Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore หนังสือ 200 ข้อมูลอาชีพที่ตลาดแรรงงานต้องการ

หนังสือ 200 ข้อมูลอาชีพที่ตลาดแรรงงานต้องการ

Published by chanikanc29, 2021-11-29 12:55:58

Description: หนังสือ 200 ข้อมูลอาชีพที่ตลาดแรรงงานต้องการ

Search

Read the Text Version

ทีต่ ลาด20แร0งงขาอ้ นมตลู ้อองากชาพี ร ประจ�ำ ปี 2558/2015 5. มีทกั ษะในการตดิ ตอ่ สอื่ สาร กรมการ ัจดหางาน 6. มีมนษุ ยสัมพันธใ์ นการทำ� งาน Department of Employment สถานฝกึ อบรมอาชพี / สถาบนั การศกึ ษา คณะวทิ ยาศาสตร์ สาขาฟสิ กิ ส์ สาขาเคมี สาขาชวี เคมี สาขาเทคโนโลยชี ีวภาพ สาขาวสั ดศุ าสตร์ หรือสาขา ท่เี ก่ยี วขอ้ ง สถาบันการศกึ ษาทสี่ งั กดั สำ� นกั งานคณะกรรมการการอดุ มศึกษา อาทิ - จฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั เขตพญาไท กรงุ เทพฯ 10330 โทรศพั ท์ 0-2215-0871-3 เวบ็ ไซต์ http://www. chula.ac.th/chula/th/main.html - คณะวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ เลขที่ 99 ถนนพหลโยธิน ต�ำบลคลองหน่ึง อำ� เภอคลองหลวง จงั หวดั ปทุมธานี 12121 โทรศพั ท์ 0-2221-6111-20 เวบ็ ไซต์ http://www.tu.ac.th - คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ 15 ถนนกาญจนวณิชย์ อ�ำเภอหาดใหญ่ จังหวัด สงขลา 90110 โทรศัพท์ 0-7421-1030-49 อีเมล [email protected] เว็บไซต์ http://www.psu.ac.th - คณะวิทยาศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยขอนแกน่ 123 ถ. มิตรภาพ ต�ำบลในเมอื ง อำ� เภอเมอื ง จงั หวดั ขอนแก่น 40002 โทรศพั ท์ 0-4320-2222, 0-4320-3333 เว็บไซต์ http://www.kku.ac.th/ - คณะวิทยาศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั เชยี งใหม่ 239 ถนนหว้ ยแก้ว ต�ำบลสเุ ทพ อ�ำเภอเมือง จังหวดั เชยี งใหม่ 50200 โทรศัพท์ 0-5322-2180 โทรสาร 0-5322-2268, 0-5389-2274 เวบ็ ไซต์ http://www.chiangmai.ac.th โทรศัพท์ 0-5322-1699 อาชพี ท่ีเกย่ี วเนอ่ื ง 239 ครู/อาจารย์ นักวิจัยวทิ ยาศาสตร์ นกั เทคนคิ การแพทยผ์ วิ หนงั แหล่งขอ้ มลู อน่ื ๆ - ศนู ยน์ าโนเทคโนโลยแี หง่ ชาติ (นาโนเทค) เวบ็ ไซต์ http://www.nanotec.or.th/ โทรศพั ท์ 0-2564 -7100 - สำ� นกั งานพฒั นาวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยแี หง่ ชาติ (สวทช.) เวบ็ ไซต์ http://www.nstda.or.th/ โทรศพั ท์ 0-2564-7000 - นาโนเทคโนโลยี สถาบนั เทคโนโลยแี หง่ เอเชยี เวบ็ ไซต์ http://www.nano.ait.ac.th โทรศพั ท์ 0-2524-5697 - หนว่ ยวจิ ยั นาโนวสั ดุ ภาคฟสิ กิ ส์ คณะวทิ ยาศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั เชยี งใหม่ เวบ็ ไซต์ http://membersthai. net/nanomaterials/ โทรศัพท์ 0-5322-1699, 0-5394-1000

กรมการ ัจดหางาน 2ท0ตี่ 0ลาดขอ้แรมงูลงอานาชตพี อ้ งการ Department of Employment ประจ�ำ ปี 2558/2015 นกั เศรษฐศาสตร์ Economists นยิ ามอาชีพ ผทู้ ป่ี ฏบิ ตั งิ านอาชพี ในหนว่ ยนี้ ไดแ้ ก่ ผทู้ ท่ี ำ� การศกึ ษา คน้ ควา้ ปรบั ปรงุ หรือพัฒนาแนวคิดทฤษฎีและวิธีการปฏิบัติงานทางด้านเศรษฐกิจ น�ำความรู้ ความเข้าใจทางทฤษฎีและปฏิบัติไปใช้อธิบายได้ภาวะการเปลี่ยนแปลงของ ตลาดและสนิ คา้ คาดการณแ์ นวโนม้ ทางการคา้ ในประเทศและระหวา่ งประเทศ นโยบายดา้ นการเงนิ งบประมาณ ภาวะการวา่ งงาน รายได้ ผลผลติ และการ บริโภค ทำ� การวิเคราะห์ขอ้ มูลโดยใช้ทฤษฎที างเศรษฐศาสตร์ ข้อมูลสถติ ิและ วิธีการอื่น ๆ เพื่อน�ำไปประยุกต์ไช้ในการก�ำหนดนโยบายทางเศรษฐกิจ อาจ พิจารณาจากองค์ประกอบและแนวโน้มของเศรษฐกิจในอดีตปัจจุบันและท่ีได้ วางแผนไว้ จดั เตรียมเอกสารและรายงานทางวชิ าการ ปฏบิ ตั หิ น้าท่ีการงานท่ี เกย่ี วขอ้ งและควบคมุ ดูแลผปู้ ฏบิ ัตหิ น้าท่กี ารงานอื่น ๆ 240 ลกั ษณะของงานท่ที �ำ 1. ท�ำการศกึ ษา วิเคราะห์ วิจัย จดั ท�ำรายงาน และวางแผนงาน เพอ่ื ส่งเสรมิ พฒั นา ถงึ วธิ กี ารแกป้ ญั หา ทางเศรษฐกิจ เกี่ยวกับการผลิต การจ�ำหน่ายสนิ ค้าและบริการ การลงทนุ แรงงาน 2. ท�ำการศึกษากรรมวิธีทั้งหมดท่ีเกี่ยวกับการด�ำรงชีวิตของเราในทุกวันน้ี และจัดหาส่ิงต่าง ๆ มา ตอบสนองตอ่ ความต้องการของผู้บริโภค ซึ่งได้แก่ ผลติ ภัณฑต์ ่าง ๆ ที่อยู่อาศยั การบรกิ าร หรือการบนั เทงิ รวมทง้ั ท�ำการศึกษาสงิ่ ท่เี ป็นอปุ สรรคตอ่ การพฒั นาเศรษฐกจิ หรือสิ่งท่ชี ว่ ยให้การพัฒนาเศรษฐกจิ ใหเ้ ปน็ ผลส�ำเร็จ 3. ทำ� การคน้ หา วธิ เี กบ็ รวบรวมและวธิ วี เิ คราะหข์ อ้ มลู เชงิ สถติ ิ และขอ้ มลู ทางเศรษฐกจิ ทำ� การรวบรวม และ ตคี วามขอ้ มูลดงั กลา่ วให้ชดั เจนเปน็ ระบบทส่ี มบูรณ์ 4. จัดท�ำรายงาน การวางแผนงานตามผลการศึกษางานทางเศรษฐกิจและข้อมูลท่ีผ่านการตีความและ วิเคราะห์เป็นอยา่ งดมี าแล้ว 5. ให้ค�ำแนะน�ำและค�ำปรึกษาแก่สถานประกอบการธุรกิจอุตสาหกรรมของเอกชนหรือหน่วยงานรัฐบาล ในเรอื่ งตา่ ง ๆ เชน่ ประสิทธภิ าพของการทำ� งานการตลาดและปัญหาเกีย่ วกบั การเงิน เปน็ ต้น 6. มคี วามรอบรแู้ ละถนดั ทางเศรษฐกจิ ในสาขาใดสาขาหนง่ึ เชน่ เศรษฐกจิ การเกษตร เศรษฐกจิ การคลงั หรอื เศรษฐกจิ อตุ สาหกรรมการคา้ ระหวา่ งประเทศ การแรงงาน หรอื ราคา หรอื มคี วามถนดั ในเรอื่ งการเกบ็ ภาษอี ากร หรอื การวจิ ยั ตลาด 7. ทำ� การศกึ ษา วเิ คราะห์ วจิ ัย วางแผน เก็บรวบรวมข้อมลู ใหค้ ำ� ปรึกษาแนะนำ� แก่หนว่ ยงานภาครัฐและ ภาคเอกชนทเ่ี กยี่ วขอ้ งกบั ทมี่ าของรายไดแ้ ละรายจา่ ย การพฒั นาทรพั ยากรธรรมชาติ การผลติ การบรโิ ภคสนิ คา้ และ บริการ เพ่อื การส่งเสรมิ พฒั นา และแก้ปัญหาเศรษฐกิจ

ทตี่ ลาด20แร0งงขาอ้ นมตลู ้อองากชาพี ร ประจ�ำ ปี 2558/2015 สภาพการจ้างงาน กรมการ ัจดหางาน ผู้ที่ท�ำงานในหน่วยงานราชการ รัฐวิสาหกิจ จะได้รับเงินเดือนตามวุฒิการศึกษา ส่วนในภาคเอกชนจะ Department of Employment ได้รับเงินเดือนตามวุฒิการศึกษาและประสบการณ์ในการท�ำงาน ซ่ึงไม่มีข้อก�ำหนดที่แน่นอนตายตัว โดยจะข้ึน อยู่กับดุลยพินิจของบริษัทหรือองค์กรท่ีจ้างงาน ส�ำหรับผู้ท่ีมีวุฒิการศึกษาระดับปริญญาตรีซึ่งไม่มีประสบการณ์ และรับราชการ จะได้รับเงินเดือนข้ันต�่ำตามวุฒิการศึกษา นอกจากค่าตอบแทนท่ีเป็นเงินเดือนแล้ว ในภาครัฐวิสาหกิจและภาคเอกชนอาจได้รับสิทธิประโยชน์ อย่างอ่ืน เช่น ค่ารักษาพยาบาล เงินสะสม เงินช่วยเหลือสวัสดิการในรูปต่าง ๆ เงินโบนัส ค่าล่วงเวลา เป็นต้น นักเศรษฐศาสตร์ เวลาการปฏิบัติงานตามปกติ วันละ 8 ช่ัวโมง หรือสัปดาห์ละ 40 ช่ัวโมง และอาจต้องท�ำงาน ล่วงเวลา หรือวันเสาร์ วันอาทิตย์ หรือวันหยุด เม่ือมีความจ�ำเป็นเร่งด่วน เพื่อให้งานเสร็จตามก�ำหนดเวลา สภาพการทำ� งาน นักเศรษฐศาสตร์ ท�ำงานในส�ำนักงานที่มีอุปกรณ์ ส่ิงอ�ำนวยความสะดวกเช่นส�ำนักงานท่ัวไป เพื่อให้ มีประสิทธิภาพในการท�ำงาน มีความจ�ำเป็นอย่างย่ิงในการเตรียมความพร้อมในอุปกรณ์เครื่องค�ำนวณ เคร่ือง คอมพิวเตอร์ และระบบการคน้ หาข้อมูลทางอินเทอรเ์ นต็ เพือ่ ใชช้ ว่ ยงานศึกษาคน้ คว้าหาขอ้ มลู สำ� หรบั การวิเคราะห์ เชิงเศรษฐศาสตรใ์ นการวางแผนในเชิงธุรกจิ ของหนว่ ยงาน โอกาสในการมีงานทำ� ในตลาดแรงงาน ยังมีความต้องการนักเศรษฐศาสตร์อีกมาก เพื่อพัฒนาธุรกิจของหน่วยงานและประเทศ ให้สามารถพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศและสามารถแข่งขันทางการค้าในภาวะเศรษฐกิจโลกที่เปลี่ยนแปลง 241 ไปให้ทันต่อเหตุการณ์ เวลา และถูกต้อง สามารถประกอบอาชีพเป็นพนักงานในธนาคาร พนักงานในองค์การ ระหว่างประเทศ เจ้าของธุรกิจส่วนตัว นักวิจัย นักวิชาการด้านธุรกิจการค้าและเศรษฐกิจ สถาบันการเงินทั่วไป อาจารย์ในสถาบันอุดมศึกษา เน่ืองจากทุกประเทศมีจุดมุ่งหมาย เพื่อให้ประชากรมีความเป็นอยู่ท่ีดีข้ึน พร้อม กับการพัฒนาประเทศให้ม่ังคั่ง การแข่งขัน และมาตรการกีดกันทางการค้าจึงมีความรุนแรงมากข้ึนโดยล�ำดับ ซึ่งจะมีผลกระทบต่อเศรษฐกิจโดยรวมของประเทศ นอกจากนี้ นักเศรษฐศาสตร์สามารถปรับย้ายต�ำแหน่ง หน้าท่ีของงาน และหน่วยงานที่ตนปฏิบัติได้เสมอ อาจจะเป็นนักวิเคราะห์ระบบ นักวิจัยและนักวางแผนทาง เศรษฐกิจ เป็นต้น คุณสมบตั ิของผปู้ ระกอบอาชีพ 1. ตอ้ งสำ� เรจ็ การศึกษาในระดบั ปริญญาตรคี ณะเศรษฐศาสตร์ หรอื สาขาวิชาทเ่ี กย่ี วข้อง 2. มีความรู้และเข้าใจภาษาอังกฤษเป็นอย่างดี สามารถใช้คอมพิวเตอร์ได้ มีความถนัดและสนใจด้าน คณิตศาสตร์ และสังคมศาสตร์ 3. มบี ุคลกิ ภาพดี มีความสามารถในการเจรจาตอ่ รองและประนปี ระนอมได้ดี 4. มีวิสัยทศั น์กวา้ งไกล เปดิ กวา้ ง ยอมรับฟงั ความคดิ เห็นและพรอ้ มเสมอท่ีจะรบั ฟังค�ำตชิ มจากผูอ้ นื่ 5. มคี วามซอื่ สตั ยส์ จุ รติ ซอื่ ตรงตอ่ ความคดิ เหน็ ของตนเอง และเสนอขอ้ คดิ เหน็ เชงิ สรา้ งสรรค์ และเปน็ กลาง 6. รกั ความเปน็ ธรรม ไมเ่ อารดั เอาเปรยี บผอู้ น่ื

ท20ต่ี 0ลาดขอ้แรมงูลงอานาชตีพอ้ งการ ประจ�ำ ปี 2558/2015 กรมการ ัจดหางาน สถานฝึกอบรมอาชีพ / สถาบนั การศกึ ษา Department of Employment - ภาควิชาเศรษฐศาสตร์ คณะวิทยาการการจัดการ มหาวิทยาลัยขอนแก่น 23 หมู่ 16 ถนนมิตรภาพ ต�ำบลในเมอื ง อำ� เภอเมอื ง จงั หวัดขอนแก่น 40002 โทรศัพท์ 0-4300-9700 - คณะเศรษฐศาสตร์ จฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั 254 ถนนพญาไท แขวงวงั ใหม่ เขตปทมุ วนั กรงุ เทพฯ 10330 โทรศพั ท์ 0-2215-3555 อีเมล [email protected] - คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยธรรมศาสตร์ (ศูนยร์ งั สติ ) 99 หมู่ 18 ถนนพหลโยธนิ ตำ� บลคลองหน่ึง อ�ำเภอ คลองหลวง จงั หวัดปทุมธานี 12121 โทรศพั ท์ 0-2613-2460 โทรสาร 0-2224-9428 - คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร์ 50 ถนนงามวงศว์ าน แขวงลาดยาว เขตจตุจักร กรงุ เทพฯ 10900 โทรศัพท์ 09-9159-9145 เว็บไซต์ www.ku.ac.th/ - คณะเศรษฐศาสตรแ์ ละบรหิ ารธรุ กจิ มหาวทิ ยาลยั ทกั ษณิ เลขที่ 140 ถนนกาญจนวนชิ หมู่ 4 ตำ� บลเขารปู ชา้ ง อำ� เภอเมอื ง จงั หวดั สงขลา 90000 โทรศพั ท์ 0-7469-3990 อเี มล [email protected]. เวบ็ ไซต์ www.tsu.ac.th/ - คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลยั ธุรกิจบัณฑติ ย์ 110/1-4 ถนนประชาชนื่ เขตหลักสี่ กรงุ เทพฯ 10210 โทรศัพท์ 0-2954-7300 เวบ็ ไซต์ www.dpu.ac.th/ - คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั กรงุ เทพ วทิ ยาเขตกลว้ ยนำ�้ ไท ทอ่ี ยู่ เลขท่ี 119 ถนนพระราม 4 คลองเตย กรุงเทพฯ 10110 โทรศัพท์ 0-2350-3500-99 โทรสาร 0-2240-1516 อีเมล [email protected] มหาวทิ ยาลยั กรงุ เทพ (Bangkok University) รบั สมคั รนกั ศกึ ษา 0-2249-5132-6 (สายตรง) 0-2350-3500 ตอ่ 1582-1588, 1609-1610 - คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยกรุงเทพ วิทยาเขตรังสิต ที่อยู่ เลขที่ 9/1 หมู่ 5 ถนนพหลโยธิน ตำ� บลคลองหน่ึง อ�ำเภอคลองหลวง จังหวัดปทมุ ธานี 12120 โทรศพั ท์ 0-2902-0250-99 โทรสาร 0-2516-8553 อีเมล [email protected] รบั สมคั รนกั ศกึ ษา 0-2902-0299 ต่อ 2411-2417 - คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกริก อาคารมังคละพฤกษ์ ซอยรามอินทรา 1 ถนนรามอินทรา 242 แขวงอนุสาวรีย์ เขตบางเขน กรุงเทพฯ 10220 โทรศพั ท์ 0-2945-6721 เว็บไซต์ www.krirk.ac.th - คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยพายัพ (เขตแม่คาว) ถนนซุปเปอร์ไฮเวย์เชียงใหม่-ล�ำปาง อ�ำเภอเมือง จงั หวัดเชยี งใหม่ 50000 โทรศพั ท/์ โทรสาร 0-5385-1478 ต่อ 7128 - คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยภาคกลาง ถนนเอเชีย ต�ำบลนครสวรรค์ตก อ�ำเภอเมืองนครสวรรค์ จังหวดั นครสวรรค์ เว็บไซต์ www.tuct.ac.th โทรศพั ท์ 0-5680-1829, 0-5680-1822-3, 08-6523-4862 - คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยแม่โจ้ 63 ม.4 ต�ำบลหนองหาร อำ� เภอสนั ทราย จงั หวดั เชียงใหม่ 50290 โทรศพั ท์ 0-5387-5601 โทรสาร 0-5387-5600 อีเมล [email protected] - คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยรังสิต 52/347 เอกทักษิณ ต�ำบลหลักหก อ�ำเภอเมืองปทุมธานี จงั หวัดปทุมธานี โทรศพั ท์ 0-2997-2200 เว็บไซต์ www.rsu.ac.th/ - คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั รามคำ� แหง ถนนรามคำ� แหง แขวงหวั หมาก เขตบางกะปิ กรงุ เทพฯ 10240 โทรศัพท์ 0-2310-8534, 0-2310-8528 โทรสาร 0-2310-8511 เวบ็ ไซต์ www.eco.ru.ac.th/ - คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช 9/9 หมู่ 9 ถนนแจ้งวัฒนะ ต�ำบลบางพูด อำ� เภอปากเกรด็ จงั หวดั นนทบรุ ี 11120 โทรศพั ท์ 0-2503-3571 หรอื 0-2504-8196-9 อเี มล [email protected] - คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ศรปี ทมุ อาคาร 9 ชนั้ 9 (อาคาร ๓o ปศี รปี ทมุ ) โทรศพั ท์ 0-2579-1111 ต่อ 2368, 2369 โทรสาร 0-2579-1111 ต่อ 2369 อีเมล [email protected]

