Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore Leadership for Transcendence ภาวะการนำเพื่อการข้ามพ้น

Leadership for Transcendence ภาวะการนำเพื่อการข้ามพ้น

Description: Leadership for Transcendence ภาวะการนำเพื่อการข้ามพ้น

Search

Read the Text Version

Leadership for Transcendence หลังจากน้ันวิกรัมขอให้ผู้เข้าร่วมแบ่งปันในวงใหญ่ “คุณได้ค้นพบอะไร เก่ียวกับความเป็นสากลของญาณทัศนะบ้าง อยากจะได้ยินค�ำส�ำคัญ (Keywords) ของแตล่ ะกลมุ่ ” ผเู้ ขา้ รว่ ม : ทกุ คนเหมอื นจะมเี สยี งภายใน แลว้ เสยี งภายในจะดงั ขนึ้ เรอื่ ย ๆ ผู้เข้าร่วม : ญาณทัศนะมักจะผุดข้ึนมาในช่วงเวลาที่ได้อยู่กับตนเอง เหมือนเป็นช่องว่างของความคิด วิกรัม : เมอื่ หวั เราเงยี บ ญาณทัศนะจะเปดิ ออก ผู้เข้าร่วม : บางคร้ังญาณทัศนะไม่ได้เกิดกับตัวเราเอง แต่มีคนรอบข้าง มาบอก แล้วเราจะสงสัยว่าใช่หรือ แต่เมื่อตัดสินใจลองท�ำตามท่ีเขาบอก เราถึงคิดว่าน่าจะรู้แบบน้ีตั้งนานแล้ว เพราะมันท�ำให้เราใช้ชีวิตอย่างมี ความสุขและถูกทาง ผู้เข้าร่วม : ญาณทัศนะมาตามจริตของคนเรา บางคร้ังมาเป็นเสียงในใจ บางครั้งมาผ่านหนังสือ คน หรือสถานการณ์ มาให้เราแปลความหมายหรือ ตีความ เหมือนการจูนคล่ืนของเราเองไปสู่เร่ืองนั้น คล้ายเป็นความบังเอิญ แตท่ จี่ รงิ แลว้ ไม่ใช่ วกิ รมั : ใชค่ รับ ญาณทศั นะอยรู่ ายลอ้ มเราตลอดเวลา ผู้เข้าร่วม : ในกลุ่มเราจะมีการเข้ามาของญาณทัศนะสองรูปแบบ แบบแรกเป็นสัญญาณที่เข้ามาเริ่มจากระดับเบาก่อน แล้วแรงขึ้นเร่ือย ๆ อกี แบบหนง่ึ สญั ญาณมาในลกั ษณะทเี่ ปน็ เรอื่ งเลก็ ๆ แตเ่ กดิ ซำ้� แลว้ ซำ�้ เลา่ เชน่ การหาทจ่ี อดรถเจอในขณะทค่ี นอนื่ หาไมไ่ ด้ และเกดิ แลว้ เกดิ อกี จนมน่ั ใจมากวา่ เราเดินทางไปครงั้ หนา้ อยา่ งไรเสยี กม็ ีท่ีจอดรถ วกิ รัม : ชว่ งท่ีผมเรยี นรู้พลังญาณทัศนะของตนเอง กิจกรรมทผ่ี มชอบทำ� มากคือการฝึกเดาว่าลิฟต์ตัวไหนจะมาถึงก่อน เม่ือเริ่มเดาถูกมากข้ึนก็รู้สึกดี กบั ตวั เอง ทจ่ี รงิ แลว้ เราสามารถทดลองไดห้ ลายแบบ เวลาประชมุ งานอาจลอง เดาว่าใครจะพดู ออกมาก่อน หรอื ทายวา่ คนนจ้ี ะใส่เสือ้ ผา้ สอี ะไร ญาณทศั นะ ไม่จ�ำเป็นตอ้ งเปน็ เรอ่ื งจริงจัง แตอ่ าจเป็นสิง่ ท่ีสนุกได้ด้วย 101

ภาวะการนำ� เพื่อการขา้ มพ้น หลกั การทีส่ อง ความมชี ีวติ (Living) วิกรัมกล่าวถึงหลักการที่สองเก่ียวกับความมีชีวิตของญาณทัศนะ ไว้ว่า“ญาณทัศนะไม่ใช่ข้อมูลที่แห้งแล้ง หากแต่เป็นพลังงานท่ีมีชีวิตชีวา ในวิทยาศาสตร์ควอนตัมกล่าวถึงหลักการของอนุภาคและคลื่น ส่ิงใดก็ตาม ท่ีมีตัวรู้ ที่รู้ตนเองหรือมีการรับรู้ จะมีสองคุณสมบัติคือ ความเป็นอนุภาค และ ความเป็นคลื่น อนุภาคเป็นสิ่งท่ีมองเห็นจับต้องได้ เช่น เก้าอี้ เป็นต้น ส่วนคล่ืนจะมีความถี่ของตัวมันเอง เช่น เวลาเราฟังดนตรี เราจะได้ยินหรือ สัมผัสคลื่นที่แตกต่างได้ ซ่ึงเป็นช่วงของคล่ืนที่เป็นจริงและเราสามารถ รบั ร้ไู ด้ ท้ังน้ีความเป็นมนุษย์มีทั้งสองคุณสมบัติ คือ ความเป็นสสารและ ความเป็นคลื่น ส่วนญาณทัศนะเป็นเหมือนเส้นทางหรือประตูที่จะเปิดไป สู่ความจริงในระดับของคล่ืน เปิดไปสู่ชีวิตภายในที่มีความเป็นคล่ืนในตัว ของคนเรา คลื่นสามารถส่งผลต่อความรู้สึกของเรา เช่น การที่เรารู้สึก อยากหลีกเล่ียงหรือรู้สึกว่าดึงดูดกับคนบางคนเป็นเพราะบุคคลน้ันอาจมี คลืน่ ทส่ี อดคลอ้ งหรือไมส่ อดคล้องกบั ตัวเรา ญาณทัศนะเป็นเหมือนประตูหรือเส้นทางที่จะน�ำเราไปสู่ปัญญาใน ระดับสูงของตัวเราเอง ซ่ึงเป็นสัจจะหรือความจริงท่ีด�ำรงอยู่อย่างมีชีวิต เพราะในตัวญาณทัศนะเองมีความส�ำนึกรู้ น่ีคือค�ำตอบว่าเหตุใด ญาณทัศนะจึงส่งสัญญาณให้เราอยู่เร่ือย ๆ ซ�้ำไปมา เพราะญาณทัศนะมี เป้าหมายของมันเอง มิใช่ความบังเอิญ และมิได้เกิดขึ้นอย่างไร้ความหมาย และเมื่อเราก้าวเข้าสู่เส้นทางหรือเปิดประตูแห่งญาณทัศนะเข้าไปแล้ว เราจะพบกับหนทางที่จะไปต่อ เพราะญาณทัศนะจะช่วยสะท้อนให้เห็นได้ ชัดเจนข้ึน หากเราอยากจะไปต่อ หนทางจะยิ่งเปิดออก ในช่วงชีวิตหน่ึง หากมีเหตุการณ์เกิดขึ้นหลายเหตุการณ์ในเวลาเดียวกัน เราอาจให้ประสบการณ์เหล่าน้ีเป็นเหมือนกระจกส่องกลับมาที่ตนเอง 102

Leadership for Transcendence ญาณทัศนะของเราอาจพยายามน�ำพาให้ค้นหาว่า เหตุการณ์เหล่านี้ เกิดกับเราเพื่ออะไร คนหรือเหตุการณ์มีความหมายอย่างไรกับเรา หรือ มีความหมายเชิงสัญลักษณ์ใดซ่อนอยู่หรือไม่ และเหตุการณ์น้ีให้อะไร กับตัวเราเอง เช่น การเจ็บป่วยของคนในครอบครัวที่เกิดขึ้นพร้อม ๆ กัน ท�ำให้เราหันกลับมาเห็นคุณค่าของวันเวลาที่อยู่ร่วมกันและใส่ใจ ดแู ลสุขภาพตนเองมากข้ึน ญาณทัศนะคือ การขอ และการเปิดรับสาร ส่ิงส�ำคัญคือสารท่ีได้รับนั้น อาจไม่ได้เป็นค�ำตอบที่ถูกต้องเพียงค�ำตอบเดียว หรือไม่มีค�ำตอบที่สมบูรณ์ แต่จะมีคำ� ตอบทีเ่ หมาะเจาะกับเราอยา่ งมาก ดังนน้ั การฝกึ เขา้ ถึงญาณทัศนะ คือการฝึกเพ่ือจะเปิดทางไปสู่ค�ำตอบท่ีเหมาะสมกับตัวเราเอง บ่อยคร้ังท่ี เราได้ค�ำตอบน้ันแล้ว แต่เรายังรู้สึกว่ายังไม่สมบูรณ์ ก็สามารถกลับไปค้นหา คำ� ตอบไดอ้ ีก ญาณทัศนะมีลักษณะเป็นคลื่น แทรกอยู่ในทุกระดับชั้นของส�ำนึก ทั้งจิตส�ำนึก จิตใต้ส�ำนึก และจิตไร้ส�ำนึก วิกรัมอธิบายเร่ืองนี้ว่า “บางครั้ง ญาณทัศนะจะเข้ามาในรูปแบบความฝันท่ีมาจากจิตไร้ส�ำนึก หรือบางทีมา จากจิตใตส้ ำ� นกึ อยา่ งเชน่ การทญี่ าณทศั นะมาบอกให้เราระลึกถงึ ส่งิ ทีเ่ ราควร จะท�ำแต่ลืมท�ำ เช่น การที่จู่ ๆ ก็นึกถึงเพื่อนที่ไม่ได้คุยกันมานาน หรือฝัน เก่ียวกับชีวิตวัยเด็ก อาจเป็นข้อความที่อยากให้เราใส่ใจว่ามีความหมาย บางอย่าง ส่วนญาณทัศนะที่มาจากจิตเหนือส�ำนึกอาจมาในรูปแบบของ ข้อความหรือส่ิงท่ีเคยอ่านหรือได้ยิน เป็นส่ิงท่ีครูบาอาจารย์เคยเขียนหรือพูด ไวแ้ ลว้ ตรงใจเรา ดงั นั้น ญาณทศั นะสามารถดึงขอ้ ความหรือสารข้อมลู เหล่านี้ มาจากจติ ระดับใดก็ได”้ 103

ภาวะการนำ� เพื่อการข้ามพ้น แบบฝึกหัดหลักการความมชี ีวติ ก่อนเข้าสู่การฝึกเข้าถึงญาณทัศนะตามหลักการความมีชีวิต (Living) วิกรัมให้ผู้เข้าอบรมฝึกค้นหาว่าญาณทัศนะอยู่ตรงส่วนใดในร่างกาย โดยเริ่ม จากให้เดินไปค้นหาจุดสองจุดในห้องอบรม จุดแรกเป็นจุดที่รู้สึกว่ายืนแล้ว พลงั งานของตนเองต�ำ่ และอกี จุดหนง่ึ เป็นจุดท่ีพลงั งานสงู ข้นึ หลังจากหาเจอจุดที่พลังงานของตนเองต่�ำแล้ว ผู้เข้าร่วมกลับมาอยู่กับ ตนเองอยา่ งมัน่ คง หรอื การกราวดิง (Grounding) โดยนำ� พลังงานลงสูผ่ นื ดนิ แลว้ คอ่ ย ๆ เดนิ ในจงั หวะของตนเองไปยงั จดุ ทพ่ี ลงั งานสงู ตอ่ ไปดว้ ยความมสี ติ ตระหนักรู้ในทุกก้าวเดินของตนเอง แล้วสังเกตว่าตนเองกำ� ลังขยายพลังผ่าน การเคลื่อนที่อย่างไร และใช้เวลาช่ัวขณะน้ันในการรับรู้ความรู้สึกและอยู่กับ ตนเองอกี คร้ัง สงั เกตเห็นตนเองทอ่ี ยู่กบั ปจั จบุ นั ขณะมากขนึ้ หลังจากนั้น ยืนจับกลุ่ม 4 คน แล้วคาดเดาว่าเมล็ดพันธุ์ญาณทัศนะ ในตนเองอยู่ตรงเส้ียวส่วนใดในร่างกาย เป็นจุดท่ีก�ำเนิดแวบแรกท่ีเราสัมผัส ญาณทศั นะได้ หลังจากนั้นผู้เข้าอบรมได้ฝึกการเข้าถึงญาณทัศนะตามหลักการความมี ชวี ติ (Living) ซ่ึงมีอยู่ 3 ขนั้ ตอน แตล่ ะขน้ั ตอนลว้ นมีความส�ำคญั เท่า ๆ กนั ขัน้ ตอนแรก คือ การกลบั มาอยู่กบั ตนเองในความเงยี บ ทำ� ให้สมองหรอื จิตของเราให้นงิ่ สงบ ความเงยี บสงบช่วยปูทางไปสู่การเข้าถึงญาณทศั นะ ข้ันตอนที่สอง คือ การฟังเสียงญาณทัศนะ ในเวลาท่ีเราสดับฟังเสียง ญาณทศั นะหรือการเข้าไปรบั รู้สนามพลงั ท่ีอยู่ข้างหน้า จะมวี ิธี หรือ ช่องทาง การเข้าถึงญาณทัศนะอยู่ 6 วิธี วิธีแรก คอื การรับรู้ผา่ นค�ำ วลี ประโยค หรือความคดิ ตา่ ง ๆ ทผ่ี ุดขึ้นมา วิธที ี่สอง คอื การรบั ร้ผู ่านการมองเหน็ อาจเห็นเปน็ ภาพ เป็นสี วิธีท่ีสาม คือ การรับรู้ผ่านการสัมผัสรับรู้ของกาย อาจจะเจ็บท่ีหัวใจ หรือปั่นป่วนในท้อง หรือเหงื่อออกที่ฝ่ามือ หรือมีความเกร็งท่ีหลังหรือ ปวดไหล่ หรือรูส้ ึกอยากออกเดนิ 104

