการเกรง็ ของกลา มเน้อื เรียบของลําไสกระตาย ตานอาเจียนในนกพิราบ ระงับปวดและชวยใหการทํางานของระบบกระเพาะ อาหารและลาํ ไสข องหนูถีบจักรดขี ้นึ 6 2. ตนพมิ เสนมีสรรพคุณแกปวดทอ งและทอ งเสียอันเนอ่ื งจากการติดเช้ือ6 3. เม่อื ใหสารสกัดนา้ํ ทางปากของหนูถบี จกั รในขนาดเทียบเทาผงยา 14.58 กรมั /กโิ ลกรมั วันละ 2 ครัง้ พบวา ภายใน 7 วนั หนูถีบจักรทุกตัวมกี ารเคลือ่ นไหวเปนปกติ 6 และไมพบหนูถีบจักรตวั ใดตาย เอกสารอางองิ 1. The State Pharmacopoeia Commission of P.R. China. Pharmacopoeia of the People’s Republic of China. Vol.I. English Edition. Beijing: People’s Medical Publishing House, 2005. 2. ลนี า ผพู ฒั นพงศ, กองกานดา ชยามฤต, ธีรวัฒน บญุ ทวีคุณ (คณะบรรณาธกิ าร). ชื่อพรรณไมแ หงประเทศไทย (เต็ม สมติ ินันทน ฉบบั แกไขเพ่มิ เตมิ พ.ศ. 2544). สํานกั วิชาการปา ไม. กรมปา ไม. พมิ พค รง้ั ท่ี 2. กรุงเทพมหานคร : บริษทั ประชาชน จํากดั , 2544. 3. Liu TS, Pan QP, Zhou YS, Wu ZY. XiuZhen Zhongyaoyinpian Caise Tuben. 1st ed. Hunan: Hunan Science & Technology Publishing House, 2006. 4. ชยันต วิเชยี รสนุ ทร, แมน มาส ชวลิต, วิเชียร จรี วงศ. คําอธบิ ายตําราพระโอสถพระนารายณ. พิมพครั้งที่ 2. กรงุ เทพมหานคร : สํานกั พมิ พอมรนิ ทร, 2548. 5. Institute of Medicinal Plant Development and Institute of Materia Medica, Chinese Academy of Medicinal Sciences. Chinese Materia Medica. Vol. IV. 2nd ed. Beijing: Renmin Weisheng Publishing House, 1988. 6. Wang Y, Wang BX. Herba Pogostemonis (agastaches): huo xiang. In: Wang BX, Ma JK, Zheng WL, Qu SY, Li R, Li YK (eds.). Modern study of pharmacology in traditional Chinese medicine. 2nd ed. Tianjin: Tianjin Science & Technology Press, 1999.

Page 121 คมู อื การใชสมุนไพรไทย-จนี 111 ตนสะระแหน : Bohe (薄荷) ตนสะระแหน หรือ ปอ เหอ คอื สว นเหนอื ดินท่ีทาํ ใหแ หงของพืชที่มีช่ือวิทยาศาสตรวา Mentha haplocalyx Briq. วงศ Labiatae1 2 เซนติเมตร ตนสะระแหน (Herba Menthae) ช่ือไทย: ตนสะระแหน2 ชื่อจีน: ปอเหอ (จีนกลาง), เปาะหอ (จีนแตจิ๋ว)1 ชื่ออังกฤษ: Peppermint1 ช่ือเครื่องยา: Herba Menthae1 การเกบ็ เกย่ี วและการปฏิบตั หิ ลงั การเกบ็ เกี่ยว: เก็บเกย่ี วสวนเหนอื ดินในฤดูรอนและฤดใู บไมผลิเม่อื ใบเจรญิ เติบโตเต็มที่ หรือในชว งทอี่ อก ดอกในรุนท่สี าม เกบ็ ในวันท่ีอากาศดี เกบ็ ไดหลายคร้งั ตากใหแ หงหรือทําใหแหง ในท่ีรม เก็บรกั ษาไวใ น ทีม่ ีอากาศเยน็ และแหง มกี ารระบายอากาศด1ี การเตรยี มตวั ยาพรอมใช: หลงั เก็บเกีย่ วสมุนไพรแลว แยกลาํ ตน แกแ ละสง่ิ อนื่ ท่ปี ะปนออก พรมน้าํ ปรมิ าณพอเหมาะ ใส ภาชนะปด ฝาไวเ พ่ือใหออ นนุม หั่นเปนทอน ๆ และนาํ ไปทําใหแ หงที่อณุ หภูมิหอง1 คุณภาพของตวั ยาจากลักษณะภายนอก: ตวั ยาที่มีคุณภาพดี ตอ งมีปริมาณใบมาก สเี ขยี วเขม มกี ลน่ิ รสเผ็ดและเยน็ มาก3

Page 122 112 กรมพัฒนาการแพทยแ ผนไทยและการแพทยทางเลือก สรรพคุณตามตําราการแพทยแ ผนจีน: ตนสะระแหน รสเผ็ด เยน็ มฤี ทธชิ์ ว ยใหผอ นคลาย กระจายลมรอ น แกห วดั จากการกระทบลม รอ น โรคท่มี ไี ขส ูงในระยะแรก มีฤทธริ์ ะบายความรอ นใหศ รี ษะและทาํ ใหตาสวา ง แกปวดศรี ษะ ตาแดง เจ็บคอ คอบวม มีฤทธิก์ ระทงุ และขับหัด อสี กุ อีใส สรรพคุณชวยกระทุงหัด อสี กุ อใี ส แกล มพษิ ผดผืน่ คัน และมีฤทธชิ์ ว ยผอ นคลายอาการตบั และอาการเครยี ด แกอ าการเครียดแลวทาํ ใหช่ีไมหมุนเวยี น อึดอัด บรเิ วณหนา อก เจ็บบริเวณชายโครง1 สรรพคุณตามตาํ ราการแพทยแ ผนไทย: ตน สะระแหน รสหอมรอน สรรพคุณ ขับเหง่อื แกห ดื แกปวดทอง ขับลมในกระเพาะลําไส แก จุกเสียดแนน เฟอ แกอาการเกรง็ ของกลามเน้ือ พอกหรือทา แกผ ่ืนคัน แกปวดบวม2 ขนาดที่ใชและวธิ ใี ช: การแพทยแผนจนี ใช 3-6 กรัม ตมเอาน้าํ ดืม่ 1 ขอ มลู วชิ าการที่เกี่ยวขอ ง: 1. สารสกัดน้ํามีฤทธิต์ า นเช้อื ไวรสั ในกระตายและมีฤทธติ์ านเชอื้ แบคทเี รยี ในหลอดทดลอง นาํ้ มนั หอมระเหยมีฤทธขิ์ บั เสมหะและตา นอักเสบในกระตาย โดยท่วั ไปใบสะระแหนม ักไมใชเ ด่ียว สว นใหญจะ ใชเปนสว นประกอบในตํารับยารกั ษาอาการไขหวดั คออกั เสบ และโรคผวิ หนัง4 2. สาร menthol จากใบสะระแหนม ฤี ทธ์ขิ ับเสมหะ และใชภ ายนอกเปน ยาระงบั ปวด แกค ัน5 3. มีรายงานการศึกษาพิษเฉยี บพลนั ในหนถู ีบจักรและหนูขาวโดยการฉดี เมนทอล (จากธรรมชาติ) เขาใตผิวหนงั พบวาขนาดของเมนทอลที่ทาํ ใหสัตวท ดลองตายรอยละ 50 (LD50) มีคา มากกวา 5 และ 0.1 กรมั /กโิ ลกรมั ตามลําดบั และเมื่อใหเมนทอลทางปากและฉดี เขา ชองทอ งแมว พบวา LD50 มีคาเฉล่ีย มากกวา 0.9 กรมั /กิโลกรมั 4 เอกสารอางองิ 1. The State Pharmacopoeia Commission of P.R. China. Pharmacopoeia of the People’s Republic of China. Vol.I. English Edition. Beijing: People’s Medical Publishing House, 2005. 2. วฒุ ิ วุฒธิ รรมเวช. คัมภรี เภสัชรัตนโกสินทร. กรงุ เทพมหานคร : บริษัท ศิลปสยามบรรจุภัณฑและการพิมพ จํากดั , 2547. 3. Liu TS, Pan QP, Zhou YS, Wu ZY. XiuZhen Zhongyaoyinpian Caise Tuben. 1st ed. Hunan: Hunan Science & Technology Publishing House, 2006. 4. Du XM. Herba Menthae: bo he. In: Wang BX, Ma JK, Zheng WL, Qu SY, Li R, Li YK (eds.). Modern study of pharmacology in traditional medicine. 2nd ed. Tianjin: Tianjin Science & Technology Press, 1999. 5. Institute of Medicinal Plant Development and Institute of Materia Medica, Chinese Academy of Medicinal Sciences. Chinese Materia Medica. Vol. IV. 2nd ed. Beijing: Renmin Weisheng Publishing House, 1988.

Page 123 คูมือการใชส มุนไพรไทย-จีน 113 บวยดาํ : Wumei (乌梅) บวยดาํ หรือ อูเหมย คือ ผลใกลสกุ ท่ที าํ ใหแหง ของพชื ท่ีมีชื่อวิทยาศาสตรวา Prunus mume (Sieb.) Sieb. et Zucc. วงศ Rosaceae1 บว ยดาํ (Fructus Mume) 2 เซนติเมตร ช่ือไทย: บวยดํา, บวย (ภาคกลาง)2 ช่ือจีน: อูเหมย (จีนกลาง), โอวบวย (จีนแตจ๋ิว)1 ชื่ออังกฤษ: Smoked Plum1 ช่ือเครื่องยา: Fructus Mume1 การเก็บเกี่ยวและการปฏิบตั หิ ลงั การเก็บเกี่ยว: เก็บเก่ียวผลใกลสุกในฤดูรอน ผิงไฟที่อุณหภูมิต่ํา ๆ จนกระทั่งเปล่ียนเปนสีดํา เกบ็ รักษาไว ในทมี่ อี ากาศเย็นและแหง มีการระบายอากาศดี1 การเตรียมตัวยาพรอมใช: การเตรยี มตวั ยาพรอมใชมี 4 วธิ ี ดงั น้ี วธิ ที ี่ 1 บว ยดํา เตรียมโดยนําวตั ถดุ บิ สมุนไพรมาแยกสงิ่ อ่ืนที่ปะปนออก ลางน้าํ ใหสะอาด และ นาํ ไปตากแหง 1,3 วธิ ที ี่ 2 เนอื้ บวยดาํ เตรียมโดยนําตวั ยาทไ่ี ดจ ากวิธีที่ 1 มาลา งนํ้าอยางรวดเรว็ ใหส ะอาด ใสภาชนะ ปดฝาไวห รอื นําไปนง่ึ สกั ครูเ พ่อื ใหออ นนมุ แยกเอาเฉพาะสว นเนอ้ื นาํ ไปตากแหง แลว รอ นเอาเศษเลก็ ๆ ออก1,3

