Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ความฉลาดทางดิจิทัล (DQ_ Digital Intelligence)

ความฉลาดทางดิจิทัล (DQ_ Digital Intelligence)

Description: ความฉลาดทางดิจิทัล (DQ: Digital Intelligence Quotient) คือ กลุ่มความสามารถทางสังคม อารมณ์ และการรับรู้ ที่จะทำให้คนคนหนึ่งสามารถเผชิญกับความท้าทายของชีวิตดิจิทัล และสามารถปรับตัวให้เข้ากับชีวิตดิจิทัลได้ ความฉลาดทางดิจิทัลครอบคลุมทั้งความรู้ ทักษะ ทัศนคติและค่านิยมที่จำเป็นต่อการใช้ชีวิตในฐานะสมาชิกของโลกออนไลน์ กล่าวอีกนัยหนึ่งคือ ทักษะการใช้สื่อและการเข้าสังคมในโลกออนไลน์

Search

Read the Text Version

2 l ความฉลาดทางดจิ ทิ ลั

ความฉลาด ทางดจิ ทิ ัล (DQ Digital Intelligence) ความฉลาดทางดิจทิ ลั (DQ: Digital Intelligence) คอื อะไร ความฉลาดทางดิจทิ ลั (DQ: Digital Intelligence Quotient) คอื กลมุ่ ความสามารถทางสังคม อารมณ์ และการรบั รู้ ทจี่ ะทำ� ใหค้ นคนหนง่ึ สามารถเผชญิ กบั ความทา้ ทายของชวี ติ ดจิ ทิ ลั และสามารถ ปรบั ตวั ใหเ้ ขา้ กบั ชวี ติ ดจิ ทิ ลั ได้ ความฉลาดทางดจิ ทิ ลั ครอบคลมุ ทง้ั ความรู้ ทกั ษะ ทศั นคตแิ ละคา่ นยิ ม ที่จำ� เปน็ ต่อการใช้ชีวติ ในฐานะสมาชิกของโลกออนไลน์ กล่าวอกี นัยหนึ่งคือ ทกั ษะการใช้สอื่ และ การเขา้ สงั คมในโลกออนไลน์ ความฉลาดทางดิจทิ ัล เป็นผลจากศึกษาและพัฒนาของ DQ institute หนว่ ยงานทเี่ กดิ จากความ รว่ มมอื กนั ของภาครฐั และเอกชนทว่ั โลกประสานงานรว่ มกบั เวลิ ดอ์ โี คโนมกิ ฟอรม่ั (World Economic Forum) ทม่ี งุ่ มน่ั ใหเ้ ดก็ ๆ ทกุ ประเทศไดร้ บั การศกึ ษาดา้ นทกั ษะพลเมอื งดจิ ทิ ลั ทม่ี คี ณุ ภาพและใชช้ วี ติ บนโลกออนไลนอ์ ยา่ งปลอดภยั ดว้ ยความกา้ วหนา้ ของเทคโนโลยสี มยั ใหม่ อยา่ งไรกต็ าม ระดบั ทกั ษะ ความฉลาดทางดจิ ทิ ลั ของเดก็ ไทยตามรายงาน DQ report 2018 ยงั อยใู่ นระดบั ตำ�่ อยู่ ทง้ั นเี้ นอ่ื งจาก สำ� นกั งานส่งเสริมเศรษฐกิจดจิ ทิ ลั (ดีปา้ ) กระทรวงดจิ ิทลั เพ่อื เศรษฐกจิ และสังคม, ส�ำนกั งานคณะ กรรมการการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน (สพฐ.) กระทรวงศกึ ษาธิการ และ DQ Institue รว่ มกนั ท�ำโครงการ #DQEveryChild โดยศึกษาเดก็ ไทยอายุ 8-12 ปี ทัว่ ประเทศ 1,300 คน ผ่านแบบสำ� รวจออนไลน์ DQ Screen Time Test ชดุ เดยี วกนั กบั เดก็ ประเทศอนื่ ๆ รวมกลมุ่ ตวั อยา่ งทว่ั โลกทงั้ สน้ิ 37,967 คน ผลการศึกษาพบว่า เดก็ ไทยมีความเส่ียงจากภัยออนไลนถ์ ึง 60% ในขณะท่คี ่าเฉลี่ยของการศกึ ษา ครง้ั น้อี ย่ทู ่ี 56% (จาก 29 ประเทศทัว่ โลก) ภัยออนไลนท์ ่ีพบจากการศึกษาชุดน้ปี ระกอบไปดว้ ย การกล่ันแกล้งบนโลกออนไลน,์ ถกู ล่อลวงออกไปพบคนแปลกหนา้ จากส่ือสังคมออนไลน,์ ปัญหา การเลน่ เกม เดก็ ตดิ เกม, ปญั หาการเขา้ ถงึ สอ่ื ลามกอนาจาร, ดาวนโ์ หลดภาพหรอื วดิ โี อทย่ี วั่ ยอุ ารมณเ์ พศ และพูดคุยเร่อื งเพศกับคนแปลกหนา้ ในโลกออนไลน์ ดงั น้นั ทักษะความฉลาดทางดจิ ทิ ลั จงึ ควรท่ี จะถกู น�ำมาใช้ในการพฒั นาคณุ ภาพและความสามารถของเยาวชนไทย DQ Digital Intelligence l 3