ทตี่ ลาด20แร0งงขาอ้ นมตลู ้อองากชาพี ร กรมการ ัจดหางาน ประจ�ำ ปี 2558/2015 Department of Employment โอกาสความก้าวหน้าในอาชีพ นักเศรษฐศาสตร์ สามารถประกอบอาชพี ได้หลากหลายประเภทหลายแห่ง ท้ังทีเ่ ป็นหน่วยงานของราชการ รัฐวิสาหกิจ สถาบนั การเงนิ บรษิ ทั หา้ งรา้ นตา่ ง ๆ องค์กรพัฒนาเอกชน และสามารถได้รับการปรับเลื่อนต�ำแหน่ง ได้จนถึงต�ำแหน่งหัวหน้างาน หัวหน้าฝ่าย ผู้จัดการฝ่าย ผู้อ�ำนวยการ ผู้จัดการใหญ่ในภาคเอกชน ส่วนในภาครัฐ ถ้ามีโอกาสศึกษาในระดับท่ีสูงกว่าระดับปริญญาตรี มีการเพิ่มพูนประสบการณ์ และมีความสามารถในการบริหาร งาน จะสามารถปรบั ข้ันปรบั ตำ� แหนง่ จนถึงระดับบริหารสงู สดุ ในหน่วยงานนน้ั โดยผ้ทู ่ีมีโอกาสได้รบั การศึกษาตอ่ ใน ระดับปรญิ ญาโทและปริญญาเอก สาขาเศรษฐศาสตร์ หรือวิชาการบริหารธรุ กจิ ก็สามารถปรับวทิ ยฐานะหรือปรับ ตำ� แหนง่ งานที่สงู ขน้ึ ไดอ้ ยา่ งรวดเร็ว หรือเปน็ อาจารยส์ อนในมหาวิทยาลยั ท่ีมกี ารเปิดสอนสาขาวชิ าเศรษฐศาสตร์ อาชพี ทเ่ี กยี่ วเนื่อง นกั บญั ชี นกั ธรุ กจิ นกั บรหิ าร นกั วเิ คราะหร์ ะบบ นกั วจิ ยั นกั วางแผน นกั การธนาคาร นกั การเงนิ นกั การคลงั นกั สถติ ิ นกั การแรงงาน เจา้ หนา้ ทสี่ ถาบนั การเงนิ เจา้ หนา้ ทห่ี ลกั ทรพั ย์ เจา้ หนา้ ทส่ี ถาบนั การเงนิ เจา้ หนา้ ทหี่ ลกั ทรพั ย์ เจา้ หน้าที่วิเคราะหง์ บประมาณ เจา้ หนา้ ที่บุคคล เจา้ หน้าที่แรงงานสัมพนั ธ์ แหล่งข้อมูลอ่นื ๆ - มหาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร์ เวบ็ ไซต์ http://www.tu.ac.th - จฬุ าลงกรณม์ หาวิทยาลยั เว็บไซต์ http://www.chula.ac.th 243

กรมการ ัจดหางาน ท20่ีต0ลาดข้อแรมงลู งอานาชตีพ้องการ Department of Employment ประจ�ำ ปี 2558/2015 นกั สงั คมสงเคราะห์ Social Workers นิยามอาชีพ นักสังคมสงเคราะห์ ผู้ท่ีท�ำหน้าท่ีให้ค�ำปรึกษาและ ชว่ ยเหลอื บคุ คลและครอบครวั ทม่ี ปี ญั หาทางสงั คม และปญั หา สว่ นตวั อนั เปน็ การปรบั ปรงุ ความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งบคุ คลดว้ ย กนั และระหวา่ งบคุ คลกบั สง่ิ แวดลอ้ มทางสงั คม โดยวางแผน การใหบ้ รกิ ารทางสงั คมเพอื่ ใหเ้ ปน็ ไปตามความประสงคข์ อง บคุ คลในชมุ ชนนน้ั รวมทง้ั ใหค้ ำ� ปรกึ ษาแนะนำ� ใหค้ วามชว่ ยเหลอื ในเรอ่ื งสวสั ดกิ าร ตลอดจนจดั หางานอาชพี และปฏบิ ตั ิ งานอนื่ ๆ ทเี่ กย่ี วขอ้ งกบั งานทกี่ ลา่ วไวข้ า้ งตน้ ลกั ษณะของงานท่ที ำ� นกั สงั คมสงเคราะห์ จัดแบ่งเป็น 2 ประเภท คือ - นกั สังคมสงเคราะห์อาชพี - นกั สังคมสงเคราะหอ์ าสาสมคั ร (ซงึ่ เป็นบุคคลทอี่ าสาเขา้ มาท�ำงานในช่วงภาวะวกิ ฤติ) 244 การทำ� หนา้ ท่เี ปน็ นักสงั คมสงเคราะหว์ ิชาชีพนน้ั เป็นศลิ ปะแห่งการชว่ ยเหลือ และเป็นการใชไ้ หวพริบในการ ให้ความชว่ ยเหลอื พร้อมชว่ ยแก้ไขปญั หาในสถานการณ์ ท่ีไม่ปกติ โดยมหี น้าทหี่ ลกั ดงั นี้ 1. ให้คำ� ปรกึ ษาแนะนำ� ผู้มาใชบ้ ริการ 2. ปฏิบัตหิ น้าทหี่ ลักตามนโยบายของหนว่ ยงานหรอื องค์กรนั้น ๆ 3. ดำ� เนนิ การติดต่อประสานงานกบั ผ้มู ารบั บริการ และหนว่ ยงานหรอื องคก์ รบรกิ ารทางสังคมที่ผรู้ ับบรกิ าร ตอ้ งเกยี่ วข้องดว้ ย หรอื ต้องการความชว่ ยเหลือ เช่น การซักประวตั ิ เพอื่ ใหท้ ราบว่าผูม้ ารบั บรกิ ารมคี วามเดอื ดรอ้ น เรอ่ื งใด และเตรียมจัดสง่ ไปยังหนว่ ยงานที่ให้การบรกิ ารตา่ ง ๆ เชน่ หาอาชีพที่เหมาะสมหาทนุ ประกอบอาชพี แหลง่ ทพ่ี ัก โรงพยาบาล และสวัสดกิ ารอื่น ๆ ตามความจำ� เป็น 4. ท�ำโครงการวิจัยเก่ียวกับการสังคมสงเคราะห์เพ่ือน�ำแผนงานมาใช้ในการป้องกันและแก้ปัญหาทาง สงั คมสงเคราะหต์ อ่ ไป 5. ใหค้ ำ� ปรกึ ษาเกย่ี วกบั การแกป้ ัญหาที่คอ่ นขา้ งยากแก่นกั สงั คมสงเคราะห์ของหนว่ ยงานต่าง ๆ 6. คอยใหค้ ำ� แนะนำ� ตามความชำ� นาญเฉพาะทาง และตดิ ตามการใหก้ ารบรกิ ารขององคก์ ร (Case Workers) เชน่ - คอยดูแลปัญหาเกี่ยวกับครอบครัวแตกแยก ปัญหาเกี่ยวกับสวัสดิการของครอบครัว และอาชีพของ บุคคลในครอบครัว - คอยดแู ลเดก็ ด้อยโอกาสให้ไดร้ บั เข้าไปอยูใ่ นสถาบันและบา้ นสงเคราะห์ การให้สวัสดิการแก่เดก็ - ใหส้ วสั ดกิ ารแกผ่ ปู้ ว่ ย ทางดา้ นจติ ใจทางรา่ งกาย หรอื ผพู้ กิ าร ใหก้ ารอบรมทางสงั คมแกผ่ ไู้ ดร้ บั ทณั ฑบ์ น ใหก้ ารชว่ ยเหลือผอู้ พยพ

ทต่ี ลาด20แร0งงขา้อนมตูลอ้ องากชาีพร ประจ�ำ ปี 2558/2015 - ท�ำหน้าที่เป็นนักสังคมสงเคราะห์เฉพาะกลุ่ม เช่น จัดระบบงานเก่ียวกับโครงสร้างทางสังคม การจัดการ กรมการ ัจดหางาน ศกึ ษา จัดหางานอาชีพ และจัดกิจกรรมสันทนาการ จดั หางานอาชีพในศนู ย์ชมุ ชน จัดกิจกรรมเขา้ ค่ายพกั ผอ่ น หรือ Department of Employment จัดสมั มนาเชิงปฏบิ ัติการ จดั การสง่ เสรมิ สวสั ดิการ กลุม่ เกี่ยวกบั การพฒั นาบ้านเรอื น เป็นตน้ สภาพการจ้างงาน นกั สงั คมสงเคราะห์ จะไดร้ บั การวา่ จา้ งขน้ั ตน้ ตามวฒุ กิ ารศกึ ษาในภาครฐั บาลและองคก์ รพฒั นาเอกชน สว่ นผทู้ ่ี ปฏิบัติงานในภาคเอกชนจะได้รับเงินเดือนสูงกว่า ผู้ส�ำเร็จการศึกษาใหม่จะได้รับเงินเดือนตามอัตราทั่วไป นกั สงั คมสงเคราะห์ มกี ำ� หนดเวลาการทำ� งานวนั ละ 8 ชวั่ โมง แตม่ กั จะตอ้ งทำ� งานเกนิ เวลาตามความสมคั รใจ ดงั นนั้ ผทู้ ี่ ทำ� หนา้ ทน่ี คี้ วรจะตอ้ งแบง่ เวลาในการทำ� งานและเวลาสว่ นตวั ใหเ้ หมาะสม สภาพการทำ� งาน นกั สงั คมสงเคราะหจ์ ะตอ้ งมกี ารวางแผนการทำ� งาน การประชมุ การใหค้ ำ� ปรกึ ษาแนะนำ� แกผ่ มู้ าใชบ้ รกิ ารใน สำ� นกั งาน และมกี ำ� หนดการออกพบปะเยยี่ มเยยี นผมู้ ารบั บรกิ าร เพอ่ื การประมวลผล เชน่ กลมุ่ ฟน้ื ฟสู ภาพครอบครวั กลมุ่ แม่นอกสมรส เพื่อไปชว่ ยคอยใหค้ ำ� ปรึกษาแก่บุคคลในครอบครวั ชว่ ยแนะนำ� ใหไ้ ด้งานทำ� หาอาหาร หรือนม ใหเ้ ด็กเล็ก จัดการสภาพภาวะแวดลอ้ มให้เหมาะสมและถกู สุขลกั ษณะ เป็นต้น อาจต้องปฏิบัติงานอยใู่ นต่างจังหวดั หรอื พืน้ ท่ที ุรกนั ดาร การท�ำงานของนักสังคมสงเคราะห์ ในบางคร้ังอาจอยู่บนพื้นฐานของความเส่ียง เพราะบางคร้ังอาจจะ ตอ้ งเข้าไปปฏิบตั งิ านกบั กลุม่ คนท่ีมีปัญหาทางสังคมอย่างรุนแรง เช่น นกั โทษในกรมราชทณั ฑ์ หรือในพ้ืนทช่ี ุมชนท่ี เป็นแหลง่ ยาเสพติด เป็นต้น 245 คุณสมบตั ขิ องผู้ประกอบอาชีพ 1. สำ� เรจ็ การศกึ ษาปรญิ ญาตรจี ากคณะสงั คมสงเคราะหศ์ าสตร์ หรอื คณะสงั คมสงเคราะหศ์ าสตร์ และสวสั ดกิ ารสงั คม 2. มใี จรกั ชอบชว่ ยเหลือ เพราะงานสังคมสงเคราะห์ คอื การบริการ ใหค้ วามชว่ ยเหลอื เพื่อนมนุษย์ 3. เปน็ คนมองโลกในแงด่ ี มที ัศนคติทดี่ ีตอ่ ผ้คู น ตอ่ สงั คม และยนิ ดีเขา้ แกไ้ ขปญั หาด้วยความเตม็ ใจ 4. เป็นบุคคลที่รับฟังความคิดเห็นต่อประมวลปัญหาที่ต้องเข้าไปแก้ไข และพร้อมจะแก้ไขปัญหา ทุกสถานการณ์ 5. มลี กั ษณะอบอนุ่ มนุษยสมั พันธด์ ี และสามารถเขา้ กบั ชมุ ชนได้ดี สถานฝึกอบรมอาชีพ / สถาบันการศึกษา - คณะสงั คมสงเคราะหศ์ าสตร์ มหาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร์ (ศนู ยร์ งั สติ ) เลขท่ี 99 หมทู่ ี่ 18 ถนนพหลโยธนิ ต�ำบล คลองหนง่ึ อำ� เภอคลองหลวง จงั หวดั ปทมุ ธานี 12121 โทรศพั ท์ 0-2696-5502 โทรสาร 0-2696-5513 อเี มล socad- [email protected] เวบ็ ไซต์ http://www.socadmin.tu.ac.th - คณะสงั คมสงเคราะหศ์ าสตร์ มหาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร์ (ทา่ พระจนั ทร)์ เลขที่ 2 ถนนพระจนั ทร์ แขวงพระบรม มหาราชวงั เขตพระนคร กรงุ เทพฯ 10200 โทรศพั ท์ 0-2613-2500 โทรสาร 0-2224-9417 อเี มล [email protected]. th เวบ็ ไซต์ http://www.socadmin.tu.ac.th

กรมการ ัจดหางาน ท20ี่ต0ลาดข้อแรมงลู งอานาชตพี อ้ งการ Department of Employment ประจ�ำ ปี 2558/2015 โอกาสในการมงี านทำ� บุคลากรผู้ประกอบอาชีพนักสังคมสงเคราะห์ในปัจจุบันมีน้อยมาก ซ่ึงยังไม่เพียงพอรับกับการช่วยแก้ไข ปญั หาทเ่ี กดิ ขนึ้ ในสงั คมอยา่ งตอ่ เนอ่ื งเปน็ ลกู โซ่ นบั ตงั้ แตก่ ารเกดิ ชว่ งภาวะเศรษฐกจิ ของประเทศถดถอย ในปหี นง่ึ ๆ สถาบนั การศกึ ษาทผ่ี ลติ บคุ ลากรทางดา้ นสงั คมสงเคราะหย์ งั มนี อ้ ยมาก ซงึ่ ยงั คงไมพ่ อเพยี งทจี่ ะรบั กบั ปญั หาทเี่ กดิ ขน้ึ ทวั่ ประเทศ โดยเฉพาะในเมอื งใหญ่ ๆ เและเมอื งอตุ สาหกรรม ซงึ่ โดยเฉลย่ี นกั สงั คมสงเคราะหค์ นหนงึ่ จะตอ้ งรบั ดแู ล ปญั หาของผู้มารบั บริการประมาณ 10-15 ราย หนว่ ยงานทม่ี คี วามตอ้ งการนกั สงั คมสงเคราะห์ คอื กลมุ่ สหวชิ าชพี กรมราชทณั ฑ์ กรมประชาสงเคราะห์ หนว่ ยงานพฒั นาเอกชน โรงงานอตุ สาหกรรม บรษิ ทั ห้างร้าน ฯลฯ ทำ� ใหน้ ักสงั คมสงเคราะห์ ยงั คงเป็นท่ี ตอ้ งการขององคก์ รพฒั นาเอกชนตา่ ง ๆ เปน็ อยา่ งมาก เช่น สหทัยมูลนิธิ หรือมูลนิธิต่าง ๆ ที่ดูแลบุคคล ทดี่ อ้ ยโอกาสในสังคม โอกาสความกา้ วหน้าในอาชพี นกั สงั คมสงเคราะห์ มโี อกาสกา้ วหนา้ ในตำ� แหนง่ หนา้ ทกี่ ารงาน ถา้ รบั ราชการจะไดร้ บั การเลอ่ื นขน้ั และเลอื่ น ต�ำแหนง่ ตามความสามารถ และมโี อกาสได้ไปศกึ ษาเพิ่มเติม ในหนว่ ยงานพฒั นาชุมชน ถา้ มปี ระสบการณ์ทำ� งาน 3 ปี อาจไดร้ บั ต�ำแหนง่ ผชู้ ว่ ยหวั หนา้ หรอื หวั หนา้ ถา้ มปี ระสบการณ์ 5 ปี อาจไดร้ บั การปรบั เลอื่ นต�ำแหนง่ เปน็ ผจู้ ดั การ 246 โครงการ สว่ นในหนว่ ยงานเอกชนอาจได้รับการปรบั เลื่อนตำ� แหน่งตามโครงสรา้ งขององค์กร อาชีพทเ่ี กยี่ วเนอื่ ง เจ้าหน้าท่ีฝึกอบรม เจ้าหน้าที่ฝ่ายบุคคล เจ้าหน้าท่ีประสานงานในองค์กรระหว่างประเทศ ผู้ประสานงาน โครงการ หัวหนา้ ฝา่ ยตรวจเยี่ยม สถานประกอบการขององคก์ ารแรงงานโลก และผู้ตรวจเยีย่ มองค์กรพฒั นาเอกชน ขององคก์ รแรงงานโลกเจา้ หน้าท่บี รรเทาทกุ ข์ของหน่วยงานองค์การสหประชาชาติ แหลง่ ข้อมูลอนื่ ๆ - แหล่งจดั หางานในเว็บไซต์ และหนงั สอื พิมพก์ รมประชาสงเคราะห์ - กองสง่ เสริมการมงี านท�ำ - กรมการจดั หางาน หน่วยงาน และสถานทน่ี ักศึกษาไปทำ� การฝกึ งาน - หน่วยงานองค์กรพัฒนาเอกชน - สหทัยมลู นิธิ โทรศพั ท์ 0-3818-8346 อเี มล [email protected]

