สีโบราณของไทย สรุ ศักดิ์ เจริญวงศ์ อดตี อาจารยป์ ระจ�ำ ภาควชิ าศลิ ปไทย คณะจติ รกรรมประตมิ ากรรมและภาพพมิ พ์ มหาวทิ ยาลยั ศลิ ปากร ปจั จบุ นั เสยี ชวี ติ แลว้ คำ�ส�ำ คญั สไี ทย, หมวดสไี ทย, วัสดธุ รรมชาต,ิ การใช้สีในจติ รกรรมไทย, ประวตั ิศาสตรศ์ ิลปะไทย บทคดั ยอ่ สีฝุ่นของไทยเป็นส่วนหนึ่งของวัสดุที่ใช้ในการสร้างสรรค์งานช่างประเภทต่าง ๆ นับตั้งแต่ การเขยี นสมดุ หนงั สอื ไทย การเขยี นหวั โขนเพือ่ ใชใ้ นการละครไปจนกระทัง่ การวาดจติ รกรรม ฝาผนัง ช่างไทยนับแต่อดีตอาศัยแหล่ที่มาจากธรรมชาติเช่นก้อนหิน ต้นไม้ เปลือกไม้มาใช้ ในกระบวนการผลติ สี เมอื่ มกี ารตดิ ตอ่ กบั ตา่ งประเทศเชน่ จนี กไ็ ดม้ กี ารนะเขา้ สฝี นุ่ ชนดิ ตา่ ง ๆ มาใช้ดังปรากฏหลักฐานในทั้งเอกสารและในจิตรกรรมประเภทต่าง ๆ การสืบทอดชุดความ รู้เกี่ยวกับสีไทยไม่สมบูรณ์นักเมื่อเข้าสู่สมัยใหม่ บทความนี้พยายามค้นคว้าชื่อสี ลักษณะ Silpakorn University Journal of Fine Arts Vol.3(2) 2016 23
วัสดุและการผลิต แหล่งที่มาและเปรียบเทียบกับชื่อเรียกสีจากตะวันตกอีกด้วย สโี บราณของไทย ครูช่างไทยไดก้ ำ�หนดแยกหมวดสเี ป็นประเภทตา่ ง ๆ ดงั นี้ 1 หมวดแมส่ ี เปน็ สที ่สี ำ�คญั ทสี่ ดุ ในบรรดาสตี ่าง ๆ มี 3 สี สคี ราม แดง เหลอื ง เป็นสีมูล หรอื มูลวรรณ (Primary Colours หรือ Pigmentary Primaries) เป็นแม่สผี สมกันท�ำ ใหส้ ี ตา่ ง ๆ ข้ึนมากมาย แตเ่ ม่ือนำ�แม่สที ั้ง 3 มาผสมกัน คราม + แดง + เหลอื ง (โดยสดั สว่ น เท่า ๆ กนั ) = สีกลาง (Neutral Colour) 2 หมวดสเี บญจรงค์ คือสี 5 สี มาเรยี งล�ำ ดับกนั คอื แมส่ ที งั้ 3 กบั ขาวและดำ� สคี ราม แดง เหลอื ง ขาว ด�ำ = สเี บญจรงค์ 3 หมวดสีฉพรรณรังสี คือแม่สีแสงอาทิตย์ มีอยู่ในแสงแดดเป็นคลื่อนแสงปรากฏให้เห็น แสงส่องผ่านละอองน�ำ้ จะเกิดการหักเหเป็นสรี งุ้ ออกมา สีแดงชาด (แดง) แดง (ส้ม) เหลือง เขยี ว คราม (น�้ำ เงนิ ) มว่ งคราม ซง่ึ เมอ่ื พจิ ารณาแลว้ เหน็ ไดว้ า่ สแี ดงชาด เหลอื งและสคี ราม = เปน็ สีมลู หรือแม่สี สีแดงเสน เขยี วและมว่ ง เปน็ สผี สมของแม่สี 4 หมวดสีนพรตั น์ คือสแี กว้ มณี 9 ประการคอื ขาว (เพชร) --- แดงสด (ทบั ทมิ ) --- เขยี ว สด (มรกต) --- เหลืองสด (บษุ ราคมั ) --- แดงแก่ (โกเมน) --- คราม (นลิ ) --- หมอก (มกุ ดาหาร) --- หงสบาท (เพทาย) --- เลอ่ื มประภสั สร (ไพฑูรย)์ คา่ ของสี คือน้�ำ หนกั ของสีสีเดยี วหรือหลายสีให้เห็นเปน็ คา่ น้�ำ หนกั ของสีออ่ นแกห่ ลายระดับตา่ ง ๆ กัน ไปใหใ้ กลเ้ คยี งกลมกลนื กนั เกดิ เปน็ น�ำ้ หนกั แสงเงาหรอื ตดั กนั อยา่ งรนุ แรงงดงาม การแสดงคา่ ของสีสีเดยี ว หรือสอี น่ื ทเี่ ปน็ สกี ลางทัง้ หมดเรียกวา่ เอกรงค์ (monochrome) --- การแสดง คา่ ของสหี ลายสีตา่ งกันให้ประสานกลมกลนื กนั เรยี กวา่ พหรุ งค์ (polychrome) 24 สีโบราณของไทย โดย สุรศักดิ์ เจริญวงศ์
วรรณะของสี ในงานจติ รกรรมแยกออกเปน็ 2 วรรณะคอื วรรณะสอี ่นุ และวรรณะสเี ย็น วรรณะสอี ุน่ เชน่ มว่ งแดง ชาด เสน หงเสน ส้ม วรรณะสีเยน็ เชน่ เขียว เขียวแก่ มอคราม คราม ศ.ศิลป์ พีระศรีกล่าวไว้ในทฤษฎีของสีว่า “ในศิลปะแห่งจิตรกรรม เรื่องวรรณะของสีนั้นจะ ปลอ่ ยใหเ้ กดิ มขี น้ึ เองตามบญุ ตามกรรมมไิ ด้ ศลิ ปินตอ้ งตกลงใจไวก้ ่อนว่า จะให้มีวรรณะสีใด ในการประกอบการระบายสเี พราะวรรณะของสตี ้องให้เข้ากันกับงานระบายสีทีต่ ้องการ” 1 ในสีโบราณของไทยแสดงส่วนประกอบของสี 12 สเี พอื่ ใหเ้ ห็นคา่ และวรรณะของสี สมี ูล (แม่สี) สขี ้างเคยี ง สีคปู่ ฏปิ กั ษ์ (สีตรงข้าม) ให้ชัดเจนตามลำ�ดับโดยจัดไว้ดงั นี้ วงจรสี 2 YELLOW ORANGE YELLOW-GREEN VERMILION สม้ เหลือง ไพล GREEN, EMERALD หงเสน เขียว SCARLET เสน เขยี วแก่ GREEN-BLUE มอคราม ชาด, ล้นิ จ่ี มอคราม CRIMSON ม่วงแดง BLUE, COBALT PURPLE มว่ งคราม คราม วรรณะสีอ่นุ VIOLET BLUE-VIOLET, ULTRAMARINE วรรณะสีเยน็ Silpakorn University Journal of Fine Arts Vol.3(2) 2016 25
สใี นวงจรสี สผี สมจาก สคี ปู่ ฏปิ กั ษ์ (yเหeลloอื wง) (vermหงilเioสnน++eเmขยี eวrald) ม(ว่vงioคleราt)ม (yel owไพ-ลgreen) (yเeหlลoอื wง ++ cคoรbาaมlt) (มp่วuงrแpดleง) (greenเ,ขeยี mวerald) (yเeหlลoือwง ++ cคoรbาaมlt) ช(cาrดim, sลo้นิ nจ)่ี (greเขeียnว-แbกlu่ e) (yเeหlลoือwง ++ cคoรbาaมlt) (scเaสrนlet) (bluมeอ,คcรoาbมalt) (eเขmยี eวra+ldมว่+งvคioราleมt) (veหrmงเสil นion) (blue-violeคtร, าuมltramarine) (cมoอbคaรltา+มc+rimชาsoดn) (oraสnม้ ge) (cมoอbคaรltา+มc+rimชาsoดn) (yเหeลloอื wง) ม(ว่vงioคleราt)ม (cมoอbคaรltา+มc+rimชาsoดn) (yel owไพ-ลgreen) (มp่วuงrแpดleง) (หveงเrสmนil i+onม+่วงvคioรlาeมt) (greenเ,ขeยี mวerald) ช(cาrดim, sลo้ินnจ)ี่ (cแดrimงชsoาดn ++ yเหelลoือwง) (grเeขeยี nวแbกlu่ e) (scเaสrนlet) (cแดrimงชsoาดn ++ yเหelลoือwง) (bluมeอ,คcรoาbมalt) (veหrmงเสil นion) (cแดrimงชsoาดn ++ yเหelลoือwง) (blue-violeคtร, าuมltramarine) (oraสnม้ ge) 26 สีโบราณของไทย โดย สุรศักดิ์ เจริญวงศ์
ความรเู้ รอื่ งสขี องโบราณเปน็ เรอื่ งคน้ ควา้ หายาก แมใ้ นยคุ ของสมเดจ็ เจา้ ฟา้ กรมพระยานรศิ รา นุวัดติวงศ์ท่านบอกว่ายังมีคนรู้น้อย แต่จากลายพระหัตถ์ของสมเด็จฯ ทรงบันทึกความรู้ ประทานพระยาอนุมานราชธน (เล่ม 3 หน้า 188) ทรงบันทกึ เก่ยี วกับสว่ นประกอบของสที าง ชา่ งไทยไว้วา่ รง ปน ฝ่นุ เป็นสเี หลืองอ่อน ดินแดง ปน ฝนุ่ เป็นสีหงดนิ (ดนิ แดงออ่ น) ชาด ปน ฝนุ่ เป็นสีหงชาด (ชาดอ่อน) เสน ปน ฝุ่น เป็นสีหงเสน (เสนออ่ น) ดนิ แดง ปน รง เปน็ สหี งดนิ ตดั (ใชต้ ดั เสน้ เนอื้ พระและเนอ้ื นางสขี าวหรอื สเี หลอื งออ่ น) คราม ปน ฝุ่น เป็นสีมอคราม คราม ปน รง เป็นสเี ขยี วแก่ เขยี ว ปน ฝุน่ เป็นสเี ขียวออ่ น คราม ปน ดนิ แดง เปน็ สีมว่ ง ม่วง ปน ฝนุ่ เปน็ สีม่วงอ่อน เขมา่ ปน ฝนุ่ เปน็ สมี อหมกึ เขมา่ ปน รง เปน็ สีเขยี วรงหรือเขียวแก่ 3 หมวดสีโบราณของไทย (หมวดสีขาว, หมวดสีแดง แดงเสน อิฐ, หมวดสีเหลืองและทอง, หมวดสเี ขยี ว, หมวดสีคราม มว่ ง, หมวดสดี �ำ ) สีโบราณของไทยมที ัง้ สที เี่ กดิ ขึ้นเองตามธรรมชาติ เชน่ แรธ่ าตุตา่ ง ๆ หรอื จากพชื ตา่ ง ๆ และสสี งั เคราะห์ท่เี กิดจากการสงั เคราะหข์ ึน้ เองในธรรมชาติ หรอื เกดิ จากการเตรียมขนึ้ สี ต่าง ๆ เหล่าน้แี ม้เป็นสเี ดียวกันแต่ที่เกดิ จากคุณสมบตั ิต่างกันเช่น 1 หมวดสขี าว (white) สขี าวในงานจติ รกรรมไทยชา่ งเขยี นได้มาจากวสั ดธุ าตุหลายอย่าง มีคุณลักษณะของสีต่างกัน ออกไป ชา่ งเขยี นจะเลือกใช้ตามคุณสมบตั ิของสชี นิดนัน้ ๆ 1.1 สขี าวกระบงั หรือสีดินขาว (White Earth, A12 O3 2S102 2H2O) เป็นสีธรรมชาติได้จาก Silpakorn University Journal of Fine Arts Vol.3(2) 2016 27
ดินขาวเรียกว่าสีขาวกระบัง มีสีขาวขุ่น มีน้ำ�หนักมากต้องนำ�ไปแช่น้ำ�ท้ิงไว้แล้วกรองให้ สะอาดแลว้ นำ�ไปเกรอะจนแห้งกอ่ น นำ�ไปเผาไฟจนสกุ ดแี ลว้ จะเป็นกอ้ นเน้ือแกรง่ น�ำ ไป โขลกบดจนเป็นเนื้อละเอียดเป็นฝุ่นขาวแล้วกรองเอาอากาศออกได้เน้ือสีท่ีบริสุทธ์ิมีสีท่ีมี น้ำ�หนักมาก ดินขาวชนิดนี้คือดินที่นำ�มาทำ�เครื่องป้ันดินเผาความร้อนสูงอย่างที่จังหวัด ลำ�ปางของเรา 1.2 เ(ปCสลoีปอื ูนCกขหoาHนว2า)(ๆCเปaนน็l�ำcสไiปuขี mเาผวาจCไาฟaกจrเbปนoเลปnือลaกอื tหeกอ,หยอCยไaดสCกุจ้ oแากด3 กงหจานรรนือสำ�กุ เqดปuแีลiลcอื ว้kกใหสliอล่mยงeใทนะน(เCล�ำ้ หAกรOรืออ)หงอsอlยaานกke�ำ้าจศืดหlimทมีม่กeั ี ท้ิงไว้จนจดื แล้วนำ�ไปตากแดดให้แหง้ บดละเอียดเป็นฝนุ่ ใช้ในการเขียนภาพ 1.3 เสรฝีียนุ่กขา“ฝวจนุ่ าขกาตว”ะกห่วั ร(ือLea“ฝdนุ่ W”hทiteำ�จหารกือออLeกaไซdดS์ขuอlpงhตaะtกeว่ั 2โดPbยใCชoค้ 3วPาbมร(อ้OนHร2)มแสผขี ่นาวตนะีบ้กาว่ั งใทหี้ เกิดสนิมขาว สนมิ นีม้ ีสีขาวจัดและเนอื้ ละเอียดมาก ชาวจีนและญี่ปนุ่ สมยั โบราณใชเ้ ป็น ฝนุ่ ผดั หนา้ --- หรอื นำ�ตะก่วั มาแผใ่ หบ้ างและตัดใสไ่ หครง่ึ ไห ใส่น้ำ�สม้ หรือแชน่ ้ำ�กรด ปิด ฝาใหแ้ นน่ เจาะรอู ากาศเล็กทง้ิ ไวป้ ระมาณ 6 เดือนจะไดส้ นิมตะกั่วเปน็ ฝุ่นขาวฟูขนึ้ ในไห เป็นผงเนื้อหยาบแต่มีสีขาวจัดสดใส เอาสีขาวน้ีไปผ่านนำ้�จนหมดกรด ฝุ่นขาวท่ีได้จาก ตะกว่ั นเ้ี ปน็ สไี มถ่ าวร นานไปจะเปน็ สคี ล�ำ้ เพราะเปน็ ปฏปิ กั ษก์ บั ปนู แตใ่ ชเ้ ขยี นบนไมด้ ี ฝนุ่ ขาวของจนี มที ัง้ ชนิดทเี่ ป็นผงและเปน็ กอ้ นทีเ่ ปน็ ก้อนมีคุณภาพดกี วา่ 2 หมวดสแี ดง สแี ดง ท�ำ จากวัตถธุ าตหุ ลายอยา่ ง เช่น 2.1 สดี นิ แดง (Red Earth, Iron Oxide) เป็นสีท่ีไดม้ าจากดนิ ในธรรมชาติทมี่ ีอยตู่ ามท้องถน่ิ ตา่ ง ๆ ของประเทศไทย บางแหง่ มสี ดี นิ แดงจดั เพราะในดนิ มแี รเ่ หลก็ อยมู่ ากท�ำ ใหด้ นิ เกดิ เป็นสนิมสีแดงขึ้นมาโดยธรรมชาติอย่างเช่นในภาคอีสาน โดยเฉพาะท่ีบ้านเชียง อ.หนองหาน จ.อุดรธานี แหลง่ เครื่องปัน้ ดินเผาเขียนสอี ันเปน็ มรดกโลก (3,000-4,000 ป)ี สแี ดงทใี่ ชเ้ ขยี นภาชนะดนิ เผากอ่ นประวตั ศิ าสตรท์ งั้ หลายทฝี่ งั อยใู่ ตด้ นิ ลว้ นเปน็ สที ไี่ ดม้ าก จากธรรมชาตขิ องดนิ แถบบา้ นเชยี งนนั่ เอง จดั วา่ เปน็ แหลง่ ดนิ แดงทมี่ สี สี ดมากแมอ้ ายขุ อง เคร่ืองปั้นดินเผาเขียนสีบ้านเชียงจะมีอายุหลายพันปี สีแดงยังคงมีสีสดใสอยู่เช่นเดิม 28 สีโบราณของไทย โดย สุรศักดิ์ เจริญวงศ์