ท�ำไมตอ้ งเพิ่มทกั ษะ ความฉลาดทางดจิ ทิ ัล เดก็ ๆ และเยาวชนในยคุ ไอทเี ตบิ โตมาพรอ้ มกบั อปุ กรณด์ จิ ทิ ลั และอนิ เทอรเ์ นต็ ดว้ ยลกั ษณะการสอื่ สาร ทรี่ วดเรว็ อสิ ระ ไรพ้ รมแดน และไมเ่ หน็ หนา้ ของอกี ฝา่ ย ทำ� ใหก้ ารรบั รแู้ ละการใชช้ วี ติ ของเดก็ รนุ่ ใหม่ มลี กั ษณะทแ่ี ตกตา่ งจากเจนเนอเรชน่ั รนุ่ กอ่ นๆ มาก ทกั ษะชวี ติ ใหมๆ่ ตอ้ งไดร้ บั การเรยี นรแู้ ละฝกึ ฝน เพอ่ื ทเ่ี ดก็ ทเ่ี ตบิ โตมาในยคุ ทเ่ี ตม็ ไปดว้ ยขอ้ มลู ขา่ วสารและเทคโนโลยสี ามารถนำ� ไปใชใ้ นชวี ติ ประจำ� วนั การใช้ชวี ิตของคนรุ่นใหมย่ งั ผกู ติดกบั เครือข่ายอนิ เทอรเ์ นต็ และส่อื ออนไลน์เกือบตลอดเวลา ไมว่ ่า จะเปน็ การรับข่าวสาร ความบันเทงิ หรอื การซอ้ื ขายสนิ คา้ และบริการ และการท�ำธุรกรรมการเงิน ในอดีต ตัวช้ีวดั อย่าง IQ ได้ถกู น�ำมาใชพ้ ัฒนาระดบั ทักษะทางสติปัญญาของมนุษย์ ในขณะท่ี EQ ไดน้ �ำมาศกึ ษาเพอ่ื พัฒนาระดับทกั ษะความฉลาดทางอารมณ์ แต่ด้วยบรบิ ททางสังคมท่ีเปลี่ยนไป ปจั จุบนั ทกั ษะความฉลาดทางปญั ญาและทางอารมณ์ ไม่เพียงพอตอ่ ส่ิงทีเ่ ยาวชนตอ้ งเผชญิ ในโลก ไซเบอร์ ยง่ิ ไปกวา่ นนั้ อนิ เทอรเ์ นต็ และอปุ กรณด์ จิ ทิ ลั ถงึ แมจ้ ะเพมิ่ ความสะดวกสบาย แตก่ แ็ ฝงดว้ ยอนั ตราย เชน่ กนั ไมว่ า่ จะเปน็ อนั ตรายตอ่ สขุ ภาพ การเสพตดิ เทคโนโลยี หากใชง้ านสอื่ ดจิ ทิ ลั มากเกนิ ไป หรอื อนั ตรายจากมจิ ฉาชพี ออนไลน์ การคกุ คามทางไซเบอร์ และการกลน่ั แกลง้ ทางไซเบอร์ พลเมอื งยคุ ใหม่ จงึ ตอ้ งรเู้ ทา่ ทนั สอ่ื สารสนเทศ และมที กั ษะความฉลาดทางดจิ ทิ ลั เพอ่ื ทจี่ ะใชช้ วี ติ อยใู่ นสงั คมออนไลน์ และในชีวิตจริงโดยไมท่ �ำตวั เองและผ้อู ่ืนใหเ้ ดอื ดรอ้ น ดงั น้นั ครอบครวั โรงเรยี น ทางภาครัฐ และ องค์กรที่เกย่ี วของ ควรร่วมสง่ เสรมิ ให้เยาวชนเป็น ‘พลเมืองดจิ ิทลั ’ ทีม่ คี วามรู้ความเขา้ ใจในเรอื่ ง ทเ่ี กยี่ วข้องกับการใช้งานอินเทอร์เน็ต 4 l ความฉลาดทางดิจิทัล