ท่ตี ลาด20แร0งงขา้อนมตลู อ้ องากชาพี ร กรมการ ัจดหางาน ประจ�ำ ปี 2558/2015 Department of Employment นักสัตวบาล Animal Scientist นิยามอาชีพ ท�ำงานวิจัยและปรับปรุงวิธีการทางวิทยาศาสตร์เกี่ยวกับ การผสมพันธุ์สัตว์ การเลี้ยงดู และจัดการเก่ียวกับสัตว์เล้ียง เช่น โคเนื้อ โคนม สัตว์ปีก ม้า สุกร แกะ กวาง ฯลฯ รวมท้ังอาหาร สัตว์ : ทดลองผลของการให้อาหารต่างชนิดกัน สภาพแวดล้อม การผลติ นม ไข่ หรือผลติ ภณั ฑอ์ ืน่ ๆ พนั ธศุ าสตร์ วิธีการฆา่ สตั ว์ ประเภทท่ีให้เน้ือ การเตรียมและการเก็บผลิตภัณฑ์ และการ ท�ำงานเกี่ยวกับการจัดการ; วิเคราะห์ข้อมูลจากการทดลอง ท�ำรายงาน และปรับปรุงโรงเรือนของสัตว์ สุขาภิบาล อุปกรณ์ เครอื่ งใช้ และวธิ ปี อ้ งกนั และควบคมุ โรคสตั ว์ และตวั พาราสติ ตลอด จนเทคนคิ ของการผสมพันธ์ุสัตว์ตา่ ง ๆ อาจชำ� นาญงานตามชนดิ ของกจิ กรรม เชน่ การผสมพันธุ์ ลกั ษณะของงานทที่ ำ� 1. ด�ำเนินการวิจัยและปรับปรงุ กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ท่เี ก่ยี วข้องกับการผสมพนั ธุส์ ัตว์ การเลี้ยงดู และการจัดการเกี่ยวกับสตั วเ์ ลยี้ ง เช่น โคเนื้อ โคนม สัตวป์ กี สุกร มา้ แกะ กวาง ฯลฯ รวมทั้งการให้อาหารสัตว์ 247 2. ดำ� เนนิ การการทดลองขยายผลของการใหอ้ าหารตา่ งชนดิ กนั ในสภาพแวดลอ้ มทแ่ี ตกตา่ งกนั ในการผลติ นม ไข่ หรอื ผลติ ภัณฑอ์ ื่น ๆ พันธุศาสตร์ วิธีการฆ่าสตั วป์ ระเภททีใ่ ห้เนื้อ การเตรียมการและการเก็บรักษาผลติ ภัณฑ์ และทำ� งานเกย่ี วขอ้ งกบั การจัดการสัตว์เลี้ยง 3. ด�ำเนนิ การวิเคราะห์ข้อมูลจากผลการทดลอง พร้อมท�ำรายงานประกอบ 4. ด�ำเนินการปรับปรุงโรงเรือนของสัตว์ การสุขาภิบาล การดูแลรักษาอุปกรณ์เครื่องใช้ วิธีป้องกันและ การควบคุมโรคสัตว์ และตัวพาราสติ 5. ด�ำเนนิ การศกึ ษาและปรับปรุงเทคนิคการผสมพันธุส์ ตั ว์ต่าง ๆ สภาพการจา้ งงาน เป็นผู้ท่ีส�ำเร็จการศึกษาในระดับปริญญาตรี จากคณะวิทยาศาสตร์การเกษตร สาขาสัตวบาล หรือสาขา สตั วศาสตร์ สามารถเขา้ ปฏบิ ตั งิ านในภาครฐั อาทิ กรมปศสุ ตั ว์ สถาบนั วจิ ยั ทางดา้ นการเกษตร วทิ ยาลยั เกษตรกรรม เป็นต้น โดยจะได้รับเงินเดือนตามวุฒิการศึกษา ผู้ที่ส�ำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรีจะได้รับเงินเดือนเดือน ตามวุฒกิ ารศกึ ษา ไดร้ ับสวสั ดกิ าร คา่ รักษาพยาบาล และเบี้ยเล้ยี ง ตามระเบียบส�ำนกั งานคณะกรรมการขา้ ราชการ พลเรือน ส�ำหรับในภาคเอกชน ในส่วนของการปฏิบัติงานในฟาร์มของบริษัทเอกชน เช่น บริษัทผลิตอาหารสัตว์ ผลิตเน้ือสัตว์ และผลิตสัตว์ จะได้รับค่าตอบแทนเป็นเงินเดือนท่ีระดับเริ่มต้นการท�ำงาน โดยผู้ที่ส�ำเร็จการศึกษา

2ท0่ีต0ลาดข้อแรมงูลงอานาชตพี อ้ งการ ประจ�ำ ปี 2558/2015 กรมการ ัจดหางาน ระดับปริญญาตรี จะได้รับเงินเดือนเพิ่มมากขึ้น เมื่อเทียบกับเงินเดือนในส่วนของภาครัฐ ได้รับสวัสดิการต่าง ๆ Department of Employment ค่ารักษาพยาบาลและโบนัส เป็นไปตามเงื่อนไขข้อตกลงกับผู้ว่าจ้าง ท�ำงานวันละ 8 ช่ัวโมง อาจท�ำงานล่วงเวลา วนั เสาร์ วันอาทติ ย์ และวันหยดุ ตามความจำ� เป็นเรง่ ด่วน ผู้ประกอบอาชีพน้ียังสามารถประกอบเป็นอาชีพอิสระในด้านการเพ่ิมผลผลิตจากสัตว์ การบ�ำรุงพันธุ์สัตว์ และการเพาะเลี้ยงสตั วเ์ พ่ือจำ� หนา่ ย สภาพการทำ� งาน จะต้องปฏิบัติงานในสถานีทดลองที่เก่ียวกับการขยายพันธุ์สัตว์การเลี้ยงดู และจัดการเก่ียวกับสัตว์เลี้ยง รวมทั้งอาหารสัตว์ โดยจะต้องท�ำรายงานผลการวิเคราะห์ข้อมูลจากการทดลอง ซึ่งการท�ำงานในบางครั้ง อาจต้องเผชิญปัญหากับสภาพอากาศที่ร้อน และจ�ำเป็นจะต้องใช้อุปกรณ์ในการท�ำวิจัยในสถานท่ีทดลอง นักสตั วบาลจึงตอ้ งมีความระมัดระวงั ในการทำ� งาน และต้องมีความสขุ มุ รอบคอบ ใจเยน็ โอกาสในการมีงานทำ� อุตสาหกรรมอาหารเป็นอุตสาหกรรมที่ประเทศไทย มีการพัฒนาในการแข่งขันในตลาดโลกได้ดี โดยในปี พ.ศ. 2546 ประเทศไทยได้ส่งออกอาหารและผลิตภัณฑ์ มมี ลู คา่ 351 พนั ลา้ นบาท (สำ� นกั งานเศรษฐกจิ อตุ สาหกรรม, 2547) การขับเคล่ือนของภาคการส่งออกอาหาร การ ก�ำหนดวิสัยทัศน์ให้ประเทศไทยเป็นครัวของโลก เม่ือ มีการขยายกิจการทางด้านการเล้ียงสัตว์เพิ่มมากขึ้น ตลอดจนการเพิ่มขึ้นของจ�ำนวนประชากรในประเทศ 248 และประชากรโลก จึงท�ำให้แนวโน้มความต้องการอาหาร มีม า กข้ึน ต ลา ด แ รงงา นจึงยังมีควา ม ต้อง ก า ร นกั สตั วบาลเพอื่ มาดำ� เนนิ การวจิ ยั และดำ� เนนิ การปรบั ปรงุ การผสมพันธุ์สัตว์ การเลี้ยงดู และการจัดการเก่ียวกับ สัตวเ์ ล้ียงให้มปี ระสิทธิภาพ สามารถแข่งกับตลาดโลกได้ คณุ สมบัติของผปู้ ระกอบอาชีพ 1. สำ� เรจ็ การศกึ ษาระดบั ปรญิ ญาตรี จากคณะวทิ ยาศาสตรก์ ารเกษตร สาขาสตั วบาล หรอื สาขาสตั วศาสตร์ 2. มสี ุขภาพร่างกาย จิตใจ สมบรู ณ์แข็งแรง 3. ควรมีความละเอียดรอบคอบในการทำ� งาน อดทน ขยัน 4. เปน็ ผู้มไี หวพรบิ มีความรับผดิ ชอบ มคี ุณธรรม และจรยิ ธรรมเปน็ ท่ตี งั้ 5. รกั และเมตตาต่อสตั ว์ สามารถดแู ลไดอ้ ยา่ งใกล้ชิด 6. เป็นผ้มู คี วามรคู้ วามเชยี่ วชาญในสาขาวชิ าเทคโนโลยีการผลติ สตั ว์ สถานฝึกอบรมอาชีพ / สถาบันการศกึ ษา คณะวิทยาศาสตร์การเกษตร สาขาสัตวบาล ในสถาบันการศึกษาท่ีสังกัดส�ำนักงานคณะกรรมการ การอดุ มศึกษา อาทิ

ทต่ี ลาด20แร0งงขา้อนมตูล้อองากชาีพร ประจ�ำ ปี 2558/2015 - คณะเกษตร สาขาสัตวบาล มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 50 ถนนพหลโยธิน แขวงลาดยาว เขตจตุจักร กรมการ ัจดหางาน กรุงเทพฯ 10900 โทรศัพท์ 0-2942-8200-45, 0-2579-0113, 0-2942-8491-99 เว็บไซต์ www.ku.ac.th Department of Employment - คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลยั เชียงใหม่ 239 ถนนห้วยแกว้ ตำ� บลสเุ ทพ อำ� เภอเมอื ง จงั หวดั เชยี งใหม่ 50200 โทรศพั ท์ 0-5322-1699 เว็บไซต์ www.chiangmai.ac.th คณะเทคโนโลยีการเกษตร สาขาสัตวศาสตร์ ในสถาบันการศึกษาที่สังกัดส�ำนักงานคณะกรรมการ การอดุ มศกึ ษา อาทิ - คณะเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี 2 พหลโยธิน 87 ซอย 2 ต�ำบล ประชาธปิ ัตย์ อ�ำเภอธัญบุรี จงั หวัดปทุมธานี 12130 โทรศพั ท์ 0-2549-4990-2 เว็บไซต์ www.rmut.ac.th คณะเทคโนโลยีการเกษตร สาขาเกษตรศาสตร์ หรือสาขาสัตวบาล มหาวิทยาลัยราชภัฏทุกแห่งที่ เปดิ สอน อาทิ - คณะวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั พระนคร เลขที่ 9 ถนนแจ้งวัฒนะ แขวงอนสุ าวรยี ์ เขตบางเขน กรงุ เทพฯ 10220 โทรศัพท์ 0-2552-6644 เว็บไซต์ www.pnru.ac.th - มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่ 202 ถ.ช้างเผือก ต�ำบลช้างเผือก อ�ำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ 50300 เวบ็ ไซต์ www.cmru.ac.th โทรศพั ท์ 0-5341-2526 โอกาสความกา้ วหน้าในอาชีพ 249 ผู้ประกอบอาชีพน้ี ถ้าเข้ารับราชการจะได้เล่ือน ต�ำแหน่งและเงินเดือนตามกฎระเบียบที่วางไว้ และใน ภาคเอกชน ถา้ มคี วามสามารถ มปี ระสบการณใ์ นการทำ� งาน ไม่น้อยกว่า 5 ปี (ขึ้นอยู่กับสถานประกอบการน้ัน ๆ) จะได้เลื่อนข้ันเป็นผู้จัดการฟาร์ม ซึ่งจะได้รับเงินเดือน เพมิ่ ขน้ึ เปน็ ประมาณ 30,000 - 50,000 บาท อาชพี ทีเ่ กยี่ วเนือ่ ง เจ้าหน้าที่วางแผนการผลิต นักวิชาการเกษตร พนักงานขายทางการเกษตร หัวหน้าฝ่ายผลิตโรงงาน อตุ สาหกรรมอาหาร แหลง่ ข้อมูลอน่ื ๆ - กรมสง่ เสริมการเกษตร เว็บไซต์ www.doae.go.th โทรศพั ท์ 0-2579-0121-7 - กรมปศุสัตว์ เวบ็ ไซต์ www.dld.go.th โทรศัพท์ 0-2653-4925 - กรมวิชาการเกษตร เว็บไซต์ www.doa.go.th โทรศพั ท์ 0-2579-0151-7 - องค์การส่งเสริมกิจการโคนมแห่งประเทศไทย เวบ็ ไซต์ www.thaidanskmilk.com โทรศพั ท์ 0-3634- 1200, 0-3634-1298 - สมาคมผู้เพาะเล้ยี งโคบราห์มัน (สผบ) เว็บไซต์ www.bbathai.com โทรศัพท์ 0-4422-3000

กรมการ ัจดหางาน ท20ตี่ 0ลาดขอ้แรมงูลงอานาชตพี อ้ งการ Department of Employment ประจ�ำ ปี 2558/2015 นักสตั ววทิ ยา (วจิ ยั ) Zoologist (Research) นิยามอาชพี ผู้ท�ำงานวิจัยด้านชีววิทยา สัตววิทยาและงานอื่น ๆ ที่ เกย่ี วขอ้ งกนั ในหอ้ งปฏบิ ตั กิ ารทางวทิ ยาศาสตร์ หรอื โดยการปฏบิ ตั ิ งานในสนาม แล้วน�ำสิ่งที่ค้นพบต่าง ๆ มาใช้ส�ำหรับป้องกันโรค หรอื บำ� รงุ รกั ษาและสง่ เสรมิ สขุ ภาพอนามยั ใหแ้ กช่ วี ติ สตั วแ์ ละพชื รวมถงึ การศกึ ษาเก่ยี วกบั กำ� เนดิ พัฒนาการโครงสร้าง สรีรวิทยา การกระจายกรรมพนั ธ์ุ สง่ิ แวดลอ้ ม ความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งกนั การ จัดประเภทและรูปการมูลฐานของชีวิตพืชและสัตว์ การศึกษา กรรมวธิ ีทางเคมีทเ่ี กี่ยวกับสตั ว์ การน�ำส่ิงทีค่ ้นพบต่าง ๆ มาใชแ้ ก้ ปัญหาเกยี่ วกับการรกั ษาโรคงานทางอุตสาหกรรมและงานอ่ืน ๆ ลักษณะของงานทที่ �ำ 1. ศึกษาในห้องปฏิบัติการทางวิทยาศาสตร์หรือจากของจริงตามธรรมชาติ เกี่ยวกับก�ำเนิด พัฒนาการ 250 โครงสร้างและสรีรวิทยา การกระจายกรรมพันธุ์ สิ่งแวดล้อม ความสัมพันธ์ภายในระหว่างกัน การจัดประเภท และรูปการมูลฐานของชีวิตสัตว์ และน�ำส่ิงที่ค้นพบมาใช้แก้ปัญหาต่าง ๆ ท่ีกระทบกระเทือนต่อ สุขภาพอนามัย และสวัสดกิ ารของมนุษย์ สตั วแ์ ละพชื การเกษตร และปัญหาอืน่ ๆ ซึ่งมผี ลกระทบกระเทอื นต่อชวี ติ 2. วางแผนการทดลอง เดินทางไปศกึ ษาที่อยูอ่ าศัยตามธรรมชาตขิ องสัตว์ หรือเก็บรวบรวมตวั อยา่ งต่าง ๆ เพ่อื มาศกึ ษาในหอ้ งปฏบิ ัติการทางวทิ ยาศาสตร์ 3. ผา่ และศกึ ษาตวั อยา่ งโดยใชก้ ลอ้ งจลุ ทรรศน์ เคมภี ณั ฑ์ วธิ กี ารถา่ ยภาพ วตั ถแุ ละอปุ กรณท์ างวทิ ยาศาสตรอ์ นื่ ๆ 4. ให้ชือ่ จดั ประเภท และเก็บรกั ษาตวั อยา่ งไมใ่ ห้เสียหาย 5. เตรียมตัวอย่างที่เก็บรวบรวมได้มา ให้ชื่อและศึกษาถึงพัฒนาการของโรคต่าง ๆ และศึกษา เพ่อื ใชใ้ นวัตถปุ ระสงค์อนื่ ๆ 6. ท�ำการวเิ คราะห์เชงิ สถิติในข้อมลู ที่ไดจ้ ากการทดลองและท�ำรายงานผลการวิเคราะห์ 7. อาจท�ำการทดลองเก่ียวกับสัตว์ของตนเอง อาจน�ำผลท่ีได้จากการทดลองมาใช้ให้เป็นประโยชน์ เชิงเศรษฐกิจแก่ชีวติ มนษุ ย์ สภาพการจ้างงาน ผู้ปฏิบัติงานอาชีพนี้ ได้รับค่าตอบแทนการท�ำงานเป็นเงินเดือนตามวุฒิการศึกษา ท�ำงานสัปดาห์ละ 40 ชั่วโมง แต่อาจจะต้องท�ำงานวันเสาร์ วันอาทิตย์ และวันหยุด หรือท�ำงาน ล่วงเวลา ในกรณีท่ีต้องการให้งาน ที่ได้รบั มอบหมายเสรจ็ ทันตอ่ การใชง้ าน

ที่ตลาด20แร0งงขา้อนมตูล้อองากชาีพร ประจ�ำ ปี 2558/2015 นอกจากผลตอบแทนในรปู เงนิ เดอื นแลว้ ในภาครฐั วสิ าหกจิ และภาคเอกชนอาจไดร้ บั ผลตอบแทนในรปู อนื่ เชน่ กรมการ ัจดหางาน ค่ารกั ษาพยาบาล เงินสะสม เงินช่วยเหลือ สวสั ดิการในรปู ตา่ ง ๆ เงินโบนัส เป็นต้น Department of Employment สภาพการทำ� งาน ผู้ประกอบอาชีพนกั วจิ ัย สตั ววิทยา อาจจะต้องปฏบิ ตั งิ านในหอ้ งทำ� งานเหมอื นสำ� นักงานทวั่ ไป หรอื ปฏิบัติ งานในห้องปฏิบัติการทดลอง เพ่ือปฏิบัติงานด้านการทดสอบและทดลองทางวิทยาศาสตร์ หรืออาจจะปฏิบัติงาน ภาคสนาม ส�ำรวจและศึกษาจากของจริงในภาคสนาม เพ่อื เก็บขอ้ มลู ปฏิบตั งิ านตาม ขน้ั ตอนตามระเบยี บทีก่ �ำหนด ไว้ อาจตอ้ งทำ� งานในบริเวณท่ีกำ� หนด และเป็นบริเวณห้ามสบู บหุ รี่หรือ รับประทานอาหาร ต้องใชอ้ ปุ กรณป์ อ้ งกัน เชน่ ถุงมอื หน้ากาก เปน็ ต้น โอกาสในการมีงานทำ� ผทู้ สี่ ำ� เรจ็ การศกึ ษาสามารถเขา้ ทำ� งาน ในภาครัฐ รัฐวิสาหกิจ หรือองค์การ เอกชน เชน่ หนว่ ยงาน ในกระทรวงวทิ ยาศาสตรแ์ ละ เทคโนโลยี กระทรวงศกึ ษาธกิ าร สำ� นกั วจิ ยั และ พฒั นาเทคโนโลยชี วี ภาพ กระทรวงเกษตรและ สหกรณก์ ระทรวงสาธารณสุข มหาวิทยาลัย ของรัฐและเอกชน สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย เป็นต้น จะไดร้ บั เงนิ เดอื นตามวฒุ ทิ เ่ี รยี นสำ� เรจ็ หรอื ทำ� งานในภาคเอกชนในสถานประกอบการอตุ สาหกรรม เชน่ อตุ สาหกรรม อาหาร อตุ สาหกรรมการเกษตร โรงงานอุตสาหกรรมผลติ และแปรรูปเกษตร เป็นต้น 251 เนอื่ งจากประเทศไทยเปน็ ประเทศสง่ สนิ คา้ ภาคเกษตรออกเปน็ หลกั อกี ทง้ั ในอนาคตประเทศไทย มแี นวโนม้ ในการสง่ เสรมิ อตุ สาหกรรมทางการเกษตรมากยง่ิ ขน้ึ ผลติ ภณั ฑท์ จี่ ะเปน็ สนิ คา้ เพอื่ การสง่ ออก จะตอ้ งมคี ณุ ภาพดเี พอ่ื สามารถแขง่ ขนั ทางการตลาดได้ ดงั นนั้ ความตอ้ งการบคุ ลากรทางดา้ นนย้ี งั มอี ยมู่ ากเพอ่ื ทำ� การวจิ ยั สง่ เสรมิ ในการเพมิ่ ผลผลิต หรอื ปรับคุณภาพของผลิตภัณฑท์ างเกษตรให้มคี ณุ ภาพยง่ิ ข้ึน เช่น ผลติ ภัณฑเ์ น้อื ไก่ กุง้ เน้ือโคขนุ คุณสมบัตขิ องผูป้ ระกอบอาชพี 1. ส�ำเรจ็ การศึกษาระดับปรญิ ญาตรคี ณะวิทยาศาสตร์ คณะเกษตรศาสตร์ คณะประมงสาขาวชิ าสตั ววทิ ยา หรือสาขาวิชาทเ่ี กี่ยวขอ้ ง 2. มีความรู้ความสามารถในการใชภ้ าษาอย่างเหมาะสมแก่การปฏิบัตหิ น้าท่ที ้งั การอา่ น และการเขียน 3. มคี วามสามารถในการศกึ ษาหาขอ้ มูล วเิ คราะหป์ ัญหา และสรุปเหตผุ ล 4. มคี วามสามารถในการเปน็ ผู้นำ� และผ้ตู าม 5. สามารถเดนิ ทางไปปฏบิ ตั ิงานในตา่ งจังหวัดได้ 6. มมี นุษยสัมพันธท์ ่ีดีต่อบุคลากรในองค์กรและชุมชน 7. มีความสนใจในวิชาวทิ ยาศาสตร์ เคมแี ละชีววิทยา และสามารถสอบได้คะแนนดใี นวชิ าเหล่านี้ ชอบการ ค้นคว้าทดลอง การใช้ปญั ญาในการวิเคราะห์ 8. มีความคดิ สร้างสรรค์ ชอบค้นคว้า