นอกจากนน้ั ดนิ แดงยงั มอี ยทู่ จี่ งั หวดั จนั ทบรุ ี อ.ศรรี าชา จ.ชลบรุ แี ละจงั หวดั ล�ำ ปาง เนอื้ ดนิ จะมีสว่ นประกอบของสนิมแร่เหลก็ เจอื ปนอยู่ มีสีแดงคล้�ำ และเน้ือหยาบฟา่ ม น�ำ ดินแดง จากแหลง่ ธรรมชาตมิ าบดใหล้ ะเอยี ดแลว้ กรองเอาแตเ่ นอ้ื ดนิ แดง ตอ้ งผสมกาวอยา่ งขน้ จะ ได้เปน็ สีน�ำ้ ตาลออกแดง (Burnt Sienna) ทำ�ให้เนือ้ สหี นามักใช้ระบายไดไ้ มเ่ รียบ ทิ้งรอย ฝแี ปรงหรอื พกู่ นั ปรากฏอยเู่ สมอ สดี นิ แดงทส่ี ง่ มาจากเมอื งจนี เรยี ก “ตวั เปย๊ี ” เปน็ สดี นิ แดง ทม่ี เี นอ้ื สเี ป็นผงละเอยี ดเขียนสีบางได้ 2.2 สีแดงชาด (Chinese Vermilion, Mercuric Sulphide, Cinnabar) สชี าดหรอื สีแดงชาด เป็นสนี ำ�เขา้ จากเมืองจีน พบเห็นได้จากงานจติ รกรรมสมยั สุโขทยั อยธุ ยาตอนต้น มาก ทสี่ ดุ ปลายกรงุ ศรอี ยธุ ยาและตน้ กรงุ รตั นโกสนิ ทร์ สชี าดมหี ลายชนดิ ทเี่ ปน็ ผงท�ำ มาจากพชื จากเมลด็ ของตน้ ชาดหรคุณ --- ส่วนชาดท่ีเปน็ ก้อนใชเ้ ปน็ สที ไ่ี ด้มาจากเมอื งจีน เชน่ ชาด อา้ ยมุ้ย เป็นชาดคุณภาพดที ่ีสุดได้มาจากเมืองเอ้หมงึ ชาดจอแสไดจ้ ากเอห้ มึงเชน่ กนั แต่ เนื้อสีเป็นรอง ยังมชี าดจูชา ชาดเงียจู (Vermilion) เป็นสที ่ีมีความแดงสดมาก --- เราจะ พบเหน็ สแี ดงชาดในงานจติ รกรรมไทยอยมู่ าก สชี าดในศลิ ปไทยเปน็ ความวา่ งเปลา่ สวรรค์ ความสงู สง่ ศกั ดสิ์ ทิ ธิ์ --- วธิ ีทดสอบวา่ จะเป็นสชี าดหรอื ไม่ แทห้ รือไม่ให้ใชน้ ้วิ มอื ขยี้ดู ถ้า เป็นชาดแท้จะติดมือล้างออกยากมาก สีแดงในภาพจิตรกรรมไทยใช้สีชาดจากเมืองจีน ผสมตวั เปยี๊ และผสมสแี ดงเสนในอตั ราสว่ นเทา่ ๆ กนั จะไดส้ แี ดงฉ�่ำ (แดงเลอื ดนก) ถา้ ผสม ชาดมากเรยี กวา่ “แดงลน้ิ จ”ี่ ชาวจีนเรยี กว่า “อินจี่” 2.3 สีแดงล้ินจี่ “อินจ่ี” ความจรงิ เปน็ สสี ำ�เร็จรปู มาจากเมืองจีนเชน่ เดียวกบั สชี าด เปน็ สที มี่ ี เนอื้ สลี ะเอยี ดชบุ เคลอื บไวบ้ นแผน่ กระดาษท�ำ เปน็ แหนบเลก็ ๆ เมอื่ จะใชต้ อ้ งน�ำ มาละลาย นำ้�ออกจากแผ่นกระดาษหรือใช้สำ�ลีแช่นำ้�หุ้มสีจนสีละลายหมดบีบสำ�ลีจะได้สีแดงท่ีมี วรรณะสดใสอย่างมาก ผสมสีขาวจะได้สีแดงสด พอแห้งจะเป็นสีชมพูแก่ สแี ดงลน้ิ จีน่ ยิ ม ใช้เขียนบนพื้นที่ขนาดเล็ก บนลายหน้าหุ่น หัวโขน --- สีแดงล้ินจ่ีเป็นสีสังเคราะห์เช่น เดยี วกับสีชาด เขียนบนปนู จะเปลี่ยนเปน็ ด�ำ 2.4 สเี สนหรือสแี ดงเสน (Red-Lead, Lead Oขอxiงdดeบี ,กุ Pbใช3o้ค4ว)ามเปร้อ็นนสรีแมดสงนอมิมสดม้บี แกุ บใหบ้รสะลี เกูหพยขกิ น้ึลุ เป็นสีสงั เคราะหท์ ่ไี ดจ้ ากออกไซด์ (สนิม) จับภาชนะท่ีรอรับอยู่เบ้ืองบนจะไดส้ เี สน เป็นสที ี่มนี �้ำ หนักมาก มวี รรณะออกทางแดงสม้ หรือแดงเจือเหลืองมาก เป็นสีท่ีส่ังมาจากเมืองจีน มีขายตามร้านขายเครื่องยาหรือตาม รา้ นขายวสั ดุก่อสร้าง Silpakorn University Journal of Fine Arts Vol.3(2) 2016 29
2.5 สีดินแดงเทศ (Red-Lead) สง่ มาจากต่างประเทศ มีเนอื้ สคี ่อนข้างแขง็ แกร่ง และมีสสี ด กว่าสีดินแดงของไทย 2.6 สดี นิ แดงลกู หวา้ ไดม้ าจากการน�ำ เอาขคี้ รงั่ คอื รงั ของตวั ครงั่ ทต่ี ดิ อยตู่ ามตน้ ฉ�ำ ฉาเอามาชง น�้ำ รอ้ นแลว้ น�ำ ไปตม้ จนเดอื ดดแี ลว้ น�ำ ไปกรองดว้ ยผา้ ขาวบาง แลว้ น�ำ ไปตม้ เคยี่ วจนน�ำ้ แหง้ ขอด เหลอื กากตะกอนเปน็ สแี ดงคล�้ำ อยา่ งสลี กู หวา้ น�ำ ไปบดใหล้ ะเอยี ดแลว้ น�ำ ไปผสมกาว เขียนระบายได้ (สหี มวดสแี ดงในสไี ทยโบราณมชี อื่ เรยี กตา่ งกนั ทง้ั ทเี่ ปน็ ศพั ทส์ ามญั ศพั ทศ์ ลิ ปกรรม ภาษาชา่ ง มที ้ังช่ือที่คนรุน่ ใหม่รจู้ กั และไม่รจู้ กั การค้นควา้ ยังท�ำ ได้ยาก หมวดสีแดงยังมีอกี ดงั นี้ เลอื ด นก --- แดงยอ --- ทับทิม --- แดงมณี --- เลือดหมู --- ชมพู --- กุหลาบ --- ดอกชบา --- นำ�้ หมาก --- กรัก --- น้�ำ ตาล --- บัวโรย --- กลบี บวั --- แดงตัด --- ดินแดงตัด --- น้ำ�ครงั่ --- หางเหยีย่ ว --- เทา้ นกพริ าบ --- กหุ รา่ --- ดกุ รำ�่ --- ฝาด --- น�ำ้ หาง --- หง ดนิ ตดั และในหมวดสเี สนยงั มสี อี ีกดังนี้ สม้ --- แสด --- จำ�ปา --- จ�ำ ปาแดง --- จ�ำ ปาแก่ --- หมากสุก --- กา้ มปูอสุรา --- หงเสน --- หงสบิ บาท --- หงชาด --- หงดนิ --- อิฐ --- หม้อใหม่ --- ทองแดง --- นาก --- เหลก็ --- ปูน --- กา้ นดอกกรรณิการ์ --- ลกู พิกลุ --- ฟา้ แลบ) 3 หมวดสเี หลอื ง (Yellow) กระบวนสีเหลอื งทีใ่ ชก้ นั แต่โบราณมีหลายประเภท คอื 3.1 สีดินเหลอื ง (Yelow Ochre) ได้มาจากดินตามธรรมชาติ เกดิ จากการผกุ ร่อนของหินท่ีมี แรธ่ าตตุ า่ ง ๆ เปน็ สว่ นของธาตจุ ากสนมิ เหลก็ อยใู่ นหนิ มสี เี หลอื งอยแู่ ลว้ โดยปกตธิ รรมชาติ เมื่อผุกร่อนกลายเป็นดินก็มีสีเหลืองอย่างเดิมอยู่ นำ�ดินเหลืองมาบดแล้วแช่นำ้�กรอง ด้วยผ้าขาวบางเอากากออกให้เหลือแต่เนื้อสีได้เน้ือดินละเอียดแล้วน�ำ ไปตากแห้งบดเป็น ฝุ่น สดี นิ เหลอื งเปน็ สีมคี ณุ ภาพสูง คงทน สีไม่เปลี่ยนแปร สดี ินเหลืองนีน้ อกจากในงาน จติ รกรรมแล้วยงั ใชท้ �ำ ดินสอเขยี นกระดานชนวนอีกด้วย 3.2 สเี หลอื งรง (Gamboge) ไดจ้ ากยางตน้ รง (Gracinia Handuryi Hook) พบมากในประเทศ กมั พชู า ศรีลงั กาและไทย รงเป็นไมย้ นื ต้นขนาดกลางถึงขนาดใหญ่ ใบกลมโต ปลายใบ 30 สีโบราณของไทย โดย สุรศักดิ์ เจริญวงศ์
มนๆ มี 2 ชนดิ คือ “รงกา” ยางเปน็ สเี ขยี ว “รงทอง” ยางเป็นสีเหลือง เมื่อเอามดี กรีด ลำ�ตน้ รงทองจะมยี างสีเหลืองไหลออกมา ชา่ งแต่กอ่ นตดั กระบอกไมไ้ ผไ่ ปรองรับเพอื่ เก็บ ยาง น�ำ ไปตากแดดหรอื ผงิ ไฟออ่ น ๆ ให้แหง้ เมอ่ื ยางรงแขง็ แลว้ จึงผ่ากระบอกไมไ้ ผ่ออก กจ็ ะได้ยางรงเป็นแท่งทรงกระบอกออกมา เปน็ สีน�ำ้ ตาลเหลืองหรือสีน�ำ้ ตาลไหม้ เมอ่ื จะ น�ำ มาใชจ้ งึ คอ่ ยน�ำ มาฝนกบั น�้ำ จะไดส้ เี หลอื งใสเรยี กวา่ สรี ง ใชร้ ะบายได้(GambogeTrec: Garcinia Hanburyi) โดยไมต่ อ้ งผสมกาวยางกระถนิ หรอื กาวใด ๆ เพราะสรี งมคี ณุ สมบตั ิ เป็นยางไม้ตามธรรมชาตอิ ย่แู ลว้ จึงสามารถจบั ตดิ ผนงั ไดเ้ ป็นอยา่ งดี สรี งเขียนกับสฝี ุ่นใน งานจิตรกรรมไทย ยังใชเ้ ขยี นตัวอักษรบนสมดุ ไทยดำ� --- คุณสมบัติของรงอกี ชนดิ หน่ึง คือใช้ทาบริเวณส่วนที่จะปิดทองคำ�เปลวในภาพจิตรกรรมไทยก่อนที่จะทายางมะเด่ือจะ ทำ�ใหป้ ดิ ทองไดเ้ รยี บและง่ายขนึ้ ทองจะเรยี บเปน็ เงาไมเ่ ปน็ คลนื่ สามารถตัดเสน้ พกู่ นั บน แผน่ ทองได้ดแี ละยงั ชว่ ยหนุนขณะทีท่ องคำ�เปลวเกดิ เป็นตามดหรือทองมีรูรว่ั เล็ก ๆ เมอ่ื ปดิ ทองลงไปบนพน้ื สรี งเปน็ สเี หลอื งคลา้ ยสที องท�ำ ใหเ้ กดิ ความกลมกลนื ระหวา่ งทองและ สว่ นทเ่ี ปน็ รอยรว่ั เปน็ อยา่ งดี--- นอกจากนนั้ รงยงั ใชเ้ ปน็ สยี อ้ มไดด้ ว้ ย ตน้ รงมอี ยแู่ ถบเมอื ง จันทบุรแี ละภาคตะวนั ออกของไทย สีรงมี 2 ชนิดคอื รงทองมสี ีเหลอื ง รงกามีสีเขียว การผิงไฟยางรงถา้ ไฟแรงหรอื ไฟแกจ่ ะ ได้สีรงเป็นสีส้มใช้เขียนไม่ดีเพราะจับสียาก พอแห้งสีจะคืนตัว มีสีอ่อนลง ทำ�ให้สีแปร เปลีย่ นไป 3.3 สีเหลอื งหรดาล (Orpiment: Arsenic Trisulphide หรอื Realgar: Arsenic Sulphine) เปน็ ออกไซดข์ องปรอทกับกำ�มะถนั เกดิ ข้ึนเองตามธรรมชาติ มีลักษณะเปน็ ก้อนมี 2 ชนดิ คอื หรดาลหนิ มเี นอื้ คลา้ ยดนิ สอพองน�ำ มาบดกรองเอากากออกแลว้ เกรอะจนไดเ้ นอ้ื สบี รสิ ทุ ธิ์ --- อีกชนดิ หนึ่งคอื หรดาลกลีบทอง มีเน้อื ละเอยี ดแต่แข็งแกร่ง เวลาใช้ต้องนำ�มาฝนกบั หิน ได้เน้ือสีแล้วจึงผสมกาวเขียนภาพ --- สีชนิดน้ีเป็นพิษ เพราะเป็นแร่ประกอบด้วย สารหนแู ละก�ำ มะถันและเปน็ ปรปักษ์กบั ปูน เขยี นแลว้ สจี ะเปลีย่ นเป็นสีด�ำ ใช้เขียนบนไม้ ได้ หรดาล (Realgar) ชา่ งไม่นิยมใชเ้ ขียนภาพ สว่ นใหญใ่ ช้ทำ�ดอกไม้ไฟ 3.4 สีเหลอื งตะก่ัว (Lead Oxide, Pbo) เป็นสที ่ไี ดจ้ ากการคัว่ ตะกวั่ ในกะทะจนเปน็ ผง แลว้ ผสมตน้ สาบแรง้ สาบกาหรอื ตน้ ตะเบงซง่ึ เปน็ พชื ทมี่ ธี าตเุ หลก็ มาก(ตอ้ งลา้ งใหส้ ะอาด ตาก แห้งแล้วหั่นใส่กระทะ) ค่วั ผสมกับผงตะก่วั จนละลายเขา้ กนั ดจี ะกลายเป็นสีเหลือง ตะกั่ว คัว่ ใชท้ าแผน่ กระเบ้อื งแล้วเอาเข้าไฟจะไดก้ ระเบือ้ งเคลอื บสเี หลอื ง Silpakorn University Journal of Fine Arts Vol.3(2) 2016 31
(สหี มวดสีเหลอื งในสไี ทยโบราณมีช่อื เรยี กต่างกนั ทั้งทีเ่ ปน็ ศพั ท์สามญั ศพั ท์ศลิ ปกรรม ภาษา ชา่ ง มที ั้งชือ่ ท่ีคนร่นุ ใหมร่ จู้ ักและไมร่ ู้จกั การค้นควา้ ยงั ท�ำ ไดย้ าก หมวดสเี หลืองยงั มชี ่ือสีอีก ดงั นี้ นวล --- ลกู จนั ทร์ --- ดอกบวบ --- มุกสุข --- ขผี้ ง้ึ --- เลื่อมประภัสสร --- เน้อื --- นวลจันทร์ --- นวลเทา --- ทอง --- เทาเหลือง --- ไพล --- เลอ่ื มพราย --- มะตูม สกุ --- กาก-ี -- ดนิ --- นำ้�ผ้ึง --- ดอกคำ� --- ทองคำ�) 4 หมวดสเี ขยี ว (Green) ชา่ งเขียนของไทยเตรยี มสเี ขยี วจากวตั ถุธาตหุ ลายอยา่ ง อาทเิ ชน่ 4.1 สีดินเขียว (Terre Verte) ได้จากดินเขียวซ่ึงมีส่วนผสมของแร่เหล็ก แมกนีเซียมและ อลูมิเนียม การเตรียมสคี อื น�ำ ดินเขียวมากรองเกรอะแลว้ น�ำ มาตากแดดให้แหง้ นำ�ไปบด เป็นฝ่นุ เปน็ สมี ีคณุ ภาพสูง คงทน สไี มเ่ ปล่ยี น 4.2 สเปเี ข็นียสวโี บตัง้รแาณช น(M�ำ เaขlา้aจcาhกitเeม,อื Cงoจpีนpeกr่อCนaจrะbเoตnรaียtมeใ:ชC้ทuำ�cขo้ึน3เCอuงเม(Oือ่ Hภ2า))ยหทล�ำ งัดว้ โยดสยนไมิดท้จอากงแกดารง น�ำ ทองแดงไปแช่กรดเกลอื ประมาณ 1-2 สปั ดาห์ ทองแดงจะเกดิ เปน็ สนมิ ปรากฏใหเ้ ป็น สเี ขยี วแลว้ ขดู เอาสอี อกมาผา่ นน�ำ้ จนหมดความเคม็ กจ็ ะไดส้ เี ขยี ว ใหส้ สี วยงามสดใสคลา้ ย สีใบตองอ่อนๆ สดใสมาก แต่ไมค่ งทนเวลานาน ๆ ไปสจี ะคล้ำ�ลง 4.3 สีเขียวใบแค เป็นสีเขียวเข้มออกค่อนข้างดำ� เกิดจากการผสมกันระหว่างสีรงกับเขม่า หรือหมึกจนี หรอื นำ�สีรงมาผสมกบั สคี รามจนได้สเี ขยี วเขม้ มากย่ิงขึ้น (Sap Green) ทไ่ี ด้ ช่ือว่าสีเขียวใบแคน้ันเพราะสีมีลักษณะเขียวอย่างใบต้นแค มิใช่นำ�ใบแคมาทำ�สีอย่างที่ หลายคนเหน็ ชือ่ สีและเขา้ ใจเชน่ นั้น 4.4 สมเีาขจียาวกชสินนสิมี ท(Mอaงแlaดcงhitสe่งมCาoจpาpกeปrรCะเaทrศbทonาaงตteะ:วCันตucกoเป3C็นuสีก(่ึงOธHร2ร)ม) ชเปาต็นิเฝขนุ่ียเวขอยี มวฟท้าีเ่ ตรกยี ามร เกรอะหลายครงั้ จะย่งิ ได้เนื้อสบี ริสทุ ธิ์และสสี ดยิ่งขึ้น 4.5 สเี ขยี วหินขน้ี กการเวก (Turquoise Green (Copper Aluminum Phosphate nonahydea: ChO.3Al3O32P2o59H2o) เป็นสีทเี่ ตรยี มจากการฝนหินข้ีนกการเวกทำ�ใหเ้ มด็ สใี นหนิ ท่ีเปน็ 32 สีโบราณของไทย โดย สุรศักดิ์ เจริญวงศ์