ความเปน็ พลเมืองดจิ ทิ ลั (Digital Citizenship) คืออะไร ความเป็นพลเมอื งดิจิทลั คือ พลเมอื งผู้ใช้งานสื่อดจิ ิทลั และส่ือสังคมออนไลนท์ เ่ี ขา้ ใจบรรทดั ฐานของ การปฏบิ ตั ิตวั ให้เหมาะสมและมีความรับผิดชอบในการใช้เทคโนโลยี โดยเฉพาะอยา่ งยิ่ง การสอ่ื สาร ในยคุ ดจิ ทิ ลั เปน็ การสอ่ื สารทไี่ รพ้ รมแดน สมาชกิ ของโลกออนไลนค์ อื ทกุ คนทใี่ ชเ้ ครอื ขา่ ยอนิ เทอรเ์ นต็ บนโลกใบน้ี ผใู้ ชส้ อ่ื สงั คมออนไลนม์ คี วามหลากหลายทางเชอ้ื ชาติ อายุ ภาษา และวฒั นธรรม พลเมอื ง ดิจิทัลจงึ ตอ้ งเปน็ พลเมอื งทมี่ คี วามรับผดิ ชอบ มีจรยิ ธรรม เหน็ อกเหน็ ใจและเคารพผู้อนื่ มีสว่ นรว่ ม และมุง่ เนน้ ความเป็นธรรมในสังคม การเป็นพลเมืองในยุคดจิ ิทลั นั้น มที ักษะทสี่ ำ� คญั 8 ประการ DQ Digital Intelligence l 5

1. ทกั ษะในการรักษาอตั ลักษณ์ทีด่ ขี องตนเอง (Digital Citizen Identity) สามารถสรา้ งและบรหิ ารจดั การอตั ลกั ษณท์ ด่ี ขี องตนเองไวไ้ ดอ้ ยา่ งดที ง้ั ในโลกออนไลนแ์ ละโลกความจรงิ อตั ลกั ษณท์ ด่ี คี อื การทผี่ ใู้ ชส้ อ่ื ดจิ ทิ ลั สรา้ งภาพลกั ษณใ์ นโลกออนไลนข์ องตนเองในแงบ่ วก ทงั้ ความคดิ ความรสู้ กึ และการกระทำ� โดยมวี จิ ารณญานในการรบั สง่ ขา่ วสารและแสดงความคดิ เหน็ มคี วามเหน็ อก เหน็ ใจผรู้ ว่ มใชง้ านในสงั คมออนไลน์ และรจู้ กั รบั ผดิ ชอบตอ่ การกระทำ� ไมก่ ระทำ� การทผี่ ดิ กฎหมาย และจริยธรรมในโลกออนไลน์ เชน่ การละเมิดลิขสทิ ธ์ิ การกลัน่ แกล้งหรอื การใช้วาจาทส่ี ร้างความ เกลยี ดชังผู้อนื่ ทางสื่อออนไลน์ การเรยี นรู้ 1. Digital Communication 2. Digital Literacy ใชส้ อ่ื 3. Digital Commerce พฒั นา/ เมื่อสอื่ สารในโลกไซเบอร์ ดจิ ทิ ลั เพอ่ื สง่ เสรมิ การเรยี นรู้ เมอื่ ทำ� การซอื้ ขายออนไลน์ การสอื่ สาร และตดิ ตามการเปลย่ี นแปลง ควรมคี วามรบั ผดิ ชอบและ กบั ผู้อืน่ ควรมีวิจารณญานท่ี ของเทคโนโลยใี หท้ นั อยเู่ สมอ เหมาะสม คิดกอ่ นโพสต์ ปกปอ้ งขอ้ มลู ของผซู้ อื้ การนบั ถอื 4. Digital Access 5. Digital Etiquette ปฏบิ ตั ิ 6. Digital Law ไมล่ ะเมดิ ตนเอง/ สนบั สนุนการเขา้ ถึง ตอ่ ผอู้ นื่ ในสงั คมออนไลนด์ ว้ ย สทิ ธหิ รอื ฉกฉวยอตั ลกั ษณ์ นับถือผอู้ น่ื สือ่ ดิจทิ ัลและสทิ ธิท่ี ความเคารพและไมก่ ลน่ั ทรพั ยส์ นิ หรอื งานอน่ื ใดของ เทา่ เทยี มทางดจิ ิทลั แกลง้ คกุ คามทางไซเบอร์ ผอู้ นื่ ทเ่ี ผยแพรใ่ นรปู แบบดจิ ทิ ลั การป้องกนั 7. Digital Rights and 8. Digital Health and 9. Digital Security รจู้ กั ตนเอง/ Responsibilities มอี สิ ระ Wellness ดแู ลตวั เองทง้ั ปกปอ้ งขอ้ มลู สว่ นตวั จาก ในการแสดงออก แต่ต้อง ทางรา่ งกายและจติ ใจให้ ผไู้ มห่ วงั ดใี นโลกไซเบอร์ ปอ้ งกนั ผ้อู ่ืน รบั ผิดชอบทกุ การกระทำ� หา่ งไกลความเสยี่ งของโรคภยั และรจู้ กั การรกั ษาความ ปลอดภยั ของขอ้ มลู และ ทเ่ี กดิ จากเทคโนโลยี อปุ กรณด์ จิ ทิ ลั 6 l ความฉลาดทางดิจทิ ัล