Leadership for Transcendence ผ้เู ข้าอบรมท�ำกิจกรรมฝกึ ค้นหาญาณทศั นะภายในร่างกาย 105

ภาวะการนำ� เพื่อการขา้ มพ้น วิธีที่ส่ี คือ การรับรู้ผ่านกลิ่น บางคร้ังคนเราฟังญาณทัศนะผ่านกล่ิน ต่าง ๆ แมค้ นที่สมั ผสั ญาณทศั นะผ่านกล่นิ มีไม่มาก แตบ่ างคนอาจจะสมั ผสั ได้ วิธที ีห่ ้า คอื การรบั รู้ผา่ นอารมณ์ ความรสู้ กึ วธิ ีทหี่ ก คอื การรบั รผู้ า่ นการได้ยนิ เสียง เราจะสามารถเข้าถึงญาณทัศนะรูปแบบใดมักขึ้นอยู่กับว่าเราใช้ช่องทาง ไหนเปน็ ประจำ� หรอื ชอ่ งทางใดเปน็ ชอ่ งทางทถี่ นดั เชน่ บคุ คลทเี่ ปน็ คนฐานคดิ (ตามแนวคิดปัญญาสามฐาน ของรูดอลฟ์ สไตเนอร์) อาจได้รับญาณทัศนะมา จากชอ่ งทางแรกซึ่งเปน็ ความคดิ วลี ประโยคตา่ ง ๆ เน่อื งจากเป็นคนท่ีถนดั การจับประเด็น คิดเป็นเหตุเป็นผล และในการด�ำเนินชีวิตมักใช้การคิดมาก กว่าการใชอ้ ารมณแ์ ละการรบั รู้ทางรา่ งกาย ขน้ั ตอนสดุ ทา้ ย คอื การสอ่ื สาร เมอื่ เรารบั ขอ้ มลู จากญาณทศั นะมาแลว้ ไม่ วา่ จะมาจากชอ่ งทางใด ให้เราเผยแสดง หรือสือ่ สารออกมา หากเราทำ� เพยี ง ข้ันตอนท่ีหนึ่งและสอง แต่ไม่ท�ำขั้นตอนท่ีสามจะเกิดปฏิกิริยาทางกายขึ้นกับ เรา เนอื่ งจากญาณทศั นะเปน็ พลงั งาน พลงั งานนนั้ จงึ ฝงั อยภู่ ายในรา่ งกายหาก ไม่ได้น�ำออกมา การปฏิบัติข้ันตอนท่ีสามนี้ต้องใช้ความกล้าในการเผยแสดง ญาณทศั นะ การไดร้ บั ขอ้ มลู มาแลว้ เกบ็ ไวไ้ มส่ อ่ื สารออกไปอาจชว่ ยปอ้ งกนั เรา จากการถกู ผอู้ น่ื ตดั สนิ แตก่ ารไดส้ อ่ื สารหรอื พดู ออกไปแมอ้ าจจะถกู ตดั สนิ จาก ผอู้ น่ื แตอ่ ยา่ งนอ้ ยเราจะไดร้ บั เสยี งสะทอ้ นวา่ ญาณทศั นะของเราถกู ตอ้ งแมน่ ยำ� หรอื ไม่อย่างไร ท�ำให้เราตรวจสอบทักษะการเขา้ ถึงญาณทศั นะของตวั เราเอง ได้ และสารทีไ่ ดส้ ง่ ออกไปก็อาจเป็นประโยชน์แกผ่ ู้อ่ืนอีกดว้ ย การฝึกเขา้ ถึงญาณทศั นะเพื่อใหส้ ารแก่ผ้อู ื่น การฝึกเข้าถึงญาณทัศนะเพ่ือให้สารแก่ผู้อื่น เป็นการเข้าไปเชื่อมโยงกับ อีกฝ่ายหนึ่งเพื่อเข้าไปอ่านสนามพลังและส่ือสารส่ิงที่ค้นพบผ่านญาณทัศนะ ให้แก่อีกฝ่ายได้รับรู้ ในการฝึกปฏิบัติน้ี ผู้เข้าอบรมได้จับคู่กันเพื่อฝึกปฏิบัติ ทลี ะขนั้ ตอน โดยคนหนง่ึ เปน็ ฝา่ ยผรู้ บั ญาณทศั นะ สว่ นอกี คนเปน็ ผใู้ หญ้ าณทศั นะ 106

Leadership for Transcendence ในส่วนของผู้รับญาณทัศนะ ให้เร่ิมจากการรับรู้ความรู้สึกของตนเองใน ขณะท่ีผู้ให้ญาณทัศนะก�ำลังขออนุญาตเชื่อมโยงว่ารู้สึกอย่างไรบ้าง มีข้อมูล ส่วนไหนในตนเองท่ีไม่ต้องการเผยออกมาก็ให้ระวังตรงส่วนนั้น เผยออกมา เท่าทร่ี ู้สึกสบายใจ ส�ำคัญ และเก่ยี วขอ้ งกับตวั เรา ในสว่ นของผใู้ หญ้ าณทศั นะ เรม่ิ ตน้ สขู่ นั้ แรกโดยการดำ� รงอยใู่ นความเงยี บ อยู่กับตนเอง และละวางความกังวล ความคิด หรือสิ่งท่ีปั่นป่วนอยู่ข้างใน วิธีการหน่ึงท่ีช่วยให้เรากลับมาอยู่กับตนเองได้ดี คือการอยู่กับลมหายใจ หลังจากน้ันได้เข้าสู่ขั้นท่ีสองคือ การฟังเสียงญาณทัศนะ ผู้ให้ญาณทัศนะ ค่อย ๆ สัมผัสผืนพลังตรงหน้า เปิดรับช่องทางต่าง ๆ ที่ญาณทัศนะจะส่ง ข้อความเข้ามา เฝา้ มองว่าตนเองไดย้ ิน เหน็ ภาพ หรอื รับรู้อะไรบา้ งจากสนาม พลังน้ี หากผู้รับญาณทัศนะมีความผ่อนคลาย จะท�ำให้เขาอยู่ในสภาวะท่ี เปิดรับให้เข้าไปเชื่อมโยงได้ แต่ถ้าหากไม่ผ่อนคลาย เวลาที่ผู้ให้ญาณทัศนะ เข้าไปเช่ือมโยงจะถูกปิดกั้นท�ำให้ไม่ค้นพบญาณทัศนะ ดังน้ันการท่ีผู้ให้ ญาณทัศนะขออนุญาตก่อนจึงเป็นสิ่งส�ำคัญ เพราะจะท�ำให้ผู้รับญาณทัศนะ ผ่อนคลายวางใจและเปิดให้เข้าไปเช่ือมโยงได้มากขึ้น เม่ือได้รับสารหรือ ข้อความที่ญาณทัศนะส่งมาแล้ว ก็เข้าสู่ข้ันตอนท่ีสามคือสื่อสารกับผู้รับ ญาณทัศนะ การฝึกเข้าถึงญาณทัศนะนี้ไม่จ�ำเป็นต้องเป็นการท�ำงานแบบจับคู่หนึ่งต่อ หนง่ึ เท่านนั้ แต่สามารถฝึกท�ำเปน็ กลุม่ ได้ ดังทผี่ เู้ ขา้ รว่ มได้ทดลองฝกึ กิจกรรม เข้าถึงญาณทัศนะแบบกลุ่มส่ีคน แต่ละคนได้ลองฝึกเป็นผู้ให้ญาณทัศนะสาม คร้ัง และรบั ญาณทัศนะหนึ่งครั้ง โดยคนทเี่ ปน็ ผรู้ ับญาณทศั นะจะให้โจทยแ์ ก่ คนในกลมุ่ ซง่ึ เปน็ ส่งิ ที่อยากรเู้ พิ่มเกยี่ วกบั ตนเอง หลังจากนั้นผ้ใู หญ้ าณทศั นะ อกี สามคนทเี่ หลอื จะเขา้ ถงึ ญาณทศั นะ และเขา้ สขู่ น้ั ตอนทส่ี าม คอื การสอื่ สาร ออกมาให้แก่ผู้รับญาณทัศนะว่ามีข้อความหรือสิ่งใดที่ได้ค้นพบบ้าง ซ่ึงผู้รับ ญาณทศั นะจะสามารถตอบไดว้ ่าสารท่สี ่งมานน้ั ตรงหรอื ไม่อย่างไร 107

ภาวะการนำ� เพื่อการขา้ มพ้น กลา่ วโดยสรปุ การขออนญุ าต คอื การขอเขา้ ไปรบั รภู้ ายในของบคุ คลอกี คน เป็นการใสใ่ จอีกฝา่ ยหนึ่ง สว่ นการกราวดิง (Grounding) คือการดแู ลตนเอง ดูแลพลังงานของเรา เวลาท่ีเรารับเอาคล่ืนญาณทัศนะจากอีกฝ่ายมาแล้ว ถ้าเราไม่ท�ำการกราวดิง หรือการกลับมามีสติและหยั่งรากลงในปัจจุบัน ขณะ จะท�ำให้พลังงานของเรายังคงเช่ือมโยงอยู่กับบุคคลนี้ หมายความว่า เรายังคงกักพลังงานไม่ใช่เฉพาะของเราเอง แต่ของบุคคลนั้นไว้ในตัวเราด้วย เหมอื นเปน็ การแบกรบั พลงั งานของคนสองคนบนบ่าของเราคนเดยี ว วิกรัมปิดการอบรมวันแรกด้วยค�ำถามสองค�ำถามแก่ผู้เข้าร่วมการอบรม ค�ำถามแรก คือ ในวันน้ีเราได้เรียนรู้อะไรจากกิจกรรมบ้าง ค�ำถามที่สอง คือ มีขมุ ทรัพย์อะไรบ้างทเี่ ราค้นพบในตนเอง บางคร้งั ญาณทัศนะจะเขา้ มา ในรูปแบบความฝันท่ีมาจากจิตไร้สำ� นึก หรอื บางทมี าจากจิตใตส้ �ำนกึ อยา่ งเชน่ การทีญ่ าณทัศนะ มาบอกใหเ้ ราระลึกถงึ สงิ่ ทเ่ี ราควรจะทำ� แตล่ ืมทำ� เชน่ การทีจ่ ู่ ๆ ก็นึกถึงเพอ่ื นทไ่ี ม่ไดค้ ุยกันมานาน หรือฝันเกย่ี วกับชวี ิตวยั เด็ก 108

Leadership for Transcendence ผเู้ ข้าอบรมฝึกเขา้ ถงึ ญาณทศั นะเพื่ อใหส้ ารแก่ผ้อู นื่ 109



การอบรมวันท่ี 2 หลกั การทเี่ กี่ยวกบั ญาณทศั นะ ในการอบรมวันแรก ผู้เข้าอบรมได้เรียนรู้หลักการที่เก่ียวกับญาณทัศนะ ไปแลว้ สองหลักการ ได้แก่ หลกั การความเปน็ สากล (Universality) ท่ีกลา่ ว วา่ คนเราทกุ คนมญี าณทศั นะและสามารถเขา้ ถงึ ญาณทศั นะได้ และหลกั การที่ สองคอื หลกั การความมีชีวติ (Living) ที่เผยให้เหน็ ว่าเราทกุ คนสามารถเข้าไป สัมผัสญาณทศั นะไดเ้ พราะญาณทัศนะมี “ชวี ติ ” อย่ใู นตวั เรา ในการอบรมวันท่ีสองนี้ เน้ือหาการอบรมครอบคลุมอีกสองหลักการของ ญาณทศั นะ ไดแ้ ก่ หลกั การสนั่ สะเทอื น (Vibrational) และหลกั การการหลอมรวม ระหว่างญาณทัศนะกบั เหตผุ ล (Integrative) หลกั การทส่ี าม หลกั การสั่นสะเทอื น (Vibrational) วิกรัมกล่าวว่าการจะเรียนรู้ว่าแรงสั่นสะเทือนคืออะไรได้ดีที่สุดน้ันต้องใช้ สมองและหัวใจไปพรอ้ มกัน ดงั นนั้ “ขอบ” (Edge) ของเร่ืองนคี้ อื การอนญุ าต ใหต้ นเองกระโจนเขา้ ไปสมั ผสั ประสบการณอ์ ยา่ งเตม็ ตวั กอ่ น แลว้ จงึ คอ่ ยกลบั มาท�ำความเข้าใจว่าเกิดอะไรข้ึนในภายหลัง การเรียนรู้ในหัวข้อน้ีจึงเร่ิมจาก การลงมอื ปฏบิ ตั ิ โดยวกิ รมั ใหผ้ เู้ ขา้ รว่ มจบั กลมุ่ 3 คน แลว้ กลา่ วนำ� กระบวนการ ว่า “หลับตาลง จดจ่ออยู่กบั ตนเอง รับร้ลู มหายใจเข้าออก หลงั จากที่อยู่กบั ตนเองไดแ้ ลว้ ใหเ้ รม่ิ รบั รคู้ วามรสู้ กึ ในการนง่ั สงั เกตวา่ มจี ดุ ไหนบา้ งในรา่ งกาย ที่ตึงและอนุญาตให้ส่วนที่ตงึ ไดค้ ลายออก หลังจากนั้นหันมาใส่ใจกับเมล็ดพันธุ์ญาณทัศนะในร่างกายควบคู่ไปกับ ความตระหนักรู้ 111