เมด็ สคี รามและสเี หลอื งเลก็ นอ้ ยกระจายอยทู่ วั่ ไปนนั้ ถกู ฝนใหล้ ะลายผสมกนั ไดส้ เี ขยี ว แม้ เปน็ สีเขียวทมี่ ีสีไม่สดใสแต่มีคุณภาพดี คงทน สไี มเ่ ปลีย่ น (สีหมวดสีเขียวในสีไทยโบราณมีชื่อเรียกต่าง ๆ กันทั้งที่เป็นศัพท์สามัญ ศัพท์ศิลปกรรม ภาษาช่าง มีทั้งชื่อท่ีคนรุ่นใหม่รู้จักและไม่รู้จัก การค้นคว้ายังทำ�ได้ยาก หมวดสีเขียวยังมี ชื่อสีอีกดงั นี้ เขียวนลิ --- สมอ --- มหาดไทย --- กา้ นมะลิ --- เขยี วไข่กา --- เขยี วนวล --- ก้านตอง --- ไพล --- ยอดตองออ่ น --- เขียวใบไม้ --- ถว่ั เขียว --- เขยี วนกกาลงิ --- เขียวตะพนุ่ --- เขียวถัว่ --- เขยี วรง --- เขียวมอ --- เขยี วขาบ --- เทาเขยี ว --- เขยี ว ขจี --- หญ้ามา้ น --- นำ�้ ไหล --- เขียวฝรัง่ --- กา้ มปูหลุด --- เขียวฟา้ --- เขียวมรกต --- รงกา --- น�ำ้ ไหล) 5 หมวดสคี ราม (Indigo) ชา่ งเขียนไทยเตรียมสีครามข้ึนจากวัตถุธาตหุ ลายอยา่ ง เช่น 5.1 สใี บคราม (Indigo Fera Tinctoria) เตรยี มสไี ดจ้ ากใบตน้ คราม ต้นครามเป็นต้นไมล้ ม้ ลุก ชนดิ พมุ่ ใบเลก็ คลา้ ยใบกา้ งปลา มดี อกสเี หลอื ง ฝกั คลา้ ยฝกั ถว่ั เขยี วแตเ่ ลก็ ตดิ กนั มขี น้ึ อยู่ มากแถบภาคตะวันออกเฉียงเหนือและภาคเหนอื ภาคเหนือเรยี ก “ต้นฮ้อม” นำ�มาย้อม ผ้าเรยี กผ้าบ่อฮอ้ ม เมอ่ื จะน�ำ มาท�ำ เปน็ สคี ราม เอาใบของตน้ ครามมาต�ำ พอแหลกแลว้ นำ� ไปแช่นำ้�ปูนขาวทิ้งไว้ประมาณหนึ่งสัปดาห์แล้วจึงนำ�ปูนขาวแช่ไว้อีกราวหนึ่งเดือน ใบ ของตน้ ครามจะเนา่ เปือ่ ยกลายเปน็ สคี ราม ใชผ้ า้ ขาวบางกรองเอาแตเ่ นือ้ สคี รามโดยปลอ่ ย ให้ตกตะกอน แล้วนำ�ตะกอนนั้นมาใช้เป็นสีครามเขียนภาพได้ โดยนำ�มาตากให้แห้งและ บดเป็นผงละเอียด สีครามนี้มีกลิ่นเหม็นเกิดจากการเน่าเปื่อยของใบคราม สีครามที่ได้ จะเป็นสีน้ำ�เงินเข้ม (Prussian Blue) 5.2 ฝุ่นคราม ครามฝรง่ั หรอื ครามจนี (Prussian Blue: Perrocy Anide: FE4(FE(CN6))) เป็นสี สงั เคราะห์สีนำ�้ เงินคราม 5.3 สีครามก้อน (Ultramarine) เป็นสที ่ที �ำ มาจากหินแร่สีฟา้ เช่นไพฑรู ย์ มวี รรณะของสีออ่ น แก่ต่างกัน สีน้ำ�เงินคราม สีขาบและสีกรมท่าเป็นสีคงทนถาวรส่งมาจากต่างประเทศมี ราคาแพงมาก ภายหลงั จึงมฝี ุ่นครามซ่ึงเป็นสสี งั เคราะหว์ รรณะคล้ายกัน Silpakorn University Journal of Fine Arts Vol.3(2) 2016 33
(สีหมวดสีครามในสีไทยโบราณมีช่ือเรียกต่างกันทั้งที่เป็นศัพท์เรียกสามัญ ศัพท์ศิลปกรรม ภาษาช่าง มีทงั้ ชือ่ ทค่ี นรุ่นใหมร่ ้จู ักและไมร่ จู้ ัก การคน้ ควา้ ยังทำ�ได้ยาก หมวดสีครามยงั มีชอ่ื สอี ีกดังน้ี ฟา้ --- ขาบ --- กรมท่า --- มอคราม --- มอมดื --- สัมฤทธิ์ --- เมฆ --- หมอก --- โศก --- นำ้�เงินนกพิราบ --- เมฆมอ --- ขาบดำ� --- น�้ำ เงนิ --- ตากุ้ง --- เข้มขาบ --- ครามจนี ส่วนหมวดสมี ว่ งมชี ื่อสดี งั นี้ ม่วง --- ม่วงชาด --- เมด็ มะปราง --- ดอกตะแบก --- มว่ งคราม --- ลกู หว้า --- กลาโหม --- ม่วงแดง --- พวงอังกาบ --- ดอกอัญชัญ --- ดอกบานเยน็ --- มว่ งตอง --- ม่วงเขียว --- เปลือกมงั คดุ ) 6 หมวดสดี �ำ (Black) ชา่ งเขยี นไทยเตรียมสีดำ�ข้ึนจากวัตถธุ าตหุ ลายอยา่ ง เช่น 6.1 สดี �ำ จากเขมา่ (Lamp Black) สดี ำ�ชนดิ นีเ้ กดิ จากการเผาไหมเ้ ช้อื เพลงิ ชนิดตา่ ง ๆ จะได้ เขม่าควันไฟก้นหม้อก้นกระทะ เช้ือเพลิงต่างชนิดกันจะทำ�ให้เกิดเขม่าจากควันไฟหยาบ ละเอียดตา่ งกันออกไป การเตรยี มเพอื่ ใชง้ านมากจะนยิ มใช้เขม่าจากการเผานำ้�มนั ยาง สี ชนิดน้ีมีเนื้อเบา มีความละเอียดและให้สีดำ�มาก เวลาผสมกาวจะลอยตัวเข้ากันได้ยาก ต้องเติมแอลกอฮอล์ลงเล็กน้อยจึงจะเข้ากันได้ดีมาก --- เขม่าควันจากเนื้อฟืนมีเน้ือ สีหยาบกว่าเขม่านำ้�มันยาง ปัจจุบันเขม่านำ้�มันยางมีขายตามร้านเคร่ืองยาจีนซ่ึงมีขาย เป็นหอ่ ๆ หรอื เป็นแนบ ๆ (ห่อกระดาษเล็กบาง ๆ ) เรยี กวา่ “เขม่าแหนบ” 6.2 สีดำ�จากผงถ่าน (Carbon Black) เป็นสดี �ำ ทไ่ี ด้จากการเผากระดกู สตั ว์ ไม้ กะลามะพร้าว จนไหม้เป็นถ่านแล้วนำ�มาบดใหล้ ะเอียด สดี ำ�จากการเผากระดกู มเี น้อื แข็ง สที นทาน ใช้ ผสมกาวเขียนภาพ --- สีด�ำ จากถา่ นไม้กระดังงามคี ุณสมบัตพิ เิ ศษคือเปน็ แทง่ มนี �้ำ หนัก เบา เหลาใหแ้ หลมเหมาะส�ำ หรับการร่างภาพโดยเฉพาะเมอ่ื รา่ งผดิ ใชผ้ า้ ปดั ลบได้ สีด�ำ จะ ลบออกโดยไมเ่ ปรอะเปือ้ น 6.3 สดี �ำ จากการเผางาช้าง (Ivory Black) สีด�ำ ทเ่ี กิดข้นึ จากการเผางาช้างโดยใชเ้ ศษ ๆ ของ งาชา้ งทเ่ี หลอื จากการแกะสลกั หรอื ขเี้ ลอื่ ยทห่ี มดคา่ ไรป้ ระโยชนแ์ ลว้ นน้ั น�ำ มาเผาไฟไดถ้ า่ น งาช้างท่ีมีสีด�ำ เขม้ เปน็ สีทม่ี คี ุณภาพสูง นำ�มาบดใหล้ ะเอยี ดผสมกบั กาวเขียนภาพได้ 6.4 สีด�ำ จากหมึกจนี (Chinese Ink) เปน็ สีด�ำ ทไ่ี ด้จากสีด�ำ ในตวั ปลาหมกึ จึงเรียกทบั ศพั ทว์ า่ 34 สีโบราณของไทย โดย สุรศักดิ์ เจริญวงศ์
“หมึก” ชาวจีนนำ�หมึกจากตัวปลาหมึกนี้ไปผสมกับเขม่าทำ�ทั้งตีเป็นแท่งและทำ�เป็น น้ำ�หมกึ ใสข่ วด --- ที่ทำ�เปน็ แทง่ เวลาใชต้ อ้ งนำ�ไปฝนกับหนิ รางฝนหมกึ กับน�ำ้ ได้น้ำ�หมึก กอ่ นแล้วจึงน�ำ มาใช้เขยี นได้ เหมาะส�ำ หรับการพกพาไปไหนได้สะดวก --- ส่วนทที่ ำ�ใส่ ขวดไวใ้ ช้ประจ�ำ ท่ี หมึกจนี นคี้ นนยิ มใช้เขียนท้งั ภาพและตัวหนงั สอื โดยใชพ้ กู่ นั จ่มุ เขียน ตัวหนังสือจีนถือเป็นงานศิลปะชั้นยอด หมึกจีนมีกาวอยู่ในตัวหมึกอยู่แล้วไม่จำ�เป็น ต้องน�ำ ไปผสมกบั กาวใด ๆ ก่อนจะน�ำ ไปใชเ้ ขยี นภาพ --- คุณสมบตั ิพเิ ศษของหมกึ จนี ประการหน่ึงคือมีความดำ�เป็นพิเศษกว่าหมึกฝร่ังหรือหมึกแขกคือสามารถไล่นำ้�หนัก ของสีด�ำ ไดก้ ว่า 10 ระยะ และมีเน้อื หมกึ สีดำ�ที่ละเอยี ดกวา่ สฝี ่นุ อน่ื ๆ 6.5 สีดำ�จากมะเกลือหรอื กระเบง็ (ยางไม้) เปน็ สีย้อมไม่ใชท้ �ำ สฝี ุน่ มีคุณภาพคงทนถาวร 6.6 สีดนิ ด�ำ (Terre-Noire) เปน็ สีจากธรรมชาติเกิดจากดนิ ทีม่ ีสว่ นผสมของดนิ กับคารบ์ อเนต ของแคลเซียม เหล็กและแมงกานสี เปน็ สีคงทนแตม่ เี นื้อสหี ยาบหนามาก (หมวดสดี �ำ มีชอ่ื เรยี กตา่ ง ๆ ทัง้ ทเ่ี ป็นศพั ทเ์ รยี กสามญั ศัพท์ศิลปกรรม ภาษาช่าง มที งั้ ช่อื ที่ คนร่นุ ใหม่รู้จกั และไมร่ จู้ ัก การค้นคว้ายงั ท�ำ ได้ยาก หมวดสีดำ�ยังมชี ่ืออีกดังน้ี สดี �ำ นิล --- ปกี แมลงภู่ --- นำ้�รัก --- หมกึ --- ยำ�กรุย --- มอหมกึ --- เทา --- ก�ำ --- ก�ำ่ ) กลมุ่ สที เ่ี ปน็ สหี ลกั ขาวผอ่ ง เหลืองรง เขียวใบแก่ แดงชาด แดงเสน ดนิ แดง คราม (นำ�้ เงนิ ) ดำ�หมกึ ด�ำ นำ้�รัก Silpakorn University Journal of Fine Arts Vol.3(2) 2016 35
ประเภทสปี ระสม นำ�สหี ลกั 9 สมี าประสมกันไดส้ ไี ทยเพมิ่ ขึน้ อีก 28 สี 1 หงสบาท = แดงเสน + เหลอื ง 2 หงชาด = แดงชาด + ขาว 3 หงเสน = แดงเสน + ขาว 4 หงดนิ = ดินแดง + ขาว 5 แดงล้นิ จี่ = แดงชาด + คราม(นดิ หนอ่ ย) 6 มอคราม = คราม + ขาว 7 ม่วงคราม = คราม + แดงชาด 8 มว่ งชาด = แดงชาด + คราม (นิดหนอ่ ย) 9 มอหมึก = ดำ�หมึก + ขาว 10 มอมดื = คราม + ด�ำ + ขาว 11 หมอก = คราม + ขาว + ด�ำ (นิดหน่อย) 12 เทา = ขาว + ดำ� 13 นวลเทา = ขาว + เหลือง + ดำ� (นิดหนอ่ ย) 14 ฟา้ = ขาว + เขียว + คราม 15 กา้ มปอู สุรา = แดงชาด + เหลือง + ขาว (นดิ หน่อย) 16 เหลอื งแก่ = เหลอื ง + แดงเสน (นดิ หนอ่ ย) 17 นวลจันทร์ = ขาว + เหลอื ง 18 ไพล = เหลือง + คราม (นดิ หนอ่ ย) 19 เขียวขาบ = เขียว + คราม + ขาว (นดิ หนอ่ ย) 20 เขียวก้านมะลิ = เขียวใบแก่ + ขาว 21 เขียวกา้ นตอง = เขยี วใบแก่ + เหลอื ง + ขาว (นิดหนอ่ ย) 22 เขียวแก่ = เขยี วใบแก่ + คราม + ด�ำ 23 น้�ำ ตาล = เหลือง + ดนิ แดง + ดำ� 24 อิฐ = แดงเสน + ด�ำ (นดิ หน่อย) 25 หม้อใหม่ = แดงเสน + เหลือง + ขาว (นดิ หนอ่ ย) 26 เลอื่ มประภสั สร = คราม + เหลือง + แดง + ขาว (นดิ หน่อย) 27 สมั ฤทธ์ิ = คราม + เหลอื ง + ดำ� + แดง + ขาว 28 หมากสุก = เหลอื ง + แดงเสน + เขียว 36 สีโบราณของไทย โดย สุรศักดิ์ เจริญวงศ์
สใี นศลิ ปกรรมไทย สใี นศลิ ปกรรมไทยท่ศี าสตราจารย์นโิ คลาสให้ค�ำ ภาษาอังกฤษ ศาสตราจารยศ์ ิลป์ พรี ะศรใี ห้ ค�ำ ภาษาไทยและพระยาอนุมานให้ค�ำ ในวงเล็บเพิ่มเติม (สว่ นหลัง: สรุปเพมิ่ สไี ทยเพิม่ ตามที่ ได้รวบรวม) 4 1 ขาวฝุ่น (ภาษาสามญั เรยี กแปง้ นวล) White: เปน็ สไี มต่ ้องผสม ขาวเปน็ ชอื่ ของสโี บราณ เรียกว่า “ฝนุ่ ” ทำ�มาจากดนิ ขาวหรือปนู ขาว : กระบัง ได้จากดนิ ขาว มนี ้�ำ หนักมาก แชน่ ำ้� กรองใหส้ ะอาด น�ำ ไปเกรอะใหแ้ หง้ ป่น ใหเ้ ปน็ ฝ่นุ ขาว เปน็ ขาวใส 2 เลือ่ มประภสั สร Light Yelow: เล่อื มประภสั สร เล่อื มเหลือง = คราม + เหลอื ง + แดง + ขาว 3 เลอ่ื มเหลือง Light Yelow 4 เหลืองออ่ น Light Yelow : ดินเหลอื งหรือเหลอื งดนิ สีเหลืองหม่นอมน�ำ้ ตาล ละลายน�ำ้ กรองเอาผงกรวดทราย ออก นำ�น�้ำ ดินเหลอื งไปเกรอะจนแหง้ บดเป็นฝุน่ : หรดาล เปน็ หินสเี หลือง น�ำ มาฝนบนหนิ กบั น�้ำ จะได้น�้ำ สีเหลือง 5 แดงเสน Red, Light Red: = แดงชาด + เสน 6 เสน แดงเสน (แสด) Red, Light Red, Vermilion: เป็นสีไม่ตอ้ งผสม เกิดจากออกไซด์ ของตะกั่ว เป็นสีมีนำ้�หนักมาก แดงเสนคือแดงอมเหลืองและมีส่วนผสมของสีเหลือง มากกว่าสีแสด 7 จันทร์นวล Pale Orange, Broken Yelow: = ขาว + เหลอื ง : จนั แก่ = เสน + เหลือง + ขาว 8 ดอกชบา, มณีแดง, (พลอยทบั ทมิ ) Scarlet: แดงสด ยี่ห้อกวงเฮง เปน็ สแี ดงสดผสมด้วย สแี ดง (ชาด) กบั เสนเล็กน้อย 9 ลิ้นจี่, แดงชาด Crimson Lake: ได้จากจีนเรยี กชาดอนิ จี่ ชาดยห่ี อ้ ไตเ่ ซ้ง : แดงชาดย่งก๊ดิ ย่ีหอ้ ยง่ กดิ๊ หนงั สือจีน 4 แดง : จอแส ชาดทีส่ ง่ มาจากเมืองจนี เป็นแดงฉำ�่ เรียก “ชาดจอแส” มลี ักษณะเป็นกอ้ น นำ�มาฝนหรือบดเป็นสแี ดง ผสมนำ้�กาวใชเ้ ขยี น : ชาดหรคณุ เปน็ ชาดผงทผ่ี สมกบั ปรอทและก�ำ มะถนั สแี ดงสด ใชท้ าหรอื เขยี นบนทอง จะจับเน้ือทองดกี วา่ ชาดชนดิ อ่นื : ชาดสีสุด เปน็ ชาดผง เหมาะส�ำ หรบั น�ำ มาทาบ้านทว่ั ไป นำ�มาผสมกับนำ�้ มันยางหรือ Silpakorn University Journal of Fine Arts Vol.3(2) 2016 37