กรมการ ัจดหางาน ท20ต่ี 0ลาดขอ้แรมงลู งอานาชตพี ้องการ Department of Employment ประจ�ำ ปี 2558/2015 9. มีความรบั ผดิ ชอบต่อหนา้ ท่ี ท่ีได้รับมอบหมาย 10. มีความแมน่ ยำ� ใจเยน็ และละเอยี ดรอบคอบ 11. มีความสามารถเปน็ พิเศษในการสังเกต คิดอะไรมรี ะบบระเบยี บ และสามารถแสดงผลการ คน้ ควา้ ออก มาได้ง่าย และชดั เจนทง้ั การพดู และการเขยี น 12. มีความเช่ือม่ันในตนเอง กล้าตัดสนิ ใจ และสามารถแกไ้ ขปัญหาต่าง ๆ ได้รวดเร็ว 13. มีความรู้ทางวิทยาศาสตร์ และคณิตศาสตรเ์ ป็นอยา่ งดี 14. มีร่างกายแข็งแรง อดทน สามารถปฏบิ ัติงานในหน้าทไี่ ดด้ ี สถานฝกึ อบรมอาชีพ / สถาบนั การศกึ ษา - คณะวทิ ยาศาสตร์ จฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั เขตพญาไท กรงุ เทพฯ 10330 โทรศพั ท์ 0-2218-5000 เวบ็ ไซต์ http://web.sc.chula.ac.th/ - คณะประมง มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร์ 50 ถนนงามวงศว์ าน แขวงลาดยาว เขตจตจุ กั ร กรงุ เทพฯ 10900 โทรศพั ท์ / โทรสาร 0-2942-8364 เวบ็ ไซต์ http://www.fish.ku.ac.th/ - คณะวิทยาศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยเชยี งใหม่ - คณะทรพั ยากรธรรมชาติ มหาวทิ ยาลยั สงขลานครนิ ทร์ ถนนกาญจนวณชิ ย์ อำ� เภอหาดใหญ่ จงั หวดั สงขลา 90112 โทรศพั ท์ 0-7455-8802 (ภายใน 6018-20) โทรสาร 0-7455-8803 อีเมล [email protected] เว็บไซต์ natres.psu.ac.th/ - คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแกน่ 123 ถนนมิตรภาพ ต�ำบลในเมือง อำ� เภอเมือง จังหวดั ขอนแกน่ 40002 เวบ็ ไซต์ http://sc.kku.ac.th/sciweb/ 252 - คณะ หรือสาขาวิชาอ่นื ๆ ที่เกย่ี วขอ้ ง โอกาสความก้าวหนา้ ในอาชพี ผู้ปฏิบัติหน้าที่เป็นข้าราชการในหน่วยงานปฏิบัติการทาง วทิ ยาศาสตรท์ วั่ ไป หรอื ในสถาบนั วจิ ยั ทางวทิ ยาศาสตร์ ไดร้ บั ตำ� แหนง่ และเลอ่ื นขนั้ ยศตามขนั้ ตอนของระบบราชการ การศกึ ษาตอ่ เพมิ่ เตมิ จะ ชว่ ยให้ เลอื่ นขน้ั เลอ่ื นตำ� แหนง่ ไดร้ วดเรว็ และสามารถเปน็ ถงึ ผบู้ รหิ าร สูงสุดของหน่วยงานได้ ส่วนในภาคเอกชนนั้นขึ้นอยู่กับโครงสร้างการ บริหารงานขององค์กร ซึ่งสามารถเป็นผู้จัดการโรงงานและผู้จัดการ งานวิจยั อาชพี ท่เี กีย่ วเนอ่ื ง นกั ชวี วทิ ยา หรอื นกั ชวี เคมี นกั เคมี (อนิ ทรยี เคม)ี นกั เคมี (อนนิ ทรยี เคม)ี นกั เคมี (ฟสิ กิ ส)์ นกั วจิ ยั นกั กฏี วทิ ยา แหล่งข้อมูลอืน่ ๆ - สถาบนั การศกึ ษาในสงั กดั ทบวงมหาวทิ ยาลยั เชน่ มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร์ เวบ็ ไซต์ http://www.ku.ac.th - แหล่งจัดหางานในหนงั สือพมิ พแ์ ละเวบ็ ไซต์ ท้งั ของภาครฐั เอกชน และองคก์ ารระหวา่ งประเทศ - กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เว็บไซต์ http://www.moac.go.th - กรมวชิ าการเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เว็บไซต์ http://www.doa.go.th

ทตี่ ลาด20แร0งงขา้อนมตูล้อองากชาีพร กรมการ ัจดหางาน ประจ�ำ ปี 2558/2015 Department of Employment นักสัตววทิ ยา Zoologist นยิ ามอาชีพ ศกึ ษาและปฏิบัตงิ านทางวทิ ยาศาสตร์ทเ่ี กีย่ วกับสตั ว์ หรอื จากของจรงิ ตามธรรมชาตเิ กย่ี วกบั พนั ธกุ รรม โครงสรา้ ง การดำ� รงชวี ติ พฤตกิ รรม การเจรญิ เตบิ โตและพฒั นาการสง่ิ แวดลอ้ ม การจดั ประเภท และรปู การมลู ฐานอน่ื ๆ ของชวี ติ สตั ว์ และนำ� สง่ิ ทคี่ น้ พบมาใชแ้ กป้ ญั หา ต่าง ๆ ท่ีกระทบกระเทือนต่อสุขภาพอนามัย และสวัสดิภาพของ ชีวติ มนษุ ย์ สตั ว์ และพชื : ปฏบิ ัติงานหลักมลู ฐานเชน่ เดียวกันกับ นักชีววิทยาทั่วไป แต่เช่ียวชาญในการศึกษาชีวิตสัตว์ อาจมีความ เชย่ี วชาญในสตั ววทิ ยาสาขาใดสาขาหนึง่ เช่น วทิ ยาเอม็ บริโอ สัณฐานวิทยา เซลล์วิทยา วชิ าวา่ ด้วยสัตว์ไมม่ ีกระดกู สนั หลงั สตั ววิทยาที่เก่ียวกบั ปลา นก สตั ว์เลย้ี งลกู ด้วยนม และพาราสิตวทิ ยา ลักษณะของงานทที่ ำ� 1. ทำ� การศกึ ษาในหอ้ งปฏบิ ตั กิ ารทางวทิ ยาศาสตร์ หรอื จากการออกนอกสถานทปี่ ฏบิ ตั งิ านตามธรรมชาติ เพอื่ ศกึ ษาเกยี่ วกบั ตน้ กำ� เนดิ พฒั นาการโครงสรา้ งและสรรี วทิ ยา การกระจายกรรมพนั ธ์ุ สง่ิ แวดลอ้ ม ความสมั พนั ธภ์ ายใน 253 ระหว่างกนั การจดั ประเภทและรูปแบบมูลฐานของชวี ติ พืชและสัตว์ และน�ำส่งิ ที่ค้นพบมาใช้ในการแกป้ ัญหาต่าง ๆ ที่กระทบกระเทอื นต่อสุขอนามยั และสวัสดภิ าพของมนุษย์ สัตว์และพืชการเกษตร และปัญหาอ่นื ๆ ซ่งึ มผี ลกระทบ กระเทอื นตอ่ ชวี ติ 2. วางแผนการวจิ ยั โดยการออกเดนิ ทางไปทำ� การศกึ ษาทอี่ ยอู่ าศยั ตามธรรมชาตขิ องสตั ว์ และเกบ็ รวบรวม ตัวอย่างต่าง ๆ เพ่ือน�ำกลับมาศกึ ษาวิจยั ในห้องปฏิบัติการทางวทิ ยาศาสตรต์ อ่ ไป 3. ทำ� การผา่ และศึกษาวจิ ยั ตัวอยา่ งโดยใช้กล้องจลุ ทรรศน์ เคมีภัณฑ์ วธิ กี ารถา่ ยภาพ วตั ถุและอุปกรณ์ทาง วทิ ยาศาสตรอ์ ืน่ ๆ ตั้งชื่อ จดั ประเภท และเกบ็ รักษาตัวอยา่ งเพ่ือไม่ใหเ้ กดิ ความเสียหาย 4. ทำ� การเกบ็ รวบรวมตวั อยา่ งทไ่ี ดน้ ำ� มาตง้ั ชอ่ื และศกึ ษาถงึ การพฒั นาการของโรคตา่ ง ๆ รวมทง้ั เกบ็ รวบรวม ตวั อยา่ งเพอ่ื นำ� ไปใชใ้ นวตั ถปุ ระสงคอ์ นื่ ๆ ทำ� การวเิ คราะหเ์ ชงิ สถติ แิ ละทำ� รายงานขอ้ มลู ทไี่ ดจ้ ากการทดลอง อาจจะทำ� การ ทดลองเกย่ี วกบั สตั วข์ องตนเอง และนำ� ผลทไ่ี ดจ้ ากการทดลองมาใชใ้ หเ้ ปน็ ประโยชนเ์ ชงิ เศรษฐกจิ แกช่ วี ติ มนษุ ยต์ อ่ ไป สภาพการจ้างงาน ทำ� งานสัปดาห์ละ 40 ชว่ั โมง แตอ่ าจจะตอ้ งทำ� งานวนั เสาร์ วันอาทติ ย์ และวันหยดุ หรอื ทำ� งาน ลว่ งเวลา ใน กรณีทต่ี อ้ งการใหง้ านที่ได้รบั มอบหมายเสรจ็ ทันกำ� หนดเวลา นอกจากผลตอบแทนจากเงนิ เดอื นแลว้ ในภาครฐั วสิ าหกจิ และภาคเอกชน อาจไดร้ บั ผลตอบแทน หรอื ไดร้ บั สวสั ดกิ ารในด้านต่าง ๆ เชน่ คา่ รกั ษาพยาบาล เงนิ สะสม เงินช่วยเหลอื เงนิ โบนัส เปน็ ตน้

ท20่ีต0ลาดข้อแรมงลู งอานาชตีพ้องการ ประจ�ำ ปี 2558/2015 กรมการ ัจดหางาน สภาพการทำ� งาน Department of Employment นักสัตววิทยา จะต้องปฏิบัติงานใน ส�ำนักงาน หรือบางครั้งต้องปฏิบัติงานในห้อง ปฏบิ ตั กิ ารทดลอง เพอ่ื ทำ� การทดสอบหรอื ทดลอง ทางวิทยาศาสตร์ หรืออาจจะออกปฏิบัติงาน ภาคสนาม เพ่ือท�ำการส�ำรวจและศึกษาจาก ของจริงในภาคสนาม เพื่อเก็บข้อมูลน�ำมา ปฏิบัติงานตามขั้นตอนตามระเบียบที่ก�ำหนด ไว้ อาจต้องท�ำงานอยู่ในบริเวณที่ก�ำหนด และเปน็ บรเิ วณหา้ มสบู บหุ รหี่ รอื รบั ประทานอาหาร ตอ้ งสวมอปุ กรณป์ อ้ งกนั เชน่ ถงุ มอื หนา้ กาก เปน็ ตน้ โอกาสในการมีงานท�ำ ผทู้ สี่ ำ� เรจ็ การศกึ ษาจากสาขาน้ี สามารถเขา้ ทำ� งานในภาครฐั รฐั วสิ าหกจิ หรอื องคก์ ารเอกชน เชน่ หนว่ ยงาน ใน กระทรวงวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี กระทรวงศกึ ษาธกิ าร ส�ำนกั วจิ ยั และพฒั นาเทคโนโลยชี วี ภาพ กระทรวงเกษตร และสหกรณ์ กระทรวงสาธารณสุข มหาวิทยาลัยของรัฐและเอกชน สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่ง ประเทศไทย เปน็ ตน้ จะไดร้ บั เงนิ เดอื นตามวฒุ กิ ารศกึ ษา หรอื ทำ� งานในภาคเอกชนในสถานประกอบการอตุ สาหกรรม เชน่ อตุ สาหกรรมอาหาร อตุ สาหกรรมการเกษตร โรงงานอตุ สาหกรรมผลิต และแปรรูปเกษตร เป็นตน้ เนอื่ งจากประเทศไทยเปน็ ประเทศสง่ ออกสนิ คา้ ภาคการเกษตรเปน็ หลกั อกี ทง้ั ในอนาคตประเทศไทย มโี อกาส ในการสง่ เสรมิ อตุ สาหกรรมทางการเกษตรมากยง่ิ ขนึ้ ผลติ ภณั ฑท์ จี่ ะเปน็ สนิ คา้ เพอ่ื การสง่ ออกจะตอ้ งมคี ณุ ภาพดเี พอ่ื ใหส้ ามารถทำ� การแขง่ ขนั ทางการตลาดได้ ดงั นน้ั ความตอ้ งการบคุ ลากรทางดา้ นนย้ี งั มอี ยมู่ าก เพอ่ื ทจ่ี ะไดท้ ำ� การวจิ ยั ใน 254 การเพมิ่ ผลผลติ หรอื ปรบั คณุ ภาพของผลติ ภณั ฑท์ างเกษตรใหม้ คี ณุ ภาพมากยงิ่ ขนึ้ เชน่ ผลติ ภณั ฑเ์ นอื้ ไก่ กงุ้ เนอื้ โคขนุ คุณสมบตั ิของผปู้ ระกอบอาชพี 1. เป็นผสู้ �ำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรจี ากคณะวิทยาศาสตร์ คณะเกษตรศาสตร์ คณะประมง สาขาวิชา สัตววทิ ยาหรอื สาขาวิชาทเ่ี กยี่ วขอ้ ง 2. มคี วามรูค้ วามสามารถในการใชภ้ าษาในการทำ� งานไดอ้ ยา่ งคล่องแคล่ว ทงั้ การอ่าน และการเขียน 3. มีความสามารถในการศึกษาหาข้อมลู มาวิเคราะห์ปัญหา และหาขอ้ สรปุ และเหตผุ ลอา้ งองิ 4. สามารถเปน็ ได้ท้งั ผู้นำ� และผู้ตาม 5. สามารถเดนิ ทางไปปฏิบัติงานในพื้นท่ตี า่ งจงั หวดั ได้ 6. มมี นษุ ยสมั พนั ธท์ ดี่ ตี ่อบคุ ลากรในองคก์ รและชุมชน 7. มคี วามเขา้ ใจในวชิ าวทิ ยาศาสตร์ เคมีและชวี วิทยาเปน็ อยา่ งดี สามารถท�ำคะแนนได้ดใี นวิชาเหลา่ นี้ มใี จ รกั ในการคน้ คว้าทดลอง และชอบใชป้ ัญญาในการวิเคราะห์ เพื่อหาเหตผุ ลต่าง ๆ 8. มีความคดิ สร้างสรรค์ ชอบคน้ ควา้ ทดลอง 9. มคี วามรับผิดชอบตอ่ หนา้ ทีท่ ่ไี ดร้ ับมอบหมาย 10. มีความแม่นยำ� ใจเย็น และละเอยี ดรอบคอบ 11. มีความสามารถเป็นพเิ ศษในการสงั เกต คิดวิเคราะหอ์ ยา่ งเป็นระบบ และสามารถแสดงผลการคน้ ควา้ ออกมาไดง้ ่ายและชดั เจน ทงั้ การพดู และการเขยี น

ทต่ี ลาด20แร0งงขา้อนมตูลอ้ องากชาพี ร ประจ�ำ ปี 2558/2015 12. มีความเช่อื มนั่ ในตนเอง กลา้ คดิ กล้าตดั สินใจ และสามารถวิเคราะหแ์ ก้ไขปญั หาตา่ ง ๆ ไดอ้ ยา่ งรวดเรว็ กรมการ ัจดหางาน 13. มคี วามรทู้ างวิทยาศาสตร์ และคณติ ศาสตร์เป็นอย่างดี Department of Employment 14. มรี ่างกายแขง็ แรง อดทน สามารถปฏิบตั ิงาน ทงั้ ในสำ� นักงานหรอื ออกภาคสนามได้ สถานฝกึ อบรมอาชีพ / สถาบนั การศกึ ษา ตอ้ งผา่ นการสอบคดั เลอื กเพอื่ เขา้ ศกึ ษาในสถาบนั อดุ มศกึ ษา ทมี่ หี ลกั สตู รสาขาวชิ าสตั ววทิ ยา และสาขาวชิ า ชีววิทยา เช่น คณะวทิ ยาศาสตร์ คณะเกษตร คณะประมง เชน่ - คณะวทิ ยาศาสตร์ จฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั เขตพญาไท กรงุ เทพฯ 10330 โทรศพั ท์ 0-2218-5000 เวบ็ ไซต์ http://web.sc.chula.ac.th/ - คณะประมง มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร์ 50 ถนนงามวงศว์ าน แขวงลาดยาว เขตจตจุ กั ร กรงุ เทพฯ 10900 โทรศพั ท์ / โทรสาร 0-2942-8364 เวบ็ ไซต์ http://www.fish.ku.ac.th/ - คณะวิทยาศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยเชียงใหม่ - คณะทรพั ยากรธรรมชาติ มหาวทิ ยาลยั สงขลานครนิ ทร์ ถนนกาญจนวณชิ ย์ อำ� เภอหาดใหญ่ จงั หวดั สงขลา 90112 โทรศพั ท์ 0-7455-8802 (ภายใน 6018-20) โทรสาร 0-7455-8803 อเี มล [email protected] เว็บไซต์ natres.psu.ac.th/ - คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแกน่ 123 ถนนมติ รภาพ ตำ� บลในเมอื ง อำ� เภอเมือง จงั หวัดขอนแกน่ 40002 เวบ็ ไซต์ http://sc.kku.ac.th/sciweb/ - คณะ หรือสาขาวชิ าอ่นื ๆ ที่เก่ียวข้อง มหี ลกั สตู ร 4 ปี จงึ จะสำ� เรจ็ การศกึ ษาไดร้ บั ปรญิ ญาตรี และเมอื่ ศกึ ษาจบแลว้ สามารถเขา้ ทำ� งานในหนว่ ยงาน ภาครัฐ รฐั วสิ าหกิจ หรอื เอกชนได้ 255 โอกาสความกา้ วหนา้ ในอาชพี เข้าปฏิบัติหน้าท่ีเป็นข้าราชการในหน่วยงานปฏิบัติการทางวิทยาศาสตร์ท่ัวไป หรือในสถาบันวิจัยทาง วทิ ยาศาสตร์ ไดร้ บั การปรบั ตำ� แหนง่ และปรบั เลอื่ นขนั้ ตามขนั้ ตอนของระบบราชการ การศกึ ษาตอ่ เพม่ิ เตมิ จะชว่ ยให้ การปรบั เลอ่ื นขนั้ เลอื่ นตำ� แหนง่ ไดร้ วดเรว็ และสามารถเปน็ ถงึ ผบู้ รหิ ารสงู สดุ ของหนว่ ยงานได้ สว่ นในภาคเอกชนนน้ั ขน้ึ อยกู่ บั โครงสรา้ งการบริหารงานขององคก์ ร ซง่ึ สามารถเปน็ ถึงผ้จู ดั การโรงงานและผู้จัดการงานวิจยั อาชีพทีเ่ ก่ยี วเนอื่ ง นกั ชวี วทิ ยา หรอื นกั ชวี เคมี นกั เคมี (อนิ ทรยี เ์ คม)ี นกั เคมี (อนนิ ทรยี เ์ คม)ี นกั เคมี (ฟสิ กิ ส)์ นกั วจิ ยั นกั กฏี วทิ ยา แหลง่ ขอ้ มูลอน่ื ๆ - สถาบนั การศกึ ษาในสงั กดั ทบวงมหาวทิ ยาลยั เชน่ มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร์ เวบ็ ไซต์ http://www.ku.ac.th - แหล่งจัดหางานในหนงั สือพิมพแ์ ละเว็บไซต์ ทั้งของภาครัฐ เอกชน และองคก์ ารระหวา่ งประเทศ - กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เวบ็ ไซต์ http://www.moac.go.th - กรมวชิ าการเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เวบ็ ไซต์ http://www.doa.go.th