Page 124 114 กรมพัฒนาการแพทยแผนไทยและการแพทยทางเลือก วธิ ีที่ 3 บว ยดาํ เผา เตรียมโดยนําตัวยาท่ีไดจากวธิ ีท่ี 1 หรือ 2 ใสกระทะ นําไปผดั โดยใชไฟแรง ผดั จนกระท่งั ผวิ นอกโปง พองและมสี ีดําเกรียม นําออกจากเตา ตั้งท้งิ ไวใ หเย็น แลว รอนเอาเศษเลก็ ๆ ออก1,3 วธิ ีที่ 4 บวยดําหมักนํ้าสม เตรยี มโดยนาํ ตวั ยาท่ีไดจ ากวธิ ีที่ 1 หรอื 2 มาหมักกับนา้ํ สม (ที่ได จากการหมักกลนั่ ขา ว) ในภาชนะที่มีฝาปด จนกระทง่ั นา้ํ สมแทรกซมึ เขาไปในเนอ้ื ตัวยา จากน้นั นาํ ไปให ความรอนโดยใชน้าํ เปนตวั กลาง (คลายวธิ ตี ุน) ประมาณ 2-4 ชว่ั โมง แลว นําออกมาตากแหง (โดยทั่วไป ใชน าํ้ สม 10 กิโลกรมั ตอ บวยดาํ หรือเนื้อบวยดาํ 100 กโิ ลกรมั )1,3 คุณภาพของตวั ยาจากลักษณะภายนอก: 4 ตวั ยาทม่ี ีคณุ ภาพดี ผลตองมขี นาดใหญ เน้อื หนา สีดาํ เหนยี วนมุ สรรพคุณตามตําราการแพทยแ ผนจีน: บว ยดํา รสเปรย้ี ว ฝาด สุขมุ มฤี ทธ์ิใหค วามชุมชืน้ ปอด ระงับไอ แกไ อแหง ไอเร้อื รงั มฤี ทธิ์ สมานลําไส ระงบั อาการทองรว ง แกทอ งรวงเรอ้ื รัง บิดเร้อื รัง มีฤทธ์ฆิ าพยาธิ แกพ ยาธิ และมฤี ทธเิ์ สรมิ ธาตนุ ้าํ แกรอนแบบพรอ ง รอ นใน กระหายนํา้ 1 3 เน้อื บว ยดาํ มีสรรพคณุ และวธิ ใี ชเ หมือนบว ยดาํ แตม ฤี ทธแ์ิ รงกวา เนอื่ งจากปราศจากเมล็ด บวยดําเผา มีฤทธสิ์ มานลาํ ไส ระงบั อาการทองรวง และหา มเลือดไดดี โดยทว่ั ไปใชรกั ษาอาการ ทองรวงเร้อื รงั และมเี ลอื ดปน3 บว ยดําหมกั นาํ้ สม มวี ิธีใชเหมือนบว ยดาํ แตมีฤทธิ์ฝาดสมานแรงขน้ึ โดยท่ัวไปใชร ักษาอาการ ไอเร้อื รังเนอื่ งจากชีข่ องปอดไมเ พยี งพอ และอาการปวดทอ งเนื่องจากพยาธิไสเดอื น3 ขนาดทใี่ ชและวธิ ใี ช: การแพทยแ ผนจนี ใช 6-12 กรัม ตม เอานํา้ ด่ืม1 ขอ หามใช ขอ ควรระวงั และอาการขา งเคยี ง: การแพทยแผนจีน ควรระมัดระวังในการใชในผูปว ยมไี ข รอนแกรง 1 ขอมลู วิชาการที่เก่ยี วขอ ง: 1. ผลบว ยดํามฤี ทธิ์เสริมภมู ิตา นทานในหนูถีบจกั ร สารสกัดน้าํ มฤี ทธฆิ์ า และขบั พยาธิไสเ ดือน ในสุนขั เพ่ิมการหล่ังนํ้าดี และปองกันหรือลดการติดเชอ้ื ในทอนา้ํ ดี สารสกัดนํา้ มฤี ทธิ์แกแ พในหนถู ีบ จกั ร สารสกดั น้าํ สว นทีต่ กตะกอนดว ยเอทานอลมฤี ทธต์ิ านเช้ือจุลนิ ทรียใ นหลอดทดลอง5,6 2. ผลบว ยดาํ มสี รรพคณุ ฆา พยาธไิ สเดือนและพยาธปิ ากขอ แกป วดทอง บรรเทาอาการกระเพาะ อาหารอกั เสบ ถงุ นา้ํ ดอี ักเสบชนิดเรือ้ รัง และลาํ ไสเปน แผลอักเสบ5

Page 125 คูมอื การใชส มุนไพรไทย-จนี 115 เอกสารอางองิ 1. The State Pharmacopoeia Commission of P.R. China. Pharmacopoeia of the People’s Republic of China. Vol.I. English Edition. Beijing: People’s Medical Publishing House, 2005. 2. ลนี า ผพู ัฒนพงศ, กองกานดา ชยามฤต, ธรี วัฒน บญุ ทวคี ณุ (คณะบรรณาธกิ าร). ช่อื พรรณไมแหงประเทศไทย (เต็ม สมติ ินันทน ฉบบั แกไ ขเพ่มิ เติม พ.ศ. 2544). สาํ นักวิชาการปา ไม. กรมปา ไม. พมิ พค รงั้ ท่ี 2. กรงุ เทพมหานคร : บรษิ ทั ประชาชน จํากดั , 2544. 3. Gong QF. Zhongyao Paozhi Xue. 2nd ed. Beijing: National Chinese Traditional Medicine Publishing House, 2003. 4. Mei XH. Shiyong Zhongyao Paozhi Zhinan. 1st ed. Hubei: Hubei Science & Technology Publishing House, 2005. 5. Ran MX, Xie BZ. Fructus Mume: wu mei. In: Wang BX, Ma JK, Zheng WL, Qu SY, Li R, Li YK (eds.). Modern study of pharmacology in traditional medicine. 2nd ed. Tianjin: Tianjin Science & Technology Press, 1999. 6. Institute of Materia Medica, Chinese Academy of Medicinal Sciences. Chinese Materia Medica. Vol. III. 2nd ed. Beijing: Renmin Weisheng Publishing House, 1984.

Page 126 116 กรมพัฒนาการแพทยแผนไทยและการแพทยทางเลอื ก ใบมะขามแขก : Fanxieye (番泻叶) ใบมะขามแขก หรือ ฟานเซี่ยเยี่ย คือ ใบยอยท่ีทาํ ใหแหงของพืชทม่ี ีช่อื วิทยาศาสตรวา Cassia angustifolia Vahl หรือ C. acutifolia Delile วงศ Leguminosae-Caesalpinioideae1 2 เซนติเมตร ใบมะขามแขก (Folium Sennae) ช่ือไทย: ใบมะขามแขก (ทั่วไป)2 ชื่อจีน: ฟานเซ่ียเย่ีย (จีนกลาง), ฮวงเซี่ยเฮียะ (จีนแตจิ๋ว)1 ช่ืออังกฤษ: Senna Leaf1 ชื่อเคร่ืองยา: Folium Sennae1 การเกบ็ เกยี่ วและการปฏิบัตหิ ลงั การเกบ็ เกี่ยว: เก็บเก่ียวใบในชวงกอนออกดอก ลางนํ้าใหสะอาด ตากแดดสักครูเพื่อปองกันไมใหแผนใบ เปลยี่ นเปน สเี หลอื ง ตากใหแ หงในท่ีรมหรอื ท่อี ณุ หภูมิต่าํ เก็บรักษาไวใ นทมี่ อี ากาศเยน็ และแหง ทบึ แสง มี การระบายอากาศดี1 การเตรียมตัวยาพรอมใช: หลังเกบ็ เกีย่ วสมนุ ไพรแลว แยกสงิ่ อื่นทีป่ ะปนออก ลา งนาํ้ ใหส ะอาด และนาํ ไปทาํ ใหแหง 1 คุณภาพของตัวยาจากลักษณะภายนอก: ตวั ยาทม่ี คี ุณภาพดี ตอ งเปนใบท่ีสมบูรณแ ละแหง รูปหอก แผน ใบใหญ กา นใบเล็ก ปราศจากสิ่ง ปนปลอม3

Page 127 คูมือการใชส มุนไพรไทย-จนี 117 สรรพคุณตามตาํ ราการแพทยแผนจีน: ใบ รสขมเล็กนอย มีฤทธิ์ขับความรอน ชวยใหถายและขับปสสาวะ สรรพคุณรักษาอาการ ทองผูกและปวดหลัง ลดอาการบวมนํ้า1 สรรพคุณตามตําราการแพทยแผนไทย: ใบ รสเปร้ียว หวานชุม ใชเปนยาถายที่ดี รักษาอาการทองผูก4 ขนาดที่ใชและวิธีใช: การแพทยแ ผนจนี ใช 2-6 กรัม1 ตม เอานํา้ ดื่ม (ถาตมกับยาอ่ืนควรใสท ีหลงั ) หรอื แชใ นน้าํ เดือด1 การแพทยแผนไทย ใช 3-10 กรัม ตมเอาน้ําด่ืม 4 หรือใชวิธีบดเปนผงชงนาํ้ รอนด่ืม ขอหามใช ขอควรระวัง และอาการขางเคียง: การแพทยแผนจีน สตรีมีครรภควรระมัดระวังในการใช1 การแพทยแผนไทย สตรีมีครรภหรือมีประจําเดือนหามรับประทาน4 ขอมูลวิชาการท่ีเกี่ยวของ: 1. สารประกอบทางเคมที ีส่ าํ คัญในใบ คือแอนทราควิโนน ซ่ึงประกอบดว ยสาร sennoside A, B, C และ D, emodin, rhein เปนตน มะขามแขกเปน ยาถายทมี่ ีประวัตนิ านเกือบ 100 ป สารแอนทรา ควโิ นนมฤี ทธ์ิกระตนุ การบบี ตวั ของลาํ ไสใ หญท าํ ใหถา ยทอ งได และมรี ายงานวา การใชม ะขามแขกนาน ๆ จะทาํ ใหเ กิดอาการขาดโพแทสเซยี มได ถา จาํ เปน ตองใชต ิดตอ กนั เปนเวลานาน ควรรบั ประทานโพแทสเซียม ดว ย4 สาร sennoside A และ B ในใบมะขามแขก มีฤทธ์ชิ ว ยเพิม่ การเคล่ือนตัวของลําไส และถกู เปล่ยี นโดยแบคทเี รียบริเวณลาํ ไสใหญเ ปนสารสาํ คัญ rhein-anthrone กลไกการออกฤทธขิ์ องสารสําคัญ มี 2 ทาง คือ เพิ่มการเคล่อื นตัวของลาํ ไส และเพมิ่ ปรมิ าณของเหลวในลาํ ไส5 2. มรี ายงานวาการทดสอบฤทธ์ิกอ มะเร็งของมะขามแขกในหนขู าวเพศผู พบวา ในหนกู ลมุ ท่ี ไดรบั มะขามแขกผสมในอาหารหนูในขนาดสงู 0.2% ทาํ ใหหนูตาย 50% ใน 15 วนั แรกเนอื่ งจาก ทอ งเสยี และจากการศกึ ษาไมพ บ ACF (aberrant crypt foci) ในกลุมท่ีไดร บั มะขามแขกอยางเดียว แตพ บวาบริเวณ mucosal epithelium มลี ักษณะเปน darker staining เมอ่ื ให DMF เหนี่ยวนาํ รว มกับใหม ะขามแขกพบวา total ACF หรือจํานวนเฉลีย่ ของ ACF ขนาดใหญไ มเ พิ่มข้นึ แตพบวา มะขามแขกในขนาดสูง 0.2% และ 1,8 HA จะพบจาํ นวนของ cryp ตอ focus เพมิ่ ขึ้นอยางมีนัยสําคัญ6 3. จากการทดสอบฤทธิต์ อ เช้ือแบคทเี รยี ของสารสกัดนํ้า สารสกดั แอลกอฮอล และสารสกัด เฮกเซนท่ีเตรียมโดยวิธีหมักนาน 72 ช่ัวโมง พบวาสารสกัดนาํ้ และสารสกัดเฮกเซนไมมีฤทธ์ิยับย้ังเช้ือ