ภาวะการน�ำเพื่อการข้ามพ้น เมื่อพร้อมแล้วเริ่มเข้าไปรับรู้ถึงพื้นท่ีว่างระหว่างกันของคนในกลุ่มด้วย เมลด็ พนั ธุแ์ หง่ ญาณทัศนะและความตระหนักรู้ โดยมีคำ� ถามคือ มสี งิ่ ใดอยใู่ นนัน้ ? มแี รงสัน่ ไหวอยา่ งไรบ้างรอบ ๆ ตวั ? หลังจากน้ัน กลับมาใส่ใจกับความสั่นไหวภายในพื้นที่ใจของตนเอง แล้วลืมตาขึ้น” หลังจากเข้ากลุ่มย่อย ผู้เข้าร่วมกลับมารวมกันอีกคร้ังในวงใหญ่และ แบ่งปันประสบการณ์จากการท�ำกิจกรรมการรับรู้คล่ืนพลัง ซ่ึงผู้เข้าร่วม แต่ละคนมีความรู้สึกและการรับรู้ท่ีแตกต่างกัน เน่ืองจากร่างกายคนเรามี ความละเอยี ดออ่ น ผเู้ ขา้ รว่ มบางทา่ นรสู้ กึ คลา้ ยมแี รงคลน่ื เบา ๆ มาปะทะตนเอง บา้ งรสู้ กึ ยบุ ยบิ บา้ งรสู้ กึ วา่ พน้ื ทตี่ รงกลางระหวา่ งสามคนเปน็ แสงสขี าว ผเู้ ขา้ รว่ ม บางท่านจับแรงสั่นไหวภายในตนเองได้ แต่จับความส่ันไหวภายนอกไม่ได้ ผ้เู ขา้ รว่ มท่านหนึ่งกล่าวว่า “เราจับคลื่นทีอ่ ืน่ ไมไ่ ด้ เลยจับท่หี วั ใจ รสู้ กึ วา่ หัวใจ เต้นแรง เหมือนเขาดีใจ เหมือนมีใครบางคนที่อยู่ตรงน้ีมานานแล้ว แล้วเรา ได้รู้จักกับเขา เสียงหัวใจท่ีเต้น ๆ เหมือนมิตรที่มาเจอกัน” และผู้เข้าร่วม อีกท่านรู้สึกเหมือนว่าพลังงานเป็นเส้นตรง พอย้ายมาสัมผัสพ้ืนที่ระหว่างกัน รสู้ ึกเหมือนเป็นพลงั งานสามเหลยี่ มเชอื่ มกนั วิกรมั กล่าวเสริมวา่ ในกระบวนการนี้ ความเงยี บน้ันมีคุณค่ามาก เพราะ เปน็ สง่ิ ทท่ี ำ� ใหเ้ ราสามารถรบั รถู้ งึ แรงสนั่ ได้ และเราแตล่ ะคนจะรดู้ ว้ ยตนเองวา่ ความส่ันสะเทือนน้ีคืออะไร หากเปรียบกับเรื่องควอนตัม การฝึกรับรู้ แรงสน่ั สะเทอื นเปน็ เหมอื นการใหท้ งั้ สองดา้ นของคนเรา คอื ความเปน็ “สสาร” และ “คล่ืน” มโี อกาสได้ส่อื สารกัน เมื่อเข้าใจมากขึ้นว่าแรงส่ันของคลื่นเป็นเช่นไรแล้ว ต่อไปเป็นการท�ำ ความเข้าใจเก่ียวกับคลื่นพลังที่ท�ำให้เกิดญาณทัศนะ วิกรัมได้แบ่งปัน บทกลอนของรมู ี (Rumi) กวีและนักปรัชญาคนส�ำคัญแห่งเปอรเ์ ซยี ซึง่ บทกวี ท่ีงดงามบทนอ้ี าจบอกบางส่งิ เก่ียวกับคลื่นพลงั ของคนเราได้ 112

Leadership for Transcendence ผู้เข้ารว่ มจับกลมุ่ สามคน เพื่ อเรียนรูเ้ กยี่ วกบั หลักการส่นั สะเทือน 113

The Guest House บา้ นรบั แขก This being human is a guest house. Every morning a new arrival. A joy, a depression, a meanness, some momentary awareness comes as an unexpected visitor. Welcome and entertain them all! Even if they are a crowd of sorrows, who violently sweep your house empty of its furniture, still, treat each guest honorably. He may be clearing you out for some new delight. The dark thought, the shame, the malice. meet them at the door laughing and invite them in. Be grateful for whatever comes. because each has been sent as a guide from beyond. Jellaludin Rumi

การเป็นมนษุ ย์นีค้ อื บา้ นรับรองแขก ทุก ๆ เชา้ จะมีผมู้ าเยอื น ความรืน่ รมย์ ความหมน่ เศรา้ ความเลวร้าย ความตระหนกั รชู้ ่ัวขณะ เข้ามาราวกบั ผมู้ าเยอื นทีไ่ ม่คาดฝัน จงต้อนรบั พวกเขา ให้ความรนื่ รมยแ์ ก่ พวกเขาท้ังหมด ถงึ แมว้ า่ พวกเขาจะเป็นฝงู ชนแหง่ ความโศกเศร้า ผ้ทู �ำลายบ้านของเธออยา่ งรุนแรงจนไม่เหลือส่ิงของใด กระน้ัน ก็ขอให้คณุ ต้อนรบั ดูแลพวกเขาแต่ละคน อย่างให้เกยี รติ เพราะวา่ เขาอาจจะมาชว่ ยชำ� ระล้างเธอ เพื่ อใหเ้ ธอได้พบความปราโมทย์คร้งั ใหม่ ความคิดทดี่ ำ� มดื ความอับอาย ความเลวรา้ ย จงไปพบพวกเขาเหลา่ นที้ ีป่ ระตเู ถิด หัวเราะและตอ้ นรับพวกเขาเขา้ มา จงยินดีกบั อะไรก็ตามทีเ่ ขา้ มา เพราะแต่ละส่งิ ล้วนถกู สง่ มาจากเบือ้ งบน เพื่ อเป็นเครอื่ งน�ำทาง ญะลาลุดดิน รูมี

ภาวะการน�ำเพื่อการขา้ มพ้น จากบทกวขี า้ งตน้ ผมู้ าเยอื นเหลา่ นค้ี ลา้ ยกบั คลนื่ ของอารมณร์ สู้ กึ อนั หลากหลาย ของคนเรา แผนภาพดา้ นลา่ งไดแ้ สดง ระดบั ของคลนื่ (Vibrational Levels) เหล่าน้ีไว้ ซึ่งระบุถึงความจริงของคล่ืนในระดับต่าง ๆ หลักการอย่างหนึ่ง ของคลื่น คือ คลื่นไม่สามารถสร้างหรือท�ำลายได้ คลื่นมีอยู่ทั่วไปเหมือน กับธรรมชาติของความสั่นไหว อารมณ์หรือคล่ืนพลังงานต่าง ๆ สามารถ เปลยี่ นแปลงได้ วิกรัมยกตัวอย่างเพื่ออธิบายแผนภาพที่แสดงระดับของคลื่นว่า หากคน คนหน่ึงท�ำภารกิจบางส่ิงไม่ส�ำเร็จตามท่ีตนเองคาดหวังแล้วมีคนมาต่อว่า ว่าเขาไม่เก่งพอ ปฏิกิริยาที่อาจเกิข้ึนอย่างแรกคือการปิดใจตนเอง พยายาม ท�ำให้เกิดภาวะความเฉยชาในใจ ไม่อยากสัมผัสหรือรับรู้อะไร เพ่ือจะได้ไม่ รสู้ ึกเจ็บปวดกับคำ� ตอ่ วา่ ตา่ ง ๆ คล่ืนความเฉยชา (Numbness) เปน็ คลน่ื ชนิดหน่ึงท่ีมีลักษณะปิดหรือกีดกั้น เหมือนกับการท่ีเราเปิดทีวีแล้วไม่มีส่ิงใด นอกจากเสียงซา่ ๆ คนเราเคลอ่ื นความรสู้ กึ ออกจากคลน่ื ระดบั เฉยชาไดใ้ นเวลาทรี่ สู้ กึ ปลอดภยั มากข้นึ แต่อาจยังรูส้ ึกกลวั ไม่ตอ้ งการรูส้ กึ อับอาย เจ็บปวด หรอื ถกู ลดคา่ อีก จึงพยายามอยู่ใกล้ ๆ คนที่เขารู้สึกปลอดภัยหรือไว้วางใจ ในภาวะนี้ เขาจะ เขา้ ไปอยู่ในระดับของคลืน่ ความกลัวหรอื โกรธ (Fear/Anger) ซึ่งเป็นคล่นื พลงั บรสิ ทุ ธแิ์ ละตรงอกี คลนื่ หนง่ึ เพราะเปน็ คลน่ื ทพ่ี ยายามปกปอ้ งสง่ิ ทม่ี คี ณุ คา่ ในตวั เรา และสอื่ สารวา่ มบี างอยา่ งสำ� คญั เราจงึ โกรธ บางครงั้ คนเรากว็ นอยใู่ น คล่ืนท้ังสองระดับนี้ ไม่ว่าจะเป็นระดับความเฉยชา และระดับโกรธหรือกลัว อยูน่ านหลายปี ภาวะเชน่ น้อี าจตดั สนิ ไมไ่ ดว้ า่ ดหี รอื ไม่ดี แตเ่ ราสามารถเลือก ได้ว่าจะใช้ชีวิตในพลังงานเช่นน้ีต่อไปหรือเคล่ือนออกมาสู่พลังงานที่สูงข้ึน เมอื่ เราเคลอ่ื นออกจากกลมุ่ คลนื่ ความเฉยชาและคลน่ื ความกลวั หรอื โกรธ ได้แล้ว เราจะเจอเพ่ือนอีกคนหน่ึง คือ คล่ืนความโศกเศร้า (Grief) เพ่ือน คนนี้มีความพิเศษประการหน่ึงคือ ช่วยท�ำให้เราได้ระบายความทุกข์หรือ สงิ่ ทอ่ี ยขู่ า้ งในออกไปจากตวั เรา บางครงั้ คนเรากม็ ชี ว่ งเวลาของภาวะโศกเศรา้ 116

Leadership for Transcendence 117

ภาวะการน�ำเพื่อการข้ามพ้น ร่วมกนั ในระดบั ครอบครวั ชมุ ชน หรอื ประเทศชาติ เมอ่ื เกิดเหตุการณร์ ุนแรง หรือสญู เสยี ข้ึน หลังจากความทุกข์ได้ระบายออกไป ระดับคล่ืนในตัวเราจะเข้าสู่คลื่น ความสงสัยใคร่รู้ (Curiosity) เราจะต้องการหาค�ำตอบและเรียนรู้ สง่ิ ตา่ ง ๆ ทเ่ี กดิ ขนึ้ ทำ� ใหช้ อ่ งทางตา่ ง ๆ เปดิ ออกเพอ่ื ตอ้ นรบั คลนื่ ความรกั (Love) ความรักท่ีพูดถึงนี้มิใช่ความพึงพอใจในพฤติกรรมระหว่างบุคคล แต่เป็น อารมณห์ รอื คลน่ื พลงั งานบรสิ ทุ ธท์ิ ีด่ �ำรงอยู่และไม่ข้ึนตอ่ สิ่งอนื่ หากสังเกตใน แผนภาพ จะพบว่าไม่มีค�ำว่าความสุข เพราะความสุขจะเพ่ิมขึ้นตามระดับ ของคลื่น จากคล่ืนระดับล่างข้ึนไปยังระดับบน จากประสบการณ์ชีวิตของ วกิ รมั หนทางสคู่ วามสขุ ทแี่ ทจ้ รงิ จะเกดิ ไดต้ อ่ เมอ่ื เขายอมรบั ความโศกเศรา้ ของ ตนเอง พลงั งานของความรักมไิ ด้ดำ� รงอยู่เพือ่ ตวั มนั เอง หากแต่เปน็ ประตูเปดิ ไปสคู่ ลน่ื ในระดบั ทส่ี งู ขน้ึ (Open the doors) และเกดิ การเชอ่ื มโยงกบั สงิ่ อน่ื ๆ ถ้าหากเราเลือกที่จะอยู่ในระดับคล่ืนของความรักมากกว่าความอับอาย หรอื พลงั งานลบอ่นื ๆ คลืน่ พลงั ของเราจะเคล่อื นเขา้ สู่ คลน่ื ความกล้าหาญ (Courage) เช่น กล้าทีจ่ ะมคี วามสมั พนั ธก์ ับใครสกั คนอีกครัง้ หนึ่ง กลา้ เปิด ใจตนเอง ต้อนรับความสัมพันธ์ครั้งใหม่ น�ำไปสู่การเรียนรู้ หรือการเดินทาง รว่ มกนั คลนื่ พลงั ถดั มา คอื คลนื่ ความสงา่ งาม (Grace) เปน็ คลน่ื ของพลงั งานบวก อาจหมายถงึ พร หรือส่งิ ที่มคี วามงาม วิกรมั แบง่ ปนั ประสบการณ์ของเขาเพ่ือ เปน็ ตวั อยา่ งในการอธบิ ายคลน่ื ระดบั นวี้ า่ เมอื่ เขาเรมิ่ โอบรบั ญาณทศั นะเขา้ มา เพือ่ เปน็ ประโยชนต์ ่อเสน้ ทางชวี ติ ของตนเอง เขากเ็ รม่ิ เปดิ รบั ความช่วยเหลือ จากเพื่อน ผคู้ น ธรรมชาติ ครบู าอาจารย์ ผู้นำ� ทางจิตวญิ ญาณของเขาไปดว้ ย พรทงี่ ดงามนที้ ำ� ใหห้ วั ใจของเขาเปดิ ออกและรบั รวู้ า่ เขาไมไ่ ดอ้ ยตู่ ามลำ� พงั และ ตระหนักว่าเขาสามารถอยู่ในทุกคล่ืนความถ่ีและเคลื่อนย้ายตนเองไปมาใน คลนื่ ความถเ่ี หลา่ น้ีได้ 118