น�้ำ รกั เปน็ สแี ดงคลำ้� : ชาดอายมุ้ย เปน็ ชาดสแี ดง สง่ มาจากเมืองจีน 10 ชมพู (ดู 46 หงชาด) Pina : ชมพูกลาง = แดงชาด + ขาว, หงชาด ชมพแู ก่ = แดงชาด + ขาวนดิ หน่อย 11 ฟ้าแลบ (หงชาดอ่อน) Pina: = แดงชาดนดิ หน่อย + ขาว 12 แดงชาด (แดงเลือกนก) Red Crimson 13 ม่วงดอกตะแบก Deep Ature, Blue Purple : ออกแดงหรือกระเดยี ดแดง = คราม + แดง + ชาด + ขาวนิดหนอ่ ย 14 หงเสน (สหี ม้อใหม่) Light Vermilion: = เสน ขาวนิดหนอ่ ย หงเสนออ่ น = เสน + ขาว ส�ำ ราล, ครามเผอื ก = เสน + ขาว อิฐอ่อน = ดินเหลอื ง + ดินแดง + ขาว อิฐแก่ = ดินเหลือง + ดินแดง หมากสุก = เหลือง + แดงเสน + ขาว 15 หงสบาท, กา้ มปูอสรุ า, สีส้ม, สีหมอ้ ใหม่, สีดอกจ�ำ ปาอ่อน Light Red, Orange : = ขาว + แดงเสน + เหลอื ง สเี หมอื นเท้าหงส์ เปน็ สีสม้ ค่อนขา้ งเหลือง : หมอ้ ใหม่ = ดนิ เหลือง + ดินแดงนดิ หนอ่ ย 16 แสด bright Red, Orange 17 บวั โรย Tode Rose : = แดงชาด + ขาว + ครามนิดหน่อย 18 แดง (ดู 46 หงชาด) Rose 19 ม่วง, ม่วงแดง Purple : มว่ งคราม ม่วงกระเดยี ดคราม = คราม + แดงชาด + ขาว 20 เหลืองรง(รงทอง) Gamboge Tint : รงทองยาจนี เปน็ แท่ง 21 เหลืองแก่ (จำ�ปา) Dark Yelow : = เหลอื ง + แดงเสนนดิ หน่อย 22 ทอง(เหลืองทอง) Golden : = เหลือง + ขาวนิดหนอ่ ย : ทองค�ำ ทองคำ�เปลวปิดดว้ ยยางมะเดอ่ื 23 น�ำ้ รกั Dark Sepia : ยางรกั = ดนิ แดง + ดนิ เหลอื ง + ด�ำ 24 มว่ งออ่ น (ดู 30 ต่างกันแตแ่ กอ่ ่อน) Light Purple 25 ขาบ คราม (นำ�้ เงนิ แก)่ Ultramarine Blue : สีทเ่ี กดิ จากตน้ คราม ไมต่ อ้ งผสม : ขาบ, กรมท่า = คราม + ด�ำ 38 สีโบราณของไทย โดย สุรศักดิ์ เจริญวงศ์
26 เมฆมอ (ดู 31) Ozute : มอสหี มายถึงทำ�ใหส้ ีหม่นลง ดว้ ยการนำ�สดี �ำ ไปผสมสีอนื่ : มอครามแก่ กระเดยี ดคราม = คราม + ขาว + ดำ�นดิ หน่อย : มอครามกลาง = คราม + ขาวนดิ หนอ่ ย : มอครามออ่ น = คราม + ขาว : เมฆคราม กระเดยี ดดำ� = คราม + ขาว + ด�ำ นดิ หน่อย : แดงตัด = แดง + ด�ำ ไมเ่ รยี กมอแดง 27 ผา่ นแดง Picbald, Brown: พน้ื ขาว จดุ ดา่ งน�ำ้ ตาลปนแดง 28 ทองแดง Copper Coloured = เสน + แดง + ชาด + ขาว 29 สัมฤทธิ์ Dark Brown, Sepia, Greenith, Neutral Tint: = ดินเหลือง + ดินแดง : สมั ฤทธิโ์ บราณ = คราม + เหลอื ง + แดง + ดำ� + ขาว : ทองแดงแก่ = เสน + แดง + ชาด + ขาว + เจอื ดินแดงนดิ หนอ่ ย 30 ม่วงแก่, ม่วงชาด (สเี มลด็ มะปรางหรือสีดอกตะแบก) Dark Purple : ม่วงชาดออกแดง = คราม + แดงชาด + ขาวนดิ หนอ่ ย : มว่ งชาดอ่อน = แดงชาด + คราม 31 มอคราม (สีฟ้าดอกผกั ตบ) Indigo Blue: คราม + แดง + ชาด + ขาว 32 เมฆ (ดู 26 และ 43) (เปน็ สรี ะหว่างเมฆอ่อนกม็ ี เขม้ ก็มี) Light Cobale, Brown 33 ครามอ่อน (ดู 31) Pale Indigo Blue 34 เขยี วก้ามปู (ขดั กับ 15) ถา้ เป็น Dark Green กเ็ ปน็ เขียวใบแค (เขยี วสมอ) Dark Green : เขียวนวล = เขียวแก่ + ขาว : เขยี วต้งั แช เป็นสนิมทองเรียกวา่ “ทองคำ�” เปน็ เขยี วที่ทำ�มาจากจนี ดสู ดใสมาก เป็นเขียวสดไม่ต้องผสม เป็นเขียวแบบอย่างคนสมัยใหม่เรียกว่าเขียวแบบพลอย เขียว เทอคอยท์ นิยมระบายสีในสมยั อยุธยาตอนปลาย : เขยี วแก่ เขยี วใบแค = เขียวแก่ + ขาวนิดหน่อย : เขยี วกลาง = เขียวแก่ + ขาว + เหลอื งนิดหนอ่ ย : เขยี วขาบ = เขยี วแก่ + คราม + ขาวนดิ หนอ่ ย : เขยี วสมอภิเภก เขยี วกลาง = เขียว + ขาว + เหลือง : เขียวปนด�ำ ใชร้ ะบายพน้ื ทิวทศั น์ตน้ ไม้ = เขยี วแก่ + ดำ� 35 เขียวมรกต เขยี ว (พลอยเขียว) Green 36 นำ้�ไหล Sea Green : ฟา้ ออ่ นเจือเขยี ว : คราม + ขาว + เขยี ว 37 ผ่านดำ� Piebald (Black) : พนื้ ขาวจดุ ดา่ งด�ำ 38 ผา่ นขาว Piebald (white) : พน้ื น�ำ้ ตาลปนแดง จดุ ด่างขาว Silpakorn University Journal of Fine Arts Vol.3(2) 2016 39
: ผ่านขาว พื้นน้ำ�ตาลปนเหลือง จดุ ดา่ งขาว : ผ่านขาว พ้ืนด�ำ จุดด่างขาว 39 ดนิ แดง Dark Red, Dark Brick Red : เปน็ สแี ดงคล�้ำ ไดจ้ ากดนิ แดงในธรรมชาติ เกดิ จาก สนมิ แร่เหล็กดินแดง : ดินแดงเทศ สแี ดงคล�้ำ กวา่ ของไทย ส่วนใหญไ่ ด้จากอินเดีย : ตัวเปีย๊ , สีแดงคล�้ำ กว่าของไทย ได้จากจนี : แดงลน้ิ จ,่ี อนิ จี ไดจ้ ากจนี บางทีเรยี ก ชาดอนิ จ่ี 40 หงดิน (สหี มอ้ ใหม)่ Brown Violetist : สขี าว สดี นิ แดง : หง หมายถึงสแี ดงต่างๆ ผสมฝนุ่ ขาวใหด้ ูออ่ นลง : หงดินแก่ = ดินแดง + ขาวนิดหนอ่ ย : หงดินกลาง = ดนิ แดง + ขาว : หงดนิ ออ่ น = ดนิ แดง + ขาวมากหนอ่ ย : ลน้ิ จี่ (โบราณ) = แดงชาด + ครามนิดหน่อย 41 ดำ�หมกึ (ด�ำ มืด) Black : ด�ำ หมกึ = หมกึ จีน ด�ำ มืด = เขม่าไฟ : ดำ�ถ่าน คือดำ�เกิดจากการเผากระดูกจนดำ�และบดใหล้ ะเอียด เอางาช้างมาเผาเป็น สดี �ำ : เขม่า เกิดจากควันไฟของฟนื ในครวั ไทย เขมา่ จะเกาะดาดกน้ หม้อดินและท่ีหยากไย่ หลงั คา ชา่ งมักเรยี กสีด�ำ วา่ เขม่า : เขม่าแหนบ เขมา่ ทเ่ี กดิ จากการเผาน้�ำ มันยาง 42 เทา, หมอก (สสี วาท) Grey 43 มอหมกึ (สีเทา, สหี มอก) Sable : เทาแก่ = ด�ำ + ขาว : มอหมกึ อ่อน เทา = ด�ำ + ขาวมากหนอ่ ย 44 นวลเทา (สกี ากี) Yelowish Grey : กากี สีน�้ำ ตาลปนเหลอื ง เป็นสีสนมิ เหล็ก : กา้ มปู เปน็ สีที่เกดิ จากส่วนผสมของสเี หลืองกบั ด�ำ = ดินเหลือง + เขมา่ ด�ำ 45 หงสชาด (ชมพู กุหลาบ) Black Red, Rose รวม 98 สีไทยท่ีเป็นชื่อสีฝุ่นในอดีต ชื่อสีที่เราใช้เรียกแบบอดีตหมดไปเมื่อมีสีหลอดนำ�เข้า จากตา่ งประเทศเข้ามาขาย กลา่ วโดยสรุปสตี ่าง ๆ ทช่ี า่ งเขยี นภาพแบบไทยประเพณมี เี ปน็ ผงหรอื เปน็ ฝนุ่ เป็นสที เี่ กิดจากวัสดุในธรรมชาติคือ 40 สีโบราณของไทย โดย สุรศักดิ์ เจริญวงศ์
สีประเภทที่ได้จากดิน --- เชน่ ดนิ ขาว --- ดินเหลอื ง --- ดินเขียว --- ดนิ แดง สีประเภททไ่ี ดจ้ ากพืชหรอื ยางไมค้ ร่งั --- เช่น สีเหลืองของยางตน้ รง --- สคี รามได้จากต้นคราม --- สีแดงไดจ้ ากต้นชาดหรคุณ --- สีแดงไดจ้ ากเมล็ดในลกู ค�ำ เงาะ --- สดี ำ�ได้จากถา่ นไม้ --- สดี ำ�จากมะเกลือหรือกระเบ็ง สปี ระเภทท่ีได้จากปูนและหิน --- เชน่ สีขาว --- สีเขียวจากหนิ ขนี้ กการเวก สีประเภททไี่ ด้จากสัตว์ --- สดี �ำ จากถ่านงาชา้ ง --- สีด�ำ จากถ่านกระดูกสัตว์ --- สดี ำ�ในตัวปลาหมึก --- สขี าวจาก เปลอื กหอยปน่ สที ่ีได้จากสารประกอบ --- เชน่ สขี าวไดจ้ ากสารประกอบสงั กะสี --- สเี ขยี วไดจ้ ากสารประกอบทองแดง --- สเี หลอื ง ได้จากสารประกอบตะกวั่ --- สีแดงเสนหรอื สเี สนไดจ้ ากสารประกอบดีบุก สแี ตล่ ะประเภทไดถ้ กู บดใหเ้ ปน็ ผงฝนุ่ เพอื่ ใชใ้ นการเขยี นระบาย แตเ่ พอ่ื ใหส้ ตี ดิ กบั พน้ื ทร่ี องรบั ภาพจะใช้กาวและยางไม้เป็นสิ่งช่วยประสาน นิยมใช้ยางไม้ท่ีได้จากมะขวิดมาละลายในนำ้� ร้อนเพ่ือให้น�ำ้ ยางมะขวดิ เหลวและใส ใชก้ ับสีฝ่นุ หรอื เอาสฝี ุน่ ผสมกบั “กาวกระถิน” หรอื กาว ยางไม้เพ่ือระบายเป็นภาพ ชา่ งไทยเรียกว่า “น้ำ�ยา” หรอื “กระยารง” ส�ำ หรับภาชนะส�ำ หรับ ใสส่ ีเขียนภาพใชก้ ะลามะพร้าวซีกทเ่ี รียกว่า “กะลาตัวเมีย” เป็นกะลาซกี ไม่มรี ู นำ�มาใสส่ ีฝุน่ ผสมน�้ำ ยาหรอื น�ำ้ กาว วสั ดทุ เี่ ปน็ พน้ื รองภาพมหี ลายชนดิ เชน่ ผา้ กระดาษ พนื้ ผนงั ถอื ปนู และ พน้ื ผนงั ทเี่ ป็นไม้ งานเขยี นระบายสลี งบนพนื้ ผา้ เรยี กวา่ “ภาพพระบฏ” หมายถงึ แผน่ ผา้ หรอื ผนื ผา้ มคี วามหมาย ว่ารปู พระพุทธเจา้ หรอื เรอื่ งของพระพทุ ธเจ้า เปน็ ภาพเขยี นห้อยแขวนถวายเป็นพทุ ธบูชาตาม โบสถ์ วิหาร ศาลาการเปรียญ มว้ นเก็บได้ งานเขียนระบายสีลงบนกระดาษหรือสมดุ ไทย มกั เขียนบนสมดุ ไทยขาว-ด�ำ เรียกวา่ “สมุด ข่อยหรือสมุดธาตุ” ทำ�ด้วยกระดาษขอ่ ยหรอื กระดาษสา เป็นหนังสือคมั ภีร์เทศน์ คัมภีร์สวด ตำ�ราภาพตา่ ง ๆ งานเขยี นระบายสลี งบนผนงั ปนู และผนงั ไม้ บนผนงั บานประตหู นา้ ตา่ ง คอสอง เรยี กวา่ “ภาพ Silpakorn University Journal of Fine Arts Vol.3(2) 2016 41
จติ รกรรมฝาผนงั ” ใช้เพอื่ ตกแต่งอาคาร ศาสนสถานต่าง ๆ เปน็ เนอ้ื หาเรื่องราวท่เี กยี่ วเนอื่ ง ทางพุทธศาสนา การใชส้ ใี นจติ รกรรมไทย สเี อกรงคท์ ใ่ี ชส้ กี ลมกลนื แบบงา่ ย สโุ ขทยั พ.ศ. 1762-1981 (219 ปี) อดีตพทุ ธ อ.เฟือ้ หริพิทกั ษ์คัดลอกจากวดั เจดียเ์ จ็ดแถว ศรสี ชั นาลัย ภาพจิตรกรรมสีเอกรงค์ที่ใช้สีกลมกลืนแบบง่าย 3-4 สีของสีข้างเคียงตามวงจรภาพเป็น แนวสัญลักษณ์จัดองค์ประกอบท่ีได้อิทธิพลมาจากลังกา เป็นเรื่องอดีตพุทธประทับนั่งใน โพธิบัลลังก์พรอ้ มเทวดานัง่ เรยี งตามแนวระดับและแนวดิง่ ท่าทางซำ้�หรือคล้ายกนั --- สีโดย ส่วนรวมเปน็ สีเอกรงค์ (โทนสนี �ำ้ ตาลแดง หงดนิ - อิฐออ่ น) พ้นื หลงั สีดินแดง หงดินออ่ น รศั มี สชี าด วรกายสีขาวนวลเนอ้ื ตัดเส้นดว้ ยสีน้�ำ ตาลเข้มและสดี ำ� มสี ิดี นิ เหลอื งและทอง อยธุ ยาตอนตน้ พ.ศ. 1893-2034 (141 ป)ี อทู่ อง (ร.1) ถึงบรมราชาธิราชท่ี 3 อินทราชา (ร.10) อทิ ธพิ ลการเขยี นภาพต่อจากสโุ ขทัย มี ววิ ฒั นาการเดน่ ชดั เนอ่ื งจากโบสถว์ หิ ารถกู ท�ำ ลายจากภยั สงครามจงึ ไมพ่ บภาพเขยี นตามโบสถ์ วหิ าร แตพ่ บทก่ี รใุ นองคป์ รางค์ เปน็ การเขยี นภาพเพอ่ื สรา้ งคณุ คา่ เชดิ ชู บชู าพระพทุ ธศาสนา เทา่ นัน้ เพราะเขยี นในสถานทท่ี ีค่ นทั่วไปไมม่ ีโอกาสเห็นและชนื่ ชม --- สโี ดยสว่ นรวมเป็นสี เอกรงค์ที่ใช้สีกลมกลืนแบบง่ายเหมือนสมัยสุโขทัย ใช้เทคนิคการเขียนสีฝุ่นผสมกาวบนผนัง ปูน สีท่ีใช้สว่ นใหญเ่ ปน็ สแี ท้คอื สีดำ� สขี าว สีแดง สีดินแดง สีเหลืองดินและสที อง วดั ราชบูรณะ อยุธยา (พ.ศ. 1967-1970) สร้างข้ึนในสมยั พระบรมราชาธริ าชท่ี 2 (เจ้าสามพระยา) เขียนข้ึนทีภ่ ายในผนังกรพุ ระปรางค์ องคใ์ หญ่ แบ่งภาพเป็น 2 ตอน ตอนบนมภี าพเขยี นสีปูนเปียกเปน็ ภาพเทพชุมนุมเลียนแบบ ศิลปะอินเดียและภาพทหารจีนเชิญเครื่องพุทธบูชา มีภาษาจีนก�ำ กับ --- สีเส้นเขียนอย่าง อสิ ระในโทนสเี อกรงค์ทใ่ี ชส้ ีกลมกลืนแบบงา่ ยมีสแี ดง ด�ำ ขาว เปน็ หลกั ตอนล่าง เป็นภาพสี ฝุ่นบนผนังขดั เรยี บแบง่ ภาพเปน็ 4 แถว แถวบนเป็นภาพอดตี พุทธ ด้านข้างมภี าพเทวดาน่ัง 42 สีโบราณของไทย โดย สุรศักดิ์ เจริญวงศ์