Page 128 118 กรมพฒั นาการแพทยแ ผนไทยและการแพทยทางเลอื ก แบคทีเรีย แตสารสกัดแอลกอฮอลใหผลปานกลางตอแบคทีเรีย Bacillus subtilis และ Salmonella typhimurium (ความกวา งของเสน ผาศูนยกลางท่ยี ับยง้ั การเจรญิ ของเชือ้ อยใู นชวง 10-19 มิลลเิ มตร)6 4. มะขามแขกใชเ ปน ยาระบายโดยกนิ กอ นนอน ชวงเวลาที่ยาออกฤทธิ์ประมาณ 8-10 ช่ัวโมง ยาจะทําใหอุจจาระมีมวลมากขึ้น และลักษณะอจุ จาระจะนม่ิ ข้ึน มีการใชมะขามแขกในคนไขหลงั ผา ตดั ควานตอมลกู หมาก พบวา มะขามแขกชว ยใหถา ยอจุ จาระในลกั ษณะทีพ่ งึ ประสงคด ีกวา การใช Milk of Magnesia นอกจากนี้แคลเซยี มเซนโนไซด ซึ่งเปนสารสกัดจากใบมะขามแขกชวยใหผ ปู ว ยสูงอายุหลัง การผา ตดั ถายอจุ จาระไดค ลอ งขนึ้ 5 5. การศกึ ษาพษิ เฉยี บพลนั ของ sennosides บริสทุ ธิ์ และสารสกัด sennosides (ในรปู ของ เกลือแคลเซียม) ในหนูถีบจักร พบวา LD50 ของ sennosides บรสิ ุทธ์ิ เมื่อใหทางปากมคี า มากกวา 5 กรมั /กโิ ลกรัม และเมอื่ ใหทางเสนเลอื ดดํา มีคาเทา กบั 4.1 กรัม/กิโลกรมั สาํ หรับสารสกัด sennosides (ในรูปของเกลือแคลเซยี ม) เมอ่ื ใหทางปากจะมีคา LD50 มากกวา 5 กรัม/กิโลกรมั 5 เอกสารอางองิ 1. The State Pharmacopoeia Commission of P.R. China. Pharmacopoeia of the People’s Republic of China. Vol.I. English Edition. Beijing: People’s Medical Publishing House, 2005. 2. ลีนา ผพู ัฒนพงศ, กองกานดา ชยามฤต, ธีรวฒั น บญุ ทวคี ณุ (คณะบรรณาธิการ). ชื่อพรรณไมแ หงประเทศไทย (เตม็ สมิตินนั ทน ฉบับแกไขเพิ่มเติม พ.ศ. 2544). สาํ นักวิชาการปา ไม. กรมปา ไม. พมิ พค รง้ั ที่ 2. กรุงเทพมหานคร : บรษิ ทั ประชาชน จาํ กัด, 2544. 3. Mei XH. Shiyong Zhongyao Paozhi Zhinan. 1st ed. Hubei: Hubei Science & Technology Publishing House, 2005. 4. กันทิมา สทิ ธธิ ัญกิจ, พรทพิ ย เติมวิเศษ (คณะบรรณาธกิ าร). คูมอื ประชาชนในการดูแลสุขภาพดว ยการแพทยแผนไทย. พมิ พครง้ั ที่ 2 กรงุ เทพมหานคร : สาํ นกั งานกิจการโรงพมิ พองคก ารทหารผา นศึกในพระบรมราชูปถัมภ, 2547. 5. กรมวทิ ยาศาสตรการแพทย กระทรวงสาธารณสุข. เอกสารวชิ าการสมุนไพร. นนทบรุ ี : สถาบนั วจิ ัยสมนุ ไพร, 2543. 6. บพติ ร กลางกัลยา, นงลักษณ สขุ วาณิชยศลิ ป. รายงานผลการศึกษาโครงการการประเมนิ ประสิทธภิ าพและความปลอดภัยของยา จากสมนุ ไพร. กรุงเทพมหานคร : บรษิ ัท เอส อาร พริน้ ตงิ้ แมสโปรดักส จํากัด, 2544.

Page 129 คมู อื การใชส มนุ ไพรไทย-จีน 119 ใบหมอ น : Sangye (桑叶) ใบหมอน หรอื ซงั เยย่ี คอื ใบแหง ของพชื ทมี่ ชี ่อื วทิ ยาศาสตรว า Morus alba L. วงศ Moraceae1 2 เซนตเิ มตร ใบหมอน (Folium Mori) ช่ือไทย: ใบหมอน (ทั่วไป)2 ช่ือจีน: ซงั เยยี่ (จีนกลาง), ซงึ เฮียะ (จนี แตจ ว๋ิ )1 ช่ืออังกฤษ: Mulberry Leaf1 ชื่อเคร่ืองยา: Folium Mori1 การเก็บเกยี่ วและการปฏบิ ัตหิ ลงั การเกบ็ เกี่ยว: เกบ็ เกี่ยวใบในฤดหู นาว แยกเอาแขนงและส่ิงทป่ี ะปนออก ตากแดดใหแ หง เก็บรกั ษาไวในทมี่ ี อากาศเย็นและแหง มีการระบายอากาศด1ี การเตรียมตัวยาพรอมใช: การเตรยี มตวั ยาพรอมใชม ี 2 วธิ ี ดังนี้ วิธีท่ี 1 ใบหมอ น เตรียมโดยนําวตั ถุดบิ สมุนไพรที่ได แยกสงิ่ ปนปลอมออก ใชมือถูเบา ๆ แลว แยกเอากา นใบออก1,3 วิธีที่ 2 ใบหมอนผัดนํ้าผึ้ง เตรียมโดยนํานํ้าผึง้ บรสิ ุทธิ์มาเจอื จางดว ยนา้ํ ตมในปรมิ าณท่ีเหมาะสม ใสต วั ยาที่ไดจากวธิ ีที่ 1 แลว คลกุ ใหเขา กัน หมักไวส กั ครเู พ่อื ใหน ํา้ ผึ้งซมึ เขาในตวั ยา จากนั้นนาํ ไปผดั ใน

Page 130 120 กรมพฒั นาการแพทยแผนไทยและการแพทยทางเลือก กระทะโดยใชระดบั ไฟปานกลาง ผัดจนกระทั่งมสี ีเหลืองเขม และไมเหนียวติดมอื นําออกจากเตา แลว ต้งั ท้ิงไวใ หเย็น (ใชน ํา้ ผึ้งบริสุทธ์ิ 25 กิโลกรัม ตอตัวยา 100 กิโลกรมั )3 คุณภาพของตัวยาจากลักษณะภายนอก: ตวั ยาท่ีมีคุณภาพดี ตองเปน ใบท่ีสมบูรณ ใหญและหนา สเี ขยี วอมเหลือง เปราะและแตกงา ย และปราศจากส่ิงปนปลอม4 สรรพคุณตามตาํ ราการแพทยแผนจีน: ใบหมอน รสขมอมหวาน เยน็ มีฤทธ์กิ ระจายลมรอน ชวยใหผ อ นคลาย แกห วดั จากการกระทบ ลมรอน ปวดศีรษะ มฤี ทธิใ์ หความชุมชื้น และระบายความรอ นที่ปอด ชวยขับความรอ นจากปอด แก อาการไอแหง และมฤี ทธ์ผิ อนคลายตับ ชว ยใหต าสวา ง แกอ าการเวยี นศีรษะ (เน่อื งจากหยางของตบั กําเริบ) ตาอกั เสบ ตาลาย1 ใบหมอ นผัดน้าํ ผ้ึง มคี ณุ สมบัติคอ นขา งชุมชื้น เหมาะสําหรับผูปวยทมี่ อี าการไอแหง3 สรรพคุณตามตาํ ราการแพทยแผนไทย: ใบหมอน รสจืด เย็น ใชแกไข ตัวรอน รอนในกระหายน้ํา แกไอ ระงับประสาท ขับเหง่ือ แก เจ็บคอ5 ขนาดที่ใชและวิธีใช: การแพทยแผนจีน ใช 5-9 กรัม ตมเอานํ้าดื่ม1 ขอมูลวิชาการท่ีเกี่ยวของ: 1. นํา้ คน้ั และสารสกัดเมทานอลจากใบมีฤทธติ์ านอนมุ ลู อสิ ระ สารสกดั นา้ํ ของใบหมอนมฤี ทธิ์ ลดนาํ้ ตาลในเลือดของหนูถีบจกั รที่เปนเบาหวานเนอ่ื งจากไดรับสาร streptozotocin เมอ่ื ฉีดเขา ทางชอง ทองในขนาด 200 มิลลกิ รัม/กิโลกรมั นอกจากนสี้ ารสกัดแอลกอฮอลจ ากใบหมอนมฤี ทธลิ์ ดความดนั โลหติ ในหนู และสารสกัดนํ้าประกอบดวยสาร kuwanon L, mulberrofuran A และ sangenone C มี ฤทธิ์ตานเช้ือแบคทีเรีย5 2. จากการวิจยั ทโี่ รงพยาบาลสาํ โรง จงั หวดั อบุ ลราชธานี ในผปู ว ยเบาหวานชนิดท่ี 2 ทไี่ ดรับ ยา glibenclamide พบวา เมื่อใหแ คปซูลหมอ นรว มดว ยในขนาด 20 กรมั ตอ วัน นาน 8 สปั ดาห มีผล ชว ยลดระดับนํา้ ตาลในเลอื ดกอ นอาหารเชา และระดับฮีโมโกลบิน เอวันซี (HbA1C) อยางมีนยั สาํ คัญ เมอ่ื เทยี บกบั เมื่อกอ นรบั ประทานหมอน ขณะทกี่ ลมุ ทีไ่ ดร บั ยาหลอกไมมกี ารเปลยี่ นแปลง การนาํ ใบหมอน ในรปู แบบชาชงหรอื สารสกัดมาใชในการควบคุมระดบั นํา้ ตาลในเลือด ยงั ตองศกึ ษาวจิ ยั ทางคลินิกเพ่ิมเตมิ 5

Page 131 คมู อื การใชสมนุ ไพรไทย-จนี 121 3. การศึกษาพิษเฉียบพลนั ของสารสกัด 50% แอลกอฮอลจากพชื ทงั้ ตน เม่ือฉดี เขา ชอ งทอ งหนู ถีบจกั ร มีคา LD50 มากกวา 1 กรมั /นาํ้ หนกั ตัว 1 กิโลกรัม5 เอกสารอางองิ 1. The State Pharmacopoeia Commission of P.R. China. Pharmacopoeia of the People’s Republic of China. Vol.I. English Edition. Beijing: People’s Medical Publishing House, 2005. 2. ลีนา ผูพฒั นพงศ, กองกานดา ชยามฤต, ธรี วฒั น บุญทวคี ณุ (คณะบรรณาธกิ าร). ช่ือพรรณไมแ หง ประเทศไทย (เตม็ สมิตินันทน ฉบับแกไ ขเพิม่ เตมิ พ.ศ. 2544). สาํ นกั วิชาการปา ไม. กรมปา ไม. พิมพค ร้งั ที่ 2. กรงุ เทพมหานคร : บรษิ ัท ประชาชน จาํ กดั , 2544. 3. Gong QF. Zhongyao Paozhi Xue. 2nd ed. Beijing: National Chinese Traditional Medicine Publishing House, 2003. 4. Liu TS, Pan QP, Zhou YS, Wu ZY. XiuZhen Zhongyaoyinpian Caise Tuben. 1st ed. Hunan: Hunan Science & Technology Publishing House, 2006. 5. อญั ชลี จูฑะพุทธิ (บรรณาธิการ). สมนุ ไพรไทยกาวไกลสูสากล. กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ ร.ส.พ., 2548.

Page 132 122 กรมพัฒนาการแพทยแผนไทยและการแพทยทางเลือก เปลือกรากโบตัน๋ : Mudanpi (牡丹皮) เปลือกรากโบต๋ัน หรือ หมูตันผี คือ เปลือกรากแหงของพืชท่ีมีชื่อวิทยาศาสตรวา Paeonia suffruticosa Andr. วงศ Ranunculaceae1 2 เซนติเมตร เปลอื กรากโบตน๋ั (Cortex Moutan) ช่ือไทย: เปลือกรากโบตั๋น (กรุงเทพฯ)2 ช่ือจีน: หมูตันผี (จีนกลาง), โบวตัวพวย (จีนแตจิ๋ว)1 ช่ืออังกฤษ: Tree Paeony Bark1 ช่ือเครื่องยา: Cortex Moutan1 การเกบ็ เก่ียวและการปฏบิ ตั หิ ลังการเกบ็ เกี่ยว: เก็บเก่ียวรากอายุประมาณ 3-5 ปในฤดูใบไมรวง แยกเอารากฝอยและแกนลําตนทิ้ง ลอก เอาเฉพาะเปลือกราก ตากแดดใหแหง เก็บรกั ษาไวใ นทีม่ อี ากาศเย็นและแหง มีการระบายอากาศดี1 การเตรียมตัวยาพรอมใช: การเตรียมตัวยาพรอมใชม ี 2 วธิ ี ดงั นี้ วธิ ที ี่ 1 เปลือกรากโบตัน๋ เตรียมโดยนาํ วัตถดุ ิบสมุนไพรมาลา งนาํ้ อยา งรวดเร็วใหสะอาด ใส ภาชนะปดฝาไวเพ่ือใหออนนุม หั่นเปนแวน หนา ๆ และนําไปตากแหง 1,3 วิธีท่ี 2 เปลอื กรากโบตน๋ั เผา เตรียมโดยนําตวั ยาทไ่ี ดจ ากวธิ ีที่ 1 ใสกระทะ นาํ ไปผดั โดยใชไฟ ระดับปานกลาง ผัดจนกระทงั่ ผวิ นอกสนี ํา้ ตาลดํา พรมน้ําเลก็ นอ ย นาํ ออกจากเตา ตั้งทง้ิ ไวใ หเ ยน็ แลว รอ น เอาเศษเล็ก ๆ ออก (มีรายงานวา อณุ หภูมิที่เหมาะสมคือ 250 องศาเซลเซยี ส ผัดนาน 10 นาท)ี 3,4