Leadership for Transcendence ระดบั ตอ่ มาเปน็ คลน่ื ความรสู้ กึ ขอบคณุ (Gratitude) หรอื ความสำ� นกึ ถงึ คณุ คา่ เปน็ คลน่ื ความถท่ี เ่ี กดิ ขนึ้ เมอ่ื เราสามารถรสู้ กึ หรอื ตระหนกั ถงึ คณุ คา่ ของ เหตกุ ารณห์ รอื สง่ิ ตา่ ง ๆ ทเ่ี ขา้ มาในชวี ติ ได้ อาจหมายรวมถงึ ความสามารถทจี่ ะ รู้สึกขอบคุณตอ่ ผคู้ นที่กระทำ� ไมด่ ีตอ่ เราด้วย เพราะพวกเขากำ� ลังใหบ้ ทเรยี น บางอยา่ งทีม่ คี ่ากับเรา หรอื แม้แต่การรสู้ กึ ขอบคณุ ความผดิ พลาดทีต่ นเองท�ำ เพราะท�ำใหเ้ ราได้เรียนรู้และปรับปรงุ ส่ิงตา่ ง ๆ ใหด้ ีขึ้น เม่ือเราสามารถรู้สึกขอบคุณต่อทุกส่ิงได้รับจะท�ำให้เราเป็นอิสระจาก แบบแผนเดมิ ๆ ของชวี ติ และเมอื่ คนเราได้สัมผสั กบั ความรสู้ กึ เปน็ อิสระแลว้ ก็เป็นธรรมชาติที่คนเราอยากจะให้ออกไปหรือแบ่งปันแก่คนอื่น เนื่องจาก รสู้ กึ วา่ ตนเองมมี ากพอแลว้ ทำ� ใหเ้ ขา้ สคู่ ลนื่ ระดบั สดุ ทา้ ยคอื คลน่ื ความกรณุ า (Generosity) เปน็ คลน่ื แห่งการขยายการให้ออกไป วิกรัมกล่าววา่ “ยงิ่ เรา ใหอ้ อกไปเรากย็ ่ิงไดร้ ับ” ในชวี ติ ของคนเราการทรี่ ะดบั ของคลน่ื ภายในตวั เราจะเปลยี่ นไปมานนั้ เปน็ เรื่องธรรมดา บางช่วงเวลาเราก็มีความรู้สึกกว้างขวางพร้อมแบ่งปันแก่โลก แต่ในเวลาต่อมาระดับคล่ืนอาจตกลงมาที่ระดับเฉยชา แล้วค่อย ๆ ขึ้นไป ท่ีระดับความเศร้า ความกล้าหาญ และความรักก็ได้ ดังน้ันในฐานะมนุษย์ เราอาจมีประสบการณ์กับคล่ืนได้ในทุกระดับ แต่เราไม่ควรตัดสินเชิงคุณค่า ว่าระดับคลน่ื พลงั ทีอ่ ยู่ดา้ นล่างไมด่ ี และระดับคลื่นพลงั ทีอ่ ยดู่ า้ นบนดี เพราะ พลังงานความเฉยชาก็เปน็ พลงั งานท่ีนำ� ไปส่คู วามใจกว้างได้เช่นกนั คนเราจะมญี าณทศั นะทชี่ ดั เจนและมพี ลงั มากขนึ้ เมอื่ สภาวะของเราอยใู่ น ระดบั คลน่ื ทส่ี งู ขน้ึ เหมอื นใจเราเปดิ ออก แตถ่ า้ สภาวะของเราอยใู่ นคลนื่ ระดบั ล่างลงไป เราจะย่ิงห่างจากตวั ตน (Self) ทีอ่ ยู่ตรงกลางมากข้นึ เรื่อย ๆ และ มโี อกาสท่จี ะสมั ผสั ญาณทัศนะได้นอ้ ยลง และอาจสับสนระหวา่ งญาณทศั นะ กบั ความคดิ สว่ นตัวของเราเอง เชน่ ถ้าหากเราอยใู่ นระดบั คลื่นความกลัวหรือ ความโศกเศรา้ เราจะหมกมนุ่ กบั ตนเองหรอื อยใู่ นภาวะปกปอ้ งตนเอง และอาจ ตอ้ งการความปลอดภยั หรอื การเยยี วยา ทำ� ใหเ้ ราเปดิ รบั ญาณทศั นะทม่ี าจาก 119

ภาวะการนำ� เพื่อการขา้ มพ้น โลกไดน้ อ้ ยลง ดังนนั้ ญาณทศั นะทอ่ี าจเขา้ มาได้ในระดับนีม้ กั เขา้ มาโดยท่เี รา ไมไ่ ด้ต้ังใจ ซงึ่ เราจะได้รับการเคาะประตูเรยี กใหต้ น่ื ขึ้นคร้งั แลว้ ครัง้ เลา่ สงิ่ สำ� คญั ของการเรยี นรใู้ นเรอ่ื งระดบั ของคลน่ื คอื การฝกึ ใหเ้ ทา่ ทนั ตนเอง ว่าเราก�ำลังอยู่ในอารมณ์หรือคลื่นพลังงานระดับใด แล้วเลือกว่าเราต้องการ จะอยู่ทค่ี ลนื่ พลงั น้ตี อ่ ไปหรือจะยา้ ยไปสคู่ ลน่ื พลังระดบั อ่ืน หากเราตระหนัก ได้ว่าเราก�ำลังอยู่ในคล่ืนระดับล่าง จะท�ำให้เรามีโอกาสมากข้ึนในการเปล่ียน คลื่นพลงั ของตนเองไปอยู่ในคลน่ื ในระดบั สงู ข้ึนได้ แบบฝึกหดั ระดับคลืน่ พลังกบั ญาณทศั นะ ในแบบฝกึ หดั น้ี ผเู้ ขา้ รว่ มอบรมจบั คกู่ นั โดยฝา่ ยหนง่ึ ทำ� หนา้ ทเ่ี ปน็ ทปี่ รกึ ษา หรอื โคช้ ส่วนอกี ฝ่ายเป็นผรู้ ับการโค้ชหรือคำ� แนะนำ� โคช้ หรือทีป่ รกึ ษาจะฝกึ ใชญ้ าณทศั นะของตนเองในการตง้ั คำ� ถามหรอื ชแ้ี นะแนวทางใหแ้ กผ่ รู้ บั การโคช้ ส่วนฝ่ายที่เป็นผู้รับการโค้ช จะเล่าเร่ืองในชีวิตจริงของตนเองท่ีอยากเปล่ียน คล่ืนพลงั อาจจะเปน็ เรอ่ื งท่โี กรธ กลัว หรือโศกเศรา้ หากผู้รบั การโคช้ มคี ลื่น พลงั ทอ่ี ยใู่ นระดบั ตำ�่ เชน่ ความโกรธ ความเศรา้ ใหฝ้ า่ ยทเี่ ปน็ โคช้ ลองตงั้ คำ� ถาม หรอื ใหญ้ าณทัศนะทที่ �ำให้ผรู้ บั การโคช้ เปลีย่ นไปอยู่ในคลื่นพลังทรี่ ะดบั สูงขึ้น เม่ือผู้รับการโคช้ เปล่ียนคลนื่ พลังแลว้ เช่น เปลยี่ นจากคลืน่ ความโศกเศรา้ ไปสคู่ ลน่ื ความรกั ผรู้ บั การโคช้ กจ็ ะเปลย่ี นทน่ี ง่ั หรอื ทย่ี นื ไปอยจู่ ดุ ใหมเ่ พอื่ เปน็ ตวั แทนของคลน่ื ทเี่ ปลย่ี นไปแลว้ และฝา่ ยทเี่ ปน็ โคช้ กย็ า้ ยตามไปโคช้ ในจดุ ใหม่ ด้วยเช่นกัน 120

Leadership for Transcendence ผูเ้ ขา้ รว่ มอบรมจับคกู่ ันท�ำแบบฝึกหดั ระดบั คลนื่ พลังกับญาณทศั นะ 121

ภาวะการน�ำเพื่อการขา้ มพ้น หลกั การทส่ี ี่ การหลอมรวมญาณทัศนะ เข้ากบั เหตผุ ล (Integrative) หลกั การของญาณทศั นะอกี หลกั การหนง่ึ คอื การหลอมรวมของความคดิ ในเชงิ เหตผุ ลเขา้ กบั ญาณทศั นะ (Integration) แม้วา่ ตรรกะเหตุผลจะอยู่คนละ ขว้ั กบั ญาณทศั นะ แตญ่ าณทศั นะกบั เหตผุ ลเกดิ ขนึ้ พรอ้ มกนั ได้ วกิ รมั กลา่ ววา่ ทจ่ี รงิ แลว้ การแบง่ แยกระหวา่ งญาณทศั นะกบั ตรรกะเหตผุ ลเปน็ สงิ่ ทถ่ี กู สรา้ ง ขึ้นมาโดยความคิด การอยู่กับปัจจุบันขณะโดยสัมผัสประสบการณ์ตรงหน้า อยา่ งรู้เนือ้ รตู้ ัวจะช่วยท�ำให้สองส่งิ นหี้ ลอมรวมเขา้ ดว้ ยกันอีกครั้ง แบบฝึกหัดการหลอมรวมเหตผุ ล เข้ากบั ญาณทัศนะ วิกรัมกล่าวว่าวิธีการที่จะท�ำความเข้าใจหลักการน้ีได้ดีที่สุดคือ การท�ำ ตวั อยา่ งใหด้ ผู า่ นกระบวนการโคช้ ชงิ่ (Coaching) และจติ วทิ ยากระบวนทศั น์ ใหม่ (Process Work) โดยน�ำเสี้ยวส่วนของญาณทัศนะและเหตุผล เข้ามาใช้ กิจกรรมการฝึกหลอมรวมเหตุผลเข้ากับญาณทัศนะน้ีมี ความแตกต่างจากกระบวนการท่ีมีการท�ำงานกับเสี้ยวส่วนและเสียงภายใน ตนเองอยา่ งการสนทนากบั เสยี งดา้ นใน (Voice Dialogue) และละครจติ บำ� บดั (Psycho Drama) กระบวนการหลอมรวมเหตุผลเข้ากับญาณทัศนะน้ีมุ่ง ให้เห็นความแตกต่างระหว่างญาณทัศนะกับเหตุผล และการฝึกหลอมรวม ทง้ั สองส่ิงเขา้ ดว้ ยกัน กระบวนการเรม่ิ จากใหผ้ รู้ บั การโคช้ ยนื อยตู่ รงกลางระหวา่ งพน้ื ทสี่ องสว่ น คอื ฝง่ั ของตรรกะเหตผุ ล และฝง่ั ของญาณทศั นะ หลงั จากนน้ั โคช้ ตงั้ คำ� ถามเพอื่ ค้นหาว่า ผู้รับการโค้ชอยากท�ำงานเกี่ยวกับเร่ืองอะไร ผู้รับการโค้ชอยากท�ำ อะไรเกย่ี วกับเรอ่ื งนี้ ผูร้ ับการโค้ชตอ้ งการอะไร อยากเหน็ การเปลี่ยนแปลงใด เกิดขึน้ หรอื อยากบรรลเุ ป้าหมายใด 122

Leadership for Transcendence หลังจากนั้นระบุแรงสั่นสะเทือน (Vibrational Level) ว่าผู้รับการโค้ช อยรู่ ะดับใด เชน่ ระดบั คล่นื ความกลวั ระดับคล่นื ความรัก ต่อมาโค้ชให้ผู้รับการโค้ชเลือกพื้นท่ีตรงหน้า ระหว่างฝั่งซ้ายกับฝั่งขวา ว่าต้องการก�ำหนดให้พ้ืนที่ฝั่งใดเป็นพ้ืนที่ท่ีท่ีจะท�ำงานกับญาณทัศนะและฝั่ง ใดท�ำงานกับตรรกะเหตุผล การแบ่งฝั่งนี้ท�ำเพื่อให้เห็นความต่างระหว่างขั้ว ของญาณทัศนะและขวั้ ของเหตผุ ล เม่ือผู้รับการโค้ชเลือกฝั่งแล้ว ก็เริ่มเข้าสู่กระบวนการ 4 ข้ันตอน ซ่ึงในแต่ละขั้นตอน ผู้รับการโค้ชจะก้าวเท้าไปข้างหน้าทีละก้าวเพื่อรับรู้ถึง ความต่างในแต่ละข้ันตอน ซึ่งเป็นการใช้ฐานกายในการช่วยให้ผู้รับการโค้ช สมั ผัสถึงความจริงแทใ้ นแต่ละจดุ ที่เขายนื ได้ ผู้รับการโค้ชเริ่มเดินจากฝั่งที่ตนเองเลือก ไม่ว่าจะเป็นฝั่งตรรกะหรือ ญาณทศั นะ แตล่ ะฝง่ั ลว้ นมขี น้ั ตอนตาม 4 ขน้ั ดา้ นลา่ งเหมอื นกนั โดยในแตล่ ะ ขั้น โค้ชจะถามค�ำถามเพื่อให้ผู้รับการโค้ชสัมผัสถึงญาณทัศนะของตนเอง เม่อื ไดค้ ำ� ตอบแลว้ ผู้รบั การโค้ชก้าวเทา้ ไปข้างหน้าหนึ่งกา้ วเพอ่ื เข้าสขู่ นั้ ถัดไป ข้นั แรก คือ การเข้าไปสัมผัสถึงแรงสนั่ สะเทือน ขนั้ ทส่ี อง คอื การระบอุ ปุ สรรคหรอื สง่ิ กดี ขวาง ซงึ่ สงิ่ กดี ขวางนอี้ าจกลาย เปน็ โอกาส หากโจทย์ของเขาคือการท�ำส่ิงตา่ ง ๆ ให้ดกี ว่าเดิม ข้ันที่สาม คือ การคน้ หาเสน้ ทางหรอื ค�ำตอบ ขัน้ ทีส่ ี่ คอื การคน้ หาเพื่อน มติ รสหาย คอื คนที่สนบั สนุนเขาได้ หากผู้รับการโค้ชไม่สามารถเข้าถึงญาณทัศนะได้อย่างเต็มที่ โค้ชมีหน้าท่ี นำ� พาญาณทศั นะของตนเองเขา้ ไปในกระบวนการ ทำ� ใหร้ ะดบั ญาณทศั นะของ ผ้รู บั การโค้ชเพ่มิ ขนึ้ แต่โค้ชต้องระวงั ไมใ่ สค่ วามคดิ ของตนเองเขา้ ไป ขอ้ ความ หรือสารทเ่ี สนอให้ผรู้ บั การโคช้ ตอ้ งมาจากญาณทศั นะของโคช้ อย่างแทจ้ รงิ 123