ไหว้คั่นอยู่ --- ชั้น 2 เขียนภาพพทุ ธสาวกเรียงพนม 80รปู ลักษณะอูท่ องแท้ --- ชว่ งล่างเขียน ภาพชาดก โครงสเี ป็นสีแดงเสน พ้ืนหลงั ภาพเปน็ สแี ดงอ่อนสลบั แดงแก่ แทรกด้วยสีทอง เดิน เสน้ ด้วยนำ้�หนักอ่อนแกข่ องสีขาวนวล น้ำ�ตาลและดำ� มีการใช้สีเขม้ ระบายทบั สขี าวเป็นบาง แหง่ เพอ่ื ทำ�ให้เกดิ น้ำ�หนกั ออ่ นแก่ ปดิ ทองบางส่วนท่ีส�ำ คญั วัดพระราม อยธุ ยา สมเด็จพระราเมศวรทรงสร้างเมื่อ พ.ศ.1912 ณ ที่ที่ถวายพระเพลิงพระบรมศพสมเด็จพระ รามาธิบดที ี่ 1 (อูท่ อง) จติ รกรรมวดั พระรามนี้แสดงโครงระบายสที ใ่ี ช้ดินเหลอื งมากขน้ึ และ ควบคมุ เกือบทงั้ หมดของพ้นื ที่ อยธุ ยายคุ กลาง พ.ศ. 2034-2171 (137 ปี) สมเด็จพระรามาธบิ ดที ี่ 2 ถึงสนิ้ รชั กาลพระเจา้ ทรงธรรม (ร.11 - ร.23) 13 องค์ วดั มหาธาตุราชบรุ ี (พ.ศ. 2040) เขียนบนผนังคูหาภายในองค์ปรางค์เป็นภาพอดีตพุทธปางมารวิชัยน่ังเรียงเป็นแถวประทับใน ซมุ้ เรอื นแก้วโพธบิ ลั ลงั กม์ ีสาวกพนมมือคน่ั ศลิ ปะอู่ทองสุโขทัย --- พระเศยี รพกั ตรอู่ทอง --- การอ่อนชอ้ ยของพระพาหา การวางพระหัตถ์ เปลวรศั มี = สโุ ขทัย --- มีการแยกความแตก ตา่ งของฉากหลัง พระแถวบนซุ้มเรือนแก้ว ลายดอกไม้ พระแถวลา่ งเปน็ สถูปบัลลังก์ วดั พระศรีสรรเพชญ์ อยธุ ยา เขียนข้ึนในสมัยสมเด็จพระรามาธิบดีที่ 2 (ร. 11) พ.ศ. 2035 บนผนังในคูหาสถูปด้านทิศ ตะวนั ออก รูปพระสาวกยืนพนมมือถือดอกบัว --- สีทใี่ ชเ้ ป็นโทนเอกรงคใ์ ช้สกี ลมกลนื แบบ งา่ ย มีสเี หลืองดนิ หงดิน (อฐิ ) น�้ำ เงินแก่ ขาว ด�ำ ปจั จุบนั สีจางแลว้ อยธุ ยายคุ ปลาย พ.ศ. 2173-2310 (149 ปี) สมเดจ็ พระเชษฐาธริ าชถงึ สมเดจ็ พระทีน่ ัง่ สรุ ยิ าสนอ์ ัมรินทร์ (พระเจา้ เอกทัศน์) (ร.24 - ร.35) นอกจากการเขียนภาพเรื่องอดีตพุทธแล้วเร่ิมมีการเขียนภาพเทพชุมนุมอันเป็นส่วนหนึ่งของ Silpakorn University Journal of Fine Arts Vol.3(2) 2016 43
พทุ ธประวตั ติ อนตรสั รแู้ ละมกี ารพบภาพเขยี นบนผนงั พระอโุ บสถและพระวหิ ารบนพน้ื ทขี่ นาด ใหญ่ มีการใช้เส้นสินเทา ดอกไม้ร่วงเหนือภาพเทพชุมนุมทำ�ให้สีแดงชาดและเหลืองทองมี พนื้ ทก่ี วา้ งขึ้นและเรม่ิ มภี าพทเี่ ปน็ เร่ืองราวทางพุทธศาสนาเชน่ มารผจญ ไตรภูมิ วัดใหมป่ ระชุมพล อยธุ ยา เขยี นภาพพทุ ธประวตั บิ นผนงั ดา้ นหนา้ พระประธานและภาพเทพชมุ นมุ หลงั พระพทุ ธองคช์ นะ มารแล้วซึ่งเขียนบนผนังด้านข้างพระประธานโดยใช้แถวเจดีย์เป็นสัญลักษณ์เป็นเจดีย์ย่อมุม สบิ สองแบบสมยั พระเจา้ ปราสาททองและมเี ทวดานงั่ พนมมอื สลบั แทนทอี่ คั รสาวก--- รปู เทพ ชมุ นมุ วรกายขาวนวลเชน่ เดยี วกบั องคเ์ จดยี ์ ปดิ ทองเครอื่ งทรงเทพและยอดเจดยี ์ ระบายสพี น้ื ด้วยสีดินแดงผสมชาด บนพ้ืนว่างเขียนดอกไม้ร่วงสีขาวนวล มีพุ่มมยุรฉัตรทองสลับเขียว ตั้งแช (เขียวอ่อน) โทนสสี ่วนรวมเป็นสแี ดง วัดปราสาทนนทบรุ ี ภาพผนังโบสถ์เขียนเรื่องทศชาติ แบ่งผนังด้านละห้าช่องด้วยเส้นตั้งเป็นลำ�ขนาดใหญ่คล้าย เสา มภี าพเทพพนมยนื อยบู่ นฐานสงู (คลา้ ยทวารบาลวดั ใหญส่ วุ รรณาราม เพชรบรุ ี ทงั้ รปู ทรง และวรรณะสี (ทงั้ ทเี่ ขยี นหลงั กนั หลายสบิ ปี) ภาพทศชาติเหลอื เพยี ง 6 ชอ่ ง มกี รอบสินเทา แบ่งภาพแตล่ ะตอน โดยใหร้ ูปพระนางทีเ่ ป็นประธานเคลื่อนไหว รูปทรงชัน้ รองท�ำ ทา่ หรอื รปู แบบซำ้� ๆ กัน สีส่วนรวมเป็นสเี อกรงค์ ขาวนวล หงดินออ่ น มีสเี ขียวกา้ มปู (เขยี วเขม้ ) มอ หมกึ และดำ�และทองกระจายอยูท่ วั่ ภาพ --- มภี าพอดตี พทุ ธอยู่ขอบบน --- โครงสีสว่ นรวม เปน็ สแี ดงขาว สอี ื่นมนี ้อย วรรณะเปน็ สีเอกรงค์ จิตรกรรมพื้นบ้านล้านนาใช้สีเอกรงค์ที่ใช้สีกลมกลืนแบบง่าย โทนสีน้ำ�ตาล มีสีหงสบาท น�ำ้ ตาล ดินเหลือง ขาว ดำ� ผสมเหมอื นการไล่น้�ำ หนักออ่ นแกห่ ลายระดบั กลมกลืนแบบสสี ี เดียว เอกรงคท์ ใ่ี ชส้ หี ลากสขี น้ึ แตท่ �ำ ใหส้ หี มน่ ลง เอกรงค์ที่ใช้สหี ลากสีขนึ้ แต่ทำ�ให้สหี มน่ ลง --- เป็นการใช้สหี ลายสีตามวงจรสีอาจเลยไปถงึ สตี รงขา้ มหรอื สีตัดกนั แตท่ �ำ ใหท้ กุ สหี ม่นลง เขยี นสีบางบนพน้ื ออ่ น (พื้นอ่อน - สบี างหมน่ - เน้นเสน้ ) เกิดขน้ึ ในยคุ สมยั อยธุ ยาตอนปลายที่มีสสี ่งมาจากตา่ งประเทศมากขน้ึ เช่น ตัวเปีย๊ 44 สีโบราณของไทย โดย สุรศักดิ์ เจริญวงศ์
(ชาด) แดงอนิ จ่ี (ลิน้ จ่ี) เขยี วตง้ั แช (เขยี วอ่อน) มว่ ง ชมพู ฯลฯ ส่วนใหญเ่ ปน็ สมี าจากจีน ช่างจงึ นำ�มาเขยี นภาพทัง้ แบบผสมกบั สีแทด้ ้งั เดมิ ของชา่ งไทยพวกดินแดง ดนิ เหลอื ง ขาวฝ่นุ ดำ�เขม่า คราม เกิดการใชส้ ีแบบเอกรงค์ทมี่ ีสีหลากสีข้นึ แต่ท�ำ ใหส้ ีหม่นลง โทนสีอยู่ในวรรณะ สโี ทนเดยี วหรอื สแี บบพหรุ งคท์ ท่ี �ำ ใหส้ ดี สู ดใสสวา่ ง สรา้ งความเดน่ กระจายขน้ึ มาในภาพแสดง ความสามารถของช่างไทยด้านการลงพ้ืน สามารถเขียนสีบางได้อย่างสดใสแม้บางสีเป็น สีหม่น โดยที่ผิวรองพื้นไม่ดูดเน้ือสีท่ีเขียนให้จางลง บางแห่งยังเหลือรอยฝีแปรงอันเป็น ลักษณะพเิ ศษ อยธุ ยาตอนปลาย ภาพเอกรงค์ที่ใช้สีหลากสีข้ึนแต่ทำ�ให้สีบางบนพื้นอ่อนและสีหม่นลงถูกเขียนขึ้นในโบสถ์หรือ วหิ ารท่ไี ม่มีช่องหน้าต่างหรอื มีนอ้ ย แสงในอาคารมไี ม่มากจึงตอ้ งใช้พื้นออ่ นระบายสีบาง ๆ และอาจจะทำ�สีเกือบทุกสีโดยเฉพาะสีตรงข้ามให้หม่นลงและเน้นการไล่น้ำ�หนักและตัดเส้นสี เขม้ ภาพเรมิ่ แสดงเรอื่ งราวทางพทุ ธศาสนามากขนึ้ เชน่ มารผจญ ไตรภมู ิ พทุ ธประวตั ิ ทศชาติ มหาชาติ ฯลฯ ต�ำ หนกั พุทธโฆษาจารย์ วัดพทุ ไธสวรรค์ สร้างข้ึนในสมัยพระเพทราชา (พ.ศ.2231 - 2245) ผนังตะวันตกเขยี นภาพทศชาติ --- ตะวัน ออกเขียนภาพพระพุทธโฆษาจารย์ขึ้นสำ�เภาไปลังกาพบสำ�เภาพระพุทธทัตถเถระกลางทะเล ภาพพระพุทธบาทรมิ แม่น้ำ�นมั มทาและเขาสัจจพนั ธครี ี ภาพนมสั การพระพทุ ธบาท --- ทิศ ใตเ้ ขียนรามเกยี รติ์ พทุ ธสาวก อรยิ าบทตา่ งๆ มารผจญ --- ทศิ เหนือเขยี นไตรภมู ิ สีที่ใช้หลากสีข้ึน นอกจากสีแท้ ดินแดง ดินเหลือง ขาว เขม่า คราม ชาด หงดิน (อิฐ) ขาว ดำ� ทองแล้วยงั มีสเี ขยี วก้ามปู (เขียวเขม้ ) เขยี วต้งั แช (เขียวออ่ น) ระบายตน้ ไม้ หมอก มอคราม มอหมกึ เทา น�ำ้ ตาลอ่อนแก่ระบายน�ำ้ และภูเขา มสี เี นอื้ ชมพอู อ่ นบนพนื้ แบบสีบาง วัดชอ่ งนนทรี กรงุ เทพ สรา้ งในสมัยพระเพทราชา (พ.ศ. 2231-2245) ลกั ษณะการวางภาพจิตรกรรมมเี สน้ ตง้ั ขนาด ใหญเ่ ขยี นลายกระจงั รกั ร้อยภายในเสน้ ตัง้ คั่นเรือ่ งราวท่เี ขยี นเปน็ ทศชาตชิ าดก การใชส้ ินเทา แบง่ กล่มุ ภาพเปน็ ตอนๆ มคี วามเด่นชัด ส่วนบนสุดของผนังเขยี นแถวอดตี พทุ ธ --- ผนงั ด้าน หนา้ พระประธานเขยี นภาพพทุ ธประวตั ติ อนมารผจญ --- ผนงั ดา้ นหลงั เขยี นภาพพทุ ธประวตั ิ ตอนเสด็จออกบวช Silpakorn University Journal of Fine Arts Vol.3(2) 2016 45
โครงสีส่วนใหญ่เป็นสีแดง ท้ังแดงชาดและเสนจึงเป็นสีแดงฉำ่� ระบายสีแดงเป็นส่วนท้องฟ้า พื้นหลงั ท่ัวไป บางส่วนกร็ ะบายด้วยสีชมพบู าง ๆ โดยเฉพาะสว่ นทีเ่ ปน็ ส่วนพ้ืนดิน เปน็ สนี วล เนอ้ื อมชมพอู อ่ นๆ ระบายสบี างๆ บนพนื้ ขาวแลว้ ตดั ดว้ ยเขมา่ ด�ำ มสี เี ขยี วตง้ั แชออ่ นบางตาม สมุ ทมุ พมุ่ ไม้ ผนังลงพืน้ ด้วยสีฝนุ่ ขาวมีสมี ว่ ง สคี รามกระจาย ส่วนที่เปน็ เครอ่ื งประดบั เช่น ชฎา สายสงั วาลย์ พระขรรค์ ราชรถปดิ ทองดเู ดน่ แวววาว สว่ นใดมพี นื้ ทว่ี า่ งกเ็ ขยี นลายดอกไม้ ร่วง นก กระรอก ลำ�ตน้ ของตน้ ไม้จะเขยี นบดิ เบย้ี วแบบจนี วรรณสเี ป็นเอกรงค์โทนชมพู แดง พนื้ อ่อน - สบี างหม่น - เน้นเส้นสร้างรูปทรง --- ภาพแสดงความสามารถของชา่ งไทยในด้าน การลงพ้ืนซงึ่ สามารถเขียนสบี างหม่นได้อย่างสดใส วดั ใหญส่ วุ รรณาราม เพชรบรุ ี (พ.ศ. 2199) ภาพเขยี นสมยั อยุธยาตอนปลายสกุลชา่ งเพชรบรุ ี เขยี นขึน้ สมัยสมเดจ็ พระนารายณม์ หาราช (ร.29) --- ผนงั ดา้ นขา้ งพระประธานมีลักษณะแปลกกว่าท่ีอน่ื เขยี นเป็นภาพเทพชมุ นุม ยกั ษ์ กมุ ภัณฑ์ นาคแปลง ครฑุ มีขนาดใหญป่ ระมาณ 2 ใน 3 ของคนธรรมดานัง่ เรยี งกนั คุกเข่า พนมหตั ถ์โดยเขียนเต็มผนังรวมทงั้ หมด 5 ชนั้ แถว ประตูทางเข้าเขยี นภาพเทวดาบาลมียักษ์ แบกเทวดาดูสูงกวา่ จริง โครงสสี ว่ นรวมเป็นสีแดง ท้งั แดงชาด เสน ชมพู และนวลระบายสีบาง ๆ สลับกัน พระวรกาย ส่วนใหญ่เป็นสขี าวนวล มกี ารเพิ่มสีเขยี วตงั้ แช สีหงเสนอ่อน - แกใ่ นลวดลายพรรณพฤกษา และรายละเอยี ด ปดิ ทองแวววาวบนเครอ่ื งประดบั ตามรา่ งกาย ทกุ สรี ะบายบนพนื้ ออ่ นตดั เสน้ ด้วยสนี ้ำ�ตาลและดำ� วดั เกาะแกว้ สทุ ธาราม เพชรบุรี (พ.ศ. 2277) ภาพเขยี นสมยั อยธุ ยาตอนปลายสกลุ ชา่ งเพชรบรุ ี เขยี นขนึ้ ในสมยั พระเจา้ บรมโกศ(ร.33) ผนงั ดา้ นขา้ งไมเ่ จาะชอ่ งหนา้ ตา่ งเขยี นเรอื่ งสตั ตมหาสถาน (สถานทสี่ �ำ คญั ทางพทุ ธศาสนา 7 แหง่ ) และอัฏฐมหาสถาน (สถานทีส่ �ำ คัญในพุทธประวัติ 8 แห่ง) ซึง่ แสดงดว้ ยภาพพระมหาเจดยี ์ พร้อมภาพพุทธประวัติทีส่ ำ�คญั ใต้ฉัตร 5 ชั้น โดยมีสินเทากรอบทรงสามเหล่ยี มคนั่ สลบั หว่าง สินเทาเจดีย์และพุทธประวัติเขียนภาพหมู่นักสิทธิ์วิทยาธรขนาดใหญ่เกิดเป็นแนวรูปทรง สามเหล่ียมต่อกันตลอดผนัง ส่วนผนังด้านหน้าและด้านหลังเขียนภาพไตรภูมิและภาพพุทธ ประวตั มิ ารผจญ วรรณะของภาพออกทางเอกรงคโ์ ทนสเี น้อื ชมพู น้�ำ ตาลอ่อน หงดนิ อ่อน แดงระบายสบี างบน พืน้ อ่อน มสี ีเขียว คราม มอคราม ออ่ นแก่ เขยี นต้นไมแ้ ละโขดเขากระจายอยู่ ปิดทองตดั เสน้ 46 สีโบราณของไทย โดย สุรศักดิ์ เจริญวงศ์