Page 133 คมู ือการใชสมุนไพรไทย-จนี 123 คณุ ภาพของตวั ยาจากลักษณะภายนอก: ตัวยาทม่ี คี ุณภาพดี เปลือกรากตองหนา ตรงกลางกลวง ดานหนา ตดั สขี าว มีแปง และผลึกมาก มกี ลน่ิ หอมฉุน5 สรรพคุณตามตาํ ราการแพทยแ ผนจีน: เปลือกรากโบตั๋น รสขม เผ็ด เย็นเล็กนอ ย มีฤทธิ์ระบายความรอน ทําใหเลอื ดเยน็ แกผ ื่นผด แดงบนผวิ หนัง อาเจยี นเปนเลอื ด เลอื ดกําเดาออก แกพ ิษไขก ระทบธาตุน้ํา ยินพรอง รอ นใน นอกจากนี้ ยังมีฤทธ์ทิ าํ ใหเ ลอื ดหมนุ เวียน กระจายเลอื ดค่งั แกห ลอดเลอื ดตบี ประจาํ เดือนไมม า ปวดประจําเดอื น เปน เถาดาน กอนในทอ ง ฟกชา้ํ หรอื ชํา้ ในจากการกระทบกระแทก แกพ ษิ ฝ บวม อกั เสบ ฝในลาํ ไส หรือ 1 ไสต ิง่ อกั เสบ ปวดทองนอ ย เปลอื กรากโบตั๋นเผา รสขมเลก็ นอ ย จะมีฤทธิ์ระบายความรอ นออ นลง แตเ พ่ิมฤทธิท์ ําใหเ ลอื ดเย็น 3,4 และฤทธิ์หามเลือดแรงข้ึน โดยท่วั ไปใชแกอ าเจยี นเปน เลอื ด และเลอื ดกําเดาออก ขนาดท่ใี ชแ ละวธิ ีใช: การแพทยแผนจนี ใชขนาด 6-12 กรัม ตมเอานํ้าดื่ม1 ขอหามใช ขอ ควรระวงั และอาการขา งเคียง: ผปู วยทม่ี ปี ระจําเดอื นมามากเกินไปและสตรมี คี รรภหามใช (การแพทยแ ผนจนี )1 ขอมูลวิชาการทเ่ี กย่ี วขอ ง: 1. สารพโี อนอล (paeonol) ซ่งึ เปนองคป ระกอบทางเคมีของเปลอื กรากโบตน๋ั มีฤทธต์ิ าน อกั เสบในหนถู ีบจักร หนขู าว และหนตู ะเภา ชว ยใหการไหลเวยี นของเลอื ดดขี ึน้ ในสุนัข ระงับปวด ระบาย ความรอน ลดไข และสงบประสาทในหนูถีบจกั ร ขับปสสาวะในหนูขาว สารสกดั น้ําชวยใหการทํางานของ หัวใจหนขู าวเปน ปกติ และลดความดนั โลหิตในสนุ ัข6 2. ยาเตรยี มจากสารพีโอนอลมสี รรพคุณรักษาโรคผิวหนัง เชน ผดผืน่ แดง ยาตม มีสรรพคุณ รักษาโรคความดนั โลหิตสงู และโพรงจมกู อกั เสบจากการแพ6 3. เมื่อใหสารพีโอนอลที่ละลาย (แขวนตะกอน) ในน้ํามันถัว่ ลสิ ง ความเขมขน 1:1 ทางปาก และฉีดเขาชอ งทอ งหนถู บี จกั ร พบวาขนาดของสารพโี อนอลทท่ี ําใหห นูถบี จกั รตายรอ ยละ 50 (LD50) มี คา เทา กับ 4.9 และ 0.735 กรัม/กิโลกรัม ตามลาํ ดับ6 เอกสารอางอิง 1. The State Pharmacopoeia Commission of P.R. China. Pharmacopoeia of the People’s Republic of China. Vol.I. English Edition. Beijing: People’s Medical Publishing House, 2005.

Page 134 124 กรมพัฒนาการแพทยแผนไทยและการแพทยทางเลอื ก 2. ลีนา ผูพัฒนพงศ, กองกานดา ชยามฤต, ธรี วัฒน บุญทวีคุณ (คณะบรรณาธกิ าร). ช่อื พรรณไมแหง ประเทศไทย (เตม็ สมิตินันทน ฉบบั แกไ ขเพิม่ เติม พ.ศ. 2544). สาํ นกั วิชาการปา ไม. กรมปา ไม. พมิ พค รั้งที่ 2. กรุงเทพมหานคร : บรษิ ทั ประชาชน จํากัด, 2544. 3. Gong QF. Zhongyao Paozhi Xue. 2nd ed. Beijing: National Chinese Traditional Medicine Publishing House, 2003. 4. Lei GL, Du BS. Zhongyao Paozhi Jishu Zhinan. 1st ed. Xi-an: Xi-an World Library Publishing House, 2002. 5. Liu TS, Pan QP, Zhou YS, Wu ZY. XiuZhen Zhongyaoyinpian Caise Tuben. 1st ed. Hunan: Hunan Science & Technology Publishing House, 2006. 6. Hou JY. Cortex Moutan: mudan pi. In: Wang BX, Ma JK, Zheng WL, Qu SY, Li R, Li YK (eds.). Modern study of pharmacology in traditional Chinese medicine. 2nd ed. Tianjin: Tianjin Science & Technology Press, 1999.

Page 135 คมู ือการใชส มุนไพรไทย-จีน 125 เปลอื กรากหมอ น : Sangbaipi (桑白皮) เปลอื กรากหมอน หรือ ซงั ไปผี คอื เปลือกรากแหงของพืชท่ีมีช่ือวิทยาศาสตรวา Morus alba L.วงศ Moraceae1 2 เซนตเิ มตร เปลือกรากหมอน (Cortex Mori) ช่ือไทย: เปลือกรากหมอน (ทั่วไป)2 ช่ือจีน: ซังไปผี (จีนกลาง), ซึงแปะพว ย (จีนแตจ ิ๋ว)1 ชื่ออังกฤษ: White Mulberry Root-bark1 ช่ือเคร่ืองยา: Cortex Mori1 การเก็บเกยี่ วและการปฏิบตั หิ ลังการเกบ็ เกี่ยว: เก็บเก่ียวรากในฤดูใบไมรวงเมื่อใบรวงหมด และในตนฤดูใบไมผลิกอนเร่ิมผสมพันธุ แยก รากฝอยและดินออก ขูดเปลือกหยาบสีนา้ํ ตาลอมเหลืองออก หั่นตามยาว ลอกเอาเฉพาะเปลือกแลว นําไปตากแดดใหแหง เก็บรกั ษาไวใ นทีม่ ีอากาศเย็นและแหง มีการระบายอากาศดี1 การเตรียมตัวยาพรอมใช: การเตรียมตัวยาพรอ มใชม ี 2 วธิ ี ดังน้ี วิธีที่ 1 เปลือกรากหมอน เตรยี มโดยนําวัตถุดบิ สมนุ ไพรทไี่ ด มาลางดวยน้ําสะอาด ใสภาชนะปด ฝาไวเ พ่ือใหอ อนนมุ หัน่ เปน เสนหรือแวน หนา ๆ และนาํ ไปทําใหแ หง 1,3

Page 136 126 กรมพัฒนาการแพทยแผนไทยและการแพทยทางเลอื ก วิธที ่ี 2 เปลือกรากหมอ นผดั นํ้าผ้งึ เตรียมโดยนํานํ้าผ้ึงบริสุทธ์ิมาเจอื จางดว ยนํ้าตม ในปริมาณที่ เหมาะสม ใสตัวยาท่ีไดจากวิธีท่ี 1 แลวคลุกใหเ ขา กนั หมักไวส กั ครูเ พือ่ ใหนาํ้ ผึ้งซึมเขา ในตวั ยา จากน้นั นําไปผัดในกระทะโดยใชระดับไฟปานกลาง ผดั จนกระทั่งมสี เี หลืองเขม และไมเ หนียวติดมอื นาํ ออกจาก เตา แลว ตัง้ ทิ้งไวใหเ ย็น (ใชน ้ําผึง้ บริสทุ ธ์ิ 25 กิโลกรัม ตอ ตวั ยา 100 กิโลกรมั )3 คุณภาพของตัวยาจากลักษณะภายนอก: ตัวยาท่ีมีคุณภาพดี เปลือกหนา สีขาว เวลาปอกหรือลอกเปลือกตองมีละอองเกิดขึ้น4 สรรพคุณตามตําราการแพทยแผนจีน: เปลือกรากหมอน รสอมหวาน เย็น มีฤทธ์ิระบายความรอน บรรเทาอาการหอบ ใชแกไอ หอบหืด (เนอ่ื งจากปอดรอ น) และมีฤทธข์ิ ับปส สาวะ ลดบวม แกอาการบวมนา้ํ (ระบายและดงึ ชขี่ องปอด ลงตํา่ ปรับการหมุนเวียนของนํา้ ขับนํา้ ตัวบวม หนาบวม กลามเนื้อผิวหนังบวม น้ําทวมปอด ทําให หอบ ปสสาวะขัด)1 เปลอื กรากหมอ นผดั นา้ํ ผึง้ จะชว ยเพิม่ ความชมุ ชนื้ ใหปอด มีฤทธริ์ ะงับไอ เหมาะสําหรบั ผูปว ย ทีม่ อี าการไอและหอบเนอื่ งจากปอดพรอง3 ขนาดที่ใชและวิธีใช: การแพทยแผนจีน ใช 6-12 กรัม ตมเอาน้ําดื่ม1 ขอมูลวิชาการที่เก่ียวของ: 1. สารสกัดน้ําจากเปลือกรากหมอนมีฤทธิ์ลดนาํ้ ตาลในเลือดของหนูถีบจักรที่เปนเบาหวาน เนือ่ งจากไดร ับสาร streptozotocin เมอ่ื ฉีดเขาทางชองทอ งในขนาด 200 มลิ ลิกรมั /กโิ ลกรมั 5 2. สารสกดั บวิ ทานอลจากเปลอื กรากหมอนมฤี ทธลิ์ ดความดันโลหติ ในหนู สารสกดั แอลกอฮอล มีฤทธิ์ยบั ย้งั การเจริญของเช้อื รา5 3. สารสกดั นํา้ และสารสกดั บวิ ทานอลจากเปลอื กรากหมอ นฤทธแิ์ กไ อ ขับปส สาวะ ลดอาการบวม 5 และเปนยาสงบประสาทในสตั วท ดลองดวย 4. เมอ่ื ฉีดสารสกัดนํา้ เขาชอ งทอ งหนูถบี จกั รในขนาด 50 มิลลกิ รมั /กโิ ลกรัม จะทาํ ใหสัตวทดลอง สงบ ความรสู กึ สัมผัสและความเจบ็ ปวดลดลง สารสกัดน้าํ เม่อื ใหหนูถบี จกั รทางปากในขนาดเทยี บเทา ผง ยา 2 กรมั /กิโลกรัม มฤี ทธร์ิ ะงบั ปวดไดด ีเทียบเทา แอสไพรนิ 0.5 กรัม/กโิ ลกรมั สารสกัดนาํ้ ยังมีฤทธ์ิ ยับยง้ั เชอื้ โรคท่เี กิดอาการเจบ็ คอ เชอ้ื บิด และเชื้อรา6