2. ทกั ษะการคดิ วิเคราะหม์ วี ิจารณญาณท่ีดี (Critical Thinking) สามารถในการวเิ คราะหแ์ ยกแยะระหวา่ งขอ้ มลู ทถี่ กู ตอ้ งและขอ้ มลู ทผี่ ดิ ขอ้ มลู ทมี่ เี นอื้ หาเปน็ ประโยชน์ และขอ้ มลู ทเ่ี ขา้ ขา่ ยอนั ตราย ขอ้ มลู ตดิ ตอ่ ทางออนไลนท์ น่ี า่ ตง้ั ขอ้ สงสยั และนา่ เชอ่ื ถอื ได้ เมอื่ ใชอ้ นิ เทอรเ์ นต็ จะรวู้ า่ เนอื้ หาอะไร เปน็ สาระ มปี ระโยชน์ รเู้ ทา่ ทนั สอื่ และสารสนเทศ สามารถวเิ คราะหแ์ ละประเมนิ ขอ้ มลู จากแหลง่ ขอ้ มลู ทห่ี ลากหลายได้ เขา้ ใจรปู แบบการหลอกลวงตา่ งๆ ในโลกไซเบอร์ เชน่ ขา่ วปลอม เว็บปลอม ภาพตัดตอ่ เป็นต้น การคิดวิเคราะหม์ วี ิจารณญาณทีด่ มี อี งคป์ ระกอบดงั นี้ 3. การประยกุ ต์ สามารถน�ำ 4. การวเิ คราะห์ สามารถแยก ขอ้ เทจ็ จรงิ และกฎขอ้ บงั คบั นำ� ความคดิ และเรอ่ื งตา่ งๆออกมา มาสร้างความคดิ ใหมๆ่ ได้ เป็นข้อยอ่ ยๆ ได้ 2. ความเขา้ ใจ สามารถ จดั ระเบียบและเลอื กขอ้ เท็จจริง 5. การสงั เคราะห์ สามารถ และความคิดออกมาใชไ้ ด้ น�ำความคดิ ยอ่ ยๆ มารวม เป็นแนวคิดใหญๆ่ ได้ 1. ความรู้ สามารถ 6. การประเมนิ สามารถพฒั นา อธิบายและจดจ�ำขอ้ มลู ได้ ความคดิ เหน็ และจัดล�ำดบั ความสำ� คัญได้ DQ Digital Intelligence l 7

3. ทกั ษะในการรักษาความปลอดภยั ของตนเอง ในโลกไซเบอร์ (Cybersecurity Management) สามารถป้องกนั ข้อมูลด้วยการสร้างระบบความปลอดภัยท่ีเข้มแข็ง และปอ้ งกนั การโจรกรรมขอ้ มลู หรือการโจมตีออนไลน์ได้ มที กั ษะในการรักษาความปลอดภัยของตนเองในโลกออนไลน์ การรกั ษา ความปลอดภยั ของตนเองในโลกไซเบอรค์ อื การปกปอ้ งอปุ กรณด์ จิ ทิ ลั ขอ้ มลู ทจ่ี ดั เกบ็ และขอ้ มลู สว่ นตวั ไมใ่ ห้เสยี หาย สูญหาย หรอื ถูกโจรกรรมจากผู้ไม่หวงั ดีในโลกไซเบอร์ การรกั ษาความปลอดภัยทาง ดิจิทัลมคี วามสำ� คญั ดังน้ี 1. เพอ่ื รกั ษาความเปน็ สว่ นตวั และความลบั หากไมไ่ ดร้ กั ษาความปลอดภยั ใหก้ บั อปุ กรณด์ จิ ทิ ลั ขอ้ มลู สว่ นตวั และขอ้ มลู ทเี่ ปน็ ความลบั อาจจะรวั่ ไหลหรอื ถกู โจรกรรมได้ 2. เพอื่ ปอ้ งกันการขโมยอตั ลักษณ์ การขโมยอตั ลกั ษณเ์ ร่ิมมจี �ำนวนที่มากข้นึ ในยคุ ขอ้ มูล ขา่ วสาร เนอ่ื งจากมกี ารทำ� ธรุ กรรมทางออนไลนม์ ากยงิ่ ขนึ้ ผคู้ นเรม่ิ ทำ� การชำ� ระคา่ สนิ คา้ ผา่ น สือ่ อนิ เทอรเ์ น็ต และทำ� ธุรกรรมกบั ธนาคารทางออนไลน์ หากไมม่ ีการรกั ษาความปลอดภัยท่ี เพยี งพอ มจิ ฉาชพี อาจจะลว้ งขอ้ มลู เกยี่ วกบั บตั รเครดติ และขอ้ มลู สว่ นตวั ของผใู้ ชง้ านไปสวมรอย ทำ� ธรุ กรรมได้ เชน่ ไปซอ้ื สนิ คา้ กยู้ มื เงนิ หรอื สวมรอยรบั ผลประโยชนแ์ ละสวสั ดกิ าร 3. เพอื่ ปอ้ งกนั การโจรกรรมขอ้ มลู เนอื่ งจากขอ้ มลู ตา่ งๆ มกั เกบ็ รกั ษาในรปู ของดจิ ทิ ลั ไมว่ า่ จะเปน็ เอกสาร ภาพถา่ ย หรือคลปิ วีดิโอ ข้อมลู เหลา่ นอี้ าจจะถูกโจรกรรมเพื่อน�ำไปขายต่อ แบลค็ เมล์ หรอื เรยี กคา่ ไถ่ 4. เพอ่ื ปอ้ งกนั ความเสยี หายของข้อมูลและอปุ กรณ์ ภัยคกุ คามทางไซเบอร์อาจสง่ ผลเสียตอ่ ข้อมูลและ อุปกรณด์ จิ ทิ ลั ได้ ผู้ไมห่ วังดีบางรายอาจมุ่งหวังใหเ้ กิดอนั ตรายตอ่ ขอ้ มลู และอปุ กรณท์ เ่ี กบ็ รกั ษามากกวา่ ทจี่ ะ โจรกรรมข้อมูลนน้ั ภัยคุกคามอย่างไวรัสคอมพวิ เตอร์ โทรจัน และมลั แวรส์ ร้างความเสยี หายรา้ ยแรงให้กบั คอมพวิ เตอรห์ รอื ระบบปฏบิ ตั ิการได้ 8 l ความฉลาดทางดิจิทลั