ภาวะการน�ำเพื่อการข้ามพ้น เม่ือเสร็จสิ้นท้ังส่ีข้ันตอนในฝั่งแรก ผู้รับการโค้ชเดินกลับมาสู่จุดเร่ิมต้น แลว้ เรมิ่ ทำ� งานอกี ฝง่ั หนง่ึ โดยทำ� ตามขน้ั ตอนเดยี วกนั และไมว่ า่ ผรู้ บั การโคช้ จะ เลือกเดินในพืน้ ทีข่ องญาณทศั นะหรือเหตุผลก่อน ฝงั่ แรกที่เขาเลอื กเดนิ จะใช้ เวลานานกวา่ การเดนิ ในฝง่ั ทสี่ อง เพราะการเดนิ ฝง่ั ทสี่ องเปน็ เพยี งการสะทอ้ น การทำ� งานของฝง่ั แรกเทา่ นน้ั และผรู้ บั การโคช้ จะสรา้ งความหมายของเขาขนึ้ มาเอง คล้ายสองคร่ึงวงกลมมาประกบกันเป็นหนึ่งวงกลม การท�ำงานอีกฝั่ง หนึ่งจึงเป็นการสะท้อนของครึ่งวงกลมที่เราได้วาดไปแล้ว ซึ่งการหลอมรวม ระหว่างญาณทศั นะกับเหตผุ ลเกดิ ข้นึ ในขน้ั ตอนน้ี โค้ชควรใช้การเดินทางในรอบท่ีสองเป็นการหาค�ำตอบท่ีเฉพาะเจาะจง และชัดเจนมากขึ้นจากการเดินในฝั่งแรก ส่ิงส�ำคัญคือโค้ชต้องให้โอกาสผู้รับ การโคช้ ไดเ้ ลอื กเองวา่ เขาอยากเดนิ เสน้ ทางฝง่ั ไหนกอ่ น เพราะการเปลยี่ นแปลง ทเี่ กดิ จากการเลอื กและตดั สนิ ใจของผรู้ บั การโคช้ เอง จะใหผ้ ลทมี่ ปี ระสทิ ธภิ าพ ดีกว่า หน้าท่ีของโค้ชคือการด�ำรงอยู่กับผู้รับการโค้ชเพ่ือให้เกียรติและเป็น สกั ขพี ยานในการเดินทางของเขา สิ่งส�ำคัญในกิจกรรมนี้คือการให้ความเคารพกับท้ังส่วนท่ีเป็นญาณทัศนะ และส่วนท่ีเป็นเหตุผล ถ้าหากโค้ชหรือคนน�ำกระบวนการเกิดความกลัวหรือ ลงั เลสงสยั ในการใชญ้ าณทศั นะ คนทเ่ี ปน็ ผรู้ บั การโคช้ กจ็ ะไมม่ นั่ ใจในการเขา้ ไป สัมผัสญาณทัศนะเช่นกัน และหากเรามีความเคารพเส้ียวส่วนทั้งญาณทัศนะ และเหตุผล เราจะได้สมั ผสั ญาณทัศนะไดช้ ดั เจนข้นึ 124

Leadership for Transcendence ผ้เู ข้ารว่ มแสดงความร้สู กึ ขอบคุณใหแ้ กก่ นั หลงั จากจบั คผู่ ลัดกนั เป็นโค้ชเพื่ อใหอ้ ีกฝ่ายได้ฝึก หลอมรวมญาณทศั นะของตนเองเขา้ กบั ฝ่ งั ของตรรกะเหตุผล 125



การอบรมวนั ท่ี 3 หลกั การของญาณทัศนะและ จรยิ ธรรมในการใชญ้ าณทศั นะ ในการอบรมวันที่สาม ผู้เข้าร่วมได้เรียนรู้สองหลักการสุดท้ายของ ญาณทัศนะ ได้แก่ การล่ืนไหล (Flow) และการสะท้อน (Reflection) รวมถึงจริยธรรมในการใช้ญาณทัศนะ ซ่ึงวิกรัมได้อธิบายถึงส่ิงที่ควรพึงระวัง เกี่ยวกับการใช้ญาณทัศนะหรือแนวทางปฏิบัติในการน�ำญาณทัศนะไปใช้ใน ชวี ติ ประจ�ำวัน หลักการท่ี 5 การลื่นไหล (Flow) วกิ รมั กลา่ ววา่ หลกั การลน่ื ไหล (Flow) คอื การทสี่ งิ่ หนง่ึ เคลอื่ นทจ่ี ากทห่ี นง่ึ ไปยงั อกี ทห่ี นงึ่ การทญี่ าณทศั นะมลี กั ษณะเปน็ คลนื่ พลงั ญาณทศั นะจงึ สามารถ เลื่อนไหลได้เหมือนกับน้�ำ ต่างกันตรงท่ีน�้ำน้ันที่ไหลไปยังที่ต่าง ๆ จากที่สูง สทู่ ตี่ ำ�่ แตญ่ าณทศั นะนนั้ ไหลไปในทท่ี ม่ี ี “เจตนา” และเราไมจ่ ำ� เปน็ ตอ้ งควบคมุ ญาณทศั นะ เพราะญาณทศั นะมีทศิ ทางที่เปน็ ธรรมชาติของตวั เอง 127

ภาวะการนำ� เพื่อการข้ามพ้น กิจกรรมสัมผสั การลน่ื ไหล สุธาได้น�ำกิจกรรมที่ช่วยสะท้อนหรือท�ำให้เห็นภาพของหลักการท่ี 5 เรื่องการล่ืนไหลได้มากย่ิงข้ึน และยังช่วยให้ผู้เข้าอบรมคุ้นเคยกับสถานที่ เนื่องจากมีการเปลี่ยนห้องท่ีใช้ในการอบรม เธอกล่าวว่าเม่ือท่ีเราเปล่ียน สถานท่ีในการท�ำกิจกรรมใด ๆ เราควรเข้าไปเช่ือมโยงพลังงานให้สอดคล้อง กบั สถานท่ีใหมด่ ้วย โดยสุธากล่าวนำ� กระบวนการดงั น้ี “ขอให้เดินไปรอบ ๆ ไม่ตอ้ งมองหน้าเพื่อน แตใ่ หม้ องสถานที่ ขยับแบบ เร็ว ๆ ด้วยความเงียบ เดินแบบไม่สนใจผู้อื่น เดินอย่างวุ่นวายแต่มีพลัง ลองสัมผัสถึงใจทเี่ ต้น เรว็ ขนึ้ เรว็ ขึน้ อกี หยุด หายใจเข้า หายใจออก ผ่อนคลาย หลับตา น่ีเป็นวันท่ีดี ช่างงาม เหลือเกิน มีหลายส่ิงที่จะต้องท�ำ แต่ฉันก็มีเวลามากพอท่ีจะท�ำสิ่งเหล่านี้ เช่นกัน และฉันก�ำลังจะไปพบเพ่ือนท่ีแสนดีของฉัน เป็นคนท่ีวิเศษเหลือเกิน ฉันรสู้ กึ ถึงความสงบและความรนื่ รมยท์ ่ีจะได้พบกัน ถา้ พรอ้ มแล้วให้ลืมตา มองไปรอบ ๆ ห้อง มองตาเพ่ือน ๆ แล้วเดินดว้ ย ความสงบ สนกุ รน่ื รมยอ์ ยใู่ นการเดนิ ทกุ ยา่ งกา้ ว อาจทกั ทายกนั ดว้ ยความสดใส สง่ ผา่ นความรา่ เรงิ จากเราไปสเู่ พอื่ น สอื่ สารผา่ นสายตา สมั ผสั ถงึ ปจั จบุ นั ขณะ ของเพ่อื นคนนน้ั ค่อย ๆ กลับมาอยู่กับตัวเอง กลับมาท่ีน่ังของเรา อาจจะเป็นท่ีน่ังใหม่ท่ี เรยี กหาเรา หรอื จะใชญ้ าณทัศนะของเราสัมผัสถงึ ท่ที ่เี รยี กเราเขา้ ไปนัง่ ” จากกิจกรรมน้ี ผู้เข้าร่วมในห้องเคล่ือนท่ีไปมา ซ่ึงอาจเหมือนเดินอย่าง ไร้ทิศทางหรอื ไร้ระเบยี บ แต่หากพจิ ารณาดี ๆ แล้ว ทศิ ทางท่ีเดินไปมานน้ั มี ความสอดคลอ้ งบางอยา่ งกบั ผเู้ ขา้ อบรมแตล่ ะคน และพลงั งานโดยรวมของกลมุ่ ผเู้ ขา้ อบรมในหอ้ ง เชน่ เดยี วกบั ญาณทศั นะทเ่ี ลอ่ื นไหลไปมาได้ มที ศิ ทางทเี่ ปน็ ธรรมชาตขิ องตวั เอง แตข่ ณะเดียวกนั ก็ไหลไปในทีท่ ีม่ ีเจตนา 128

Leadership for Transcendence กจิ กรรมการเชอ่ื มโยงกบั วยั เดก็ หลงั จากกจิ กรรมสมั ผสั การลน่ื ไหล ผเู้ ขา้ อบรมกลบั ไปยงั ทนี่ งั่ และฝกึ เขา้ ไป เชอื่ มโยงกบั วัยเดก็ ของตนเอง โดยมีสธุ าเป็นผนู้ �ำกระบวนการ “กลับมาอยู่กับเน้ือกับตัวของเรา วางฝ่ามือบนเข่า ค่อย ๆ หลับตาลง รบั รูถ้ งึ ฝา่ เทา้ ท่สี มั ผสั พื้น หายใจเขา้ ลกึ และยาว หายใจเขา้ หายใจออก อนญุ าตใหค้ วามคดิ เขา้ มาและออกไป คอ่ ย ๆ เขา้ ไป สมั ผสั ถงึ ความเงยี บภายใน คอยสงั เกตความคดิ ทผี่ า่ นมาและผา่ นไปเหมอื นกบั กำ� ลังดูภาพยนตร์สักเร่ือง หายใจเขา้ หายใจออก รบั รถู้ งึ ความรสู้ กึ ของการขอบคณุ ตวั เราเอง ขอบคณุ กายของเราทชี่ ว่ ยประคบั ประคอง สนบั สนนุ ความคดิ ของเรา และชว่ ยทำ� ใหเ้ รา เคล่ือนท่ีเดนิ ทาง สัมผัสความเป็นหนึ่งเดยี วกบั กายนีข้ องเรา กล่าวค�ำขอบคุณครอบครัวของเรา ส่งผ่านความรักของเราให้พวกเขา ให้ลูกหลาน คนรอบข้าง รวมถึงคนท่ีดูแลพ่อแม่ของเรา คู่ครองของเรา ส่งผ่านความรักของเราให้กับพ้ืนที่รอบ ๆ ส่งผ่านความรักในที่ท่ีเราท�ำงาน ส่งผ่านความรักของเราให้กับทุกคนท่ีผ่านเข้ามาในชีวิต และทุกสถานการณ์ ที่เราพบเจอ ทั้งผู้คนหรือสถานการณ์ท่ีน�ำพาความสุขและรอยย้ิมมาให้ กับเรา และผู้คนหรือสถานการณ์ที่เข้ามาเป็นความท้าทาย เพราะท�ำให้ พวกเราเตบิ โต ส่งผ่านความรักของเราขยายออกไปให้กับโลกและจักรวาลน้ี และน�ำพา ความรักของเรากลับมาโอบอุ้มใจของเราเอง เพราะส่ิงท่ีเราให้ออกไปจะหวน คืนกลับมามอบให้เรา สัมผัสถึงใจของเราที่เต็มไปด้วยพลัง ความรัก และ ความรู้สึกขอบคุณ สัมผัสถึงการไหลผ่านของความรักในทุกส่วนเสี้ยวในกาย ของเรา ขอบคุณทุกสว่ นเส้ียวในกายของเรา ด้วยพลังงานน้ี น�ำพาเรากลับไปเยี่ยมตัวเราเองในวัยเด็ก ท่ีก�ำลังว่ิง และหัวเราะอย่างสนุกสนาน หรือบางคร้ังร้องไห้งอแง อยากได้ส่ิงต่าง ๆ 129

ภาวะการน�ำเพื่อการข้ามพ้น ผเู้ ขา้ อบรมวาดภาพทีผ่ ดุ ขึน้ มาในความคดิ ระหวา่ งทีท่ �ำกิจกรรมเชือ่ มโยงกับวยั เดก็ 130