เพิม่ ความส�ำ คญั ของจุดเดน่ ของภาพมากข้ึน พหรุ งคส์ หี ลากสสี ดใส พน้ื ออ่ น สรา้ งความเดน่ ขน้ึ ในภาพ การใช้สีพหุรงค์เป็นการใช้สีหลากสีที่ใช้สีสดใสหลายๆ สีบนพื้นอ่อน เกิดขึ้นในสมัยอยุธยา ตอนปลายเมอ่ื มสี สี ง่ มาจากตา่ งประเทศมากขนึ้ และการเขยี นภาพเรม่ิ มกี ารเขยี นเรอ่ื งราวทาง พุทธศาสนา เช่น เรื่องพุทธประวัติ ทศชาติ มหาชาติ โดยเฉพาะเร่ืองไตรภูมิเก่ียวข้องกับ พรหม สวรรค์ ป่าหมิ พานตซ์ งึ่ เปน็ เรอื่ งราวแนวอดุ มคติใช้จนิ ตนาการสงู --- การใชส้ ีเขียว อ่อนเขยี วต้ังแชแก่ เขียวใบแคหรอื สแี ท้รวมท้ังสมี อเพมิ่ รายละเอยี ดทว่ั ไป นอกจากนี้ยังมีการ ใชส้ อี ยา่ งสดใสหลายๆ สี เช่น สเี หลืองสด สีเขยี วสด สแี ดงสด สคี ราม ฯลฯ มักพบเห็นได้ ใน “สมดุ ข่อย” แสดงเอกลักษณ์ของภาพเขียนของช่างเขียนสมยั นัน้ ผลงานจึงดูโดดเด่นขน้ึ เพราะความกล้าของช่างเขียนมีอิสระทางความคิดและการแสดงออก พ้ืนรองภาพสมุดข่อย สีขาวเมื่อระบายสีบาง ๆ ตามเทคนิคการระบายสีของสมัยอยุธยาตอนปลายทำ�ให้ดูสีสดใส กระจายอย่บู นพ้นื อ่อน เส้นและรปู ทรงต่าง ๆ ในภาพมีความเดน่ ชัดเจนขนึ้ เสน้ ทต่ี ดั จะใชส้ ี แตกต่างกนั เช่น แดง น�้ำ ตาล ด�ำ สว่ นทเี่ ป็นเครอ่ื งทรง เครื่องประดบั ลายไทย เช่น ลาย กนกกจ็ ะปิดทองตดั เสน้ ด้วยสีแดง น้ำ�ตาล เพิม่ ให้ภาพดสู ดใสย่งิ ขึน้ สมดุ ขอ่ ยวัดหวั กระบือ มจี ารึกศกั ราช พ.ศ. 2286 ในรชั สมยั พระเจ้าอยู่หัวบรมโกศเป็นปีทีส่ ร้างก่อนเสยี กรุงศรีอยธุ ยาถึง 24 ปี หอไตรวัดระฆัง เรือนไทยสามหลังแฝด หอนัง่ หอนอน ไม่ทราบชือ่ ชา่ งเขียน --- หอกลางเป็นฝมี อื อาจารย์ นาค ภกิ ษวุ ัดทองเพลง ช่างพระทม่ี ชี ่อื เสยี งในสมยั รชั กาลที่ 1 บานประตูดา้ นในเขียนภาพ ยกั ษ์บานละตน บานหนา้ ตา่ ง 32 บานดา้ นในเขยี นทวารบาล --- หอน่ังเหนือกรอบหน้าตา่ ง เขียนภาพเทพชุมนุม อินทร์ เทวดา ครุฑ ยักษ์ นาค คนธรรพ์ หว่างหน้าต่างเขียนภาพ ธรรมชาตปิ ่าเขา --- หอกลางผนังตะวันออกเขยี นภาพรามเกียรต์ติ อนศึกกมุ ภัณฑ์ ผนงั ทิศ ตะวันตกเขียนภาพรามเกียรต์ิตอนศึกอินทรชิต หอกลางท้ังหมดเป็นฝีมือ อ.นาค หอนอน ประตูด้านในเขียนภาพปลงอสุภกรรม ฝาซ้ายเขียนภาพธรรมบทเร่ืองมาฆมานพสร้างศาลา ประวตั พิ ระอนิ ทรแ์ ละนางสชุ าดา ฝาขวาเขยี นเรอื่ งไตรภมู เิ หนอื หนา้ ตา่ งเขยี นเรอื่ งกองทพั อสรู จิตรกรรม อ.นาค รูปทรงยักษ์ลิงมีขนาดใหญ่ ใช้สีสันดูสดใสเป็นสีสดรุนแรงมีพลัง เส้นและรูปทรงขึงขังแสดง Silpakorn University Journal of Fine Arts Vol.3(2) 2016 47
อารมณเ์ คลอ่ื นไหวโลดโผน วดั ราชสิทธาราม ภาพเขยี นสมยั ร.1 ผนงั ขวามอื พระประธานเขยี นภาพมหาชาติ ผนงั ซา้ ยมอื พระประธานเขยี น ภาพพุทธประวตั ิ --- ผนงั ด้านหน้าเหนอื กรอบประตเู ขียนภาพพทุ ธประวัตติ อนมารผจญ --- ผนังดา้ นหลังเขียนภาพไตรภูมิ องค์ประกอบของภาพใช้เส้นสินเทาเป็นตัวกำ�หนด เชื่อมแยกกลุ่มภาพ ตอนต่างๆ และมิติ ตา่ ง ๆ --- สที ใ่ี ชเ้ ป็นสีพหุรงคโ์ ดยมีการใชส้ มี ากมาย อณขู องเน้ือสมี คี วามเข้มและทึบ เขยี น สีหนากวา่ สมัยอยธุ ยา --- โครงสสี ว่ นรวมเปน็ แดงชาด แดงเสน ชมพู ท�ำ งานรว่ มกับสคี ราม มอคราม ฟา้ คราม มสี ขี าวนวล เน้ือ ทอง เนน้ จุดสนใจในรปู ทรงเครอ่ื งแต่งกาย เคร่ืองศิรา ภรณ์ เครอื่ งสงู สแี ดงชาด แดงเสนยงั โดดเดน่ ตามอทิ ธพิ ลอยธุ ยาตอนปลาย ยงั มสี เี หลอื ง แสด น้ำ�เงิน ฟา้ ชมพูกระจายอยู่ตามรูปทรงในภาพ --- การใช้สีภาพธรรมชาติรปู ต้นไม้ โขดหิน มีทั้งสีเขยี วแก่ - ออ่ นของต้นไม้ น�ำ้ ตาลแดงถึงชมพอู ่อน สีมอคราม มอหมกึ ตัดเส้นด้วยสแี ดง น้ำ�ตาล ด�ำ ระบายสีหนกั ขึน้ เพ่ือให้ตวั ภาพสีอ่อนเดน่ ชัดข้ึน -- สขี องฉากหลังส่วนใหญ่ใช้สี ฟา้ อมเขยี วเสริมบรรยากาศปลอดโปร่งแจม่ ใส การวางผงั ภาพสมยั รตั นโกสนิ ทรต์ อนตน้ สมยั รัตนโกสนิ ทร์ตอนตน้ (พ.ศ. 2325-2394) จิตรกรรมสมัยรัชกาลท่ี 1 - รชั กาลท่ี 3 เปน็ ช่วงเวลาของจิตรกรรมประเพณที ีม่ คี วามเจรญิ สูงสดุ โดยเฉพาะในสมัยรัชกาลท่ี 3 จติ รกรรมเขียนเร่ืองราวต่าง ๆ ทางพุทธศาสนา เขียน ภาพเตม็ พืน้ ทีต่ า่ ง ๆ ของผนงั ตกแตง่ พ้ืนผนงั ศาสนสถานเหลา่ นัน้ ใหส้ วยงาม เพม่ิ ความสงบ ศกั ดสิ์ ทิ ธิ์ ลลี้ บั และมคี ณุ คา่ แกอ่ าคารนน้ั มากขนึ้ สะทอ้ นความเชอ่ื ค�ำ สอนทางศาสนาใหม้ นั่ คง ฝังรากลึกในสังคมไทยให้เชื่อถือศรัทธาในพุทธศาสนามากข้ึน --- มีรูปแบบในการกำ�หนด วางผงั ภาพส่วนใหญ่ในอาคารทางพุทธศาสนาที่เปน็ ระบบแบบแผนดังน้ี --- ผนังด้านหลังพระประธานเขียนภาพไตรภูมิแทรกพุทธประวัติตอนเทศนาดาวดึงส์เป็น รูปแท่งเขา 17 แท่งเรียงกนั ในโครงสร้างสามเหลี่ยม สอดคลอ้ งกับองคพ์ ระประธาน เบื้องลา่ ง เป็นป่าหิมพานต์ สที นั ดรสมทุ ร มหาทวีปทงั้ ส่ี --- ผนังดา้ นหนา้ เหนือประตูทางเข้าเขียนภาพพุทธประวัติตอนมารผจญ รปู ทรงมขี นาดใหญ่ 48 สีโบราณของไทย โดย สุรศักดิ์ เจริญวงศ์
--- ผนังรใี หญ่ดา้ นขา้ งเหนอื หน้าต่างแบ่งผนงั เป็นชนั้ ๆ เขียนภาพเทพชมุ นุม ภาพเทวดา ครุฑ ยกั ษ์ กุมภณั ฑ์ พรหม น่ังเรียงพนมตามแนวระดบั และแนวดิ่งโดยนั่งพนมหตั ถส์ ลบั พุ่ม มยุรฉตั รบนเสน้ หน้ากระดาน 3-4 แถว --- ผนังด้านข้างและด้านหน้าระหว่างช่องประตูและหน้าต่างเขียนภาพเล่าเรื่องทางพุทธ ศาสนาเปน็ ภาพของ “ภัพพมนษุ ย์” มนษุ ยท์ ถ่ี ึงพร้อมท่จี ะตรสั รูเ้ ชน่ พระโพธิสัตวต์ า่ ง ๆ ที่เป็น มนุษย์ที่สูงคา่ กว่ามนษุ ย์สามญั เช่น ภาพพุทธประวตั ิ ทศชาติ มหาชาติ เป็นภาพทส่ี ง่ั สอน ผูค้ นในแง่คติธรรมต่างๆ จิตรกรรมสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้นมีพัฒนาการสืบสานต่อจากสมัยอยุธยามีการกำ�หนดเป็น แบบแผน พัฒนาการใช้สีพหุรงค์ การกำ�หนดเรื่องทางพุทธศาสนา การสร้างองค์ประกอบ สืบสานทางความคดิ ต่อไปจากสมยั อยุธยา จติ รกรรมเริ่มตน้ ในสมัยรัชกาลที่ 1 ยังคงสบื สาน ความคิดและฝีมือแบบอยุธยาโดยเฉพาะการใช้สีแดงชาด และเส้นสินเทาและพัฒนาสู่ความ เป็นตนเองอย่างสมบูรณ์แบบในสมัยรัชกาลที่ 3 โดยเพ่ิมเนื้อหาของรูปทรงทางธรรมชาติ สถาปัตยกรรมเข้าไปทดแทนเส้นสินเทาและสีแดงชาดของฉากหลังภาพ เพ่ิมความคิดและ อารมณต์ า่ งๆ ไดม้ ากขึ้นกว่าความเด่นชดั ของรูปทรง จติ รกรรมเหลา่ นีใ้ หค้ วามรู้สึกในการใช้ สีและเส้นอยา่ งหนกั แนน่ มพี ลงั สอดแทรกคติธรรมความนึกคิด ใชอ้ งคป์ ระกอบและสีพหรุ งค์ เนน้ ชว่ ยภาพใหส้ ะทอ้ นอารมณไ์ ดอ้ ยา่ งลกึ ซงึ้ ยงิ่ ดยู ง่ิ อม่ิ เอบิ ใหค้ ณุ คา่ แหง่ ความงามและความ ศักดิ์สิทธ์ิทางพุทธศาสนา เกิดความซาบซ้ึงในสุนทรียรสของงานจิตรกรรมไทยประเพณี ให้ ความรู้สกึ สะทอ้ นอารมณข์ องภาพตามหลักของเนอ้ื หาหลกั ของเรื่อง ภาพจิตรกรรมสมยั ต้นรัตนโกสนิ ทรม์ ีการวางองค์ประกอบสี รูปทรง จังหวะทส่ี ัมพันธ์กันเปน็ อันดี ภาพที่ปรากฏ บรรยากาศที่ได้รับเป็นส่ือให้เกิดความเลื่อมใสศรัทธาในความศักดิ์สิทธิ์ ทางศาสนาทีป่ ราศจากตัวตน มคี วามสงบบริสุทธิ์ ชน้ี ำ�ไปสู่ความสงบทางอารมณ์ ก่อใหเ้ กิด ความสงบของจิตอนั เป็นสมาธิ ท�ำ ให้รสู้ ึกวา่ ตนเองอยใู่ นโลกอีกโลกหนงึ่ ตา่ งจากโลกภายนอก ทีเ่ ตม็ ไปดว้ ยความสบั สนวุ่นวาย จิตรกรรมไทยยุคน้ีมีเป้าหมายหลักในการเล่าเร่ืองราวทางพุทธศาสนา แต่ส่วนประกอบอื่น ชา่ งจะน�ำ สิง่ แวดล้อมรอบตวั ถา่ ยทอดลงไป มภี าพสถาปัตยกรรม สงิ่ ของเครอื่ งใช้ ธรรมชาติ ผคู้ นทเ่ี คลอื่ นไหวแสดงชวี ติ ความเปน็ อยู่ เปน็ การสะทอ้ นภาพสงั คมไทยในยคุ สมยั ทชี่ า่ งเขยี น ภาพลงบนจติ รกรรม แมว้ า่ เร่อื งพุทธประวัติหรือเร่อื งทางพุทธศาสนาอ่ืน ๆ จะเปน็ เร่อื งราวท่ี Silpakorn University Journal of Fine Arts Vol.3(2) 2016 49
เกิดขน้ึ ในอนิ เดยี พระพทุ ธองค์ก็เปน็ ชาวอนิ เดีย แต่ในภาพจติ รกรรมไทย ท้งั สสี นั และรปู ทรง ทกุ รปู ทรงกลับแสดงลักษณะความเป็นไทย ท้ังตวั คนทุกระดับ ต้งั แตต่ วั พระลงไปถึงตัวกาก ปราสาทไปจนถึงอาคารบา้ นเรอื น คนดูไม่เคยรสู้ ึกขดั ตา ภาพเหลา่ นีจ้ งึ แสดงภาพสังคมไทย ในอดีตได้อยา่ งดที ส่ี ุด การใชส้ ตี ามอารมณข์ องภาพจติ รกรรมสมยั รตั นโกสนิ ทรต์ อนตน้ มี สีสวรรค์ ใช้แสดงภาพอุดมคตทิ ี่สรา้ งจนิ ตนาการถึงสวรรคใ์ นพุทธศาสนา สศี กั ดิส์ ิทธ์ิ ใช้แสดงภาพพระราชพิธขี องพระมหากษตั รยิ ใ์ นเรื่องท่ีส�ำ คญั เช่น พระราชพิธบี รม ราชาภเิ ษก อภเิ ษกสมรส การแบ่งพระธาตฯุ ภาพใหค้ วามสงบ สง่า ศกั ด์สิ ิทธ์ิ เป็นระเบยี บ สีอบายภูมิ ใช้แสดงภาพอบายภมู ินรก เปรต อสุรกาย สีโดยรวมมีความลกึ ลับ นา่ สพงึ กลวั หวาดหว่ัน สีในสังคมเมือง ใช้แสดงเรื่องราวทางพุทธศาสนาที่ตัวเอกใช้ชีวิตในเมือง มีความสับสนซับ ซอ้ นของรูปทรงและมติ ติ า่ ง ๆ สีออกวรรณะสอี ุ่น ภาพดวู บู วาบทางสายตา สีในภูมิประเทศ แสดงภาพภูมิประเทศ ป่าเขา ความอุดมสมบูรณ์ของสังคมน้ำ�แบบไทย สอี อกวรรณะสีเย็น ภาพดูโปร่งสบายร่มเย็น สีตามธรรมชาติ (จติ รกรรมหลัง ร. 3) เป็นสีทเ่ี ลยี นแบบความเปน็ จริงท่ตี าเหน็ ในธรรมชาติ สีของกลุ่มภาพทีข่ ัดแย้ง สขี องกลุ่มภาพท่ีกลมกลืน สขี องกลุ่มภาพทแี่ สดงพายุฝนและฟา้ อันมืดมน สสี วรรค์ เปน็ สที ใ่ี ชใ้ นการแสดงภาพตามอดุ มคตทิ ม่ี เี รอ่ื งราวในไตรภมู หิ รอื เรอ่ื งราวทเ่ี กย่ี วเนอ่ื งทางพทุ ธ ศาสนา สร้างจินตนาการเก่ียวกับสวรรค์ --- ส่วนใหญ่จะกำ�หนดองค์ประกอบแบบกลาง นยิ ม วางรูปทรงหรอื กลุ่มภาพทสี่ �ำ คัญหรือรูปทรงประธานไวก้ ลางภาพ ก�ำ หนดกลุ่มภาพและ องค์ประกอบส่วนรองไว้สองข้างขนาบซ้ายขวามีลักษณะเหมือนกันหรือคล้ายกัน --- เหนือ กลมุ่ ภาพประธาน และสว่ นรองทข่ี นาบสองขา้ งนมี้ กั มกี รอบสนิ เทาเปน็ เสน้ หยกั ฟนั ปลาควบคมุ องค์ประกอบท้ังหมด พ้ืนท่ีระหว่างกลุ่มภาพถึงเส้นสินเทาท่ีเป็นฉากหลังมีเน้ือกว้าง มักมี 50 สีโบราณของไทย โดย สุรศักดิ์ เจริญวงศ์