4. ทกั ษะในการรักษาขอ้ มลู ส่วนตัว (Privacy Management) มดี ลุ พนิ จิ ในการบรหิ ารจดั การขอ้ มลู สว่ นตวั รจู้ กั ปกปอ้ งขอ้ มลู ความสว่ นตวั ในโลกออนไลนโ์ ดยเฉพาะ การแชรข์ ้อมลู ออนไลน์เพื่อปอ้ งกนั ความเป็นส่วนตัวทงั้ ของตนเองและผู้อ่ืน รเู้ ทา่ ทันภยั คกุ คามทาง อนิ เทอร์เนต็ เชน่ มัลแวร์ ไวรัสคอมพวิ เตอร์ และกลลวงทางไซเบอร์ 1. ไม่ควรตั้งรหสั ผ่านของบญั ชีใชง้ านท่งี า่ ยเกนิ ไป 2. ตงั้ รหสั ผา่ นหน้าจอสมาร์ทโฟนอยเู่ สมอ ComSTEmP 2ent ShSaTErPe2 LSiTkEPe1 3. แชร์ขอ้ มลู สว่ นตวั ในสือ่ โซเชียลมีเดยี อย่างระมดั ระวงั 4. ใสใ่ จกบั การตง้ั คา่ ความเป็นสว่ นตวั ระมดั ระวังในการเปดิ เผยช่ือและ ที่ตัง้ ของเรา และปฏิเสธแอปทีพ่ ยายามจะเขา้ ถึงข้อมลู ส่วนตวั ของเรา 5. อยา่ ใช้ไวไฟสาธารณะเม่อื ต้องกรอกข้อมูลส่วนตัว เชน่ ออนไลนช์ อปป้ิง หรอื ธุรกรรมธนาคาร หรอื การลงทะเบยี นในสอื่ สงั คมออนไลน์ 6. ร้เู ท่าทันภัยคกุ คามทางอนิ เทอร์เนต็ ***** ********** ! DQ Digital Intelligence l 9

5. ทกั ษะในการจัดสรรเวลาหน้าจอ (Screen Time Management) สามารถในการบริหารเวลาท่ีใช้อุปกรณ์ยุคดิจิทัล รวมไปถึงการควบคุมเพ่ือให้เกิดสมดุลระหว่าง โลกออนไลน์ และโลกภายนอก ตระหนกั ถึงอันตรายจากการใช้เวลาหน้าจอนานเกนิ ไป การทำ� งาน หลายอยา่ งในเวลาเดยี วกนั และผลเสยี ของการเสพติดสอ่ื ดจิ ทิ ลั ส�ำนกั วิจยั สยามเทคโนโลยอี ินเทอรเ์ น็ตโพลล์ระบุว่า วัยรุ่นไทยเกือบ 40 % อยากใช้เวลาหน้าจอ มากกว่าออกกำ� ลงั กาย และผลการส�ำรวจจาก We are social พบว่า ในแตล่ ะวนั คนไทยใช้เวลา หน้าจอ ดังน้ี 4 ช.ม. 2 ช.ม. 1โท4รศพั นท์มาือถทือี 48 นาที เข้าสังคมออนไลน์ 8 ช.ม. 2 ช.ม. 49 นาที 26 นาที คอมพิวเตอรห์ รือแทบ็ เลต็ ดโู ทรทศั น์ 10 l ความฉลาดทางดิจิทัล