กรมการ ัจดหางาน 2ท0่ตี 0ลาดข้อแรมงลู งอานาชตพี ้องการ Department of Employment ประจ�ำ ปี 2558/2015 ผจู้ ดั การงานแมบ่ า้ น Housekeeping Manager นยิ ามอาชีพ รับผิดชอบ ดูแล รักษา ความสะอาดเรียบร้อย ภายในโรงแรมในส่วนพ้ืนที่สาธารณะห้องพักแขกและ พื้นที่ส�ำนักงาน; ก�ำหนดมาตรฐานความสะอาด และ ตรวจดูแลทุกพื้นท่ี; วางแผนจัดตารางเวลาปฏิบัติงาน ของพนักงานแม่บ้าน; วางกฎระเบียบวิธีปฏิบัติงาน ของสว่ นงานตา่ ง ๆ; จดั ทำ� รายงาน จดั ทำ� งบประมาณ และ ควบคุมการเบิกจ่ายพัสดุ; วางแผนควบคุมการใช้งาน อุปกรณ์เครื่องมือเคร่ืองใช้อย่างมีประสิทธิภาพ; ดูแล คัดเลือกบุคลากรและจัดฝึกอบรม; ประสานงานกับ แผนกงานอน่ื ท่ีเก่ียวข้อง ลกั ษณะของงานทีท่ ำ� 1. รับผิดชอบดูแลรักษาความสะอาดเรียบร้อย 256 ภายในโรงแรมในส่วนพื้นท่ีสาธารณะห้องพักแขกและ พ้ืนทส่ี �ำนกั งาน 2. กำ� หนดมาตรฐานความสะอาด และตรวจดแู ลทกุ พนื้ ที่ 3. วางแผนจัดตารางเวลาการปฏิบตั งิ านของพนกั งานแมบ่ ้าน 4. วางกฎระเบียบวธิ ปี ฏบิ ัติงานของส่วนงานตา่ ง ๆ 5. จัดท�ำรายงาน จัดทำ� งบประมาณ และควบคมุ การเบกิ จา่ ยพสั ดุ 6. วางแผนควบคมุ การใช้งานอุปกรณเ์ ครื่องมือเคร่อื งใช้อย่างมีประสทิ ธิภาพ 7. ดูแลคัดเลือกบคุ ลากรและจัดฝึกอบรม 8. ประสานงานกับแผนกงานอื่นทีเ่ กยี่ วขอ้ ง สภาพการจ้างงาน ผปู้ ระกอบอาชพี นี้ ควรสำ� เรจ็ การศกึ ษาระดบั ปรญิ ญาตรี สาขาการบรหิ ารโรงแรมหรอื สาขาคหกรรมศาสตร์ หรือสูงกว่า ได้รับค่าตอบแทนเป็นเงินเดือนท่ีค่อนข้างสูง เน่ืองจากการว่าจ้างบุคลากรในอาชีพนี้ต้องการ ผู้มีประสบการณ์ในการท�ำงานโรงแรมมาแล้ว ผู้จัดการแม่บ้านเป็นอาชีพท่ีต้องมีความรับผิดชอบสูง อดทน และต้องบริหารงานตลอด 24 ชั่วโมง อัตราเงินเดือนขึ้นอยู่กับขนาดของโรงแรม มีอัตราเงินเดือนเร่ิมต้นประมาณ 20,000 - 30,000 บาท ขนึ้ อย่กู ับประสบการณ์ สวัสดิการต่าง ๆ คา่ รักษาพยาบาล และโบนสั เปน็ ไปตามเงอ่ื นไข ขอ้ ตกลงกบั ผวู้ า่ จา้ งวางแผนการบรหิ ารจดั การ ดา้ นระบบการทำ� งานรกั ษาความสะอาดในโรงแรม บรหิ ารและควบคมุ

ท่ตี ลาด20แร0งงขาอ้ นมตูล้อองากชาพี ร ประจ�ำ ปี 2558/2015 การปฏิบัติงานของพนักงาน และสั่งซ้ืออุปกรณ์เคร่ืองใช้ต่าง ๆ ส�ำหรับการท�ำความสะอาดสถานท่ีส�ำนักงาน กรมการ ัจดหางาน หอ้ งน�้ำ ห้องพกั ในโรงแรมใหอ้ ยใู่ นขั้นได้มาตรฐาน Department of Employment สภาพการทำ� งาน ผู้ประกอบอาชีพน้ี ท�ำงานในสถานท่ีท�ำงานท่ีมีสภาพแวดล้อมท่ีดี ท�ำงานร่วมกับพนักงานเป็นจ�ำนวนมาก คอยอำ� นวยความสะดวกดา้ นทพ่ี กั แกแ่ ขกทเี่ ขา้ พกั ในโรงแรม ในชว่ งฤดกู าลทอ่ งเทย่ี วจะมแี ขกมาพกั เปน็ จำ� นวนมาก ผู้จัดการแม่บ้านจะต้องเข้ามาบริหารงานการท�ำความสะอาดสถานท่ี ส�ำนักงาน ห้องน้�ำ ห้องพักในโรงแรม อยา่ งใกลช้ ดิ มากยิ่งข้นึ เพ่อื ป้องกันมใิ ห้เกิดความบกพรอ่ งในด้านการบริการ โอกาสในการมีงานทำ� เนื่องจากรัฐบาลมีนโยบายส่งเสริมการท่องเท่ียวกิจการด้านโรงแรมจึงขยายตัวมากขึ้นดังนั้น ผู้มีความรู้ ความสามารถในการบริหารจัดการ งานท�ำความสะอาดมีโอกาสท่ีจะท�ำงานเป็นผู้จัดการแม่บ้านของโรงแรมได้มาก และถ้าสามารถบริหารงานได้อย่างมีประสทิ ธภิ าพจะเปน็ ขอ้ ไดเ้ ปรียบในการสมัครคัดเลือกเข้าทำ� งาน คณุ สมบัตขิ องผปู้ ระกอบอาชีพ 1. การเป็นผู้จัดการแม่บ้านหรือเรสิเดนท์เมเนเจอร์โรงแรมที่มีระดับนั้น ต้องการผู้มีประสบการณ์มาก การเร่ิมต้นท�ำงานในข้ันแรกผู้ทรี่ ักอาชีพทางด้านน้จี ะต้องมี คณุ สมบัติ ดังน้ี 2. สำ� เรจ็ การศึกษาระดับปริญญาตรี สาขาการบรหิ ารโรงแรม สาขาคหกรรมศาสตร์ หรือสงู กว่า 3. มีความรภู้ าษาองั กฤษดี 4. เปน็ ผมู้ มี นุษยสมั พันธด์ ี รักอาชีพบริการ 5. ควรมีปฏภิ าณไหวพรบิ ดี 257 6. สามารถทำ� งานล่วงเวลา 7. มคี วามอดทน อดกลั้น ใจเยน็

กรมการ ัจดหางาน 2ท0ต่ี 0ลาดข้อแรมงูลงอานาชตพี ้องการ Department of Employment ประจ�ำ ปี 2558/2015 สถานฝึกอบรมอาชพี / สถาบันการศึกษา - มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ เว็บไซต์ www.ku.ac.th โทรศัพท์ 0-2942-8200-45, 0-2579-0113, 0-2942-8491-99 - มหาวทิ ยาลยั ขอนแกน่ เว็บไซต์ www.kku.ac.th โทรศพั ท์ 0-4324-2331-9 - มหาวทิ ยาลัยเชยี งใหม่ เวบ็ ไซต์ www.chiangmai.ac.th โทรศพั ท์ 0-5322-1699, 0-5394-1000 - มหาวิทยาลยั ราชภัฏสวนดุสติ เวบ็ ไซต์ www.dusit.ac.th โทรศัพท์ 0-2668-7125-35 - มหาวิทยาลัยพายพั เว็บไซต์ www.payap.ac.th โทรศัพท์ 0-5330-4805 (เอกชน) โอกาสความก้าวหนา้ ในอาชีพ หากมีทุนทรัพย์สามารถจะหันมาประกอบเป็นอาชีพหรือธุรกิจส่วนตัวในการรับจ้างท�ำความสะอาด ใหก้ บั สำ� นกั งาน หรอื บา้ นที่อยู่อาศัยของประชาชนทว่ั ไป อาชีพท่ีเกี่ยวเนือ่ ง ครู/อาจารย์ ผู้จัดการโรงแรมทัว่ ไป ผจู้ ัดการฝา่ ยหอ้ งพัก ผู้จัดการฝ่ายต้อนรบั แหล่งขอ้ มลู อน่ื ๆ - สมาคมโรงแรมไทย เว็บไซต์ http://www.thaihotels.org โทรศัพท์ 0-2281-9496 - เว็บไซต์โรงแรมต่าง ๆ 258

ทต่ี ลาด20แร0งงขา้อนมตูล้อองากชาีพร กรมการ ัจดหางาน ประจ�ำ ปี 2558/2015 Department of Employment ผจู้ ดั การทวั่ ไปของโรงแรม General Manager Hotel นยิ ามอาชีพ ทำ� หนา้ ทบ่ี รหิ ารจดั การงานในธรุ กจิ โรงแรมท่ีเป็นของตนเองหรือของนายจ้าง : วางแผนงานการดำ� เนนิ งานทงั้ หมดของโรงแรม; ควบคุมการด�ำเนินงานให้เป็นไปตามนโยบาย รวมถึงด้านบริหารด้านบุคลากร ด้านห้องพัก ดา้ นอาหารและเครอ่ื งดม่ื การขายและการตลาด การจัดหาและใช้ทรัพยากร การรักษาความ ปลอดภัย; จัดท�ำรายงานการด�ำเนินงานต่อ เจ้าของกิจการ (ถ้ามี) อาจปฏิบัติงานเพียง บางอยา่ งหรือทัง้ หมดด้วยตนเอง ลกั ษณะของงานท่ที ำ� 1. วางแผนการบรกิ ารจดั การใหก้ จิ การดำ� เนนิ ไปไดด้ ว้ ยความเรยี บรอ้ ย ทงั้ ทางดา้ นการบรหิ ารและการตลาด 259 2. บริหารงานบุคคลและการควบคุมการปฏิบัติงานของพนักงาน ควบคุมดูแลในส่วนของพนักงานผู้ปฏิบัติ หน้าที่บริการในโรงแรม โดยจัดแบ่งหน้าที่และความรับผิดชอบให้ท�ำงานเป็นแผนก แต่ละงานจะสอดรับประสาน สมั พนั ธก์ นั มสี ายการบงั คับบัญชาทีช่ ดั เจน และมกี ารสอื่ ความที่ดี 3. จัดท�ำหรือควบคุมการทำ� บันทกึ และบญั ชีรายรบั และรายจา่ ย 4. ให้การต้อนรบั แขกและดแู ลการจดั ทีพ่ ัก 5. จดั สรรเงนิ อนมุ ัติการจา่ ย และก�ำหนดหรอื ช่วยก�ำหนดงบประมาณสำ� หรบั หนว่ ยงานต่าง ๆ ในโรงแรม 6. มอบอำ� นาจและกำ� หนดความรบั ผดิ ชอบใหแ้ กห่ วั หนา้ หนว่ ยงานตา่ ง ๆ และปรบั ปรงุ แกไ้ ข การบรกิ ารดา้ น ห้องพกั และอาหาร 7. จัดทำ� รายงานใหเ้ จ้าของกิจการทราบถึงความก้าวหน้าและสถานะของธรุ กิจ 8. สั่งซ้ือส่ิงของเครอื่ งใช้ อุปกรณ์ตา่ ง ๆ สภาพการจ้างงาน ไดร้ บั คา่ ตอบแทนเปน็ เงนิ เดอื นทคี่ อ่ นขา้ งสงู เนอื่ งจากการวา่ จา้ งบคุ ลากรในผจู้ ดั การโรงแรม (Hotel Manager) ตอ้ งการผมู้ ปี ระสบการณใ์ นการบรหิ ารงานโรงแรมมาแลว้ เปน็ อาชพี ทต่ี อ้ งมคี วามรบั ผดิ ชอบสงู อดทน และตอ้ งบรหิ าร งานตลอด 24 ชั่วโมง อัตราเงินเดือนขึ้นอยู่กับขนาดของโรงแรม และผู้จัดการโรงแรมได้รับผลประโยชน์อย่างอ่ืน เป็นสวสั ดกิ าร โบนสั และสทิ ธปิ ระโยชน์อืน่ ๆ

2ท0่ตี 0ลาดขอ้แรมงลู งอานาชตีพอ้ งการ ประจ�ำ ปี 2558/2015 กรมการ ัจดหางาน สภาพการทำ� งาน Department of Employment ท�ำงานในสถานท่ีท�ำงานท่ีมีสภาพแวดล้อมที่ดี ท�ำงานร่วมกับพนักงานเป็นจ�ำนวนมาก ต้องต้อนรับและ อ�ำนวยความสะดวกแก่แขกทั้งชาวไทยและต่างประเทศ ท่ีมีขนบธรรมเนียมประเพณีที่แตกต่าง จะต้องพบกับแขก ที่ทั้งพอใจกับการบริการ และแขกที่ไม่เคยพอใจกับอะไรเลย และพร้อมจะติเตียนการบริการได้ทุกเรื่อง ดังน้ัน ผู้จัดการต้องมีความอดทนในการท�ำงานและดูแลให้พนักงานบริการแก่แขกอย่างดีท่ีสุด ในช่วงฤดูกาลท่องเท่ียว จะมีแขกมาพักเป็นจ�ำนวนมาก ผู้จัดการจะต้องเข้ามาบริหารงานอย่าง ใกล้ชิดมากย่ิงข้ึน เพื่อป้องกันมิให้เกิด ความบกพร่องในด้านการบริการ ก�ำหนดเวลาการท�ำงานอาจผันแปรไปตามสถานการณ์ดังกล่าวข้างต้น ต้องเตรียมความพรอ้ มตลอด 24 ช่วั โมง เพื่อแกไ้ ขวิกฤตท่ีอาจเกดิ ข้ึนไดโ้ ดยไมค่ าดคดิ โอกาสในการมงี านทำ� เน่ืองจากรัฐบาลมีนโยบายส่งเสริมการท่องเที่ยวกิจการด้านโรงแรมจึงขยายตัวมากข้ึนอย่าง รวดเร็ว ท่ัวประเทศ ดังน้ัน ผู้มีความรู้ความสามารถในการบริหารจัดการมีโอกาสท่ีจะท�ำงานเป็นผู้จัดการโรงแรม ได้มาก และถ้าสามารถบริหารงานได้อย่างมีประสิทธิภาพก็จะมีผู้ต้องการมากข้ึน และผู้จัดการที่มีความสามารถ จะประกอบอาชีพหรอื อยใู่ นต�ำแหนง่ คอ่ นขา้ งนาน คณุ สมบัติของผปู้ ระกอบอาชีพ การเป็นผู้จัดการโรงแรมในระดับ 3 ดาว ถึง 5 ดาวนั้น ต้องการผู้มีประสบการณ์มากท้ังในประเทศ และต่างประเทศ หรืออยู่ในฝ่ายการจัดการระดับผู้บริหารอย่างน้อยเป็นเวลาประมาณสิบห้าถึงยี่สิบปี การเร่ิมต้น ท�ำงานในขั้นแรกผทู้ ่ีรกั อาชพี ทางดา้ นน้ีจะตอ้ งมคี ณุ สมบตั ิ ดงั นี้ 1. สำ� เรจ็ การศกึ ษาในระดบั ปรญิ ญาตรี หรอื สงู กวา่ สาขาดา้ นการบรหิ ารโรงแรม หรอื สาขาวชิ าทเ่ี กย่ี วขอ้ ง 260 2. มีความรูภ้ าษาองั กฤษดี 3. มมี นษุ ยสัมพนั ธด์ ี รกั อาชพี บรกิ าร 4. มีปฏิภาณไหวพริบดี เตรียมพร้อมรับสถานการณ์ที่ไม่คาดคิดและสามารถแก้ไขสถานการณ์ได้ทันที เม่อื เกิดการผดิ พลาดในการส่ือสาร 5. สามารถท�ำงานลว่ งเวลา 6. มีความอดทน อดกลนั้ ใจเย็นอย่างสูง 7. เปน็ คนเปดิ กวา้ งเข้าใจในวัฒนธรรมทีแ่ ตกต่าง และ ไมเ่ หยยี ดผวิ พรรณเช้ือชาติ สถานฝกึ อบรมอาชพี / สถาบนั การศกึ ษา - สาขาวิชาการจัดการโรงแรม คณะอุตสาหกรรมบริการ วิทยาลัยดุสิตธานี เลขท่ี 1 ซอยแก่นทอง (ขา้ งซคี อนสแควร์) ถนนศรีนครินทร์ แขวงหนองบอน เขตประเวศ กรงุ เทพฯ 10250 โทรศัพท์ 0-2361-7811-399 ต่อ 141-143 และ 204 โทรสาร 0-2721-8476 - สาขาการจัดการโรงแรมและการท่องเท่ียว (วิทยาเขตภูเก็ต) หลักสูตรนานาชาติ 4 ปี ใช้ภาษาอังกฤษ ในการเรียนการสอน - คณะการบริการและการท่องเที่ยว มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตภูเก็ต 80 หมู่ 1 ถนนวิชติ สงคราม ต�ำบลกะทู้ อ�ำเภอกะทู้ จังหวดั ภเู ก็ต 83120 อีเมล [email protected] เฟสบุค๊ Faculty of Hospitality and Tourism, PSU (Phuket)