Page 137 คูมอื การใชสมนุ ไพรไทย-จีน 127 5. เมอื่ ใหผปู ว ยเดก็ ทีม่ อี าการนํ้าลายไหลทีม่ ุมปากรบั ประทานสารสกัดนํา้ ในขนาดเทียบเทาผง ยา 20 กรัม โดยเดก็ ทีอ่ ายุตํ่ากวา 1 ขวบ ใหใ ชข นาดเทยี บเทา ผงยา 10 กรมั และใหแบง รบั ประทานวัน ละ 2-3 ครั้ง ติดตอกันนาน 3-7 วนั พบวา อาการดังกลาวหายเปนปกติ โดยท่ัวไปเปลอื กรากหมอนไมใช เด่ยี ว สวนใหญจ ะใชเปนสว นประกอบในตาํ รบั ยารักษาอาการบวมน้าํ หลอดลมอักเสบ และเยอ่ื หุม ปอด อกั เสบ6 6. การศกึ ษาพษิ เฉียบพลันของสารสกัด 50% แอลกอฮอลจ ากพชื ท้ังตนเมอื่ ฉีดเขา ชองทอง หนถู บี จกั ร มีคา LD50 มากกวา 1 กรัม/น้ําหนกั ตัว 1 กิโลกรัม สารสกดั บวิ ทานอลจากเปลอื กราก เม่ือให กนิ ฉดี เขาชองทอ ง หรือฉดี เขาหลอดเลือดดาํ ในหนูถีบจักร ขนาด 20, 10 และ 5 กรัม/กิโลกรมั นํ้าหนกั ตวั ตามลาํ ดบั ไมพ บความเปนพษิ 3 สารสกัดนา้ํ เมอ่ื ใหท างปาก หรือฉีดเขา ชองทอ งหนถู ีบจกั รในขนาด เทยี บเทา ผงยา 10 กรัม/กโิ ลกรมั และฉดี เขาทางหลอดเลอื ดดาํ ในขนาดเทยี บเทาผงยา 5 กรมั /กิโลกรมั ไมท าํ ใหหนูตวั ใดตาย นอกจากน้ยี งั พบวา การใหยาในขนาดสงู ครงั้ เดียว หรอื แบงรบั ประทานครง้ั ละนอย ๆ ใหผ ลไมแ ตกตางกัน ซ่งึ จากผลการทดลองขา งตน อาจกลาวไดว าเปลือกรากหมอ นมพี ิษนอ ย6 เอกสารอางอิง 1. The State Pharmacopoeia Commission of P.R. China. Pharmacopoeia of the People’s Republic of China. Vol.I. English Edition. Beijing: People’s Medical Publishing House, 2005. 2. ลีนา ผูพ ฒั นพงศ, กองกานดา ชยามฤต, ธีรวฒั น บญุ ทวีคณุ (คณะบรรณาธกิ าร). ชอื่ พรรณไมแ หง ประเทศไทย (เตม็ สมติ ินันทน ฉบบั แกไขเพมิ่ เติม พ.ศ. 2544). สาํ นกั วชิ าการปา ไม. กรมปา ไม. พมิ พค รงั้ ท่ี 2. กรุงเทพมหานคร : บรษิ ทั ประชาชน จาํ กดั , 2544. 3. Gong QF. Zhongyao Paozhi Xue. 2nd ed. Beijing: National Chinese Traditional Medicine Publishing House, 2003. 4. Liu TS, Pan QP, Zhou YS, Wu ZY. XiuZhen Zhongyaoyinpian Caise Tuben. 1st ed. Hunan: Hunan Science & Technology Publishing House, 2006. 5. อญั ชลี จูฑะพุทธิ (บรรณาธิการ). สมุนไพรไทยกา วไกลสูสากล. กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ ร.ส.พ., 2548. 6. Deng YC. Cortex Mori: sang bai pi. In: Wang BX, Ma JK, Zheng WL, Qu SY, Li R, Li YK (eds.). Modern study of pharmacology in traditional Chinese medicine. 2nd ed. Tianjin: Tianjin Science & Technology Press, 1999.

Page 138 128 กรมพัฒนาการแพทยแ ผนไทยและการแพทยทางเลือก โปงรากสน : Fuling (茯苓) โปง รากสน หรอื ฝหู ลงิ คอื เหด็ ท่ีมชี ือ่ วิทยาศาสตรว า Poria cocos (Schw.) Wolf วงศ Polyporaceae1 โปงรากสน (Poria) 3 เซนติเมตร ชื่อไทย: โปงรากสน2 ช่ือจีน: ฝหู ลงิ (จีนกลาง), หกเหล็ง (จีนแตจ ว๋ิ )1 ชื่ออังกฤษ: Indian Bread1 ช่ือเครื่องยา: Poria1 การเกบ็ เก่ียวและการปฏิบัตหิ ลงั การเกบ็ เกี่ยว: เกบ็ เก่ยี วสมุนไพรในปลายฤดูรอ น แยกเอาดนิ ออก รวมเปน กอง ๆ เกลยี่ ใหแ ผกระจาย ทงิ้ ไว ทอ่ี ุณหภมู หิ องจนกระทงั่ ผิวนอกแหง ทําซา้ํ หลาย ๆ คร้งั จนกระทง่ั ผวิ นอกยน และน้าํ ขางในเนื้อคอย ๆ ระเหย และตากใหแ หง ในที่รม เก็บรักษาไวใ นทม่ี อี ากาศเย็นและแหง มกี ารระบายอากาศด1ี การเตรียมตัวยาพรอมใช: การเตรยี มตัวยาพรอ มใชมี 2 วธิ ี ดงั นี้ วิธที ี่ 1 โปง รากสน เตรยี มโดยนําวตั ถุดบิ สมุนไพรท่ีได มาลางนํา้ ใหส ะอาด ใสใ นหมอ นง่ึ ทีม่ ฝี า ปด มิดชิด น่ึงสักครูจนกระทงั่ สมนุ ไพรออนนุม ปอกเปลือกออก หนั่ เปนแวนหนา ๆ และนําไปทําใหแ หง1,3 วิธีท่ี 2 โปง รากสนชาด เตรียมโดยนาํ ตัวยาท่ีไดจากวิธีที่ 1 ใสลงในชาด (แรธาตุท่ีมีสีแดง เปน สารประกอบของเมอรค วิ รกิ ซลั ไฟด) ทีบ่ ดเปน ผงละเอยี ด คลกุ เคลาใหเ ขากนั (ใชผ งชาด 2 กโิ ลกรัม ตอตัวยา 100 กิโลกรัม)3

Page 139 คมู อื การใชสมนุ ไพรไทย-จนี 129 คุณภาพของตัวยาจากลักษณะภายนอก: ตวั ยาทีม่ ีคุณภาพดี ตองมีน้าํ หนกั มคี ณุ สมบัตแิ ขง็ และเหนยี ว ไมม รี อยแตก หนาตดั สขี าว ละเอียดเปนมัน4 สรรพคุณตามตาํ ราการแพทยแผนจีน: โปงรากสน รสจืดอมหวาน สุขุม มีฤทธิ์ระบายนา้ํ สลายความช้ืน สรรพคุณแกอาการบวมนาํ้ ปสสาวะขัด และมฤี ทธบิ์ าํ รงุ มา ม กลอ มประสาท แกอาการมามพรอ ง ระบบการยอ ยอาหารออ นแอ เบ่ือ อาหาร ออ นเพลีย ใจส่นั นอนไมหลับ1 3 โปงรากสนชาด มีฤทธก์ิ ลอ มประสาทแรงขึ้น ขนาดที่ใชและวิธีใช: การแพทยแผนจีน ใชขนาด 9-15 กรัม ตมเอานํา้ ดื่ม1 ขอมูลวิชาการที่เกี่ยวของ: 5 1. ผง สารสกดั นํ้ามีฤทธิ์สงบประสาทในหนูถีบจกั ร คลายกลา มเนอื้ เรยี บของลาํ ไสก ระตาย ยาเม่ือใหทางปากหนูถีบจักรในขนาด 100 มิลลิกรัม/กิโลกรัม มผี ลยับย้ังอาการผิวหนงั อกั เสบ สาร สกัดนํ้าตาลเชิงซอนเมื่อใหทางปากหนูถีบจักรในขนาด 250, 500, 1,000 มิลลิกรัม/กิโลกรัม วันละคร้ัง ติดตอกันนาน 7 วัน มีฤทธ์ิเสริมมามใหแข็งแรง และสารสกัด 70% แอลกอฮอล เมือ่ ฉีดเขา ชองทอง กระตา ยในขนาด 0.5 กรัม/กโิ ลกรัม วนั ละครงั้ ตดิ ตอกนั นาน 5 วัน มฤี ทธ์ิขับปสสาวะ นอกจากนยี้ ัง พบวา เมือ่ ฉีดยาเตรียมเขาใตผ วิ หนังหนขู าวในขนาดเทียบเทาผงยา 1.4 กรมั /กิโลกรมั วันละครงั้ ตดิ ตอกัน นาน 8 วัน มผี ลปกปอ งตบั ได6 2. สารสกดั นา้ํ สามารถบรรเทาอาการหวาดผวาและจติ ใจไมสงบชนิดเร้ือรัง และมีฤทธ์ิระบาย ความช้ืนและน้าํ 6 เอกสารอางอิง 1. The State Pharmacopoeia Commission of P.R. China. Pharmacopoeia of the People’s Republic of China. Vol.I. English Edition. Beijing: People’s Medical Publishing House, 2005. 2. วิชัย โชคววิ ัฒน, ชวลิต สนั ตกิ ิจรุงเรือง, เย็นจติ ร เตชะดํารงสิน. ตาํ รับยาจีนทีใ่ ชบอยในประเทศไทย เลม 1. พิมพครงั้ ท่ี 1. กรุงเทพมหานคร : สํานกั งานกิจการโรงพิมพ องคก ารทหารผา นศึกในพระบรมราชูปถมั ภ, 2549. 3. Lei GL, Dun BS. Zhongyao Paozhi Jishu Zhinan. 1st ed. Xi-an: World Library Publishing House, 2002. 4. Liu TS, Pan QP, Zhou YS, Wu ZY. XiuZhen Zhongyaoyinpian Caise Tuben. 1st ed. Hunan: Hunan Science & Technology Publishing House, 2006. 5. Bensky D, Gamble A. Chinese herbal medicine: Materia medica. Revised edition. Washington: Eastland Press, 1993. 6. Hu RJ, Wang SX. Poria: fu ling. In: Wang BX, Ma JK, Zheng WL, Qu SY, Li R, Li YK (eds.). Modern study of pharmacology in traditional Chinese medicine. 2nd ed. Tianjin: Tianjin Science & Technology Press, 1999.

Page 140 130 กรมพฒั นาการแพทยแผนไทยและการแพทยทางเลอื ก ผลพุดซอ น : Zhizi (栀子) ผลพุดซอน หรือ จือจ่ือ คือ ผลสุกที่ทําใหแหงของพืชที่มีช่ือวิทยาศาสตรวา Gardenia jasminoides J. Ellis วงศ Rubiaceae1 2 เซนตเิ มตร ผลพุดซอ น (Fructus Gardeniae) ช่ือไทย: ผลพุดซอน, ผลพุดจีน, ผลพุดใหญ (ภาคกลาง); ผลพุทธรักษา (ราชบุรี); ผลเคดถวา, ผลแคถวา (เชียงใหม)2 ช่ือจีน: จือจ่ือ (จีนกลาง), กีจ้ือ (จีนแตจิ๋ว)1 ช่ืออังกฤษ: Cape Jasmine Fruit1 ชื่อเคร่ืองยา: Fructus Gardeniae1 การเก็บเก่ียวและการปฏบิ ตั หิ ลงั การเก็บเก่ียว: เก็บเกี่ยวผลสุกในฤดูใบไมรวงเมื่อผลเริ่มเปลี่ยนเปนสีเหลืองแดง แยกเอากานผลและสิ่ง แปลกปลอมท้ิง น่ึงดวยไอน้าํ หรือลวกดวยนาํ้ เดือดสักครู ทําใหแหง เก็บรักษาไวในท่ีมีอากาศเย็นและ แหง มีการระบายอากาศดี1 การเตรียมตัวยาพรอมใช: การเตรียมตวั ยาพรอ มใชมี 4 วธิ ี ดงั นี้ วิธีท่ี 1 ผลพดุ ซอ น เตรยี มโดยนําวตั ถดุ ิบสมนุ ไพรมาแยกสงิ่ อน่ื ทปี่ ะปนออก ทบุ ใหแตกกอ นใช1 ,3 วิธีที่ 2 ผลพุดซอ นผดั เตรียมโดยนาํ ตวั ยาท่ีไดจ ากวธิ ที ่ี 1 มาทุบใหแ ตก ใสกระทะ นําไปผัดโดย ใชไ ฟออน ๆ ผดั จนกระทง่ั ผวิ นอกสเี หลอื งเขม นาํ ออกจากเตา ตง้ั ทง้ิ ไวใหเย็น3