6. ทักษะในการบรหิ ารจดั การขอ้ มลู ทีผ่ ้ใู ช้งาน มีการทง้ิ ไว้บนโลกออนไลน์ (Digital Footprints) สามารถเขา้ ใจธรรมชาตขิ องการใชช้ วี ติ ในโลกดจิ ทิ ลั วา่ จะหลงเหลอื รอ่ ยรอยขอ้ มลู ทงิ้ ไวเ้ สมอ รวมไปถงึ เขา้ ใจผลลพั ธท์ อ่ี าจเกดิ ขนึ้ เพอื่ การดแู ลสง่ิ เหลา่ นอี้ ยา่ งมคี วามรบั ผดิ ชอบ รอยเทา้ ดจิ ทิ ลั (Digital Footprints) คอื อะไร รอยเทา้ ดจิ ทิ ลั คอื คำ� ทใ่ี ชเ้ รยี กรอ่ งรอยการกระทำ� ตา่ งๆ ทผ่ี ใู้ ชง้ านทงิ้ รอยเอาไวใ้ นโลกออนไลน์ โซเชยี ล มเี ดยี เวบ็ ไซตห์ รอื โปรแกรมสนทนา เชน่ เดยี วกบั รอยเทา้ ของคนเดนิ ทาง ขอ้ มลู ดจิ ทิ ลั เชน่ การลงทะเบยี น อเี มล การโพสตข์ อ้ ความหรอื รูปภาพ เมื่อถูกสง่ เขา้ โลกไซเบอร์แล้วจะทิ้งรอ่ ยรอยข้อมลู ส่วนตวั ของ ผใู้ ชง้ านไวใ้ หผ้ อู้ น่ื ตดิ ตามไดเ้ สมอ แมผ้ ใู้ ชง้ านจะลบไปแลว้ ดงั นนั้ หากเปน็ การกระทำ� ทผี่ ดิ กฎหมาย หรอื ศลี ธรรม กอ็ าจมผี ลกระทบตอ่ ชอ่ื เสยี งและภาพลกั ษณข์ องผกู้ ระทำ� กลา่ วงา่ ยๆ รอยเทา้ ดจิ ทิ ลั คอื ทกุ สง่ิ ทกุ อยา่ งในโลกอนิ เทอรเ์ นต็ ทบ่ี อกเรอ่ื งของเรา เชน่ ข้อมูลสว่ นตวั ทแ่ี ชร์ ไวใ้ นบัญชสี ื่อสงั คม ออนไลน์ (Profile) รูปภาพ/ภาพถา่ ย ขอ้ มูลอ่นื ๆ ทเี่ รา โพสต์ไว้ในบลอ็ ก หรอื เวบ็ ไซต์ DQ Digital Intelligence l 11