Leadership for Transcendence หรือก�ำลังแกล้งคนอ่ืนอยู่ ท�ำตัวเหมือนลูกพ่ีใหญ่ ก�ำลังปีนป่ายต้นไม้อยู่ วิ่งในทุ่งหญา้ กวา้ งใหญ่ พอ่ แม่ ปู่ย่าตายายวง่ิ ไล่ตาม หรอื อาจจะเรียกเราดวั ย เสยี งดัง ๆ และดูแลเราดว้ ยความรัก ใครทีเ่ ขา้ มาทำ� ใหช้ วี ิตเรายุ่งยาก หรือ ใครทด่ี กี บั เราเหลอื เกนิ ลองดวู า่ มภี าพหรอื สอี ะไรขนึ้ มาบา้ ง จำ� ถงึ ความรสู้ กึ ท่ี เราหวั เราะ หรอื กำ� ลังซุกซนอยู่ หลงั จากน้นั ค่อย ๆ ลมื ตาขึ้น” หลังจากนั้นสุธาให้ผู้เข้าอบรมวาดรูปลงในกระดาษ เขียนภาพท่ีเห็น หรือแวบข้ึนมาในระหว่างการท�ำกิจกรรมน้ี อาจเป็นภาพท่ีน�ำมาซ่ึงความสุข สนกุ สนาน และมพี ลังในชวี ติ หรอื อาจเปน็ เพลงหรือบทกวกี ไ็ ด้ เม่ือวาดรูปเสร็จเรียบร้อย สุธาให้ผู้เข้าร่วมอบรมหลับตาลงอีกครั้งแล้ว นึกถึงเหตุการณ์ในปัจจุบันท่ีเกี่ยวกับตนเอง ครอบครัว หรืองาน ซึ่งเป็น สถานการณ์ยากล�ำบาก ท�ำให้รู้สึกเจ็บปวด กลัว โกรธ หรือรู้สึกว่าอยู่เหนือ การควบคุม รู้สึกส้ินหวังหมดหนทาง ราวกับไม่มีใครบนโลกสามารถ ช่วยได้ หลังจากน้ันลืมตาข้ึน แล้วให้ผู้เข้าอบรมเขียนเล่าเหตุการณ์ท่ีนึกถึง ลงบนกระดาษ หลังจากผู้เข้าร่วมอบรมเขียนเสร็จแล้ว สุธาให้หลับตาลงอีกคร้ัง กลับมา อยกู่ บั ตนเองและลมหายใจ จากนน้ั เขา้ ไปสมั ผสั ถงึ แรงสน่ั สะเทอื นอกี ดา้ นหนง่ึ สมั ผสั ถงึ ความงาม ความร้สู ึกขอบคุณ เม่ือสัมผัสได้แล้ว ผู้เข้าอบรมลืมตาแล้วหยิบภาพความทรงจ�ำในวัยเด็ก ท่ีได้วาดไว้ก่อนหน้าน้ีข้ึนมา แล้วเข้าไปสัมผัสถึงพลังงานหรือญาณทัศนะ หรือข้อมูล เป็นการใช้พลังงานในวัยเด็กเพื่อตอบค�ำถามเรื่องราวในปัจจุบัน อันน่าเจ็บปวดท่ีเพ่ิงจะเขียนไว้ ค่อย ๆ อนุญาตให้สองเรื่องนี้มาเช่ือมต่อกัน แล้วเข้าไปสัมผัสภายในตนเองว่ามีความคิด บทเพลง บทกวี หรือค�ำพูดใด ท่ีผดุ ขน้ึ มาบา้ ง แลว้ เขียนออกมา สีมากล่าวว่า “ลองเข้าไปสัมผัสญาณทัศนะ และสัมผัสถึงเด็กคนน้ันที่ อย่ใู นรปู วาด ถ้าเขาจะเข้ามาแก้ปญั หาเร่ืองน้ี เขาอยากจะท�ำอะไร เขาจะนำ� ความกลา้ หาญใดออกมาเพอ่ื ดแู ลเรือ่ งน้ี” 131

ภาวะการน�ำเพื่อการขา้ มพ้น หลังจากนั้นผู้เข้าอบรมได้จับคู่แบ่งปันเร่ืองราวกัน เล่าปัญหาที่เผชิญ ในปัจจุบัน เพื่อให้คู่ของตนเองเข้าถึงญาณทัศนะ แล้วบอกเล่าสิ่งท่ีผุดข้ึนมา ให้อีกฝา่ ยฟัง หลงั จากแตล่ ะคผู่ ลดั กนั เลา่ เรอื่ งและเขา้ ถงึ ญาณทศั นะแลว้ ผเู้ ขา้ อบรมกลบั เข้ามาน่งั ร่วมกันในวงใหญ่และแบ่งปนั ประสบการณ์ท่ไี ด้รับดงั นี้ ผู้เข้าร่วม : ระหว่างจับคู่อธิบายภาพของตัวเองกับคู่ของเรา เม่ือเห็นรูป และฟงั เรอ่ื งราว มบี างจงั หวะทเี่ ขา้ ไปรว่ มรบั รคู้ วามรสู้ กึ ทคี่ ขู่ องเราเลา่ แลว้ รสู้ กึ ส่ันไหวตามไปด้วย บางจังหวะเสียงข้างในของตนเองก็ท�ำงาน พอได้แบ่งปัน ออกไปแลว้ ร้สู กึ โล่ง ผ่อนคลาย และอบอนุ่ ตามไปดว้ ย พอได้สะทอ้ นออกไป แล้วเขาสะท้อนส่ิงที่เราพูดกลับมา ข้างในเขาเปล่ียน ข้างในเราก็เปลี่ยนไป ดว้ ยเช่นกนั ผ้เู ข้าร่วม : พอพี่เขาอธิบายภาพวัยเดก็ และเร่อื งในปัจจบุ ันให้ฟัง ระหวา่ ง น้ันก็มีภาพข้ึนมาในหัวตัวเอง พอพ่ีเขาพูดจบ เราก็แชร์เยอะมาก ซึ่งปกติจะ เปน็ คนคดิ เยอะ แตร่ อบนเ้ี หมอื นไมไ่ ดใ้ ชส้ มอง แตม่ นั ไหลออกมา พอเราเลา่ จบ พ่เี ขากบ็ อกวา่ สิ่งท่ีเราพดู ตรงกับส่งิ ท่พี เ่ี ขาก�ำลงั ทำ� อยู่ ผู้เข้าร่วม : ตอนเข้าไปสัมผัสความรู้สึกเป็นเด็ก รู้สึกสนุกและมีพลังมาก เพื่อนแกล้งเราบ้างเราแกล้งเพ่ือนบ้าง สนุก ข�ำ กรุ้มกร่ิม หัวเราะ เป็นส่ิงที่ เรียบง่ายแต่มพี ลงั มาก ผู้เข้ารว่ ม : กิจกรรมนีอ้ าจสะทอ้ นว่า เราก็เคยมีความสนุก มเี สียงหัวเราะ น่าคิดว่าอะไรที่ท�ำให้เราในวัยผู้ใหญ่มีสิ่งเหล่านี้น้อยลง ที่จริงเราไม่ได้ขาด ความคิดสรา้ งสรรค์ แต่เราแค่ห่างกบั มันไป มีนักคดิ คนหน่ึงบอกวา่ ทจ่ี รงิ แล้ว เราไมต่ อ้ งพฒั นาตนเองใหเ้ กดิ ความคดิ สรา้ งสรรค์ มนั มอี ยแู่ ลว้ ในตวั เรา เราแค่ ลืมมนั ไป คลา้ ยญาณทัศนะทอ่ี ยใู่ นตัวเรา แคร่ อให้เราไปคน้ เจอ ค่อย ๆ แกะ มันออกมา ผู้เข้าร่วม : เมอื่ ไม่กว่ี นั นี้ ลูกของผมไมอ่ ยากท�ำอะไรสักอยา่ ง ผมถามว่า ท�ำไม ใจผมอยากให้เขาเรียบเรยี งคำ� พูดได้ ว่าท�ำไมเขาคดิ แบบน้ี พยายามไป 132

Leadership for Transcendence บีบคั้น แต่เขาก็บอกออกมาไม่ได้อยู่ดี ท�ำให้ผมคิดถึงตอนที่วิกรัมบอกว่าเรา ทุกคนมญี าณทัศนะ แต่มันคอ่ ย ๆ หายไป เพราะการเลี้ยงดหู รือสังคม ท�ำให้ ผมนกึ ถงึ ตัวเองว่าผมเองเปน็ คนท่ีท�ำให้ญาณทศั นะในตัวเด็กหายไป สุธากล่าวปิดท้ายว่ากิจกรรมนี้เป็นการปลดปล่อยพลังของวัยเด็กออกมา เพราะหลายคร้ังในชีวิตเราไม่สามารถปลดปล่อยพลังงานได้ตามท่ีต้องการใน วัยท่ีเป็นผู้ใหญ่ คล้ายกับว่ามีบางส่ิงบางอย่างก้ันเอาไว้ เมื่อเรารู้สึกติดขัดกับ สถานการณ์หน่ึง ถ้าหากเราฝึกกลับไปเช่ือมโยงกับวัยเด็ก ลองคิดและรู้สึก แบบเด็ก หรอื มองสถานการณน์ ัน้ ดว้ ยสายตาของเด็ก แล้วปัญหาที่เราตดิ ขัด อย่อู าจแกไ้ ขได้งา่ ยยง่ิ ขึ้น หลักการท่ี 6 การสะทอ้ น (Reflective) หลังจากที่ได้เรียนรู้เก่ียวกับหลักการของการล่ืนไหล (Flow) ไปแล้ว วิกรัมได้อธิบายหลักการสุดท้ายของญาณทัศนะคือ การสะท้อน หลักการ นี้เก่ียวข้องกับคล่ืนพลัง วิกรัมกล่าวว่าถ้าหากเราเชื่อว่าญาณทัศนะอยู่ใน ระบบปัญญาร่วมท่ีย่ิงใหญ่ท่ีสุดท่ีคนเรามีร่วมกัน ญาณทัศนะก็เปรียบเสมือน ประตูเปิดสู่สิ่งอื่น เขากล่าวว่า “การท่ีผมได้รับญาณทัศนะแล้วส่งให้กับคุณ คือการท่ีผมเข้าถึงความเป็นตัวผมในตัวคุณ ในทางกลับกัน การที่คุณได้ให้ ญาณทัศนะของคุณแก่ผม มันคือการช่วยให้ผมเข้าใจความเป็นผมในตัวคุณ ดว้ ย” ในแง่น้ี วิกรัมมองวา่ ญาณทัศนะมิได้เปน็ ของใครคนใดคนหนึง่ แต่อยู่ ในสนามพลังทเี่ ชอ่ื มโยงถึงทกุ คน ดงั น้ัน ส่ิงทีเ่ กดิ ขึน้ กับตวั เรา จะสะท้อน ถงึ ส่งิ ทอ่ี ยใู่ นสิ่งอื่นซึ่งสมั พนั ธ์เชื่อมโยงถงึ กนั ดว้ ย 133

ภาวะการน�ำเพื่อการขา้ มพ้น แบบฝึกหัดการสะท้อน ผู้เข้าร่วมอบรมได้เรียนรู้เกี่ยวกับการสะท้อนจากการท�ำกิจกรรมเชื่อม รวมกบั การเยยี วยาเพอื่ เขา้ ใจวา่ การเยยี วยาจะชว่ ยเรอื่ งญาณทศั นะไดอ้ ยา่ งไร โดยสธุ าใหผ้ เู้ ขา้ รว่ มจบั คแู่ ลว้ นง่ั หนั หนา้ เขา้ หากนั แลว้ กลา่ วถอ้ ยคำ� เพอื่ นำ� เขา้ สแู่ บบฝกึ หัดการสะท้อนดังน้ี “มองตาคู่ของเราและด�ำรงอยู่ในความเงียบ เข้าไปสัมผัสถึงความรู้สึก เศร้า เจ็บปวด ความทุกข์ เข้าไปรับรู้สิ่งเหล่าน้ีแล้วค่อย ๆ ปลดปล่อย สิ่งเหล่าน้ีออกไป อนุญาตให้หัวใจตนเองเปิดรับและช�ำระล้างความเจ็บปวด ความลำ� บากในชว่ งชวี ติ ทผ่ี า่ นมา อนญุ าตใหอ้ กี ฝง่ั ไดส้ มั ผสั ชว่ งเวลายากลำ� บาก นั้น ผา่ นสายตาของตนเอง ถ้ามนี ้ำ� ตากใ็ ห้ปลดปล่อยความรู้สึกข้างในออกมา อนุญาตให้เรามีน�้ำตาไหลออกมาได้ มองตาคขู่ องเรา สมั ผสั ดวงจติ อกี ดวงหนง่ึ ทจ่ี ะมาชว่ ยเราในขณะน้ี นำ� พา คนขา้ งหนา้ ทอี่ ยกู่ บั เรา เขา้ มาในดวงจติ สมั ผสั ถงึ ใจของเราทกี่ ำ� ลงั ขยายใหญข่ น้ึ สัมผัสถึงการให้อภัยต่อทุกคนและทุกเหตุการณ์ที่เข้ามาแล้วค่อย ๆ ปล่อย การใหอ้ ภยั นี้ออกไป บางค่ทู จี่ บั มือกันอยู่ ลองเข้าไปรบั รู้อีกฝง่ั หนึง่ ไมจ่ �ำเป็น ตอ้ งเอย่ เปน็ คำ� พูดออกมา แต่สามารถรับร้ไู ด้ เราสามารถน�ำพาการสนบั สนนุ ชว่ ยเหลอื ของเรามา ณ ทนี่ ไ้ี ดโ้ ดยผา่ นสายตาของเรา เขา้ ไปรบั รคู้ วามเจบ็ ปวด เข้าไปรับรู้เด็กน้อยของคนข้างหน้าเรา และที่อยู่ภายในตัวเรา ตอบรับทุก ๆ ความรู้สกึ ทก่ี �ำลงั ผดุ ขนึ้ มา การใหอ้ ภัยคือการเยียวยา ปราศจากความรู้สกึ ผิด ปราศจากการกลา่ วโทษ ค่อย ๆ ปล่อยการอภยั น้อี อกไป ถา้ พรอ้ มแลว้ ใหห้ ลบั ตา คอ่ ย ๆ เขา้ ไปสมั ผสั อยา่ งแผว่ เบาถงึ ลมหายใจของเรา หายใจเขา้ หายใจออก สมั ผสั ถงึ ลมหายใจทก่ี ำ� ลงั ไหลผา่ นทกุ เสยี้ วสว่ นในรา่ งกาย ของเรา ลมหายใจทเี่ สรมิ พลงั ภายใน เยยี วยา และนำ� พาซงึ่ ความสงบภายในเรา แม้อาจมีความคิดแวบขึ้นมา เราก็ยังหายใจผ่านกายของเรา ให้ลมหายใจนั้น นำ� พาการเยียวยาเข้ามาสูเ่ รา ถา้ กำ� ลังจบั มอื กนั อยู่ ค่อย ๆ น�ำพามือของเรา กลับมาวางบนกายของเราตรงจุดที่รู้สึกสบาย อาจเป็นท่ีท้อง หัวใจ ศีรษะ 134