Page 141 คมู อื การใชสมุนไพรไทย-จนี 131 วิธีท่ี 3 ผลพดุ ซอนผัดเกรยี ม เตรียมโดยนาํ ตัวยาที่ไดจ ากวิธีที่ 1 มาทบุ ใหแตก ใสก ระทะ นาํ ไป 3 ผดั โดยใชระดบั ไฟปานกลาง ผัดจนกระทง่ั ผวิ นอกสีเหลอื งไหม นําออกจากเตา ตงั้ ทิ้งไวใ หเ ยน็ วิธีที่ 4 ผลพดุ ซอ นถา น เตรยี มโดยนําตวั ยาท่ไี ดจ ากวธิ ที ี่ 1 มาทบุ ใหแตก ใสก ระทะ นาํ ไปผัด โดยใชร ะดบั ไฟแรง ผัดจนกระทั่งผวิ นอกของตวั ยามสี นี ํ้าตาลดํา พรมน้าํ เลก็ นอย นําออกจากเตา ต้งั ทง้ิ ไวใ หเ ยน็ 3 คุณภาพของตวั ยาจากลักษณะภายนอก: ตวั ยาทมี่ ีคุณภาพดี ผลมขี นาดเลก็ เปลอื กผลบาง เน้ือมาก ดา นนอกและดานในมีสแี ดง4 สรรพคณุ ตามตาํ ราการแพทยแผนจีน: ผลพดุ ซอน รสขม เยน็ มีฤทธิข์ บั ความรอ น แกห งุดหงิด แกไข (ความรอนจากหวั ใจทาํ ให หงดุ หงิดและกระวนกระวาย) มีฤทธ์ริ ะบายความรอ น เสริมความชืน้ แกด ซี าน (ตัวเหลอื งจากความรอน หรือรอนช้ืนของตับและถุงนา้ํ ดี) มีฤทธ์ิบรรเทาอาการพิษอักเสบ ทาํ ใหเลือดเย็น แกเลือดกําเดาไหล ปสสาวะและอาเจียนเปน เลือด (เนอื่ งจากโลหติ มีพิษรอน) และมฤี ทธลิ์ ดบวมจากการอักเสบ ระงบั ปวด แกอกั เสบบวมแดง พิษอกั เสบของแผล ฝอกั เสบบวมจากการกระทบกระแทก1 ผลพดุ ซอนผดั และผลพดุ ซอ นผัดเกรียม มสี รรพคณุ และวธิ ใี ชเหมอื นกัน แตผลพุดซอ นผดั จะมีรสขมและเยน็ มากกวา โดยทวั่ ไปหากความรอ นสงู จะใชผลพุดซอนผัด สาํ หรับผลพุดซอนผดั เกรยี ม จะใชใ นกรณที ี่ระบบกระเพาะอาหารและมา มพรอ ง ตวั ยาทง้ั สองชนิดนีม้ ีฤทธ์ริ ะบายความรอ น แกหงุดหงดิ ใชร ักษาอาการความรอ นจากหวั ใจทําใหหงุดหงดิ ตับรอนทําใหตาแดง3 ผลพดุ ซอ นถาน มีฤทธทิ์ ําใหเ ลือดเยน็ และหามเลอื ด ใชรักษาอาการปส สาวะและอาเจยี นเปน เลอื ด เลือดกําเดาออก ไอเปน เลอื ด3 ขนาดท่ใี ชและวธิ ีใช: การแพทยแ ผนจีน ใช 6-9 กรัม ตม เอานํ้าดม่ื 1 ขอหามใช ขอควรระวัง และอาการขางเคียง: การแพทยแ ผนจนี ผลพดุ ซอนไมเหมาะสาํ หรบั คนธาตุออ น อจุ จาระเหลว1 ขอมลู วชิ าการทเี่ กีย่ วของ: 1. สารสกดั นํ้ามีฤทธ์ิปกปอ งตับและขับน้ําดใี นหนูขาว ระงับปวด ลดไข และแกโรคผิวหนงั หลาย ชนดิ ในหนถู ีบจักร สารสกดั แอลกอฮอล สารสกัดเอทลิ อะซเี ตท และสารสกดั เมทานอลมฤี ทธิ์ตานอักเสบ ในหนถู บี จักรและกระตาย5,6

Page 142 132 กรมพฒั นาการแพทยแผนไทยและการแพทยทางเลอื ก 2. สารสกัดนา้ํ มีสรรพคุณแกโรคดซี า นชนดิ เฉียบพลัน กระเพาะปสสาวะอกั เสบชนิดเฉยี บพลนั ลดบวม และระงบั ปวด5,6 3. การศึกษาพษิ เฉยี บพลนั ในหนถู บี จักร โดยฉดี สารสกัดเมทานอลเขาชองทอ งและใหท างปาก พบวาขนาดของสารสกดั เทียบเทาผงยาทท่ี าํ ใหห นถู บี จักรตายรอ ยละ 50 (LD50) มีคา เทากบั 17.1 และ 107.4 กรัม/กิโลกรมั ตามลําดบั 5 เอกสารอางองิ 1. The State Pharmacopoeia Commission of P.R. China. Pharmacopoeia of the People’s Republic of China. Vol.I. English Edition. Beijing: People’s Medical Publishing House, 2005. 2. ลีนา ผูพฒั นพงศ, กองกานดา ชยามฤต, ธีรวฒั น บญุ ทวคี ุณ (คณะบรรณาธิการ). ชื่อพรรณไมแ หง ประเทศไทย (เตม็ สมติ ินนั ทน ฉบบั แกไ ขเพิ่มเติม พ.ศ. 2544). สํานักวชิ าการปา ไม. กรมปา ไม. พมิ พค รงั้ ท่ี 2. กรงุ เทพมหานคร : บรษิ ทั ประชาชน จํากดั , 2544. 3. Gong QF. Zhongyao Paozhi Xue. 2nd ed. Beijing: National Chinese Traditional Medicine Publishing House, 2003. 4. Liu TS, Pan QP, Zhou YS, Wu ZY. XiuZhen Zhongyaoyinpian Caise Tuben. 1st ed. Hunan: Hunan Science & Technology Publishing House, 2006. 5. Hou JY. Fructus Gardeniae: zhi zi. In: Wang BX, Ma JK, Zheng WL, Qu SY, Li R, Li YK (eds.). Modern study of pharmacology in traditional Chinese medicine. 2nd ed. Tianjin: Tianjin Science & Technology Press, 1999. 6. Institute of Materia Medica, Chinese Academy of Medicinal Sciences. Chinese Materia Medica. Vol. III. 2nd ed. Beijing: Renmin Weisheng Publishing House, 1984.

Page 143 คมู ือการใชส มนุ ไพรไทย-จีน 133 ผลเลีย่ น : Chuanlianzi (川楝子) ผลเล่ียน หรือ ชวนเลี่ยนจื่อ คือ ผลสุกที่ทาํ ใหแหงของพืชที่มีชื่อวิทยาศาสตรวา Melia toosendan Sieb. et Zucc. วงศ Meliaceae1 2 เซนติเมตร ผลเลย่ี น (Fructus Toosendan) ช่ือไทย: ผลเลี่ยน, ผลเคี่ยน, ผลเล่ียนใบใหญ (ภาคกลาง); ผลเกรียน, ผลเฮี่ยน (ภาคเหนือ)2 ชื่อจีน: ชวนเล่ียนจ่ือ (จีนกลาง), ชวนเหลี่ยนจี้ (จีนแตจ๋ิว)1 ชื่ออังกฤษ: Szechwan Chinaberry Fruit1 ชื่อเครื่องยา: Fructus Toosendan1 การเกบ็ เกีย่ วและการปฏิบตั หิ ลังการเกบ็ เกี่ยว: เก็บเก่ียวผลสกุ ในฤดูหนาว แยกสง่ิ อน่ื ท่ีปะปนออก ตากแดดใหแ หง เกบ็ รกั ษาไวใ นทมี่ ีอากาศ เย็นและแหง มีการระบายอากาศดี1 การเตรยี มตัวยาพรอ มใช: การเตรยี มตวั ยาพรอ มใชมี 3 วธิ ี ดงั น้ี วิธที ี่ 1 ผลเลยี่ น เตรยี มโดยนาํ วตั ถุดิบสมนุ ไพรทปี่ ราศจากสงิ่ ปนปลอมมาทบุ ใหแตกกอ นใช1 ,3 วธิ ที ี่ 2 ผลเลี่ยนผัด เตรียมโดยนาํ ตวั ยาท่ีไดจากวธิ ีท่ี 1 มาหั่นเปนแวน หรอื เปนช้ินเล็ก ๆ นาํ ไป ใสก ระทะ ผัดโดยใชไ ฟระดบั ปานกลาง ผัดจนกระทง่ั ผวิ นอกมสี เี หลอื งไหมหรอื สีนา้ํ ตาลไหม นาํ ออกจาก เตา ต้งั ทง้ิ ไวใ หเยน็ แลว รอ นเอาเศษเลก็ ๆ ออก1,3

Page 144 134 กรมพฒั นาการแพทยแผนไทยและการแพทยทางเลือก วิธีที่ 3 ผลเลี่ยนผัดนาํ้ เกลือ เตรียมโดยนําตัวยาท่ีไดจากวิธีที่ 1 มาหั่นเปนแวนหรือเปนช้ิน เล็ก ๆ ใสใ นภาชนะทเ่ี หมาะสม เติมนํา้ เกลอื คลกุ เคลาใหเขากนั ตัง้ ทิ้งไวจ นกระทัง่ นาํ้ เกลอื แทรกซมึ เขาไป ในเน้อื ตวั ยา จากนั้นนาํ ไปใสก ระทะ ผดั โดยใชไ ฟระดบั ปานกลาง ผัดจนกระทงั่ ผวิ นอกมีสีเหลอื งเขม นํา ออกจากเตา ตง้ั ท้ิงไวใ หเ ยน็ แลวรอ นเอาเศษเล็ก ๆ ออก (ใชเ กลือบรสิ ุทธ์ิ 2 กิโลกรมั ตอ ตัวยา 100 กโิ ลกรัม)1,3 คุณภาพของตวั ยาจากลักษณะภายนอก: ตวั ยาทีม่ ีคุณภาพดี ตองเปนผลขนาดใหญ มเี น้ือมาก ผวิ นอกสเี หลืองทอง เนอื้ ในผลสขี าวเหลอื ง4 สรรพคุณตามตําราการแพทยแผนจีน: ผลเลี่ยน รสขม เย็น มีฤทธ์ทิ าํ ใหชหี่ มนุ เวียน บรรเทาปวด สรรพคุณคลายเครียด แกร อ นใน 1 บรรเทาอาการปวดตาง ๆ และมีฤทธ์ิฆาพยาธิ หดิ กลาก เกลอ้ื น แกป วดทองเนอื่ งจากพยาธติ า ง ๆ ผลเลยี่ นผดั จะชว ยใหรสขมและเย็นลดลง ลดพิษ มฤี ทธ์ชิ ว ยใหช ่ีหมุนเวยี นและบรรเทาปวด ใชร ักษาอาการปวดบรเิ วณใตชายโครงและปวดทอง3 ผลเลย่ี นผัดนํา้ เกลือ จะชว ยนาํ ตวั ยาลงสสู ว นลา งของรางกาย (ตง้ั แตใ ตสะดอื ลงมาจนถงึ ทอง) ใชรกั ษาอาการไสเ ลอ่ื น อณั ฑะปวดบวม3 สรรพคุณตามตําราการแพทยแ ผนไทย: ผลเล่ยี น ใชเปนยาขับพยาธิตวั กลม แกโ รคเรอื้ น และฝคันทะมาลา5,6 ขนาดทใ่ี ชแ ละวิธีใช: การแพทยแ ผนจนี ใชขนาด 4.5-9 กรมั ตมเอานํ้าดม่ื 1 การแพทยแ ผนไทย ใชข นาด 15-20 กรมั 5 และใชภายนอกโดยนําผลเลย่ี น 5-7 ตมเอานํ้าดืม่ ผลมาตําใหล ะเอียด เตมิ น้ํามันพืช แลว ใชท าบริเวณท่เี ปน วันละ 2-3 คร้ัง ติดตอ กันจนกวาจะหาย นอกจากน้ียังสามารถใชผลทโี่ ตเต็มท่สี ด ๆ 10-15 ผล โขลกใหละเอียด เตมิ นํา้ มันมะพราว 3-4 ชอนแกง ชโลมผมที่เปน เหาท้งิ ไว 1 ชั่วโมง แลว สระใหสะอาด สระติดตอ กัน 2-3 วัน6 ขอหา มใช ขอ ควรระวัง และอาการขา งเคียง: ผลเลย่ี นมีพิษเล็กนอ ย ไมควรใชปรมิ าณมากหรือใชต อเน่ืองนาน ๆ (การแพทยแ ผนจีน) อาการ พิษทีพ่ บ ไดแก หายใจขัด แขนขาไมม ีแรง ปวดศีรษะ คลน่ื ไสอาเจยี น1,7 ขอ มลู วชิ าการที่เกี่ยวของ: 1. สารสกัดแอลกอฮอลและสารทเู ซนดานิน (toosendanin) มีฤทธิถ์ ายพยาธิ สารทูเซนดานนิ มีฤทธก์ิ ระตุนการบบี ตัวของกลา มเนื้อเรียบในกระตา ย และสารสกดั แอลกอฮอลค วามเขม ขน 10 % มี