7. ทกั ษะในการรบั มอื กบั การกลนั่ แกลง้ บนโลกไซเบอร์ (Cyberbullying Management) การกลน่ั แกลง้ บนโลกไซเบอรค์ อื การใชอ้ นิ เทอรเ์ นต็ เปน็ เครอ่ื งมอื หรอื ชอ่ งทางเพอ่ื กอ่ ใหเ้ กดิ การคกุ คาม ลอ่ ลวงและการกล่นั แกลง้ บนโลกอนิ เทอรเ์ นต็ และสื่อสังคมออนไลน์ โดยกลุ่มเปา้ หมายมักจะเปน็ กลุ่มเด็กจนถึงเด็กวัยรุ่น การกลั่นแกล้งบนโลกไซเบอร์คล้ายกันกับการกล่ันแกล้งในรูปแบบอ่ืน หากแตก่ ารกล่นั แกล้งประเภทนจ้ี ะกระทำ� ผา่ นสือ่ ออนไลน์หรือส่ือดิจิทัล เชน่ การสง่ ขอ้ ความทาง โทรศัพท์ ผกู้ ลั่นแกล้งอาจจะเป็นเพือ่ นร่วมชั้น คนรจู้ ักในสอ่ื สงั คมออนไลน์ หรืออาจจะเปน็ คน แปลกหนา้ กไ็ ด้ แตส่ ว่ นใหญผ่ ทู้ ก่ี ระทำ� จะรจู้ กั ผทู้ ถ่ี กู กลน่ั แกลง้ รปู แบบของการกลนั่ แกลง้ มกั จะเปน็ การวา่ รา้ ย ใสค่ วามขู่ท�ำรา้ ย การคุกคามทางเพศ การแอบอ้าง หรอื ใชถ้ ้อยคำ� หยาบคาย ผ่านสื่อออนไลน์ ตัวตนของผ้อู ืน่ การแบล็กเมล์ การหลอกลวง การสรา้ งกลมุ่ ในโซเชยี ล เพือ่ โจมตโี ดยเฉพาะ ดงั เช่น เคยมกี รณี เดก็ ผ้หู ญงิ อายุ 11 ปี ไปเล่นอินเทอร์เน็ตท่ีรา้ นแล้วลมื ออกจากบัญชกี ารใช้งาน เฟซบ๊กุ ทำ� ใหม้ คี นสวมรอยใชเ้ ฟซบุ๊กของเธอ ไปโพสต์ขอ้ มูลตามกลมุ่ สนทนาที่ขายบริการทางเพศ มเี นอื้ หาเชิงเชิญชวนว่า ‘สาววยั ใสวัยประถมยังไม่เคยเสยี สาว สนใจติดตอ่ ผา่ นอนิ บ็อกซ์เฟซบุ๊กนี้’ ด้วยความท่ีเธอไม่รู้เร่อื ง พอมคี นแอดเฟรนด์มาก็รบั เลย เนื่องจากไม่ได้คิดถึงอนั ตรายหรือภยั ตา่ งๆ คดิ แคอ่ ยากมเี พอื่ นเยอะๆ ตอ่ มาปรากฎวา่ สว่ นใหญจ่ ะเปน็ ผชู้ ายสง่ ขอ้ ความมาหา ซง่ึ ตอนแรกกค็ ยุ ดๆี ปกตธิ รรมดา สกั พกั กถ็ ามวา่ อยทู่ ไ่ี หน เคยรยึ งั ขอเบอรโ์ ทรตดิ ตอ่ หนอ่ ยจะนดั ขนึ้ หอ้ ง ทำ� ให้ เธอกลวั มาก แตโ่ ชคดที เ่ี ธอมสี มั พนั ธภาพกบั พอ่ แมค่ อ่ นขา้ งดี จงึ เลา่ ใหผ้ ปู้ กครองฟงั วา่ เกดิ อะไรขนึ้ แมก่ ร็ บั ฟงั และ ชว่ ยกนั รบั มอื กบั การกลน่ั แกลง้ บนโลกออนไลนน์ ้ี วธิ ีจดั การเมือ่ ถกู กลั่นแกล้งบนโลกไซเบอร์ (Sหtยoุดp) (Bบlลo็อcกk) แจง้ (ใTหe้ทllร) าบ • บอกผูป้ กครอง หรอื ครูที่ไว้ใจ หยุดการตอบโตก้ บั ผู้กล่นั แกล้ง ปิดกั้นการส่ือสารกบั ถ้าผูก้ ล่นั แกล้งยงั ไมห่ ยุด • รายงานไปยังผู้ให้บริการสอ่ื Logout จากบญั ชสี อ่ื สงั คมออนไลน์ ผ้กู ล่ันแกล้ง โดยการบล็อก การกระท�ำอีก ควรรายงาน สงั คมออนไลนน์ น้ั ๆ ผกู้ ลน่ั แกลง้ จากรายช่ือผ้ตู ิดตอ่ อาจกระทำ� การละเมดิ ข้อตกลง หรอื ปิดเครื่องมอื ส่ือสาร การใชง้ านสอ่ื ออนไลน์ • บนั ทกึ หลักฐานการกล่ันแกล้ง อเี มล หรอื ภาพที่บนั ทึกจาก หน้าจอ 12 l ความฉลาดทางดจิ ทิ ัล

8. ทกั ษะการใชเ้ ทคโนโลยอี ยา่ งมีจริยธรรม (Digital Empathy) มคี วามเห็นอกเหน็ ใจ และสรา้ งความสัมพันธ์ที่ดกี ับผู้อ่ืนบนโลกออนไลน์ แมจ้ ะเป็นการสื่อสารที่ ไม่ได้เหน็ หนา้ กัน มปี ฏสิ ัมพนั ธ์อนั ดตี ่อคนรอบข้าง ไม่วา่ พอ่ แม่ ครู เพอื่ นท้งั ในโลกออนไลนแ์ ละใน ชวี ติ จริง ไม่ด่วนตัดสินผอู้ ื่นจากข้อมลู ออนไลนแ์ ต่เพยี งอยา่ งเดยี ว และจะเปน็ กระบอกเสียงให้ผู้ท่ี ตอ้ งการความช่วยเหลือ คดิ ก่อนจะโพสตล์ งสังคมออนไลน์ (Think Before You Post) ใคร่ครวญก่อนท่ีจะโพสต์รปู หรอื ข้อความลงในส่ือออนไลน์ ไม่โพสตข์ ณะกำ� ลงั อยใู่ นอารมณโ์ กรธ สือ่ สารกับผู้อ่นื ด้วยเจตนาดี ไมใ่ ช้วาจาทสี่ ร้างความเกลียดชงั ทางออนไลน์ ไม่นำ� ลว้ งข้อมูลส่วนตวั ของผอู้ นื่ ไม่กลน่ั แกลง้ ผู้อน่ื ผา่ นสอื่ ดิจิทลั โดยอาจตัง้ ความถามกบั ตัวเองกอ่ นโพสต์ว่า H – is it hurtful? I – is it illegal? N – is it necessary? เรอื่ งท่ีจะโพสตท์ �ำ เรือ่ งท่จี ะโพสตผ์ ิด เรือ่ งท่จี ะโพสต์มีสาระ ใครเดอื ดร้อนหรือไม่ กฎหมายหรือไม่ หรือความจ�ำเปน็ หรอื ไม่ T – is it true ? K – is it kind? เร่อื งทีจ่ ะโพสตเ์ ปน็ เรื่องท่จี ะโพสต์ เรื่องจรงิ หรอื ไม่ มเี จตนาดีหรอื ไม่ DQ Digital Intelligence l 13