Leadership for Transcendence ผู้เข้ารว่ มจับคู่กันเรยี นรเู้ กีย่ วกับหลกั การสะทอ้ น 135

ภาวะการนำ� เพื่อการขา้ มพ้น ดวงตา หู ลำ� คอ ไหล่ ทอ้ งนอ้ ย ตน้ ขา เทา้ เลอื กบรเิ วณทเ่ี ราสมั ผสั ไดว้ า่ ตอ้ งการ ความใสใ่ จและพลงั งาน อนญุ าตใหต้ นเองและลมหายใจของเราเคลอ่ื นมาสมั ผสั จดุ น้ัน เขา้ ไปสมั ผัสตัวเราเอง และเมตตาต่อพ้นื ท่ีน้นั เมื่อพร้อมแล้วน�ำพามือของเรามาที่หัวใจ เพื่อให้หัวใจได้สัมผัสพลังงาน ให้หัวใจมีความกล้าหาญ มีความแข็งแกร่ง มีความรัก มีการรับรู้ค�ำขอบคุณ และสามารถกลา่ วขอบคณุ ทกุ สง่ิ บนโลก เราอาจขอบคณุ ประสบการณข์ องเรา ท่ผี ่านมา ประสบการณเ์ หล่านที้ �ำใหเ้ ราได้เรยี นรบู้ างอย่าง ลองเปดิ จกั ระตรง หวั ใจของเรา และอนุญาตให้พลงั ไหลผ่านเข้ามาภายใน เมื่อพร้อมแล้ว ค่อย ๆ ลืมตาและมองคู่ของเราด้วยความเงียบ ดว้ ยความรกั ทมี่ ากลน้ ดว้ ยความใสใ่ จ และมองเขา้ ไปในตาคขู่ องเรา คณุ จะได้ เหน็ บางอยา่ งท่งี ดงามภายในนั้น เป็นภาพของคณุ เอง เข้าไปรับรวู้ ่าคูข่ องเรา ได้สะท้อนภาพของเรา รู้สึกขอบคุณ ว่าพระเจ้า(หรือสิ่งที่ย่ิงใหญ่กว่าตนเอง) ไดใ้ หอ้ ะไรมากมายกบั ผู้คนรอบตวั เรา ชว่ ยเหลอื เราในทกุ วนั เข้าไปรับรูเ้ พอื่ น ที่อยู่ตรงหน้าของเรา จับมือกัน กล่าวว่าขอบคุณมากที่ได้อยู่ตรงน้ีและเป็น ตัวแทนให้กับโลกและจักรวาลน้ี และขอบคุณที่อนุญาตให้ฉันได้เห็นตัวของ ฉันเอง เพราะการได้เหน็ ตนเองอย่างจริงแท้ ท�ำให้ฉนั ได้รับการเยียวยา” การฝกึ กจิ กรรมเกี่ยวกบั หลกั การสะท้อน (Reflect) นี้ ผู้เข้าร่วมอบรมได้ ส่ือสารและสะท้อนกันไปมา ผู้เข้าร่วมแบ่งปันมุมมองจากการฝึกการสะท้อน ว่า “การสะท้อนน้ีไม่ใช่เพียงการสะท้อนคนตรงหน้าเรา แต่คือการสะท้อน กลับมาเหน็ ตนเองด้วย เปน็ การสะทอ้ นซึ่งกนั และกัน” จริยธรรมในการใช้ญาณทัศนะ หัวข้อสุดท้ายของการเรียนรู้ในหลักสูตรการน�ำด้วยญาณทัศนะ คือ จริยธรรมในการใช้ญาณทัศนะ ซึ่งกล่าวถึงส่ิงที่ควรพึงระวังเก่ียวกับการใช้ ญาณทัศนะหรือแนวทางปฏิบัติในการน�ำญาณทัศนะไปใช้ วิกรัมกล่าวจาก 136

Leadership for Transcendence ประสบการณ์ของเขาว่า ส่ิงท่ีน่ากลัวท่ีสุดในการใช้ญาณทัศนะคืออัตตาของ เขาเอง ซ่ึงการปฏิบัติตามหลักการเหล่าน้ีท�ำให้เขาถ่อมตัวได้ และท�ำให้ ญาณทศั นะทเี่ ข้ามามีประสทิ ธภิ าพมากขน้ึ แนวทางการปฏบิ ัติในการนำ� ญาณทัศนะไปใชม้ ีทัง้ หมด 6 แนวทาง ได้แก่ แนวทางแรก คอื เมอื่ ตอ้ งการใชญ้ าณทศั นะกบั ผอู้ น่ื ควรไดร้ บั การอนญุ าต จากบคุ คลผนู้ นั้ กอ่ น เพราะการใชญ้ าณทศั นะมใิ ชก่ ารลว่ งลำ�้ แตเ่ ปน็ การเปดิ รบั และการต้อนรับ หากใช้ญาณทัศนะโดยได้รับการอนุญาตจะมีคุณูปการ มากกว่า แม้เราจะมีทักษะในการอ่านพลังงานหรืออ่านญาณทัศนะ แต่ไม่ได้ หมายความว่าเรามีสิทธิอ่านพลังงานของทุกคน เราจะใช้ทักษะน้ีต่อเม่ือมี สถานการณ์ท่ีควรใช้ และก่อนใช้ควรขออนุญาตก่อนเสมอ เพ่ือท�ำให้เกิด ความไว้วางใจและซอ่ื ตรงตอ่ กนั และกัน แนวทางที่สอง คือ การรู้เท่าทันความคิดที่ปนกับญาณทัศนะของ ตนเอง เนื่องจากในบางคร้ังความคิดของเราจะแสร้งท�ำตัวเป็นญาณทัศนะ มนุษยม์ กั มคี วามคดิ เชงิ ตดั สนิ ว่า ดหี รอื ไมด่ ี ชอบหรอื ไม่ชอบ เวลาทเ่ี ราเสนอ ญาณทัศนะของเราใหก้ บั ใครก็ตาม เราไม่ควรจะบบี ค้ัน ยนื หยัด หรอื ยดั เยียด ว่าญาณทัศนะของเราคือสัจจะ ส่ิงส�ำคัญคือเราต้องศรัทธาในปัญญาของ คนอื่นด้วย ถ้าหากคนท่ีเราให้ญาณทัศนะได้รับฟังญาณทัศนะของเราแล้ว บอกวา่ ญาณทศั นะนใี้ ชห่ รอื ไมใ่ ช่ เรากค็ วรเคารพและยอมรบั ตามทเี่ ขาพจิ ารณา แนวทางที่สาม คือ การเปิดใจและสนใจใคร่รู้ตลอดเวลา เน่ืองจาก ความรู้ท่ีเราทราบอยู่แล้วอาจมาขวางทางญาณทัศนะท่ีบริสุทธิ์ได้ แม้ว่า ความรู้จะเป็นสิ่งที่ดีและควรให้คุณค่า แต่ในยามท่ีเราเปิดรับญาณทัศนะ เราควรจะวางความรไู้ วส้ กั ครู่ เพอ่ื คน้ หาวา่ มีสง่ิ อ่นื ใดอีกบา้ งทเี่ รายังไม่รู้ แนวทางทส่ี ่ี คอื การแลกเปลย่ี นการเปดิ รบั ญาณทศั นะทงั้ สองฝง่ั การเปน็ ทงั้ ผใู้ หแ้ ละผรู้ บั ญาณทศั นะเปน็ สง่ิ สำ� คญั เนอ่ื งจากญาณทศั นะเปน็ เรอื่ งสากล 137

ภาวะการน�ำเพื่อการข้ามพ้น (Universal) หากเราหยิบย่ืนญาณทัศนะให้คนอื่นแล้ว เราก็ควรเปิดรับ ญาณทศั นะจากบคุ คลทเี่ ราหยบิ ยนื่ ญาณทศั นะใหเ้ ขาดว้ ย ทำ� ใหเ้ ขารบั รวู้ า่ เขา มคี วามสามารถเขา้ ถงึ ญาณทัศนะของเขาไดเ้ ช่นกนั แนวทางที่ห้า คือ การฝึกใช้ญาณทัศนะอย่างสม่�ำเสมอ ส�ำหรับวิกรัม แนวทางน้ีเป็นแนวทางท่ีส�ำคัญท่ีสุด เพราะไม่มีทางลัดไปมากกว่าน้ีแล้วใน การใช้ญาณทัศนะให้เกิดประโยชน์ ย่ิงเราฝึกเข้าถึงญาณทัศนะบ่อยคร้ังขึ้น เทา่ ใดกจ็ ะยงิ่ เห็นผลมากขน้ึ เท่านน้ั และท�ำใหค้ ้นพบว่ามีอีกหลายส่ิงเก่ยี วกบั ญาณทศั นะท่เี ราสามารถเรียนรแู้ ละพฒั นาขึน้ ได้อกี แนวทางทห่ี ก คอื หลงั จากฝกึ ใชญ้ าณทศั นะทกุ ครง้ั ควรทำ� การกราวดงิ (Grounding) หรือการช�ำระล้างสู่พ้ืน ซึ่งได้กล่าวถึงความส�ำคัและวิธีการ ทำ� ในวนั แรกแลว้ ค�ำถามท่นี ่าสนใจเกย่ี วกบั ญาณทศั นะ ผ้เู ขา้ รว่ ม : คณุ จะอธบิ ายเก่ียวกบั ญาณทศั นะอยา่ งไร ในเม่ือญาณทัศนะ ไมม่ ภี าษา และภาษาพดู เกดิ ข้ึนหลังจากท่ีคนเรามญี าณทศั นะ? วกิ รมั : ญาณทัศนะเปน็ ประสบการณท์ ่ีเกดิ ขึ้นกบั เรา คล้ายกบั การทเี่ รา ได้พบกับเหตุการณ์ที่มีความเข้มข้นสูงก่อน แล้วเราจึงอธิบายได้ในภายหลัง คนอาจเข้าใจเร่ืองนี้เมื่อถึงจุด ๆ หน่ึงที่ได้มีประสบการณ์ตรงกับตนเองแล้ว การช่วยให้คนเข้าใจญาณทัศนะมากข้ึน อาจท�ำได้โดยการช่วยให้เขามี ประสบการณต์ รงมากกวา่ การพยายามอธบิ ายว่าญาณทัศนะคอื อะไร คณุ อาจอยใู่ นสภาวะทเ่ี ขา้ ถงึ ญาณทศั นะแลว้ แตว่ า่ ผคู้ นรอบ ๆ ตวั คณุ อาจ ยังเขา้ ไมถ่ งึ ซ่งึ เปน็ สิง่ ที่เกดิ ข้ึนได้ หากเป็นเชน่ น้นั คุณอาจตอ้ งฝึกความอดทน จากประสบการณ์ของผมในช่วงแรกท่ีสามารถเข้าถึงญาณทัศนะได้ ผมรู้สึก 138

Leadership for Transcendence ต่ืนเต้นและอยากแบ่งปัน แต่ก็รู้ดีว่าคนอ่ืนอาจยังไม่พร้อมท่ีจะรับรู้ ถึงแม้ว่า ประสบการณ์เกี่ยวกับญาณทัศนะจะเป็นประสบการณ์ที่จริงแท้เพียงใด ส�ำหรับผมก็ตาม เม่ือถึงจุดหนึ่งท่ีเราเติบโตข้ึน และตื่นเต้นกับญาณทัศนะ ที่เราได้รับน้อยลง รวมถึงสามารถจัดการกับญาณทัศนะได้อย่างเหมาะสม เมอื่ นน้ั โลกทอ่ี ยรู่ อบ ๆ ตวั เรากจ็ ะเลกิ ฉงนหรอื สบั สนไปดว้ ย และจะเรมิ่ ยอมรบั ประสบการณญ์ าณทศั นะของเรามากขน้ึ คำ� ถามท่ผี มอยากให้กบั ทกุ คนคอื เราพร้อมทยี่ อมรบั ว่าญาณทัศนะน้เี ปน็ ธรรมชาตทิ ่ีมีอยู่ตวั เราทุกคนหรอื ไม่ ถ้าเรายอมรบั โลกรอบ ๆ ตวั เราก็จะเรม่ิ ยอมรบั ไปด้วยและเกดิ เปน็ การเดินทางท่ีงดงาม ผเู้ ข้ารว่ ม : ญาณทศั นะเปน็ ไปในทางทไ่ี มด่ ีได้หรือไม่? วกิ รมั : หากเราถอื วา่ ญาณทศั นะคอื การเปดิ ประตู เราตอ้ งปลดลอ็ กประตู กอ่ น เราจะเปิดประตเู พื่อชว่ ยคน หรือหาผลประโยชน์จากคนอื่นกไ็ ด้ เจตนา คือตวั ส�ำคัญ หากเรามีเจตนาทำ� เพื่อตนเองซงึ่ ถอื เป็นเจตนาท่คี ับแคบ เรากจ็ ะ เขา้ ถงึ ญาณทศั นะในระดบั ทแ่ี คบ ๆ เทา่ นน้ั ตา่ งจากการตง้ั เจตนาในการเขา้ ถงึ ญาณทศั นะเพอื่ ชว่ ยผอู้ นื่ หรอื เพอื่ สง่ิ ทยี่ ง่ิ ใหญก่ วา่ ตวั เรา ทท่ี ำ� ใหเ้ ราเขา้ ถงึ แหลง่ ทรพั ยากรทก่ี ว้างขวางกว่ามาก หากพิจารณาจากระดับคลื่นพลัง (Vibrational Level) ถ้าเจตนาของ เราไปอยู่ในคล่ืนระดับของความกรุณาหรือการให้ ซึ่งเป็นคล่ืนในระดับสูง ญาณทศั นะจะมพี ลงั และมคี วามคมชดั มากกวา่ คลนื่ ระดบั ตำ�่ และญาณทศั นะ มักจะเข้ามาในเวลาท่ีเราไม่มีวาระส่วนตัว หรือมาในช่วงท่ีเรามีเจตนาของ การรับใช้เป้าประสงคท์ ีม่ ากกวา่ ตนเอง อยา่ งไรก็ตามเรามีสทิ ธ์ิทีจ่ ะฝึกตนเอง หรอื ใชเ้ จตนาของเราได้ในทกุ ๆ ระดบั ผู้เข้าร่วม : ช่องทางในการรับญาณทัศนะมีท้ังหมด 6 ช่องทาง ถ้าเรามี ชอ่ งทางหนึ่งที่ถนดั กวา่ เราจะใชช้ อ่ งทางอืน่ ๆ ทไ่ี มถ่ นัดได้ไหม และมีวธิ ฝี ึก อย่างไร? 139