ดอกไม้ร่วงสีเนื้อหรือสีทองบนพื้นท่ีสีแดงชาด แสดงฝนโบกขรพรรษตกในจักรวาลเพราะมี เหตกุ ารณส์ ำ�คัญขนึ้ ในโลก พืน้ ทีก่ ว้างกรอบสินเทา และดอกไมร้ ว่ งช่วยเน้นกลมุ่ ภาพด้านลา่ ง เด่นชดั ข้ึนให้ความเดน่ เปน็ สงา่ โออ่ ่าอลงั การ โครงสีส่วนรวมท่ีใช้เป็น สีพหุรงค์ในวรรณะสีอุ่นท่ีมีสีสำ�คัญคือสีแดงสดของสีชาดของพื้นท่ี หลังท่ีเป็นฉากหลังใต้สินเทาเหนือองค์ประกอบประธานและถ้ารูปประธานเป็นองค์ปราสาท ของสวรรคต์ ่าง ๆ ของเทวดายงั มีแดงชาดสดจากภายในชอ่ งปราสาทระหว่างเสาหลงั ม่าน และฉากลบั แล เพิม่ ความแดงสดใหเ้ ดน่ ชัดขึ้นในภาพ --- การเขยี นสีปราสาทสวรรค์ เสื้อผา้ อาภรณห์ มู่เทวดาจะใช้สสี ดหลากหลายทีม่ ีความโออ่ า่ อลงั การ เขยี นดว้ ยลวดลายตา่ ง ๆ ที่ ออกวรรณะสอี ุ่นสอดประสานกันของสนี ำ้�ตาล เสน แดงชาด ดินแดง ชมพู มว่ ง ครามฟ้า เขยี ว สอดประสานกนั อยา่ งลงตวั --- มสี ขี าว ขาวนวล ของรา่ งกายเทวดา สที องแวววาวของ เคร่อื งทรง ศิราภรณ์เครือ่ งประดบั เครอ่ื งประกอบราชปู โภค บางสว่ นของม่าน ฉากและองค์ ปราสาททเ่ี ปน็ สีออ่ นเดน่ วาวขึน้ ในภาพโดยมสี ีคราม สีมอคราม สมี อหมกึ เทา น�ำ้ ตาล สีออ่ น แก่ของพน้ื ดินโขดหนิ ตน้ ไม้ ช่วยเนน้ รปู ทรงกลุ่มภาพประธานใหม้ คี วามโดดเด่นเปน็ สง่า และ ช่วยขบั สีแดงสดกับสีทองใหส้ ดใสโดดเด่นและสวา่ งตามากขน้ึ สศี กั ดส์ิ ทิ ธ์ิ เปน็ โครงสที ใี่ ชแ้ สดงภาพเรอ่ื งราวทางพทุ ธศาสนาของสงั คมทเ่ี ปน็ ระเบยี บ สงบ สงา่ ศกั ดส์ิ ทิ ธิ์ รองลงมาจากภาพสวรรค์ พื้นที่ความเด่นชัดของสีชาดแดงสดลดน้อยลง เป็นภาพที่แสดง พธิ กี รรมของสมมตุ เิ ทพ(พระมหากษตั รยิ )์ ตอนส�ำ คญั เชน่ พระราชพธิ บี รมราชาภเิ ษก อภเิ ษก สมรส แบง่ พระธาตุ --- องค์ประกอบของภาพสว่ นใหญก่ ำ�หนดวางแบบกลางนิยมคล้ายภาพ สวรรค์ แต่พน้ื ทีข่ องสนิ เทาและสแี ดงชาดมีเพยี งครอบหลังปราสาทหรอื ตามชอ่ งเสาหลังฉาก ในองคป์ ราสาท หรอื จติ รกรรมในสมยั รชั กาลท่ี2-3 บางแหง่ ไมใ่ ชเ้ สน้ สนิ เทาเลย มอี งคป์ ระกอบ แบบกลางนยิ ม ลกั ษณะสองข้างเกือบเทา่ กัน สีท่ีใช้ส่วนรวม เป็นสีพหุรงค์ในวรรณะสีอุ่นท่ีมีสีสำ�คัญคือสีแดงหรือสีทองแวววาวเด่นชัดข้ึน การระบายสีประกอบลวดลายท่ีสอดใส่ประดับประดารูปทรงปราสาท มุขศาลา ม่านฉาก กษตั รยิ ์ พระนาง เครอ่ื งราชปู โภค ลว้ นหนกั แนน่ กลา้ หาญอสิ ระ ใชเ้ สน้ และสที ท่ี �ำ ใหเ้ กดิ ความ โออ่ ่าอลังการ วจิ ิตรตระการตาด้วยสสี นั อันสดใสของพหรุ งค์บนลวดลายตา่ ง ๆ สอดประสาน Silpakorn University Journal of Fine Arts Vol.3(2) 2016 51
กันอย่างลงตัวเหมือนสีสวรรค์ การปิดทองเพื่อเน้นจุดและตอนสำ�คัญรวมถึงการเขียนผิวเน้ือ พระนาง สนมกำ�นัล ภาพคนสว่างขาวนวล --- การใชส้ เี ขียวคล้�ำ ครามคล�้ำ น้ำ�ตาลคลำ้� ในภาพทิวทศั นต์ ามธรรมชาติ โขดหนิ พืน้ ดนิ ต้นไม้ เปน็ ฉากหลงั ทีเ่ ป็นน้�ำ หนกั หนักคล�ำ้ ช่วยเนน้ กลมุ่ ภาพพิธกี รรมให้เดน่ สง่างาม เป็นระเบียบและมีความศักดิส์ ทิ ธ์ิ สอี บายภมู ิ เปน็ สที ใี่ ชส้ �ำ หรบั แสดงภาพอดุ มคตจิ ากเรอื่ งราวในไตรภมู หิ รอื เรอ่ื งราวทางพทุ ธศาสนาทส่ี รา้ ง จินตนาการเกี่ยวกับอบายภมู ิ นรก เปรต อสุรกาย เชน่ ภาพเนมรี าชโปรดนรก พระมาลัยเปดิ นรก ภาพนรกในไตรภูมิ --- เป็นองค์ประกอบทแ่ี สดงภาพทีข่ ดั แย้งและตรงกนั ข้ามกบั เร่ือง ของสวรรค์ ทงั้ องคป์ ระกอบ การทำ�งานของรูปทรงในกลมุ่ ภาพ ตวั ของรปู ทรงเองและโทนสี --- รปู ทรงในองคป์ ระกอบอบายภมู นิ อกจากปราสาทราชมณเฑยี รของพระยายมราชทเ่ี หมอื น กบั ปราสาทของเทวดาแลว้ รปู ทรงสถาปตั ยกรรมอนื่ จะเปน็ กลอ่ งหรอื เปน็ กรอบสเ่ี หลย่ี มจตั รุ สั เล็กใหญ่แสดงขุมของมหานรกและอุสุภนรก รูปทรงที่นอกเหนือจากน้ันจะเป็นรูปทรงอิสระ บิดเบี้ยวคดงอไปมา ผิดสัดผิดส่วนของอวัยวะและตำ�แหน่งท่ีควรเป็นในรูปทรงของผู้คนท่ี ทำ�บาปตายไปและตกนรกหรอื กลายเป็นเปรตและอสุรกาย รูปทรงของสัตวใ์ นนรกเชน่ หมา นรก แร้งกานรก แมแ้ ต่ภเู ขา ตน้ ไม้ เคร่ืองมือลงโทษสัตว์นรก ตา่ งเป็นรูปทรงท่ีผิดธรรมดา ทง้ั สนิ้ มขี นาดเลก็ ใหญก่ ระจายอยเู่ ตม็ พนื้ ทร่ี อบกรอบสเี่ หลย่ี มเลก็ ใหญน่ น้ั --- มนี ายนริ ยบาล เหมอื นชาวบ้านชั้นต่ำ�หรอื ตัวกากในภาพไทยรปู ร่างบกึ บึน หนา้ ตาถมึงทึงขึง้ โกรธ สองมอื ถือ อาวุธชนดิ ตา่ ง ๆ กระจายลงโทษสัตวน์ รกตามโทษทีก่ ำ�หนดจากผลกรรม โครงสสี ว่ นรวมขององคป์ ระกอบอบายภมู เิ ปน็ สมี อคล�ำ้ คอื ทกุ สว่ นของสถี กู ท�ำ ใหห้ มน่ น�้ำ หนกั คลำ้�ลงโดยการนำ�สีดำ�จากเขม่าหรือหมึกจีนมาผสมโดยให้น้ำ�หนักของสีดำ�มากทุกสีจึงออก ไปทางสคี ล�ำ้ เชน่ สคี ราม น�้ำ ตาล เขียว เกดิ สีนำ�้ เงินเข้ม มอคราม มอหมึก เขียวคล้ำ� เขียว แกใ่ บแค เขียวสมอภิเภก เขียวออ่ น - แก่ของพมุ่ ไม้ใช้เสน้ ด�ำ นำ�้ ตาลเข้มหรอื สีแดงตดั (แดง ผสมดำ�) ใช้ตดั เสน้ ตา่ ง ๆ ของรูปทรง สเี หล่าน้เี ปน็ ฉากหลังของขุมนรกตา่ งๆ มีสขี องรปู ทรง สัตวน์ รก สตั ว์ในนรกเป็นสมี ออ่อน ๆ เชน่ สเี น้อื สีน�้ำ ตาลมออ่อนๆ ตดั เส้นดว้ ยสนี ้ำ�ตาลเขม้ และสีดำ�หมึก --- สีแดงชาดและสีแดงเสนสดของไฟนรกท่ีลุกไหม้แลบเลียอยู่ในทุกส่วน ของรูปทรงในภาพเม่ืออย่กู ับสมี อคล�ำ้ ตา่ ง ๆ ท�ำ ให้เกดิ ความน่ากลวั นา่ ขนหัวลกุ สยดสยอง น่าหวาดหวน่ั ท�ำ ให้เกดิ ความกลัวในการท�ำ บาปกรรมทัง้ กายวาจาใจ --- ภาพอบายภมู สิ ่วน 52 สีโบราณของไทย โดย สุรศักดิ์ เจริญวงศ์
ใหญ่มกั จะอยใู่ นมมุ สลัว ๆ ของศาสนสถานดา้ นหลงั พระประธาน สสี งั คมเมอื ง เป็นสีที่แสดงเรื่องทางพุทธศาสนาที่ตัวเอกใช้ชีวิตในเมือง เช่น เนื้อหาเรื่องพุทธประวัติตอน อภิเษกสมรส ลาเมียออกบวช โปรดพุทธบิดาณ กรุงกบิลพัสดุ์หรือทศชาติเรื่องมโหสถ ตอนมโหสถกับศึกพระเจ้าจุลนียกทัพมาล้อมกรุงมิถิลา หรือมหาชาติกัณฑ์ทานกัณฑ์ที่พระ เวสสันดรแจกทานครั้งสุดท้ายในเมืองเชตุดร หรือกัณฑ์มหาราชตอนชูชกพาสองกุมารหลง เข้าเมืองเชตุดร องค์ประกอบที่เป็นฉากหลังที่เป็นโครงใหญ่ของภาพมีภาพปราสาทราช มณเฑียร มุขศาลา กำ�แพงแก้ว กำ�แพงวัง กำ�แพงเมือง เขื่อนคูหน้าเมือง ทุกรูปทรงที่กล่าว มาเป็นรูปทรงแบบเรขาคณิตที่ประกอบด้วยเส้นตั้ง เส้นนอน เส้นเฉียง เป็นเส้นที่ให้พลังหนัก แนน่ มัน่ คง แขง็ กรา้ ว ทกุ รปู ทรงประสานสมั พนั ธก์ นั โอบลอ้ มพืน้ ทีว่ า่ ง มติ ติ า่ ง ๆ ทีด่ มู ากมาย ซับซ้อนสับสน วูบวาบทางสายตา ควบคุมกลุ่มรูปทรงพระนาง ผู้คนทุกระดับชั้นในปราสาท ในวัง หน้าวัง ในเมือง นอกเมือง หลังเมือง เคลื่อนไหวแสดงเนื้อหาเรื่องราวอยู่ภายในที่ว่าง ที่กำ�หนดนั้น โครงสสี ว่ นรวมทใ่ี ชเ้ ปน็ สพี หรุ งคใ์ นวรรณะอนุ่ การเขยี นสปี ราสาทราชวงั และสว่ นประกอบ เชน่ ฉากลบั แล มา่ น พระแทน่ บลั ลงั ก์ เปน็ การใชส้ หี ลากหลายทมี่ คี วามโออ่ า่ อลงั การ วจิ ติ รตระการ ตาด้วยลวดลายต่าง ๆ ทอี่ อกวรรณะสีอุ่นท่ีสอดประสานกันอยา่ งลงตวั เช่น สแี ดงชาด เสน ดินแดง ชมพู นำ้�ตาลอ่อน-แก่ มว่ ง คราม ฟา้ เขยี ว ขาว ม่วง เหลือง --- ท่สี ำ�คัญคอื สีภายในช่องปราสาทระหว่างเสาหรือหลังม่านซ่ึงเป็นสีแดงสดของสีชาดทำ�งานร่วมกับสีขาว นวล ขาวผ่องของรูปทรงพระนางและสีทองของเคร่ืองทรงเคร่ืองประดับ เครื่องราชูปโภค ดูขลัง เดน่ เป็นสงา่ --- โดยมีสีมอคราม เมฆคราม เทาออ่ นแกข่ องก�ำ แพงเมอื ง ก�ำ แพงวงั และก�ำ แพงแก้วทโ่ี อบล้อมอยู่ --- พร้อมกบั มีสเี ขียวอ่อนแก่ เขยี วก้ามปู (เขยี วเขม้ ) เขียวกา้ น ตอง (เขยี วฟา้ ) เขยี วตั้งแช (เขียวออ่ น) และเขียวครามแหง้ ของพมุ่ ไมช้ ่วยเนน้ องคป์ ราสาท ก�ำ แพง ประตู ป้อม ชว่ ยใหว้ รรณะสอี นุ่ ซง่ึ เปน็ สสี ่วนใหญว่ บู วาบสายตา ใหค้ วามรสู้ ึกถงึ ความ เคลื่อนไหวไปมาของกล่มุ ภาพภายในพ้ืนทว่ี ่างแต่ละสว่ น มอี ารมณต์ นื่ เตน้ เรา้ ใจ คึกคกั แบบ บรรยากาศของคนทเี่ คลื่อนไหวในเมืองตลอดเวลา Silpakorn University Journal of Fine Arts Vol.3(2) 2016 53
สใี นภมู ปิ ระเทศ เป็นสีท่ีแสดงภาพตามเรื่องราวพุทธศาสนาท่ีตัวเอกของเร่ือง ใช้ชีวิตอยู่กับธรรมชาติใน ภมู ปิ ระเทศ ท่ีเป็นป่าไม้ ภเู ขา โขดหนิ เถื่อนถำ้� ตน้ ไมพ้ รรณพฤกษาน้อยใหญ่ เชน่ ภาพพุทธ ประวตั ติ อนแสวงหาสจั ธรรม ตอนสวุ รรณสามท่ีเล้ียงดูพ่อแม่ตาบอดอยใู่ นป่า มหาชาติตอน พระเวสสันดรเดินป่าไปสู่เขาวงกตหรือชูชกเดินทางไปขอสองกุมาร --- องค์ประกอบที่เป็น โครงสร้างใหญข่ องกลุ่มภาพจะเปน็ รูปทรงของภเู ขา โขดหินนอน ตง้ั เอน ตน้ ไมห้ ลากชนดิ แม่น้ำ� สระบวั หนทาง ทอ้ งฟา้ กอ้ นเมฆ ทกุ รูปทรงท�ำ งานรว่ มกันเปน็ ฉากหลังของกลมุ่ ภาพ มีรปู ทรงอสิ ระท้งั กอ้ นหนิ ตน้ ไมจ้ ะบดิ งอ ตงั้ นอน เอนลู่ ตามความจ�ำ เปน็ เพือ่ เสริมอารมณ์ ของกลุ่มภาพและองค์ประกอบ --- รูปทรงธรรมชาติเหล่าน้ันกำ�หนดท่ีว่าง หนทาง แม่นำ้� สระ ท้องฟ้าและโอบล้อมควบคุมรปู ทรงศาลา สถาปตั ยกรรมขนาดเลก็ รปู ทรงพระนาง ชาว บา้ นตลอดจนสงิ สาราสัตวน์ ้อยใหญ่ ทัง้ สตั วห์ มิ พานตแ์ ละสตั ว์สามัญใหเ้ คลือ่ นไหวอยภู่ ายใน ทวี่ า่ งทกี่ �ำ หนดเป็นไปตามเนื้อหาของเร่ืองราว --- ท้งั กลมุ่ ภาพ รูปทรง ท่วี ่าง มิติตา่ ง ๆ ใน ภาพดูไมซ่ ับซอ้ น ระยะลกึ ตน้ื คอ่ ยเปน็ ค่อยไป โปรง่ สบาย ความเคล่ือนไหวของกลมุ่ ภาพและ รูปทรงดูคอ่ ยเป็นคอ่ ยไปประสานกลมกลืนกนั โครงสีสว่ นรวมเปน็ สีพหรุ งค์ในวรรณะสีเย็น สฉี ากหลงั ทเ่ี ปน็ ภาพธรรมชาติส่วนใหญ่มักเป็นสี มอคือสีส่วนที่ผสมส่วนท่ีเป็นสีดำ� สีมีความเข้มและเพ่ือลดความจัดของสี เช่น พ้ืนดินและ ภเู ขา รวมทั้งโขดหนิ จะเปน็ สเี ทา มอหมึก มอครามแก่ - ออ่ น สีอิฐ สนี ำ้�ตาลออ่ น - แก่ ตน้ ไม้ ล�ำ ตน้ เปน็ สนี �ำ้ ตาลออ่ น-แก่ พุ่มใบเป็นสีเขียว เขยี วตั้งแช (เขยี วตองอ่อน) เขยี วก้าน (เขียว เขม้ ) เขียวก้านตอง (เขียวฟ้า) เขยี วเขม้ --- บอ่ สระน้ำ� แม่น้ำ� เป็นสเี ทาออ่ น สนี ้ำ�ไหล สี มอคราม อ่อน - แก่ เทาอมม่วงอ่อน ทอ้ งฟ้า เมฆเป็นสมี อคราม เมฆคราม มอหมกึ ฉาก หลังธรรมชาตทิ ง้ั หมดสีจะออกในวรรณะสีเย็น ช่วยเนน้ สีของศาลา พระนาง ชาวบา้ นท่ีเปน็ สี อ่อนกว่า สดกว่า โดยเฉพาะสว่ นสำ�คญั มกั จะมสี ีขาว นวลและสที องแวววาวงามโดดเดน่ ขึ้น ท่ามกลางสีของธรรมชาตฉิ ากหลังทม่ี โี ทนสคี ล้ำ�กวา่ สตี ามธรรมชาติ จติ รกรรมไทยทเ่ี ขยี นเลยี นแบบความเปน็ จรงิ ในธรรมชาตเิ กดิ ขนึ้ ในสมยั รชั กาลที่ 4 เปน็ ตน้ มา เมอ่ื จติ รกรรมไทยไดเ้ ปลย่ี นแปลงรปู แบบส�ำ คญั โดยรบั อทิ ธพิ ลมาจากประเทศตะวนั ตก น�ำ วธิ ี 54 สีโบราณของไทย โดย สุรศักดิ์ เจริญวงศ์