เอกสารอ้างอิง 6 เหตกุ ารณ์ สะเทือนใจ!! จากภัย Cyberbullying - จส. 100 [Online]. แหล่งท่มี า http://www.js100.com/en/site/post_share/view/25700 [4 มกราคม 2561] 9 ขอ้ ควรปฏบิ ตั ิของพลเมอื งดิจิทลั ยุคใหม่ [Online]. แหลง่ ท่มี า http://www.okmd.or.th/ okmd-opportunity/digital-age/258/ [2 มกราคม 2561] ดปี ้าจบั มอื พันธมิตรขับเคล่ือนความฉลาดทางดจิ ิทัลให้เด็กไทยเทียบเทา่ มาตรฐาน [Online]. แหลง่ ทมี่ า http://www.ryt9.com/s/prg/2778991 [3 มีนาคม 2561] โจ๋ไทยเมนิ ออกก�ำลังกาย 40% อยากเล่นเนต็ -เกมมากกวา่ [Online]. แหลง่ ท่มี า http://www. manager.co.th/qol/viewnews.aspx?NewsID=9560000154824 [2 มกราคม 2561] ผลวจิ ยั ชวี้ ยั รนุ่ อยู่ ‘หนา้ จอ’ นาน ยง่ิ ผกู พนั กบั พอ่ แม-่ เพอื่ นลดลง [Online]. แหลง่ ทม่ี า http://www. manager.co.th/Around/ViewNews.aspx?NewsID=9530000030132 [24 มกราคม 2561] วิทยา ด�ำรงเกยี รตศิ ักด.์ิ พลเมืองดิจิทัล [Online]. แหลง่ ทีม่ า http://www.infocommmju.com/ icarticle/images/stories/icarticles/ajwittaya/digital/Digital_Citizenship.pdf [1 กมุ ภาพนั ธ์ 2561] ววิ รรณ ธาราหิรญั โชติ. ทักษะทางดิจติ อลทจี่ ำ� เป็นส�ำหรับเดก็ ในอนาคต [Online]. แหล่งท่มี า http://www.bangkokbiznews.com/blog/detail/642553 [3 มกราคม 2561] สำ� นักงานคณะกรรมการกิจการกระจายเสยี ง กิจการโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคมแหง่ ชาต.ิ คู่มอื Cyber Security สำ� หรบั ประชาชน [Online]. แหล่งทีม่ า https://www.nbtc.go.th/ getattachment/News/รวมบทความ-(1)/คมู่ อื -Cyber-Security-สำ� หรบั ประชาชน/คมู่ อื -Cyber- Security-สำ� หรับประชาชน.pdf.aspx [12 มกราคม 2561] Digital Southeast Asia / Thailand In 2017 – An Overview [Online]. แหล่งทมี่ า http://my-thai.org/digital-southeast-asia-thailand-2017-overview/ [12 มกราคม 2561] Digital Intelligence (DQ) A Conceptual Framework & Methodology for Teaching and Measuring Digital Citizenship [Online]. แหล่งทมี่ า https://www.dqinstitute. org/wp-content/uploads/2017/08/DQ-Framework-White-Paper-Ver1-31Aug17.pdf [16 มกราคม 2561] 14 l ความฉลาดทางดจิ ทิ ลั

ความฉลาดทางดจิ ิทัล (DQ Digital Intelligence) พิมพ์คร้ังที่ 1 : สิงหาคม 2561 จ�ำนวนการพิมพ์ : 500 เล่ม เขียนและเรียบเรียง : ดร.สรานนท์ อินทนนท์ บรรณาธิการ : เข็มพร วิรุณราพันธ์, ลักษมี คงลาภ ฝ่ายศิลป์/ออกแบบรูปเล่ม : อรสุมน ศานติวงศ์สกุล จัดพิมพ์และเผยแพร่ : มูลนิธิส่งเสริมสื่อเด็กและเยาวชน (สสย.) 6/5 ซอยอารีย์ 5 พหลโยธิน แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุงเทพฯ โทรศัพท์ 02-617-1919 E-mail : [email protected] Website : www.childmedia.net พิมพ์ท่ี : บรษิ ทั นัชชาวตั น์ จ�ำกัด 42/19 หมู่ 5 ต.คูคต อ.ลำ� ลูกกา จ.ปทุมธานี 12130 โทรศพั ท์ 02-193-2549 แฟกซ์ 02-193-2550 E-mail : [email protected] Website : www.natchawatprinting.com