ทตี่ ลาด20แร0งงขา้อนมตูลอ้ องากชาีพร ประจ�ำ ปี 2558/2015 - สาขาวิชาการโรงแรม คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 50 ถนนงามวงศ์วาน กรมการ ัจดหางาน แขวงลาดยาว เขตจตจุ กั ร กรุงเทพฯ 10900 โทรศัพท์ 0-2579-0113, 0-2942-8500-11 เว็บไซต์ www.ku.ac.th Department of Employment - สาขาการวิชาการจัดการโรงแรมและท่องเที่ยว คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 50 ถนนงามวงศ์วาน แขวงลาดยาว เขตจตุจกั ร กรงุ เทพฯ 10900 โทรศพั ท์ 0-2579-0113, 0-2942-8500-11 เวบ็ ไซต์ www.ku.ac.th - คณะมนุษยศาสตร์และการจัดการการท่องเที่ยวมหาวิทยาลัยกรุงเทพ วิทยาเขตกล้วยน้�ำไท เลขที่ 119 ถนนพระราม 4 คลองเตย กรุงเทพฯ 10110 โทรศัพท์ 0-2350-3500-99 โทรสาร 0-2240-1516 อีเมล info@ bu.ac.th รับสมัครนกั ศกึ ษา 0-2249-5132-6 (สายตรง) 0-2350-3500 ต่อ 1582-1588, 1609-1610 - มหาวิทยาลัยกรุงเทพ วิทยาเขตรังสิต เลขที่ 9/1 หมู่ 5 ถนนพหลโยธิน ต�ำบลคลองหนึ่ง อ�ำเภอ คลองหลวง จงั หวดั ปทุมธานี 12120 โทรศพั ท์ 0-2902-0250-99 โทรสาร 0-2516-8553 อีเมล [email protected] รับสมคั รนักศกึ ษา 0-2902-0299 ตอ่ 2411-2417 โอกาสความกา้ วหนา้ ในอาชีพ การบริหารโรงแรม มีอยู่ 2 ประเภทที่ผู้จัดการสามารถเลือกท�ำงานได้ คือ ประเภทโรงแรมอิสระ (Independent Hotel) ซ่ึงเจ้าของและเครือญาติบริหารกนั เองโดยจ้างมืออาชีพมาบริหารจัดการ ซ่ึงจะมีความยุ่ง ยากในการบรหิ ารแบบเสน้ สายของญาตเิ จา้ ของพอสมควรสว่ นอกี ประเภทหนงึ่ คอื โรงแรมในระบบเครอื ขา่ ย (Chain Hotel) ซ่ึงจะจ้างระดับผู้บริหารในอัตราเงินเดือนสูงมาก รวมทั้งสวัสดิการ โบนัส ตลอดจนสิทธิพิเศษอื่น ๆ และ ผลประโยชน์ตอบแทนเหนือกว่าโรงแรมประเภทอิสระ ซึ่งจะมีมาตรฐานในการท�ำงานสูง และความมั่นคง ในงานมากกว่า และมคี วามก้าวหนา้ มากกวา่ ถา้ ผู้จดั การหรือผบู้ รหิ ารมคี วามสามารถ เพราะอาจได้รบั การสง่ เสริม ใหบ้ ริหารโรงแรมในเครือข่ายในประเทศอืน่ ๆ 261 อาชีพทเ่ี กีย่ วเน่อื ง การเป็นนักจัดการท่องเที่ยว (ลักษณะกรุ๊ปทัวร์) ผู้ประสานงานทางการค้าและการลงทุนระหว่างประเทศ ผ้จู ดั การสง่ ออก-น�ำเข้าสินคา้ ตา่ งประเทศ แหล่งข้อมูลอน่ื ๆ - เว็บไซต์บริการจัดหางาน - มหาวทิ ยาลยั ทวั่ ไป - กรมการจัดหางาน - ข่าวบรกิ ารโทรทัศน์ - ข่าวสารสมาคมโรงแรมไทย

กรมการ ัจดหางาน ท20่ตี 0ลาดขอ้แรมงูลงอานาชตพี ้องการ Department of Employment ประจ�ำ ปี 2558/2015 ผใู้ หค้ ำ� ปรกึ ษา / แนะนำ� การทอ่ งเทยี่ ว Consultant, Travel นิยามอาชีพ ให้บรกิ ารขอ้ มูลและแนะนำ� รายการทอ่ งเที่ยว : เสนอ รายการท่องเที่ยวหรือแนะน�ำวิธีการ/เส้นทางการเดินทาง เพื่อการท่องเที่ยวที่สะดวก เหมาะสม และสนองตอบความ ต้องการของลูกค้า ให้ข้อมูลสภาพท่ัวไปของประเทศหรือ สถานท่ีท่ีจะเดินทางเพ่ือประกอบการตัดสินใจ อาจอ�ำนวย ความสะดวกในเร่ืองต่าง ๆ ท่ีเก่ียวข้องกับการเดินทาง เช่น บริการจองที่พัก บัตรโดยสารเดินทาง บัตรชมการแสดงและ อ่นื ๆ ลกั ษณะของงานที่ทำ� 1. ต้อนรบั ผทู้ ่ีเข้ามาตดิ ตอ่ กบั สถานประกอบการ ด้วยอัธยาศยั อันดี 2. ให้ข้อมูลสภาพทั่วไปของประเทศหรือสถานที่ที่จะเดินทาง แนะน�ำรายการด้านการท่องเท่ียวต่าง ๆ ทง้ั ภายในประเทศและต่างประเทศ พร้อมทง้ั เสนอรายละเอยี ดโปรโมชั่นต่าง ๆ ของสถานประกอบการ 262 3. ตอบข้อซักถามต่าง ๆ และแจกแผ่นผับข้อมูลการท่องเที่ยวพร้อมท้ังอธิบายรายละเอียดของสถานท่ี ท่องเท่ยี วนัน้ ๆ เชน่ สภาพท่ัวไปของสถานท่ี การเดนิ ทางรูปแบบการท่องเทย่ี ว ค่าใช้จ่ายเพ่อื ประกอบการตัดสนิ ใจ ของลูกคา้ 4. อ�ำนวยความสะดวกใหก้ ับลกู คา้ ในการเดินทางท่องเที่ยว เช่น บริการจองห้องพกั ในรปู แบบของโรงแรม หรอื รีสอรต์ ต๋ัวเครื่องบนิ รถที่ใชใ้ นการเดนิ ทาง บัตรโดยสารเดนิ ทาง บตั รชมการแสดง และอน่ื ๆ สภาพการจ้างงาน ผปู้ ฏบิ ตั งิ านอาชพี นี้ สำ� เรจ็ การศกึ ษาระดบั ปรญิ ญาตรี สาขาการทอ่ งเทย่ี ว สาขาวชิ าการจดั การการทอ่ งเทย่ี ว หรือสาขาท่เี กย่ี วขอ้ งสามารถปฏิบตั งิ านในภาครฐั อาทิ หนว่ ยงานในสังกัดกระทรวงการท่องเทย่ี วและกฬี า ได้รบั คา่ ตอบแทนเปน็ เงนิ เดอื นตามวฒุ ิการศึกษา ในอตั ราเดอื นละ 15,000 บาท ได้รับสวัสดกิ าร และเบ้ยี เลี้ยงตามระเบียบ สำ� นักงานคณะกรรมการข้าราชการพลเรอื นบรกิ ารขอ้ มลู และแนะน�ำรายการทอ่ งเที่ยว เสนอรายการท่องเท่ยี วหรือ แนะน�ำวิธีการ/เส้นทางการเดินทางเพื่อการท่องเที่ยวท่ีสะดวก เหมาะสม อ�ำนวยความสะดวกในการเดินทาง ท่องเทยี่ วท้งั ในรูปแบบของการจองหอ้ งพกั ตวั๋ โดยสารพาหนะหรอื บตั รชมการแสดงต่าง ๆ ส�ำหรับผู้ที่ปฏิบัติงานอาชีพน้ีในภาคเอกชน อาทิ ในส่วนของบริษัทน�ำเที่ยว ธุรกิจท่องเที่ยวและโรงแรม ซ่ึงไม่มีประสบการณ์ในการท�ำงาน จะได้รับค่าตอบแทนเป็นเงินเดือนท่ีระดับเร่ิมต้นการท�ำงาน วุฒิการศึกษา ปริญญาตรีประมาณ 15,000 - 19,500 บาท สวัสดิการต่าง ๆ ค่ารักษาพยาบาล และโบนัสเป็นไปตามเงื่อนไข ข้อตกลงกับผู้ว่าจ้างท�ำงานวันละ 8 - 9 ช่ัวโมง อาจท�ำงานล่วงเวลา วันเสาร์ วันอาทิตย์ และวันหยุดตาม ความจำ� เปน็

ท่ีตลาด20แร0งงขาอ้ นมตูล้อองากชาีพรกรมการ ัจดหางาน ประจ�ำ ปี 2558/2015 Department of Employment สภาพการทำ� งาน ผู้ประกอบอาชีพน้ี จะท�ำงานในสำ� นกั งาน ท่ีมีส่ิงอ�ำนวยความสะดวก เช่น ส�ำนักงานทั่วไป ใช้คอมพิวเตอร์และอินเทอร์เน็ตในการท�ำงาน หาข้อมูลสถานท่ีท่องเท่ียวต่าง ๆ ในบางครั้งอาจ ต้องให้ค�ำปรึกษาทางโทรศัพท์ ผู้ประกอบอาชีพน้ี จ�ำเป็นจะต้องหาความรู้เพ่ิมเติมในเรื่องสถานที่ ท่องเที่ยวอยู่ตลอดเวลา จะต้องเป็นผู้มีความรู้ และประสบการณ์ในด้านการท่องเทยี่ วเปน็ อยา่ งดี โอกาสในการมงี านท�ำ ผลจากการที่กระทรวงการท่องเท่ียวและกีฬาได้จัดท�ำยุทธศาสตร์การท่องเท่ียว ในปี 2547 - 2551 ซ่ึงก�ำหนดให้ประเทศไทยเป็นศูนย์กลางการท่องเท่ียวแห่งเอเชียภายในปี 2551 ท�ำให้ทิศทางและกรอบ การท�ำงานพัฒนาการท่องเที่ยวค่อนข้างชัดเจน ท้ังกลยุทธ์การตลาดเชิงรุกและการเพ่ิมศักยภาพในการแข่งขัน ระหว่างประเทศ ภายใต้จุดแข็งของอุตสาหกรรมท่องเที่ยวไทย คือ การมีสถานที่ที่สวยงาม ประเภทการบริการ สุขภาพและความงามต่าง ๆ ตลอดจนอัธยาศัยไมตรีที่ดีของคนไทย จะส่งผลดีต่อผู้ท่ีต้องการประกอบอาชีพน้ี ซง่ึ จะยงั เป็นอาชีพทต่ี ลาดมคี วามต้องการ คณุ สมบัตขิ องผู้ประกอบอาชีพ 1. ส�ำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรี สาขาการท่องเทีย่ ว สาขาวิชาการจดั การการทอ่ งเทยี่ ว หรือสาขาท่ี 263 เกย่ี วข้อง 2. มีความเขา้ ใจ และมคี วามรู้ในเร่ืองสถานท่ีท่องเท่ียวต่าง ๆ เป็นอย่างดี 3. มคี วามอดทน อดกลั้น และร้จู กั กาลเทศะมบี ุคลิกภาพดี 4. มไี หวพริบในการแกไ้ ขปญั หาเฉพาะหน้าไดด้ ี ชา่ งสงั เกต 5. สามารถใชภ้ าษาอังกฤษได้เป็นอยา่ งดี 6. สามารถใช้คอมพวิ เตอร์และโปรแกรมต่าง ๆ ได้ 7. เขา้ ใจในเร่อื งงานบริการ มมี นุษยสมั พันธด์ ี สถานฝกึ อบรมอาชพี / สถาบนั การศึกษา สาขาการทอ่ งเทยี่ ว สาขาการจดั การการทอ่ งเทยี่ ว สาขาการโรงแรมและการทอ่ งเทย่ี ว หรอื สาขาทเ่ี กยี่ วขอ้ ง ในสถาบันการศกึ ษาท่ีสงั กัดส�ำนกั งานคณะกรรมการการอดุ มศกึ ษา อาทิ - คณะศิลปศาสตร์ สาขาวิชาธุรกิจการโรงแรมและการท่องเที่ยว มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต วิทยาเขต พัฒนาการ 1761 ถนนพัฒนาการ แขวงสวนหลวง เขตสวนหลวง กรุงเทพฯ 10250 โทรศัพท์ 0-2320-2777 โทรสาร 0-2321-4444 - คณะศิลปศาสตร์ สาขาวิชาธุรกิจการโรงแรมและการท่องเที่ยว มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต วิทยาเขต รม่ เกล้า 60 ถนนร่มเกล้า แขวงมีนบรุ ี เขตมีนบุรี กรงุ เทพฯ 10510 โทรศัพท์ 0-2904-2222 โทรสาร 0-2904-2200 เวบ็ ไซต์ www.kbu.ac.th

กรมการ ัจดหางาน ท20ต่ี 0ลาดขอ้แรมงูลงอานาชตพี ้องการ Department of Employment ประจ�ำ ปี 2558/2015 - คณะศิลปศาสตร์ สาขาวชิ าการท่องเทย่ี ว มหาวิทยาลยั เซนต์จอหน์ 1110 ถนนวิภาวดรี งั สิต แขวงจอมพล เขตจตุจักร กรุงเทพฯ โทรศพั ท์ 0-2938-7011 โทรสาร 0-2513-8588 เวบ็ ไซต์ www.stjohn.ac.th สาขาอตุ สาหกรรมท่องเท่ียว มหาวิทยาลัยราชภัฏทุกแห่งท่ีเปดิ สอน อาทิ - คณะวิทยาการจัดการ สาขาการท่องเที่ยว มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา เลขที่ 96 ถนนปรีดีพนมยงค์ ต�ำบลประตูชัย อ�ำเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา 13000 โทรศัพท์ 0-3524-1407, 0-3524-1196 เว็บไซต์ www.aru.ac.th - คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม 85 ถนนมาลัยแมน อ�ำเภอเมือง จังหวัดนครปฐม 73000 โทรศพั ท์ / โทรสาร 0-3426-1068 เว็บไซต์ www.npru.ac.th - โรงเรียนการท่องเที่ยวและการบริการ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต 295 ถนนราชสีมา เขตดุสิต กรงุ เทพฯ 10300 โทรศพั ท์ 0-2244-5555, 0-2244-5170, 0-2244-5920-3 เว็บไซต์ http://thmdusit.dusit. ac.th/dusit1/index.php/ - คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ สาขาสังคมศาสตร์ สาขาวิชาภูมิศาสตร์และภูมิศาสตร์การ ทอ่ งเท่ยี ว มหาวทิ ยาลัยราชภฏั จนั ทรเกษม 39/1 ถนนรชั ดาภเิ ษก แขวงจันทรเกษม เขตจตจุ ักร กรุงเทพฯ 10900 โทรศพั ท์ 0-2942-6900 โทรศัพท์ 0-2942-6900 เว็บไซต์ www.chandra.ac.th - สาขาวชิ าการท่องเท่ยี วและการโรงแรม มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบรุ ี 39 หมู่ที่ 1 ถนนรงั สิต- นครนายก ต�ำบลคลองหก อ�ำเภอธัญบุรี จังหวัดปทุมธานี 12110 โทรศัพท์ 0-2549-4990-2 เว็บไซต์ www.rmut.ac.th โอกาสความกา้ วหนา้ ในอาชพี ผู้ประกอบอาชีพเมื่อมีความรู้ ความสามารถ ประสบการณ์ในการท�ำงานมากข้ึน ก็อาจจะได้รับการเล่ือน 264 ตำ� แหนง่ เปน็ หัวหนา้ แผนก หรอื ผูจ้ ัดการแผนก อาชพี ทเ่ี ก่ยี วเนือ่ ง เจ้าหน้าท่ีประสานงานการท่องเท่ยี ว เจา้ หนา้ ทป่ี ระชาสัมพนั ธ์ เจา้ หนา้ ทฝ่ี ่ายลกู ค้าสมั พนั ธ์ เจา้ หนา้ ท่อี อก ตั๋วเครอ่ื งบิน พนักงานตอ้ นรับ แหลง่ ขอ้ มลู อ่นื ๆ - กระทรวงการท่องเทยี่ วและกีฬา เวบ็ ไซต์ www.mots.go.th โทรศพั ท์ 0-2283-1500 - สมาคมโรงแรมไทย เว็บไซต์ www.thaihotels.org โทรศพั ท์ 0-2281-9496 - ส�ำนกั งานพัฒนาการท่องเทีย่ ว เว็บไซต์ www.tourism.go.th โทรศพั ท์ 0-2219-4010 - สมาคมไทยบริการท่องเทีย่ ว เวบ็ ไซต์ www.ttaa.or.th โทรศพั ท์ 0-2214-6175-78 - สมาคมธุรกิจการท่องเที่ยวจังหวัดภูเก็ต เว็บไซต์ www.phukettourist.com โทรศัพท์ 0-7629-3097