Page 145 คูมือการใชส มนุ ไพรไทย-จีน 135 ฤทธต์ิ านเชอ้ื รา8 2. สารพษิ ทีพ่ บในผลเลยี่ นคือ แอลคาลอยด azaridine ซึง่ มฤี ทธิ์ทําใหคลื่นไสอ าเจยี น และ ทองรว งอยา งแรง เปนอัมพาต หายใจไมสม่าํ เสมอ หายใจขัด เดก็ เลก็ ๆ ถา กนิ ผลเลีย่ นเขาไปเพียง 6-8 ผล จะเปน อนั ตรายถึงตายได การรกั ษาทาํ ไดโ ดย ทําใหอ าเจียน ใหด ื่มนมหรือไขข าวเพ่อื ลดการดดู ซมึ ของสารพษิ แลว รบี นําสงโรงพยาบาล อาจใหน ํา้ เกลอื เพือ่ รกั ษาสมดลุ ของนํา้ และเกลอื แร และรักษาตาม อาการ9 3. ยาเมด็ ทเู ซนดานินมีสรรพคุณถา ยพยาธทิ งั้ ในเดก็ และผูใหญ8 4. เม่ือฉดี สารทเู ซนดานินเขาชอ งทอ ง หลอดเลอื ดดาํ ใตผวิ หนงั และใหทางปากหนถู บี จักร พบวา ขนาดสารทเู ซนดานนิ ท่ีทําใหหนถู บี จักรตายรอยละ 50 (LD50) มีคาเทา กบั 13.8, 14.6, 14.3 และ 244.2 มลิ ลิกรมั /กิโลกรมั ตามลําดับ เมือ่ ฉดี สารดงั กลาวเขาใตผ วิ หนังและใหท างปากหนูขาว และฉีดเขาหลอด เลือดดํากระตาย พบวา ขนาดสารดงั กลา วทีท่ ําใหสัตวท ดลองตาย รอยละ 50 (LD50) มคี าเทา กบั 9.8, 120.7 และ 4.2 มลิ ลกิ รมั /กโิ ลกรมั ตามลําดับ8 5. มีรายงานการทดลองทางคลนิ ิก พบวา ผลเลี่ยนมีสรรพคุณรักษาอาการตอมน้าํ นมแขง็ กระดา ง ชนิดเฉียบพลนั และแกก ลากเกล้อื นบนหนังศรี ษะไดผลด6ี 6. มรี ายงานการทดสอบความเปนพษิ พบวา สารสกดั ผลดว ยคลอโรฟอรม เมื่อฉีดเขา ชองทอ ง ของหนถู ีบจักร ขนาดที่ทําใหหนูตายรอยละ 50 เทากับ 1.5 กรัม/กโิ ลกรัม สว นสารสกัดผลดวยอีเทอร เม่อื ฉีดเขาชอ งทอ งของหนถู บี จักร ขนาดท่ที ําใหหนูตายรอยละ 50 เทา กับ 1.04 กรมั /กโิ ลกรมั 8 เอกสารอางองิ 1. The State Pharmacopoeia Commission of P.R. China. Pharmacopoeia of the People’s Republic of China. Vol.I. English Edition. Beijing: People’s Medical Publishing House, 2005. 2. ลนี า ผูพ ฒั นพงศ, กองกานดา ชยามฤต, ธีรวัฒน บุญทวีคณุ (คณะบรรณาธิการ). ชือ่ พรรณไมแ หงประเทศไทย (เตม็ สมิตินันทน ฉบบั แกไ ขเพิ่มเตมิ พ.ศ. 2544). สํานกั วิชาการปา ไม. กรมปา ไม. พิมพค ร้ังท่ี 2. กรุงเทพมหานคร : บริษทั ประชาชน จํากัด, 2544. 3. Gong QF. Zhongyao Paozhi Xue. 2nd ed. Beijing: National Chinese Traditional Medicine Publishing House, 2003. 4. Liu TS, Pan QP, Zhou YS, Wu ZY. XiuZhen Zhongyaoyinpian Caise Tuben. 1st ed. Hunan: Hunan Science & Technology Publishing House, 2006. 5. พเยาว เหมอื นวงษญาติ. สมนุ ไพรกา วใหม. พิมพค รงั้ ท่ี 2. กรงุ เทพมหานคร : บริษัท เมดคิ ัล มีเดยี จํากัด, 2537. 6. สนุ ทรี สิงหบตุ รา. สรรพคณุ สมุนไพร 200 ชนดิ . พมิ พคร้งั ที่ 1. กรุงเทพมหานคร : โอ.เอส.พร้นิ ติ้งเฮาส, 2536. 7. Institute of Materia Medica, Chinese Academy of Medicinal Sciences. Chinese Materia Medica. Vol. III. 2nd ed. Beijing: Renmin Weisheng Publishing House, 1984. 8. Qu SY. Fructus Toosendan: chuan lian zi. In: Wang BX, Ma JK, Zheng WL, Qu SY, Li R, Li YK (eds.). Modern study of pharmacology in traditional Chinese medicine. 2nd ed. Tianjin: Tianjin Science & Technology Press, 1999. 9. สถาบนั วจิ ัยสมนุ ไพร กรมวิทยาศาสตรก ารแพทย กระทรวงสาธารณสขุ . คูมือฐานขอมลู พืชพิษ. กรุงเทพมหานคร : โรงพมิ พกรมการ ศาสนา, 2545.

Page 146 136 กรมพัฒนาการแพทยแผนไทยและการแพทยทางเลอื ก ผกั คาวทอง : Yuxingcao (鱼腥草) ผักคาวทอง หรือ ยฺหวีซงิ เฉา คอื สวนเหนือดินแหง ของพืชท่ีมชี ่อื วิทยาศาสตรว า Houttuynia cordata Thunb.วงศ Saururaceae1 (Herba 3 เซนติเมตร ผักคาวทอง Houttuyniae) ชื่อไทย: ผักคาวทอง, พลูแก (กรุงเทพฯ); ผักคาวตอง, ผักขาวตอง (ภาคเหนือ); ผักกานตอง (แมฮองสอน)2 ชื่อจีน: ยฺหวีซิงเฉา (จีนกลาง), ห่ือชอเชา (จีนแตจ๋ิว)1 ชื่ออังกฤษ: Heartleaf Houttuynia Herb1 ชื่อเครื่องยา: Herba Houttuyniae1 การเก็บเก่ียวและการปฏิบตั หิ ลงั การเก็บเกี่ยว: เกบ็ เก่ียวสวนเหนอื ดินในฤดูรอ นเมือ่ พชื เจริญเติบโตเต็มที่ แยกเอาสิง่ ปะปนออก ตากแดดใหแ หง 1 เกบ็ รกั ษาไวใ นท่ีมอี ากาศเย็นและแหง มีการระบายอากาศดี การเตรียมตัวยาพรอมใช: หลังเก็บเก่ยี วสมนุ ไพรแลว แยกเอารากและสง่ิ อื่นท่ปี ะปนออก ลา งอยา งรวดเร็วใหส ะอาด หั่น เปน ทอ น ๆ และนาํ ไปตากใหแ หง 1,3 คุณภาพของตัวยาจากลักษณะภายนอก: 4 ตัวยาท่ีมีคุณภาพดี ตองมีสีนํา้ ตาลแดงออน ๆ ใบและลําตนสมบูรณ และมีกลิ่นคาวมาก

Page 147 คูมือการใชส มนุ ไพรไทย-จนี 137 สรรพคุณตามตาํ ราการแพทยแผนจีน: ผักคาวทอง มีรสเผ็ด เย็นเล็กนอย มีฤทธ์ิระบายความรอน ขับพิษ ขับหนอง ขับปสสาวะ ใชรักษาฝในปอด ไอหรืออาเจียนออกมามีเลือดปนหนอง ขับปสสาวะ แกอาการบวมน้ํา ฝอักเสบ บิด โรคติดเช้ือระบบทางเดินปสสาวะ ตานเช้ือแบคทีเรียโดยเฉพาะในระบบทางเดินหายใจ1,5,6 สรรพคุณตามตําราการแพทยแผนไทย: แพทยแผนโบราณใชตนแหงเปนยาขับปสสาวะ แกบวมนํ้า ฝบวมอักเสบ ไอ บิด โรคติดเชื้อ ทางเดินปส สาวะ หชู ั้นกลางอักเสบและรดิ สดี วง ตน สดใชภ ายนอกเปน ยาพอกฝ บวมอกั เสบ บาดแผล โรคผิวหนงั งพู ษิ กดั และชว ยใหก ระดกู เช่ือมติดกนั เรว็ ข้ึน ใบสดผงิ ไฟพอนิม่ ใชพ อกเนอื้ งอกชนดิ ตา ง ๆ รากเปนยาขับปสสาวะ7-9 ขนาดทใี่ ชแ ละวิธีใช: การแพทยแ ผนจีน ใช 15-25 กรมั 1 โดยตม เอาน้ําดื่ม กอนตมใหแ ชน้ําไว 1-3 นาที ตม ให เดอื ดนาน 5 นาที หากใชส ดใช 30-50 กรัมโดยตมหรือคั้นเอานํา้ ดื่ม หากใชภายนอกใหใ ชสมุนไพร 1,5 ปรมิ าณท่เี หมาะสม ตม เอานํา้ ชะลา งหรือใชตนสดตําพอก ขอมูลวชิ าการทเ่ี ก่ยี วขอ ง: 1. มีรายงานวา สารประเภทแอลคาลอยดทีแ่ ยกไดจ ากสว นเหนือดนิ ของผกั คาวทองแสดงฤทธิ์ ปานกลางในหลอดทดลองในการทําลายเซลลมะเรง็ เพาะเลีย้ ง 5 ชนดิ คือ เซลลมะเร็งปอด เซลลมะเร็ง รงั ไข เซลลเนือ้ งอกท่เี ปนเนื้อรา ย เซลลม ะเร็งสมอง และเซลลม ะเรง็ ลําไสใ หญ1 0 2. สารสกดั น้ําจากผกั คาวทองมีฤทธยิ์ บั ยงั้ การเจริญของเซลลม ะเร็งเมด็ เลือดขาวเพาะเลยี้ ง 5 ชนิด ไดแ ก L1210, U937, K526, Raja และ P3HR1 โดยมีคา IC50 อยูระหวา ง 478-662 ไมโครกรมั / มิลลลิ ิตร ในประเทศจีน มกี ารใชผักคาวทองเปนสว นประกอบในตํารบั ยารักษามะเรง็ ทางเดินอาหารและ มะเรง็ ทางเดนิ หายใจ รวมไปถงึ เน้ืองอกในรงั ไข มะเรง็ ปากมดลูก มะเรง็ เตา นม มะเร็งหลอดอาหาร และ มะเร็งปอด เพิ่มการไหลเวียนของเลอื ด เพ่ิมภมู ิตานทาน และรกั ษาอาการขา งเคียงทเี่ กดิ จากการใชร ังสี รกั ษาและเคมีบําบดั 10 3. นํา้ มันหอมระเหยจากผักคาวทองสามารถยับยง้ั การเจริญเติบโตของเชอ้ื ไวรัสไขหวดั ใหญใ น เซลลเ พาะเลยี้ ง และยังพบวา นา้ํ มนั ระเหยงายทไ่ี ดจ ากการกลั่นดวยไอน้ําของผกั คาวทองสดมฤี ทธ์ิฆา เชื้อ ไวรสั เริม ไขห วัดใหญ และเอดส ในประเทศจนี มีการใชผ กั คาวทองเปน สวนผสมในตาํ รับยารกั ษาโรค หลอดลมอกั เสบชนิดเฉยี บพลนั และชนดิ เร้อื รงั ตดิ เชือ้ เฉียบพลนั หวดั ไขหวัดใหญ และการติดเชื้อทางเดนิ