ภาวะการน�ำเพื่อการข้ามพ้น วิกรัม : การเพิ่มประสิทธภิ าพของชอ่ งทางการรบั รู้ญาณทัศนะ นอกจาก การฝกึ บอ่ ย ๆ แลว้ เรายงั ตอ้ งใสใ่ จชอ่ งทางเหลา่ นดี้ ว้ ยความรกั มากขน้ึ “เจตนา ที่ดี” และ “ความใส่ใจที่เมตตา” เป็นแรงสองแรงท่ีมีพลังเป็นอย่างมากใน การท�ำให้ช่องทางต่าง ๆ ของเราเปดิ รบั ญาณทัศนะไดด้ ขี ึ้น ถ้าเราอยากจะเพ่ิมพลังให้แก่ช่องทางรับญาณทัศนะที่เกี่ยวกับความคิด เราอาจจะตอ้ งฝกึ จัดการกบั เสยี งความคิดในหวั และความกงั วลทั้งหลาย ถ้าเราอยากฝึกรับญาณทัศนะจากช่องทางความรู้สึกหรืออารมณ์ เราอาจฝึกกราวดิงเพ่ือให้เรามีความม่ันคงทางอารมณ์ หรือนั่งสมาธิให้จิตใจ ปลอดโปร่งจากอารมณท์ ้งั หลายทีเ่ ปน็ เรือ่ งสว่ นตวั ของเรา ถ้าเราอยากฝึกรับญาณทัศนะที่เข้ามาในฐานของร่างกาย เราอาจฝึกท�ำ บอดีสแกน (Body Scan) เพื่อเพ่ิมความรู้เน้ือรู้ตัว และพักผ่อนให้เพียงพอ รวมถงึ ใส่ใจดูแลอาการเหน่ือยล้าเร้ือรงั ในส่วนต่าง ๆ ของรา่ งกาย ถา้ เราอยากฝกึ รบั ญาณทศั นะจากชอ่ งทางการไดย้ นิ เสยี ง เราอาจฝกึ อยกู่ บั ความเงยี บ หาพนื้ ทสี่ งบใหก้ บั ตนเอง และฝกึ ฟงั เสยี งภายในใหล้ ะเอยี ดมากขนึ้ กฎทองของเรอ่ื งนคี้ อื เราควรหมนั่ ชำ� ระลา้ งชอ่ งทางการเขา้ ถงึ ญาณทศั นะ เหล่านี้ให้สะอาดด้วยการกราวดิง (Grounding) โดยอาจฝึกจากการถอด รองเท้ายืนบนหญ้า หรือนั่งเก้าอี้ วางเท้าแนบกับพ้ืน แล้วต้ังเจตนาถ่ายเท พลงั ในตัวเราลงสู่พื้น ศาสตรค์ วามร้ใู นเร่ืองจักระ ไท้เกก๊ ไอคิโด เรกิ เหล่านี้ ตา่ งมเี ทคนคิ การกราวดงิ ทง้ั สน้ิ นอกจากนี้ เทคนคิ การสา่ ยหรอื การเขยา่ รา่ งกาย ก็เป็นอกี วิธีหน่งึ ที่จะสลดั พลงั งานสว่ นเกินออกไป 140

Leadership for Transcendence 141

ภาวะการนำ� เพื่อการข้ามพ้น ญาณทศั นะ มไิ ด้เป็นของใครคนใดคนหนึ่ง แตอ่ ยู่ในสนามพลงั ท่เี ชอื่ มโยงถึงทุกคน ดังน้ัน สงิ่ ทีเ่ กดิ ขน้ึ กบั ตัวเรา จะสะทอ้ นถึงสงิ่ ที่อยู่ในสงิ่ อ่นื ซ่งึ สัมพันธ์เชือ่ มโยงถงึ กันด้วย 142

Leadership for Transcendence สรปุ ทา้ ยหลักสตู ร ในหลักสูตรหัวข้อการน�ำด้วยญาณทัศนะ ผู้เข้าร่วมได้เรียนรู้ เก่ียวกับความหมายและความส�ำคัญของญาณทัศนะท่ีช่วยส่งเสริม ภาวะผู้น�ำในแง่ของการน�ำปัญญาภายในมาเช่ือมรวมกับความรู้หรือ ตรรกะเหตุผลเพื่อให้สามารถจัดการหรือตัดสินใจในสถานการณ์ต่าง ๆ ได้ดีย่ิงขึ้น นอกจากนี้ ผู้เข้าร่วมได้เรียนรู้หลักการส�ำคัญท่ีเก่ียวกับ ญาณทศั นะ ไดแ้ ก่ ความเปน็ สากล (Universality) ความมชี วี ติ (Living) การสนั่ สะเทอื น (Vibrational) การหลอมรวมญาณทศั นะกบั เหตผุ ล (Integrative) การลนื่ ไหล (Flow) และการสะทอ้ น (Reflective) ควบคู่ ไปกับการฝึกปฏิบัติเพ่ือให้มีทักษะในการเข้าถึงญาณทัศนะ รวมถึงรับรู้ หลักปฏิบัติในการน�ำญาณทัศนะไปใช้ได้อย่างเหมาะสม 143



หลกั สตู รที่ 3 การน�ำด้วยเปา้ ประสงค์ ทางจติ วิญญาณ (Leading with Soul Purpose)



หลกั สตู รหวั ขอ้ “การนำ� ดว้ ยเปา้ ประสงคท์ างจติ วญิ ญาณ” เปน็ หลกั สตู รลำ� ดบั สดุ ทา้ ยในชดุ การอบรมเชงิ ปฏบิ ตั กิ ารภาวะ การน�ำเพ่ือการข้ามพ้น ในภาษาฮินดีมีค�ำว่า “สาธนา” ซึ่ง แปลวา่ “การตระเตรยี ม” การอบรมสองครง้ั ทผ่ี า่ นมาภายใตช้ ุด การอบรมเชิงปฏิบัติการภาวะการน�ำเพื่อการข้ามพ้น ได้แก่ การอบรมในหวั ขอ้ ภาวะการนำ� ทดี่ ำ� รงอยบู่ นขอบ และการนำ� ด้วยปัญญาญาณ เปรียบเสมือนการเตรียมเพ่ือให้เรามี ความพร้อมในการอบรมหลักสูตรสุดท้าย ในหัวข้อ การน�ำ ด้วยเป้าประสงค์ทางจิตวิญญาณ เพราะคุณภาพในการเดิน บนขอบและทกั ษะในการเขา้ ถงึ ญาณทศั นะตา่ งเกอ้ื หนนุ ใหเ้ รา คน้ พบและเดนิ ไปตามเสน้ ทางแหง่ เปา้ ประสงคท์ จี่ รงิ แทข้ องเรา ในการอบรมหลักสูตร “การน�ำด้วยเป้าประสงค์ทาง จิตวญิ ญาณ” น้ี คณุ วกิ รัม ภฏั ฏ์ ได้ใหเ้ กยี รติมาเปน็ วทิ ยากร หลักในการอบรมอีกครัง้ หนึง่ และมีคณุ สวุ ีร์ (Suvir Suresh Sabnis) ผู้ที่เป็นนักบ�ำบัดด้วยพลังงานมาเป็นวิทยากรร่วม รวมถึงมีคุณณัฐฬส วังวิญญู และคุณไพลิน จิรชัยสกุล รบั หนา้ ท่ีเปน็ ล่ามในการอบรมคร้งั น้ี



การอบรมวันที่ 1 การเข้าถึงเปา้ ประสงค์ ทจ่ี รงิ แท้ ในการอบรมวันแรก วิกรัมได้พาผู้เข้าอบรมกลับไปทบทวนประสบการณ์ ในชีวิตท่ีเช่ือมโยงกับการเข้าถึงเป้าประสงค์ ค้นหาเป้าประสงค์ของชีวิตผ่าน การเข้าถึงพลังงานในวัยเด็ก และใคร่ครวญค�ำถามส�ำคัญเพ่ือให้มองเห็น ความหมายของการด�ำรงอย่แู ละเป้าประสงคข์ องชีวิตได้กระจ่างชัดขน้ึ วิกรัมกล่าวว่า “ทุกคนบนโลกเกิดมาเพราะเสียงเรียก (Calling) เราควร หาให้เจอว่าเสียงเรียกนี้คืออะไร เวลาที่เราตัดสินใจเลือกท�ำงานบางอย่าง 149

ภาวะการน�ำเพื่อการขา้ มพ้น จะมีพลังงานทั้งท่ีมองเห็นและมองไม่เห็นเกื้อหนุนเราอยู่ ถ้าหากเราใช้ชีวิต ให้สอดคล้องกับพลังงานน้ันได้เม่ือใด การงานหรือชีวิตของเราจะเคลื่อนไป ข้างหน้าได้อย่างราบร่ืนมากข้ึน ในช่วงย่ีสิบปีท่ีผ่านมา ผมมักมีค�ำถามท่ีถาม ตนเอง เชน่ เราเกดิ มาทำ� ไม เราเกดิ มาเพอ่ื จะทำ� สง่ิ ใด ผเู้ ขา้ อบรมกค็ งมคี ำ� ถาม ลกั ษณะนก้ี บั ตนเองเชน่ กนั ซงึ่ วตั ถปุ ระสงคใ์ นการตง้ั คำ� ถามนน้ั ตา่ งกนั ออกไป เชน่ บางทา่ นอาจทราบอยแู่ ลว้ วา่ เปา้ หมายของตนเองคอื อะไรเพยี งแตต่ อ้ งการ ความมนั่ ใจวา่ เปา้ หมายนเี้ ปน็ สง่ิ ทต่ี นตอ้ งการอยา่ งแทจ้ รงิ บางทา่ นอาจทราบ เป้าหมายชีวิตของตนเองอยู่แล้ว แต่ต้องการท�ำให้เห็นชัดข้ึนและมีพลังข้ึน มา บางท่านอาจทราบเป้าหมายและก�ำลังเดินสู่เป้าหมายของตนเองอยู่แล้ว แตก่ ารเดนิ ไปสเู่ ปา้ หมายคนเดยี วนนั้ มคี วามเหนด็ เหนอื่ ย โดดเดยี่ ว จงึ ตอ้ งการ หาเพอ่ื นรว่ มทาง ในการอบรมน้ี บทบาทของผมคือ ผู้ให้ช่องทางหรือเครื่องมือต่าง ๆ แก่ ผู้เข้าร่วมในการค้นหาหรือใคร่ครวญเป้าหมาย และผมยินดีท่ีจะแบ่งปัน เรอ่ื งราวของผมเอง ซง่ึ ไมม่ ผี ดิ หรอื มถี กู เชน่ เดยี วกบั เรอื่ งราวของพวกเราทกุ คน ทผี่ า่ นมาสงิ่ ทผี่ มไดเ้ รยี นรเู้ กย่ี วกบั การใชช้ วี ติ ตามเปา้ ประสงค์ คอื เราไมไ่ ดเ้ ปน็ ผคู้ น้ พบเปา้ หมายของตวั เอง แตเ่ ปา้ หมายของเราจะคน้ พบเราเอง ขน้ึ อยกู่ บั วา่ เรายอมรบั หรอื ตอบสนองตอ่ เปา้ หมายอยา่ งไร และเปา้ หมายหรอื เปา้ ประสงค์ อาจจะมีเจตนาบางอย่างภายในตัวของมันเองท่ีชัดเจนอย่างมากก็ได้ ผมจึง อยากเชอ้ื เชญิ ใหท้ กุ ทา่ นเปดิ พน้ื ทภ่ี ายในของตนเองเพอ่ื รบั เปา้ หมายนน้ั สมมติ ใหต้ นเองเปน็ เหมอื นเดก็ อายุ 5 ขวบทมี่ องโลกดว้ ยความสงสยั ใครร่ ู้ ฉงนสนเทห่ ์ เพราะการค้นพบเป้าหมายอาจไม่ได้มาจากผม แต่อาจมาจากผู้เข้าอบรม ท่านอื่น ๆ การค้นพบน้ีเกิดข้ึนได้ตลอดเวลา ขอให้เรารับรู้ถึงเพื่อนร่วมทาง ทุกคนในการอบรมเพราะเรากำ� ลงั รว่ มเดินทางไปด้วยกัน” 150