การตา่ ง ๆ มาใชใ้ นจติ รกรรมฝาผนงั เดมิ เคยเขยี นภาพพทุ ธศาสนาเชงิ อดุ มคตจิ ากเรอื่ งไตรภมู ิ พทุ ธประวตั ิ ทศชาติ มหาชาติ --- เรม่ิ หนั มาเขียนเรื่องราวทางพุทธศาสนาใกลต้ วั มากข้นึ เชน่ พระราชพิธี 12 เดอื น พระราชกรณยี กจิ ของพระมหากษตั ริย์ทเี่ กยี่ วข้องกับพทุ ธศาสนา ประเพณชี าวพุทธ ธุดงควตั ร เปน็ ต้น --- ภาพท่เี คยเขยี นสวรรค์ นรก ปา่ หิมพานต์ เทวดา กินนร กินรี เปล่ียนมาเป็นภาพสังคมส่ิงแวดล้อมรอบตัวของช่างเขียนมากขึ้น เช่น ภาพ พระบรมมหาราชวัง หมมู่ หามณเฑียร พระท่นี ่ังท่คี นุ้ ตา วัดวาอารามท่สี ำ�คญั ภาพเหมือน บคุ คล กษัตริย์ เจา้ นาย ขุนนาง ฑูตต่าง ๆ ปรากฏข้ึนในจิตรกรรมฝาผนงั --- ช่างเขียนนำ� วธิ กี ารและรปู แบบตะวนั ตกมาผสมผสานกบั จติ รกรรมไทยแบบดง้ั เดมิ เกดิ ภาพเหมอื นทวิ ทศั น์ พระราชวงั วดั ศาสนสถานทส่ี �ำ คญั ภาพวถิ ชี วี ติ ของผคู้ นในสงั คมรอบ ๆ ตวั ทสี่ ามารถพบเหน็ ไดใ้ นยคุ นน้ั --- การเขยี นภาพแตกตา่ งไปจากแบบดง้ั เดมิ ตวั ภาพแมย้ งั มขี นาดเลก็ แตส่ ดั สว่ น ระหวา่ งรปู ทรงคนกบั สถาปตั ยกรรมในภาพมลี กั ษณะเหมอื นจรงิ คนจะมขี นาดเลก็ กวา่ รปู ทรง สถาปัตยกรรม แสงเงาเข้ามามีบทบาทมากข้ึนในทุกส่วนของภาพ สถาปัตยกรรม กำ�แพง ประตปู ้อม ผู้คน เคร่อื งแต่งกายก็เขียนตามคา่ นิยมของคนยุคนัน้ เจ้านาย ขุนนาง จะนุ่งผา้ ปมู ใสเ่ สอื้ ราชปะแตน ทหารถอื ปนื สวมหมวกกะโลท่ รงสงู มยี อดแหลม ชดุ ทหารรกั ษาพระองค์ แต่งกายสมัยใหม่แบบยโุ รป --- แตภ่ าพโครงสร้างโดยรวมของภาพจิตรกรรมยงั ใหค้ วามรูส้ กึ แบบตานกมองคือมองจากทส่ี งู เหมือนภาพจติ รกรรมไทยในอดีต โครงสีที่ใช้ในภาพเป็นสีที่เลียนแบบของจริงตามที่ตาช่างเห็นในธรรมชาติ สีของพระบรม มหาราชวัง วัดพระแก้ว วัดวาอารามที่สำ�คัญ สิ่งของเครื่องใช้ ภูมิประเทศ ธรรมชาติ สิ่งแวดล้อม ผู้คนการแต่งกายในระดับต่าง ๆ --- สีของฉากหลังยังคงความสำ�คัญในเรื่อง ความเข้ม มีน้ำ�หนักมาก การเขียนต้นไม้ พุ่มไม้สีเขียวอ่อน - แก่เป็นลักษณะแบบประดิษฐ์ ใช้รากลำ�เจียกหรือเปลือกกระดังงาจุ่มสีกระทุ้งน้ำ�หนักอ่อนแก่เป็นใบไม้ พุ่มไม้ --- สีที่ใช้ เขียนพื้นดินเป็นสีน้ำ�ตาลเข้มหรือมอครามเข้มเพื่อเน้นสีของกลุ่มรูปทรงสถาปัตยกรรม วัง วัดสถาปัตยกรรมไทยจีน สิ่งของเครื่องใช้ผู้คนที่เป็นสีอ่อนกว่าสดจัดกว่าให้โดดเด่นชัดเจน ขึ้นในภาพ สขี องกลมุ่ ภาพทข่ี ดั แยง้ สขี องกลมุ่ ภาพขนาดเลก็ บนชอ่ งผนงั ทแ่ี สดงความขดั แยง้ กนั ทางเรอ่ื งราวทเี่ กย่ี วกบั พทุ ธศาสนา เช่น เร่ืองการต่อสู้ การทำ�สงคราม ภาพจบั ความชลุ มุนวนุ่ วาย การแยง่ ชิง การทะเลาะเบาะ Silpakorn University Journal of Fine Arts Vol.3(2) 2016 55
แว้ง การหนภี ัยตา่ ง ๆ --- แสดงออกด้วยรปู ทรงหรือกลุ่มรปู ทรงท่แี สดงพลังโลดโผน มลี ลี า ทา่ ทางการเคลอ่ื นไหวทฉี่ บั ไว รวดเรว็ รปู ทรงตงั้ แตส่ องรปู ทรงขนึ้ ไปท�ำ งานรบั สง่ กนั เปน็ จงั หวะ ลลี า รวดเรว็ ฉบั พลนั หรือเก่ยี วกระหวดั กอดรดั กนั ด้วยแขนขา ขึงขงั เข้มแข็งและทรงพลัง โครงสสี ว่ นรวมที่น�ำ มาใช้ในองค์ประกอบท่ีขัดแย้งปะทะกนั นีม้ ักใชส้ ที ส่ี ดใสของสที อง เหลือง แดง แสด เขยี ว ฟ้า ชมพู น้�ำ ตาล เปน็ สสี ะดดุ ตาโดยมักเน้นสีแสดและสีเขียวซ่ึงเป็นสีคตู่ รง ขา้ มมากกวา่ สอี น่ื เปน็ ส�ำ คญั ใหผ้ ลทางสายตาทางความตน่ื เตน้ เรา้ ใจ --- มสี พี น้ื หลงั เปน็ ภาพ สีมอ เช่น สีพ้นื ดิน ก้อนหิน ภเู ขาเปน็ สีน้ำ�ตาลอ่อน-แก่หรอื สมี อครามอ่อนแก่ มอครามอม เขยี ว ตน้ ไมเ้ ปน็ สนี �้ำ ตาลอมเทา พมุ่ ไมเ้ ปน็ สนี �ำ้ ตาลอมเทา พมุ่ ไมเ้ ปน็ สเี ขยี วออ่ นแก่ เชน่ เขยี ว ใบแค เขียวตั้งแช ตดั เส้นด้วยสีดำ� สขี องฉากหลงั ภาพทเี่ ป็นมอเข้มลดความจดั ของสีน้ีช่วย เน้นสีของกล่มุ รปู ทรงทีท่ �ำ งานขดั แยง้ กันอยเู่ บ้อื งหลงั และเปน็ สีที่สดใสกวา่ ให้เดน่ ชัดขน้ึ สขี องกลมุ่ ภาพทก่ี ลมกลนื สขี องกลมุ่ ภาพขนาดเลก็ บนชอ่ งผนงั ทแ่ี สดงภาพ ทสี่ รา้ งความออ่ นหวาน กลมกลนื เชน่ ภาพ พุทธประวัติที่จัดรูปทรงให้แสดงท่าทางที่ดูซำ้�เหมือนคล้อยตามหรือคล้ายคลึงกันในเน้ือหา เรื่องราวการร่วมพิธีกรรม การเหาะไปในทิศทางเดียวกัน การแสดงท่าทางเศร้าโศกเสียใจ หรอื เรอื่ งราวที่แสดงเกยี่ วกบั ความรกั การโอโ้ ลม การยน่ื สิ่งของใหแ้ ก่กัน --- มกั แสดงดว้ ย การจัดองค์ประกอบ กลุ่มภาพย่อย ๆ โดยใช้รูปทรงตั้งแต่สองรูปทรงขึ้นไปให้ทำ�งานแบบ ประสานกลมกลนื กันของเสน้ และลีลาทา่ ทางทน่ี มุ่ นวล ออ่ นชอ้ ย ตอ่ เน่อื งกนั ดว้ ยลีลาท่าทาง แบบนาฏลักษณ์ เช่น ทา่ ไหว้ ท่าร้องไห้เศรา้ โศกเสยี ใจ ท่าโอโ้ ลมด้วยความรัก ทา่ เอยี งอาย เน้นผลทางความงามมากกว่าความเหมือนจริงตามธรรมชาติ ทุกรูปทรงจะเขียนด้วยความ อ่อนหวานน่มุ นวล โครงสสี ว่ นรวมเปน็ สพี หรุ งคท์ มี่ คี วามประสานกลมกลนื กนั --- ถา้ เปน็ กลมุ่ ภาพเทวดา กษตั รยิ ์ ที่อยู่ในสวรรค์ในเมืองภาพจะดูแวววาวโดดเด่นด้วยสีท่ีออกวรรณะสีอุ่นประสานกลมกลืนกัน ด้วยมวลสที ่ีมีความละเอียด ประณีต โออ่ า่ อลงั การ แต่ประสานกลมกลนื กันกับกล่มุ ภาพและ รปู ทรง --- ถา้ เปน็ กลมุ่ ภาพเทวดาหรอื กษัตริย์ท่อี ยู่ในภูมปิ ระเทศป่าเขา ทอ้ งฟ้า สีพหรุ งค์ ของกลมุ่ รปู ทรงเทวดาโดยเฉพาะสขี าวนวลและสที องทอี่ อ่ นกวา่ จะถกู สมี อ ๆ มดื กวา่ เขม้ กวา่ ของธรรมชาติ ภเู ขา โขดหนิ ตน้ ไม้ ทอ้ งฟา้ ขบั ใหเ้ ดน่ ขน้ึ มาแบบประสานกลมกลนื กนั --- ถา้ 56 สีโบราณของไทย โดย สุรศักดิ์ เจริญวงศ์
เปน็ กลมุ่ รปู ทรงชาวบา้ นสามญั ความประสานกลมกลนื กนั ทง้ั สแี ละกลมุ่ รปู ทรงในวรรณะสเี ยน็ บรรยากาศแหง่ ความกลมกลนื กนั จะควบคมุ อาคารบา้ นเรอื น ผคู้ นสงิ่ แวดลอ้ มตา่ งดอู อ่ นหวาน กลมกลืนกนั ชดั เจนเป็นธรรมชาติ สขี องกลมุ่ ภาพทแ่ี สดงพายฝุ น ฟา้ มดื มน สีของกลุ่มภาพขนาดเล็กท่ีแสดงภาพบรรยากาศ ธรรมชาติของท้องฟ้าท่ีปั่นป่วนมืดมน เนอ่ื งจากเมฆด�ำ ครมึ้ ด�ำ ทมนึ ดว้ ยพายฝุ นและมรสมุ รา้ ย สว่ นใหญแ่ สดงภาพพระมหาชนกตอน เรือล่มหรือท้องฟ้ามืดมิดยามเกิดสุริยุปราคา พระราหูกลืนพระอาทิตย์หรือหมอกควันท่ีเกิด จากไฟไหม้ เปน็ ตน้ --- สที แ่ี สดงบรรยากาศโดยรวมจะเปน็ สเี ขม้ หนกั ของสมี อหมกึ เมฆคราม เทาออ่ น - แก่ของทอ้ งฟา้ แม่น้ำ� มหาสมุทร ปา่ เขา ควบคมุ รูปทรงอ่นื ๆ ที่แสดงเนือ้ หา ของเรื่องในภาพ Silpakorn University Journal of Fine Arts Vol.3(2) 2016 57
เชงิ อรรถ 1 ศิลป์ พรี ะศร,ี ทฤษฎีของสี (พระนคร: กรมศลิ ปากร, 2486), 9. 2 วงจรสีในกรณีนี้มีท่ีมาจากการศึกษาทางวิทยาศาสตร์ของโลกตะวันตก หน่ึงในหนังสือที่ เปรียบเทียบวงจรสีทางวิทยาศาสตร์กับการสร้างสรรค์ทางศิลปะท่ีดีท่ีสุดเช่น Johannes Itten, The Art of Color, Translated by Ernst van Haagen, (New York: Van Nostrand Reinhold, 1973), 35. 3 สมเด็จเจ้าฟ้ากรมพระยานริศรานุวัดติวงศ์, บันทึกเรื่องความรู้ต่าง ๆ ประทานพระยา อนุมานราชธน, พิมพค์ รงั้ ที่ 2 (กรงุ เทพ: ไทยวฒั นาพานชิ ), 204-213. 58 สีโบราณของไทย โดย สุรศักดิ์ เจริญวงศ์
บรรณานกุ รม ศลิ ป์ พีระศร.ี ทฤษฎขี องส.ี พระนคร: กรมศลิ ปากร, 2486. สมเดจ็ เจา้ ฟา้ กรมพระยานรศิ รานวุ ดั ตวิ งศ.์ บนั ทกึ เรอ่ื งความรตู้ า่ ง ๆ ประทานพระยาอนมุ าน ราชธน. พมิ พ์ครง้ั ท่ี 2. กรงุ เทพ: ไทยวัฒนาพานชิ , . Itten, Johannes. The Art of Color. Translated by Ernst van Haagen, 2nd ed. New York: Van Nostrand Reinhold, 1973. Silpakorn University Journal of Fine Arts Vol.3(2) 2016 59
ภาพท่ี 1 จิตรกรรมฝาผนงั ตอนมารผจญ วัดไชยทศิ กรุงเทพมหานคร 60 สีโบราณของไทย โดย สุรศักดิ์ เจริญวงศ์
ภาพท่ี 2 จติ รกรรมฝาผนงั เรอ่ื งรามเกยี รติ์ หอไตรวัดระฆงั โฆสิตาราม กรงุ เทพมหานคร Silpakorn University Journal of Fine Arts Vol.3(2) 2016 61
ภาพท่ี 3 จติ รกรรมฝาผนังฉากมโหสถชาดก วัดสุวรรณารามราชวรวหิ าร กรุงเทพมหานคร 62 สีโบราณของไทย โดย สุรศักดิ์ เจริญวงศ์
ภาพท่ี 4 จติ รกรรมฝาผนงั ฉากมโหสถชาดก วดั บางยขี่ นั กรุงเทพมหานคร Silpakorn University Journal of Fine Arts Vol.3(2) 2016 63
ภาพที่ 5 จิตรกรรมฝาผนงั ตอนพระเนมริ าชชาดก วดั สุวรรณารามราชวรวิหาร กรุงเทพมหานคร 64 สีโบราณของไทย โดย สุรศักดิ์ เจริญวงศ์
ภาพท่ี 6 จิตรกรรมบนสมดุ ขอ่ ย วดั หัวกระบือ กรุงเทพมหานคร Silpakorn University Journal of Fine Arts Vol.3(2) 2016 65
ภาพที่ 7 จิตรกรรมฝาผนัง พระทนี่ ง่ั พุทไธสวรรย์ กรุงเทพมหานคร 66 สีโบราณของไทย โดย สุรศักดิ์ เจริญวงศ์
ภาพที่ 8 จติ รกรรมฝาผนงั วัดคงคาราม ราชบรุ ี Silpakorn University Journal of Fine Arts Vol.3(2) 2016 67
ภาพที่ 9 จิตรกรรมฝาผนงั เทพชุมนมุ วัดใหญส่ วุ รรณาราม เพชรบรุ ี 68 สีโบราณของไทย โดย สุรศักดิ์ เจริญวงศ์
ภาพที่ 10 จิตรกรรมฝาผนังเทพชมุ นุม วดั ใหม่ประชมุ พล อยุธยา Silpakorn University Journal of Fine Arts Vol.3(2) 2016 69
ภาพท่ี 11 จติ รกรรมฝาผนังพระอสีติมหาสาวก ภายในกรพุ ระปรางค์ วัดราชบรู ณะ อยธุ ยา 70 สีโบราณของไทย โดย สุรศักดิ์ เจริญวงศ์
ภาพที่ 12 จติ รกรรมฝาผนงั เวสสนั ดรชาดก วดั ใหม่เทพนิมิตร กรุงเทพมหานคร Silpakorn University Journal of Fine Arts Vol.3(2) 2016 71
ภาพท่ี 13 จติ รกรรมฝาผนังสตั ตมหาสถาน วัดเกาะเเกว้ สทุ ธาราม เพชรบรุ ี 72 สีโบราณของไทย โดย สุรศักดิ์ เจริญวงศ์
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103