Page 148 138 กรมพัฒนาการแพทยแ ผนไทยและการแพทยทางเลือก หายใจยาลดไข เปน สว นผสมในตาํ รบั ยาใชใ นการปอ งกนั และรกั ษาอาการโรคทเ่ี กดิ จากไวรสั ในไก1 0 4. มีรายงานการศึกษาในหลอดทดลองวา สารสกัดน้ําจากผกั คาวทองมีฤทธ์ติ านเชื้อแบคทเี รีย ชอ งปาก นาํ้ มันทสี่ กัดจากผกั คาวทองมีฤทธยิ์ ับยั้งการเจริญเตบิ โตของจลุ ชพี หลายชนดิ โดยเฉพาะยสี ต ในประเทศจนี มีการใชผกั คาวทองเปนสวนประกอบในตํารับยาสาํ หรบั ใชปอ งกนั และรกั ษาโรคติดเช้อื ใน ชอ งปาก ยารักษาสิว ปอ งกันเชอ้ื รา รกั ษาโรคผวิ หนงั เชน กลาก ข้เี ร้ือนกวาง เปน ตน10 5. สวนสกัดนาํ้ จากผักคาวทองมฤี ทธิ์ตา นการอักเสบ ในประเทศจีนใชผ กั คาวทองเปนสว นประกอบ ในตาํ รับยารกั ษาอาการอกั เสบ แผลไฟไหมน ้าํ รอนลวก โรครมู าตอยด หนองใน และรกั ษาแผลหลงั ผาตดั 10 6. จากการทดลองในกบและคางคก พบวานํา้ คั้นจากตนสดมีผลขยายหลอดเลือดฝอย ทาํ ให อัตราการไหลเวยี นของเลือดและการขับปส สาวะเพมิ่ ขน้ึ 10 เอกสารอางองิ 1. The State Pharmacopoeia Commission of P.R. China. Pharmacopoeia of the People’s Republic of China. Vol.I. English Edition. Beijing: People’s Medical Publishing House, 2005. 2. ลีนา ผูพัฒนพงศ, กองกานดา ชยามฤต, ธีรวัฒน บญุ ทวีคุณ (คณะบรรณาธกิ าร). ชือ่ พรรณไมแ หงประเทศไทย (เต็ม สมิตินนั ทน ฉบบั แกไขเพ่มิ เตมิ พ.ศ. 2544). สาํ นักวิชาการปา ไม. กรมปา ไม. พิมพค รง้ั ท่ี 2. กรุงเทพมหานคร : บรษิ ทั ประชาชน จํากดั , 2544. 3. Lei GL, Dun BS. Zhongyao Paozhi Jishu Zhinan. 1st ed. Xi-an: World Library Publishing House, 2002. 4. Liu TS, Pan QP, Zhou YS, Wu ZY. XiuZhen Zhongyaoyinpian Caise Tuben. 1st ed. Hunan: Hunan Science & Technology Publishing House, 2006. 5. กรมวิทยาศาสตรก ารแพทย กระทรวงสาธารณสุข. สมนุ ไพรไทย-จีน. กรงุ เทพมหานคร : โรงพิมพก ารศาสนา, 2547. 6. Huang KC. The pharmacology of Chinese herbs. 2nd ed. Washington DC: CRC Press LLC, 1999. 7. เย็นจิตร เตชะดํารงสิน, ธิดารตั น บุญรอด, จารยี  บันสิทธ,์ิ ประไพ วงศสนิ คงม่นั , ดวงเพญ็ ปท มดิลก, จริ านชุ มิ่งเมอื ง. คุณภาพ ทางเคมีของผักคาวตอง. ใน: ปราณี ชวลิตธาํ รง, จารยี  บนั สิทธ,์ิ กลั ยา อนลุ ักขณาปกรณ, เยน็ จิตร เตชะดาํ รงสิน, ธดิ ารัตน บุญ รอด. บุษราวรรณ ศรีวรรธนะ (คณะบรรณาธิการ). ผักคาวตอง Houttuynia cordata Thunb. กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพองคการ ทหารผานศกึ , 2546. 8. สุนทรี สงิ หบุตรา. สรรพคณุ สมุนไพร 200 ชนิด. กรุงเทพมหานคร : โอ.เอส.พรนิ ต้งิ เฮาส, 2536. 9. สาํ ลี ใจดี และคณะ. การใชสมนุ ไพร เลม 2. โครงการพฒั นาเทคนิคการทาํ ยาสมุนไพร. กรงุ เทพมหานคร : บริษัท สารมวลชน จํากดั , 2524. 10. กัลยา อนุลักขณาปกรณ. ผักคาวตองกบั การศกึ ษาทางดานเภสัชวิทยา. ใน: ปราณี ชวลิตธาํ รง, จารยี  บนั สทิ ธ์,ิ กัลยา อนุลกั ขณา ปกรณ, เยน็ จติ ร เตชะดํารงสิน, ธิดารตั น บุญรอด. บษุ ราวรรณ ศรวี รรธนะ (คณะบรรณาธิการ). ผกั คาวตอง Houttuynia cordata Thunb. กรุงเทพมหานคร : โรงพมิ พองคการทหารผา นศึก, 2546.

Page 149 คูมอื การใชสมนุ ไพรไทย-จนี 139 ผวิ สมจนี : Chenpi (陈皮) ผิวสมจีน หรือ เฉินผี คือ เปลือกผลแกจัดที่ทําใหแหงของพืชที่มีช่ือวิทยาศาสตรวา Citrus reticulata Blanco วงศ Rutaceae1 2 เซนติเมตร ผิวสมจีน (Pericarpium Citri Reticulatae) ชื่อไทย: ผิวสมเขียวหวาน (ท่ัวไป); ผิวสมจุก (ภาคเหนือ, ปตตานี); ผิวสมแปนเกล้ียง, ผิวสม แปนหัวจุก (ปตตานี); ผิวสมเหม็น (ภาคกลาง); ผิวสมข้ีมา (นครราชสีมา); ผิวสมเชียงตุง (ภาคเหนือ); ผิวสมแกวเกลี้ยง, ผิวสมแกวโบราณ, ผิวสมจันทบูร, ผิวสมตรังกานู, ผิวสมแปน กระดาน, ผิวสมแปนข้ีมา, ผิวสมแสงทอง (กรุงเทพฯ)2 ชื่อจีน: เฉินผี (จีนกลาง), ถิ่งพวย (จีนแตจ๋ิว)1 ชื่ออังกฤษ: Dried Tangerine Peel1 ช่ือเครื่องยา: Pericarpium Citri Reticulatae1 การเก็บเกี่ยวและการปฏิบัตหิ ลังการเก็บเกี่ยว: เก็บเกี่ยวผลสุกปลายฤดูใบไมรวงถึงตนฤดูหนาว ปลอกเอาเฉพาะผิวผลมาตากใหแหงหรือ ทําใหแหงท่ีอุณหภูมิตา่ํ เกบ็ รักษาไวใ นทีม่ อี ากาศเย็นและแหง มีการระบายอากาศดี1 การเตรียมตัวยาพรอมใช: การเตรยี มตัวยาพรอมใชมี 4 วธิ ี ดังน้ี วธิ ที ี่ 1 ผวิ สม จีน เตรียมโดยนําวตั ถุดบิ สมนุ ไพรทีป่ ราศจากสง่ิ ปนปลอม มาลา งนํา้ ใหส ะอาด หมกั ไวสกั ครูใ หอ อนนุม หน่ั เปน เสนฝอย ทาํ ใหแหงที่อุณหภูมติ าํ่ 3

Page 150 140 กรมพัฒนาการแพทยแ ผนไทยและการแพทยทางเลือก วิธีท่ี 2 ผิวสมจีนผัด แบงเปน 1) ผิวสมจีนผัดดิน (เปน ดินที่อยใู นเตาเผาไฟเปน ระยะเวลานานมาก มักมีฤทธิ์เปนดางออน คน จนี เรียกดนิ ชนดิ นีว้ า ฝหู ลงกาน) เตรยี มโดยนําดินใสใ นภาชนะท่ีเหมาะสม ใสตัวยาทไี่ ดจ ากวิธที ี่ 1 ลงไป ผัด โดยใชไ ฟระดบั ปานกลาง ผัดจนกระท่ังตัวยามีสีเหลืองเขม นาํ ออกจากเตา รอ นเอาดนิ ออก นาํ ตัวยาท่ีได ไปวางแผอ อก ตง้ั ท้งิ ไวใ หเย็น (ใชดนิ ฝหู ลงกาน 30 กิโลกรมั ตอตัวยา 100 กิโลกรมั )3 2) ผิวสมจีนผัดราํ ขาวสาลี เตรยี มโดยนาํ รําขา วสาลีใสลงในภาชนะที่เหมาะสม ใหค วามรอ น โดยใชร ะดบั ไฟปานกลางจนกระทงั่ มคี วนั ออกมา ใสต วั ยาทไ่ี ดจ ากวิธที ี่ 1 ลงไป คนอยางรวดเรว็ จนกระท่ัง ผิวของตัวยาเปน สีเหลืองเขม นําออกจากเตา แลวรอ นเอารําขา วสาลีออก ต้ังทง้ิ ไวใ หเ ย็น (ใชรําขา วสาลี 30 กิโลกรัม ตอ ตวั ยา 100 กิโลกรมั )3 วธิ ที ี่ 3 ผิวสมจีนผัดนาํ้ ผึ้ง เตรยี มโดยนาํ น้าํ ผง้ึ บริสทุ ธิ์มาเจอื จางดวยน้ําตมในปรมิ าณทเี่ หมาะสม ใสตวั ยาทไ่ี ดจ ากวิธีท่ี 1 แลวคลกุ ใหเ ขา กนั หมกั ไวสกั ครูเพ่อื ใหน ้าํ ผึ้งซึมเขา ในตัวยา จากน้นั นําไปผัดใน กระทะโดยใชระดบั ไฟปานกลาง ผัดจนกระทง่ั มสี ีเหลืองเขมและไมเ หนียวตดิ มอื นําออกจากเตา แลวต้ัง ท้ิงไวใ หเย็น (ใชน ํา้ ผ้ึงบริสุทธ์ิ 18.75 กิโลกรัม ตอตวั ยา 100 กโิ ลกรัม)3 วิธีที่ 4 ผวิ สม จนี ถาน เตรียมโดยนําตวั ยาที่ไดจากวธิ ที ่ี 1 ใสก ระทะ นาํ ไปผดั โดยใชไ ฟระดบั ปานกลาง ผดั จนกระทง่ั ผิวนอกมีสนี ้ําตาลดาํ พรมน้ําเลก็ นอย นําออกจากเตา ต้ังทงิ้ ไวใหเ ย็น แลวนาํ ไป ตากแหง ในท่ีรม3 คณุ ภาพของตวั ยาจากลักษณะภายนอก: ตัวยาทม่ี คี ณุ ภาพดี ตองเปน เสนขนาดสมํ่าเสมอ ผวิ นอกสีแดงอมสม หรอื สีแดงอมเหลือง ผวิ 4 ดา นในสเี หลอื งอมขาว กลนิ่ หอม รสเผด็ สรรพคณุ ตามตําราการแพทยแ ผนจีน: ผิวสม จนี รสขมเผด็ อนุ มีฤทธ์ทิ าํ ใหชห่ี มนุ เวยี น บาํ รงุ มาม สรรพคุณ แกอ าหารไมยอ ย แก ปวดทอง มีฤทธ์ิสลายความชน้ื ละลายเสมหะ สรรพคุณแกเ สมหะและความชื้นตกคาง บรรเทาอาการไอ1,3 ผิวสมจีนผัดดิน (ดินฝูหลงกาน) รสขมเล็กนอย มีกล่ินหอม สรรพคณุ บาํ รงุ มาม 3 แกทองเสีย ผิวสมจีนผัดราํ ขาวสาลี รสขมเล็กนอย รสเผ็ดจะลดลง แตคุณสมบัติแหงจะนุมนวลข้ึน มี 3 กลิ่นหอม เพ่ิมฤทธ์ิชวยใหการทํางานของมามและกระเพาะอาหารดีข้ึน ผิวสมจีนผัดน้ําผ้ึง รสหวาน สรรพคุณบรรเทาอาการไอ ขับเสมหะ3 ผิวสมจีนถาน รสจดื มีกลน่ิ ออน ๆ สรรพคุณเปนยาหามเลือด3