ที่ตลาด20แร0งงขาอ้ นมตูล้อองากชาพี ร กรมการ ัจดหางาน ประจ�ำ ปี 2558/2015 Department of Employment พนกั งานต้อนรบั Receptionist นยิ ามอาชพี ผู้ท�ำหน้าท่ีต้อนรับ หรือรับรองแขก หรือผู้ท่ีเข้ามา ในองค์กร หรือสถานประกอบกิจการ ติดต่อสอบถาม ขอทราบชื่อ และความประสงค์ ของผู้มาติดต่อ จัดสรร ประสานงาน อ�ำนวยความสะดวก ให้เป็นไปตาม ความตอ้ งการของผู้มาติดตอ่ ลักษณะของงานท่ที ำ� 1. ต้อนรับแขกหรือผู้มาติดต่อกับองค์กร ด้วย อัธยาศัยอันดีงาม ขอทราบนามและช่ือขององค์กรของ ผ้มู า ติดตอ่ ขอทราบชื่อบคุ คล หนว่ ยงาน และจดุ ประสงค์ ท่ีต้องการติดต่อหรือเข้าพบ แล้วจัดการติดต่อประสานงาน ใหต้ ามความประสงค์ของผูม้ าตดิ ตอ่ 2. ท�ำหน้าทีน่ ัดหมายตวั บคุ คล วนั เวลา สถานที่ ของบุคลากรในองค์กร ใหผ้ ูม้ าติดตอ่ ไดพ้ บ อาจบนั ทึกชือ่ หนว่ ยงาน วตั ถปุ ระสงคท์ ม่ี าตดิ ตอ่ บคุ คลทมี่ าตดิ ตอ่ ลงในสมดุ บนั ทกึ พรอ้ มทง้ั มอบบตั รตดิ เสอ้ื แสดงตวั ของผมู้ าตดิ ตอ่ 265 (ปา้ ย Visitor) เพื่อเข้าพบบคุ คลท่ีตอ้ งการพบหรอื เขา้ ไปในสถานท่ตี ้องการใช้บรกิ าร เชน่ ห้องสมดุ หรอื ติดต่อธรุ กจิ อาจท�ำหน้าทธ่ี รุ การ เช่น เป็นพนักงานรบั โทรศัพท์ หรือผคู้ วบคมุ โทรศพั ท์ หมายเลขกลาง เพอื่ ตอบรบั และตดิ ตอ่ หมายเลขภายในทีผ่ ู้โทรศพั ท์เขา้ มาตอ้ งการจะพูดด้วย 3. ท�ำหนา้ ทตี่ อบขอ้ ซักถาม หรอื ใหข้ ้อมูลพ้นื ฐานต่าง ๆ เก่ียวกับองค์กรแก่ผู้มาตดิ ต่อสอบถาม รบั และ คดั เลอื กไปรษณยี ภณั ฑท์ ม่ี าสง่ ใหก้ บั เจา้ หนา้ ทธ่ี รุ การ หรอื เลขานกุ ารของแตล่ ะแผนก รบั พสั ดแุ ละสงิ่ ของขององคก์ ร โดยทำ� การบนั ทกึ ชอ่ื ของผจู้ ดั สง่ ชอ่ื ของผรู้ บั วนั เวลา ทน่ี ำ� มาสง่ อาจอำ� นวยความสะดวกในเรอ่ื งทจ่ี อดรถและบรกิ าร เรียกรถให้แก่แขกคนส�ำคัญตามที่แขกร้องขอ ในส่วนของพนักงานต้อนรับของโรงแรมจะต้องท�ำหน้าที่ท่ีส�ำคัญมาก ท่สี ดุ ในการตอ้ นรับแขกหรอื ลกู ค้า ท่เี ขา้ มาทแี่ ผนกโดย - ทำ� หน้าที่ต้อนรบั ทกั ทายแขกหรอื ผู้มาเขา้ พกั - ดำ� เนินการตามข้นั ตอนในการลงทะเบียน และจา่ ยกุญแจห้อง - ตอบขอ้ ซักถามของแขก - อาจเตรียมใบเสร็จรับเงิน เก่ียวกับค่าใช้จ่ายของแขก ซ่ึงมีตั้งแต่ค่าอาหาร ค่าเคร่ืองด่ืม ค่าซักรีด รวมถงึ การรับเงินค่าหอ้ งพกั และค่าใช้จ่ายจากแขก - ตดิ ต่อประสานงานกับแผนกต่าง ๆ ให้ทราบเพอ่ื เตรยี มห้อง การบรกิ ารอาหาร และเครอ่ื งด่ืม - ตดิ ตอ่ กับฝ่ายแมบ่ ้านให้ตรวจดแู ลหอ้ งพกั แขกและส่งิ อ�ำนวยความสะดวกตา่ ง ๆ ใหค้ รบถว้ น - อาจชว่ ยทางโรงแรมขายบรกิ ารต่าง ๆ ท่โี รงแรมจัดเสนอไวบ้ ริการอกี ด้วย - ถ้าปฏิบัติงานในโรงพยาบาลเอกชน หรือคลินิก อาจท�ำหน้าท่ีให้ข้อมูลข้ันต้นแก่ผู้ที่มาขอรับ การตรวจ หรือ

ท20ี่ต0ลาดข้อแรมงูลงอานาชตีพอ้ งการ ประจ�ำ ปี 2558/2015 กรมการ ัจดหางาน - แจง้ ท่ตี ัง้ ของแผนกตา่ ง ๆ หอ้ งตรวจของผู้ป่วย ใหก้ ับผู้ป่วย หรอื ญาตขิ องผูป้ ว่ ยทราบ Department of Employment - ตอบข้อซักถามต่าง ๆ ตลอดจนแจกแผ่นพับข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับการป้องกันโรคหรือกิจกรรม ของโรงพยาบาล สภาพการจา้ งงาน ผู้ปฏิบัติงานพนักงานต้อนรับ มีเวลาการท�ำงานที่หลากหลายและแตกต่างกัน ข้ึนอยู่กับธุรกิจขององค์กรท่ี ปฏิบัติงานโดยท่ัวไป องค์กรธุรกิจหรือ สถานประกอบกิจการ จะมีชั่วโมงการท�ำงานวันละ ประมาณ 8 ช่ัวโมง อาจเรม่ิ ตัง้ แต่ 08.30 - 17.30 น. หรือ 09.00 - 18.00 น. หรือ ต้งั แต่ 10.00 - 19.00 น. ในกรณที ี่มีช่ัวโมงการทำ� งาน 12 - 24 ชวั่ โมง พนักงานตอ้ นรบั จะทำ� งานเปน็ กะหรอื เปน็ การอยเู่ วร คา่ ตอบแทนการทำ� งาน สำ� หรับผ้ปู ฏบิ ัติงาน เรม่ิ แรกในพนกั งานตอ้ นรบั ในภาครฐั จะไดร้ บั เงนิ เดอื นตาม วฒุ กิ ารศกึ ษา และสวสั ดกิ ารตามระเบยี บของทางราชการ ในภาคเอกชนจะไดร้ ับเงนิ เดือนข้นั ต้นตามกฎหมาย สวัสดกิ ารตามกฎหมายแรงงาน และโบนสั ตามผลประกอบการ ขององค์กร สภาพการทำ� งาน พนักงานต้อนรับ จะปฏิบัติงานอยู่ในพ้ืนที่ส่วนหน้าขององค์กร ที่สามารถต้อนรับผู้ที่เข้ามาเยี่ยม หรือ มาพบได้ทันที คือ ท่ีโต๊ะหรือสถานที่ที่จัดไว้เพื่อการต้อนรับ (Reception Desk) องค์กรขนาดใหญ่จะมีเจ้าหน้าที่ ต้อนรับปฏิบัติงานมากกว่า 1 คน หรืออาคารธุรกิจขนาดใหญ่ อาจมีพนักงานต้อนรับ 4-5 คน มีอุปกรณ์ท�ำงาน เชน่ คอมพิวเตอร์ จอมอนิเตอร์ โทรทัศนว์ งจรปดิ (เพื่อตรวจสอบความปลอดภัย) เคร่ืองโทรศัพท์ สวติ ช์บอรด์ โอกาสในการมงี านทำ� ปัจจุบันองค์กรทั้งภาครัฐและภาคเอกชนให้ความส�ำคัญกับงานต้อนรับเป็นอย่างมากเพราะการต้อนรับที่ดี 266 สามารถทำ� ใหผ้ มู้ าตดิ ตอ่ หรอื แขกประทบั ใจในวนิ าทแี รกทกี่ า้ วเขา้ มาในองคก์ รไดร้ บั ขอ้ มลู ทถี่ กู ตอ้ งกอ่ นจะเขา้ ไปพบ กับบุคคลที่นัดหมายไว้ หรือหน่วยงานที่ต้องการไปติดต่อท�ำธุรกิจด้วย ให้บริการข้อมูลด้วยความรวดเร็ว มีประสิทธิภาพ ด้วยมารยาท และการต้อนรับที่อบอุ่นและมีไมตรีก็เท่ากับว่า ธุรกิจขององค์กรได้รับผลส�ำเร็จไป ครึ่งหนึ่งแล้ว ดังนั้นการว่าจ้างบุคลากร ให้มาปฏิบัติงานในพนักงานต้อนรับ-Receiptionist จึงจ�ำเป็นอย่างย่ิง มีแนวโนม้ ในการจ้างงานสูง องคก์ รขนาดใหญจ่ ะวา่ จ้างพนกั งานอยา่ งนอ้ ย 3 - 5 คน สถานประกอบกิจการธุรกิจที่ว่าจ้างพนักงานต้อนรับมีอยู่ทั่วไป เช่น โรงแรม รีสอร์ท อาคารท่ีพักแบบ หอ้ งชดุ ภตั ตาคาร หา้ งสรรพสนิ คา้ โรงพยาบาลเอกชน คลนิ กิ ทางการแพทย์ บรษิ ทั สถานประกอบการอตุ สาหกรรม ส�ำนักงาน อาคารธุรกิจท่ีมีส�ำนักงานหรือบริษัทเช่าเพื่อประกอบธุรกิจ นอกจากนี้บริษัท ท่ีเช่าท�ำธุรกิจในอาคาร นั้น ๆ ยังมีพนักงานต้อนรับของตนเองอีกต่างหาก สถานบริการเสริมความงามและดูแลสุขภาพ หรือธุรกิจเกือบ ทุกประเภท ดังนั้น ผู้มีความรู้ความสามารถและมีใจรักในการติดต่อกับบุคคลทั่วไป จะมีโอกาสอย่างมากในการ ทำ� งานพนักงานต้อนรบั คณุ สมบัตขิ องผปู้ ระกอบอาชพี 1. สำ� เร็จการศกึ ษาระดบั ประโยควชิ าชีพ จนถึงระดบั ปรญิ ญาตรี 2. มบี ุคลิกลกั ษณะดรี ูจ้ กั ปฏิบตั หิ น้าทอี่ ย่างเหมาะสม 3. มคี วามอดกล้ัน อดทน และ ร้จู ักกาลเทศะ 4. มไี หวพรบิ ในการแก้ปัญหาที่อาจเกดิ ขึน้ ไดโ้ ดยไมค่ าดคิด ช่างสงั เกต เรียนร้ไู ด้เรว็ 5. สามารถใชภ้ าษาอังกฤษไดพ้ อสมควร

ทต่ี ลาด20แร0งงขาอ้ นมตลู ้อองากชาพี ร ประจ�ำ ปี 2558/2015 6. สามารถใช้เครื่องคอมพวิ เตอรแ์ ละโปรแกรมตา่ ง ๆ ได้ กรมการ ัจดหางาน 7. มคี วามคดิ และเขา้ ใจในเรอ่ื งงานบริการ Department of Employment 8. มีมนษุ ยสัมพนั ธด์ ี ให้ความอบอุ่นและมีไมตรจี ิตแกผ่ ู้มาตดิ ต่อ สถานฝกึ อบรมอาชีพ / สถาบันการศกึ ษา - โรงเรียนการจัดการโรงแรมและการท่องเท่ียวนานาชาติ (I-TIM) 79 ซอยรามค�ำแหง 50 เขตบางกะปิ กรุงเทพฯ 10240 โทรศัพท์ 0-2732-0170-3, 0-2732-1491-4, 08-5551-1185 โทรสาร 0-2375-5150 อีเมล [email protected] เวบ็ ไซต์ www.i-tim.ac.th - Regent Cha-Am Hospitality School (RHS) 849/21 ถนนเพชรเกษม หาดรีเจนท์ อ�ำเภอชะอ�ำ จังหวดั เพชรบุรี 76120 โทรศพั ท์ 0-3250-8136-9 โทรสาร 0-3245-1275 เว็บไซต์ www.rhsschool.com/ - โรงเรียนสอนการประกอบอาหาร เลอ กอร์ดอง เบลอ ดสุ ติ (Le Cordon Bleu Dusit) 946 ตึกดุสติ ธานี ชน้ั 1 ถนนพระราม 4 แขวงสลี ม เขตบางรกั กรงุ เทพฯ โทรศัพท์ 0-2237-8877 เว็บไซต์ www.cordonbleu.edu/ - คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยศิลปากร วิทยาเขตสารสนเทศเพชรบุรี เลขที่ 1 หมู่ 3 ต�ำบลสามพระยา อ�ำเภอชะอ�ำ จังหวัดเพชรบุรี 76120 โทรศัพท์ 0-3259-4028 โทรสาร 0-3259-4027 เวบ็ ไซต์ http://su.bighead.co.th/ - วทิ ยาลยั ดุสติ ธานี 1 ซอยแก่นทอง (ขา้ งซีคอนสแควร์) แขวงหนองบอน เขตประเวศ กรงุ เทพฯ 10250 โทรศัพท์ 0-2361-7805, 0-2361-7811-3 โทรสาร 0-2361-7806, 0-2721-8475 เวบ็ ไซต์ http://www.dtc.ac. th/th/ - INTERNATIONAL SCHOOL OF HOSPITALITY AND TOURISM MANAGEMENT (Vatel) มหาวิทยาลัยศิลปากร 72 ตึก กสท.โทรคมนาคม ถนนเจริญกรุง แขวงส่ีพระยา เขตบางรัก กรุงเทพฯ 10500 เวบ็ ไซต์ www.vatel.co.th 267 โอกาสความกา้ วหน้าในอาชีพ ผมู้ คี วามสามารถจะไดร้ บั การเลอ่ื นตำ� แหนง่ เปน็ ถึงหัวหน้าแผนก และอาจได้รับมอบหมายให้ท�ำงาน ประชาสมั พนั ธ์ขององค์กร ในระยะเวลา 3 - 5 ปี ถา้ มี ความช�ำนาญ ศึกษาหาความรู้เพ่ิมเติมอาจได้รับการ มอบหมายใหเ้ ป็นผ้จู ดั การส�ำนักงานสว่ นหน้า อาชพี ทเี่ กย่ี วเนือ่ ง เจ้าหน้าท่ีประชาสัมพันธ์ เลขานุการฝ่าย พนกั งานขาย เจา้ หนา้ ท่ีส่งเสริมการขาย เจ้าหน้าทฝ่ี ึกอบรม เจา้ หน้าท่ีฝ่ายบุคคล เจา้ หน้าท่ีฝ่ายลูกค้าสมั พนั ธ์ แหล่งข้อมูลอ่นื ๆ - หนงั สือพมิ พ์และเวบ็ ไซตใ์ นการจดั หางาน - บรษิ ัท สำ� นกั งานและองค์กรท่ีต้องการรบั สมคั รงานในตำ� แหนง่ น้ี - กรมจดั หางาน กระทรวงแรงงาน

กรมการ ัจดหางาน ท20ต่ี 0ลาดข้อแรมงลู งอานาชตพี อ้ งการ Department of Employment ประจ�ำ ปี 2558/2015 มัคคุเทศก์ Guide นยิ ามอาชีพ นำ� นกั ทอ่ งเทยี่ วทเ่ี ดนิ ทางทอ่ งเทยี่ วเปน็ รายบคุ คลหรอื เป็นกลุ่มคณะเพื่อชมสถานที่ต่างๆ หรือทัศนาจรตามแผนการ ท่ีก�ำหนดไว้ หรือตามความต้องการของนักท่องเท่ียว : ดูแล อ�ำนวยความสะดวกให้นักท่องเท่ียวได้รับความสะดวกสบาย; เดินทางไปพรอ้ มกับนกั ทอ่ งเท่ียวเพอ่ื น�ำชม และศึกษาสถานท่ี ต่างๆ; อธิบายเกี่ยวกับกฎระเบียบต่างๆ อธิบายจุดที่น่าสนใจ ทง้ั หมดและใหข้ อ้ มลู ทถี่ กู ตอ้ งแกน่ กั ทอ่ งเทยี่ ว; ตอบคำ� ถามของ นกั ทัศนาจร และใหข้ า่ วสารหรือความรู้อืน่ ๆ ตามทต่ี ้องการ ลักษณะของงานที่ทำ� 1. มัคคุเทศก์จะต้องศึกษา ค้นคว้า หาข้อมูลเก่ียวกับสถานที่ท่องเท่ียว รวมทั้งความรู้เร่ืองราว เร่ืองเล่า ต่าง ๆ ดา้ นประวัตศิ าสตร์ ภมู ศิ าสตร์ จารตี ประเพณี วฒั นธรรม ทำ� การวางแผนก�ำหนดเส้นทาง จัดรายการนำ� เที่ยว 268 ให้เหมาะสมกับฤดกู าล และเวลา ด�ำเนินการตดิ ต่อสถานทพี่ ักแรม และจัดเตรยี มอปุ กรณ์เพ่อื การพักแรมในสถานที่ ที่จะน�ำเท่ียว 2. นำ� นกั ท่องเที่ยวชมสถานท่ี และถ่ายทอดเรื่องราวให้นกั ท่องเท่ยี วไดร้ บั รู้ถงึ ความเปน็ มาหรือประวตั ิของ สถานที่ และแต่ละท้องถิ่น แหล่งธรรมชาติที่น่าชื่นชมและน่าสนใจ ภูมิประเทศ ประวัติศาสตร์ วัฒนธรรม จารีต ประเพณี ตลอดจนความเป็นอย่ขู องประชาชน - การจดั ท่ีพกั แรม การดแู ลใหค้ วามปลอดภัย และความสะดวกสบายแก่นกั ท่องเทยี่ วในระหวา่ งการนำ� เทยี่ ว เพอ่ื สรา้ งความประทบั ใจและพงึ พอใจใหก้ บั นกั ทอ่ งเทยี่ วทกุ คนอยา่ งเสมอภาค ดว้ ยการรกั ษาจรรยาบรรณทาง วิชาชีพอยู่เสมอ 3. อาชพี มคั คเุ ทศก์ จัดแบง่ ออกเป็นกลมุ่ ตามกลมุ่ ของนกั ทอ่ งเที่ยว คอื มคั คุเทศกพ์ าเทยี่ วภายในประเทศ (Domestic) มคั คเุ ทศกท์ อ้ งถน่ิ และมคั คเุ ทศกน์ ำ� เทย่ี วชาวตา่ งประเทศ (Inbound) นอกจากน้ี ยงั แบง่ กลมุ่ มคั คเุ ทศก์ ตามลกั ษณะของการท่องเท่ยี ว เชน่ มัคคเุ ทศก์เดนิ ป่า มคั คุเทศกท์ างทะเล มคั คเุ ทศก์ศิลปวฒั นธรรม เป็นตน้ สภาพการจา้ งงาน มคั คเุ ทศกไ์ ดร้ บั คา่ ตอบแทนการทำ� งานเปน็ เงนิ เดอื นประจำ� หรอื คา่ จา้ งเปน็ รอบในการนำ� เทย่ี วนกั ทอ่ งเทยี่ ว ซง่ึ จะคดิ คา่ จา้ งเปน็ รายวนั เฉลย่ี ประมาณวนั ละ 1,500 - 3,000 บาท และอาจจะไดร้ บั คา่ ตอบแทนถงึ 100,000 บาท ซ่งึ เป็นคา่ นายหน้าจากบริษัทหรอื รา้ นทพ่ี านักท่องเท่ียวมาซ้ือของที่ระลึก หรือเข้าชมการแสดงในสถานทท่ี อ่ งเทีย่ ว ผู้ท�ำงานมัคคุเทศก์มีก�ำหนดเวลาท�ำงานท่ีไม่แน่นอน ข้ึนอยู่กับโครงการและแผนการน�ำเท่ียวในแต่ละ รายการ มัคคุเทศก์จะต้องผ่านการอบรมวิชาชีพมัคคุเทศก์ และมีความรู้ภาษาต่างประเทศซึ่งสามารถที่จะน�ำมาใช้ งานไดเ้ ปน็ อย่างดี

ทตี่ ลาด20แร0งงขาอ้ นมตูลอ้ องากชาพี ร ประจ�ำ ปี 2558/2015 สภาพการทำ� งาน กรมการ ัจดหางาน Department of Employment มัคคุเทศก์จะท�ำงานตามช่วงระยะเวลาที่ก�ำหนดไว้ในแผนก�ำหนดการน�ำเท่ียว ซึ่งมีระยะเวลาต้ังแต่ 1 วัน หรือ 3 - 4 สปั ดาห์ และในขณะน�ำเทีย่ วนักทอ่ งเทย่ี วจะต้องดแู ลนกั ท่องเท่ยี วตลอด 24 ช่ัวโมง นักทอ่ งเทย่ี ว ตงั้ แต่ คนเดียวจนถึงเป็นกลุ่ม หรือกลุ่มใหญ่ไปชมสถานที่ต่าง ๆ ทั้งในเมืองและต่างจังหวัดตามที่ก�ำหนด การเดินทาง อาจจะมีท้ังระยะใกล้ ไกล อาจใช้ยานพาหนะได้ทุกประเภท บางคร้ังต้องน�ำเท่ียวในลักษณะผจญภัย อย่างเช่น ทวั รป์ ่า การเดนิ ขึ้นเขา การล่องแพ การค้างแรมร่วมกับกลุม่ ชนชาวพืน้ เมือง ซง่ึ บางครั้งข้นึ อยูก่ บั แผนการน�ำเท่ียว และรปู แบบของการท่องเทย่ี ว มคั คเุ ทศกจ์ ะตอ้ งเตรยี มการวางแผนตดิ ตอ่ ประสานงานกบั หนว่ ยงานทเี่ กยี่ วขอ้ ง เพอื่ ใหก้ ารบรกิ ารผา่ นไปได้ ด้วยดี การอ�ำนวยความสะดวก และการดูแลรักษาความปลอดภัยนักท่องเท่ียวอย่างราบรื่นตลอดการเดินทาง รวมไปถึงการใหค้ �ำแนะน�ำข้อมลู ทีจ่ ำ� เปน็ แกน่ กั ทอ่ งเที่ยวในการเตรียมตวั ใหพ้ ร้อมกอ่ นออกเดินทาง ท้งั นี้ ข้นึ อยกู่ บั ประเภทของการท่องเท่ียว ตลอดจนตอบขอ้ สงสยั ในระหวา่ งการเดินทาง รวมทงั้ การท�ำกิจกรรมเพ่ือใหน้ ักท่องเท่ยี ว ในคณะทุกคนได้รับความสนุกสนาน ประทับใจ ในบางครั้ง กิจกรรมหรือความบันเทิงที่สร้างความพึงพอใจให้กับ นักท่องเที่ยวตามจุดประสงค์ท่ีนักท่องเที่ยวต้องการภายในระยะเวลาที่ก�ำหนด พร้อมท่ีจะแก้ปัญหาเฉพาะหน้าท่ี อาจเกิดข้ึนกับนักท่องเที่ยวได้ ตลอด 24 ช่ัวโมง แม้บางครั้งมัคคุเทศก์จะต้องท�ำงานหนักติดต่อกันเป็นเวลา หลายวัน ต้องใช้ความอดทนและอดกล้ันสูง ดังนั้น การเตรียมความพร้อม ทั้งทางร่างกายและจิตใจจึงมี ความส�ำคัญมาก เพราะนักทอ่ งเทย่ี วอาจจะมอี ัธยาศยั และพนื้ ฐานความเป็นอยู่ และวัฒนธรรมท่แี ตกตา่ งกนั เมอ่ื มา รวมกลุ่มกันจึงจ�ำเป็นท่ีจะต้องสร้างบรรยากาศให้สามารถเข้ากันได้ด้วยดี ให้นักท่องเที่ยวได้รับความสุข ความ ปลอดภัยในชวี ติ และทรัพยส์ ินด้วย มัคคเุ ทศกจ์ งึ เปรียบเสมอื นตวั แทนของทอ้ งถ่นิ และประเทศนน้ั ๆ โอกาสในการมีงานท�ำ 269 ต้ังแต่ปี 2539 เป็นต้นมา อุตสาหกรรมการท่องเท่ียวไทย สามารถท�ำเงินรายได้ให้ประเทศมากที่สุด และ ในปี 2543 จะน�ำเงนิ เขา้ ประเทศไดถ้ ึงประมาณ 3 แสนล้านบาท โดยไดท้ �ำการเปดิ ตลาดเพอื่ ส่งเสรมิ การขายและ การท่องเที่ยวของประเทศไทยในต่างประเทศของหน่วยงานที่เก่ียวข้อง และผู้ประกอบการธุรกิจการท่องเที่ยว ส่วนในประเทศได้ด�ำเนินการโดยเน้นการพัฒนาแหล่งท่องเที่ยว และความพร้อมในทุกด้านของทุกจังหวัด เพ่ือส่งเสริมและสนับสนุนให้คนไทยเท่ียวในประเทศไทยมากข้ึน โดยเน้นท้ังทางประวัติศาสตร์ โบราณสถาน วฒั นธรรม ประเพณีของทกุ จงั หวดั และทัวร์สงิ่ แวดล้อม หรอื อโี คทวั รสิ ซม่ึ (Ecotourism) แนวโน้มของคนในยุคปัจจุบันที่อาศัยอยู่ในสังคมเมืองมักจะแสวงหาวันหยุดที่ใกล้ชิดธรรมชาติที่มี ความเงียบสงบ นักท่องเที่ยวชาวต่างประเทศในปัจจุบันจะเลือกเที่ยวในประเทศท่ีมีการจัดแหล่งการรักษา สิ่งแวดล้อม และสภาพทางนิเวศวิทยาที่ดีเท่าน้ัน อาจจะจัดเป็นกรุ๊ปทัวร์สุขภาพธรรมชาติบ�ำบัด หรือกรุ๊ปทัวร์ ในรูปแบบการอบรมสัมมนาเนื้อหาทางพระพุทธศาสนา และการปฏิบัติสมาธิ การได้ใช้ชีวิตอยู่ร่วมกับชาวบ้านได้ เรียนรู้ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมท้องถิ่นของชาวบ้าน เป็นต้น ซ่ึงประเทศไทยมีศักยภาพที่จะจัดเป็นเส้นทาง ส�ำหรับนักท่องเท่ียวกลุ่มน้ีได้ ดังน้ัน บุคคลผู้สนใจจะประกอบอาชีพมัคคุเทศก์สามารถเปิดการให้บริการ โดยสามารถจัดเป็นธุรกิจการท่องเท่ียวแบบเฉพาะกลุ่มของตนเองขึ้นบนเว็บไซต์ออนไลน์เสนอให้ผู้สนใจทั่วโลก เลอื กพิจารณาโปรแกรมการท่องเทย่ี วได้ อน่งึ องคก์ ารทอ่ งเท่ยี วทั่วโลกไดม้ กี ารสนบั สนนุ กำ� หนดให้ วันท่ี 27 กนั ยายนของทกุ ปีเปน็ วันท่องเท่ียวโลก โดยมวี ตั ถปุ ระสงคใ์ หป้ ระชาคมโลกตระหนกั ถงึ ความสำ� คญั ของการทอ่ งเทย่ี วทม่ี ตี อ่ วฒั นธรรม การเมอื ง และเศรษฐกจิ ของประเทศและโลกโดยรวม การท่องเท่ียวแห่งประเทศไทยได้สนับสนุนอุตสาหกรรมนี้เพราะเล็งเห็นถึง

กรมการ ัจดหางาน ท20ตี่ 0ลาดข้อแรมงูลงอานาชตพี ้องการ Department of Employment ประจ�ำ ปี 2558/2015 ความมศี ักยภาพในการเป็นประตูไปสกู่ ารท่องเทีย่ ว อินโดจนี หรอื ภูมิภาค เข้าสู่ จนี พมา่ ลาว เขมร และเวียดนาม ซ่ึงนับว่าอาชีพมัคคุเทศก์เป็นอาชีพส�ำคัญอาชีพหน่ึง ในการพัฒนาอุตสาหกรรมการท่องเที่ยวนี้ให้ได้มาตรฐาน พร้อมทั้งเป็นผู้ส่งเสริมการอนุรักษ์ส่ิงแวดล้อมอีกด้วย เนื่องจากนักท่องเท่ียวสนใจท่ีจะเลือกท่องเท่ียวในประเทศ ทอ่ี นรุ กั ษส์ ง่ิ แวดลอ้ มเทา่ นนั้ โอกาสในการประกอบอาชพี มคั คเุ ทศกจ์ งึ มคี อ่ นขา้ งมาก และมโี อกาสไดร้ บั ความกา้ วหนา้ ในอาชพี แต่ทัง้ น้ขี น้ึ อยกู่ ับความรอบรู้ ความสามารถ และจรรยาบรรณในวชิ าชพี ของมคั คเุ ทศกด์ ้วย แม้วา่ รัฐบาลจะมีนโยบายส่งเสรมิ การทอ่ งเทีย่ ว อยา่ งไรก็ตาม แตถ่ า้ ขาดมัคคุเทศกท์ ี่มคี ณุ ภาพ กไ็ มส่ ามารถ ท�ำให้นโยบายดังกล่าวสัมฤทธิผลได้ จึงได้มีการส่งเสริม และพัฒนามัคคุเทศก์ โดยในปี 2543 การท่องเที่ยวแห่ง ประเทศไทยได้จดั ให้มรี างวัลพิเศษขน้ึ คอื “มคั คเุ ทศก์ไทยดเี ดน่ ” ในงานไทยแลนดท์ ัวรสิ ซ่ึมอวอร์ด 2000 อันถอื ว่า เปน็ งานยอดเยย่ี มของอตุ สาหกรรมทอ่ งเทยี่ ว ทกี่ ระตนุ้ ใหผ้ ปู้ ระกอบการธรุ กจิ และผเู้ กย่ี วขอ้ งใหค้ วามรว่ มมอื ในการ อนรุ กั ษ์และพฒั นาทรัพยากรการท่องเทีย่ วทัง้ ทางวัฒนธรรมและธรรมชาติ ตลอดจนจดั การบรกิ ารใหม้ มี าตรฐาน คุณสมบตั ขิ องผู้ประกอบอาชีพ 1. พูดภาษาต่างประเทศได้อย่างนอ้ ย คอื ภาษาอังกฤษ เป็นภาษาท่สี อง 2. เป็นผู้ท่ีศึกษาหาความรู้ท่วั ไปสมำ่� เสมอ 3. รักการเดินทางท่องเที่ยว และรักงานบริการ สามารถปรับตัว และเป็นนักแก้ไขปัญหาได้ดีใน ทกุ สถานการณ์ 4. มคี วามยดื หยนุ่ ประนปี ระนอม และมบี คุ ลกิ ภาพเปน็ ทไ่ี วว้ างใจของนกั ทอ่ งเทยี่ วในการเดนิ ทางไปดว้ ยกนั 5. มคี วามเป็นผ้นู ำ� มีความกล้าตดั สนิ ใจ มคี วามรอบคอบและไม่ประมาท 6. มที ศั นคติดี มอี ุปนสิ ยั รา่ เรงิ มีความเสยี สละ ซอื่ สัตย์ ซอื่ ตรง และอดทนไดใ้ นทกุ สถานการณ์ 7. สขุ ภาพร่างกายแข็งแรงสมบูรณ์ มไี หวพรบิ และปฏภิ าณดี 270 8. มคี วามคดิ สร้างสรรค์ มมี นุษยสมั พนั ธท์ ่ีดี 9. เป็นนักประชาสัมพนั ธท์ ดี่ ี รักการเลา่ เร่อื งราว และการบรรยายความรู้ตา่ ง ๆ 10. เป็นนักวางแผนจัดเก็บข้อมูลท่ีดี ท้ังข้อมูลการท่องเที่ยว ความนิยมของลูกค้า และรายชื่อลูกค้าท่ีเป็น นักทอ่ งเทยี่ ว สถานฝึกอบรมอาชพี / สถาบนั การศกึ ษา - คณะศิลปศาสตร์ สาขาวิชาการจัดการท่องเที่ยว มหาวิทยาลัยศรีปทุม อาคาร 11 ช้ัน 10 โทรศัพท์ 0-2579-1111 ตอ่ 1267 โทรสาร 0-2579-1111 ตอ่ 1247 อีเมล [email protected] - คณะการจดั การและการทอ่ งเทย่ี ว มหาวทิ ยาลยั บรู พา 69 ถนนลงหาดบางแสน ตำ� บลแสนสขุ อำ� เภอเมอื ง จังหวัดชลบุรี 20131 โทรศพั ท์ 0-3810-2371 เว็บไซต์ www.bbs.buu.ac.th - คณะวิทยาการจัดการ สาขาวิชาการจัดการโรงแรมและท่องเที่ยว มหาวิทยาลัยขอนแก่น 123 ถนนมติ รภาพ ต�ำบลในเมอื ง อ�ำเภอเมือง จังหวดั ขอนแก่น 40002 โทรศัพท์ 0-4320-2401 โทรสาร 0-4320-2402 อเี มล [email protected] - สาขาวิชาการท่องเท่ียวและการโรงแรม คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏ สกลนคร 680 หมู่ 11 ถนนนิตโย ตำ� บลธาตุเชิงชุม อำ� เภอเมือง จังหวัดสกลนคร 47000 โทรศพั ท์/โทรสาร 0-4274- 3710 อีเมล [email protected]

ทตี่ ลาด20แร0งงขา้อนมตลู ้อองากชาพี ร ประจ�ำ ปี 2558/2015 - คณะพัฒนาการท่องเท่ียว สาขาวิชาพัฒนาการท่องเที่ยว มหาวิทยาลัยแม่โจ้ เลขท่ี 63 หมู่ 4 กรมการ ัจดหางาน ต�ำบลหนองหาร อ�ำเภอสนั ทราย เชยี งใหม่ 50290 โทรศพั ท์ 0-5387-5151 Department of Employment - คณะวิทยาการจัดการ สาขาวิชาการจัดการการท่องเท่ียว มหาวิทยาลัยศิลปากร วิทยาเขตสารสนเทศ เพชรบุรี เลขท่ี 1 หมู่ 3 ต�ำบลสามพระยา อ�ำเภอชะอ�ำ จังหวัดเพชรบุรี 76120 โทรศัพท์ 0-3259-4043-50 ต่อ 41049, 41046-48 โทรสาร 0-3259-4027 - คณะศิลปศาสตร์ สาขาการท่องเที่ยว มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี ต�ำบลเมืองศรีไค อ�ำเภอวารินช�ำราบ จงั หวัดอุบลราชธานี 34190 โทรสาร 0-4528-8870 โทรศัพท์ 0-4535-3700 โอกาสความก้าวหน้าในอาชพี ความกา้ วหนา้ ในการประกอบอาชพี มคั คเุ ทศก์ ไมไ่ ดว้ ดั กนั ทตี่ �ำแหนง่ แตว่ ดั จากความสามารถทางดา้ นภาษา ความมีมนุษยสัมพันธ์ดี ความอดทน ความเป็นมืออาชีพ ดังน้ัน ผู้ท่ีสนใจต้องการประกอบอาชีพมัคคุเทศก์ สามารถตดิ ตอ่ ไดท้ บี่ รษิ ทั จดั ทอ่ งเทย่ี ว เมอื่ มปี ระสบการณ์ และสรา้ งเครอื ขา่ ยขอ้ มลู ทางดา้ นการทอ่ งเทย่ี วใหม้ ากขน้ึ และร่วมสร้างพันธมิตรทางธุรกิจท่ีเก่ียวเน่ือง ก็สามารถเปิดบริษัทเองได้ ถ้าอยู่ในต่างจังหวัดสามารถเปิด ส�ำนกั งานของตนเองได้ แตจ่ ะต้องทำ� การสำ� รวจในพื้นทีท่ ีต่ นอยู่ และจงั หวัดใกลเ้ คยี ง ว่ามีแหล่งทรัพยากรการทอ่ ง เทยี่ วทน่ี า่ สนใจอะไร และจดั เปน็ โปรแกรมการเดนิ ทางไดห้ รอื ไม่ จากนน้ั กจ็ ดั ทำ� โฮมเพจ เสนอบรกิ ารขน้ึ เวบ็ ไซตเ์ พอ่ื ส่งตรงสผู่ ูส้ นใจ โดยปรึกษากบั บรษิ ัทที่ปรึกษาการท�ำพาณิชย์อเิ ลก็ ทรอนิกสต์ า่ ง ๆ ได้ อาชพี ที่เกย่ี วเนอ่ื ง 271 จัดกลุ่มท่องเที่ยวแบบอิสระท่ีตนมีความรู้ ความช�ำนาญ ทั้งภายในประเทศ และต่างประเทศ เช่น ทัวร์ศิลปวัฒนธรรม ทวั ร์เกษตรกรรม เป็นต้น เปิดสถานที่ให้ค�ำแนะน�ำเรื่องการท่องเที่ยว จ�ำหน่าย ต๋วั เคร่อื งบิน ให้บริการยานพาหนะ เช่น รถยนต์ รถจักรยานยนต์ รถจกั รยานภเู ขา เรอื เชา่ หรอื สงิ่ อำ� นวยความสะดวกตา่ ง ๆ ทจ่ี ำ� เปน็ ใหก้ บั นกั ทอ่ งเทย่ี ว หรอื จำ� หนา่ ยสนิ คา้ ทรี่ ะลกึ ทน่ี า่ สนใจหรอื หายาก ในประเทศ จดั ศนู ยบ์ รกิ ารขอ้ มลู การทอ่ งเทยี่ วทอ้ งถน่ิ จดั ทพี่ กั แรม เดินทางในแหล่งท่องเท่ียวตามท่ีต่าง ๆ จัดพิมพ์หนังสือคู่มือการ ทอ่ งเที่ยว และพมิ พภ์ าพโปสตก์ ารด์ แหลง่ ทอ่ งเทยี่ วตา่ ง ๆ ท่นี กั ท่องเที่ยวสนใจ แหลง่ ขอ้ มลู อนื่ ๆ - การทอ่ งเท่ียวแห่งประเทศไทย - และการท่องเท่ยี วประจ�ำจงั หวดั - สมาคมมัคคเุ ทศกแ์ ห่งประเทศไทย - สถาบันพฒั นาฝมี ือแรงงานทว่ั ประเทศ - เวบ็ ไซต์เก่ียวกับบ้านพัก โรงแรม

กรมการ ัจดหางาน ท20ต่ี 0ลาดข้อแรมงูลงอานาชตีพ้องการ Department of Employment ประจ�ำ ปี 2558/2015 ลา่ มแปลภาษา Interpreter นิยามอาชีพ แปลถอ้ ยคำ� จากภาษาทพี่ ดู เปน็ ภาษาอนื่ : แปลจากค�ำพูดโดยตรงจากการบันทึกเสียงโดย การใชค้ วามรใู้ นภาษาเดมิ และภาษาตา่ งประเทศ อาจจดชวเลขเพอ่ื ชว่ ยในการแปลคำ� พดู อาจแปล บทความและเอกสารโดยการเขยี นไวเ้ ปน็ ลายลกั ษณ์ อักษร โดยปกติมักเช่ียวชาญในภาษาหรือเร่ือง ประเภทใดประเภทหน่ึงโดยเฉพาะ และอาจมี ชอื่ เรยี กตามงานทท่ี ำ� ลกั ษณะของงานทีท่ �ำ 1. พนกั งานแปล ทำ� หนา้ ที่แปลขอ้ ความทพ่ี ิมพ์หรอื เขียนเป็นลายลักษณอ์ กั ษร จากภาษาเดมิ เป็นภาษาอนื่ ตัง้ แต่หน่ึงภาษาขนึ้ ไป เชน่ วรรณคดี บทความทางวชิ าการ บทความในหนังสอื พิมพ์หรอื นติ ยสาร เอกสารทางการ 272 เมอื งและเอกสารเก่ียวกบั กฎหมาย จดหมายโต้ตอบ และข้อความที่พิมพ์หรอื เขยี นเปน็ ลายลกั ษณอ์ กั ษร โดยการใช้ ความร้จู ากภาษาเดิม สำ� หรบั ผ้แู ปลหนงั สอื ภาษาต่างประเทศโดยไดร้ บั ลิขสิทธิ์ ในการแปลเรียกว่า “นกั แปล” อาจ แปลหนงั สอื นวนยิ าย หรือหนังสอื ท่ีใช้เป็นบทเรียนในภาควิชาการบรหิ าร และการตลาด 2. ท�ำหน้าทีแ่ ปลคำ� พูด หรอื ค�ำบรรยาย ในระหวา่ งการสนทนา หรือการบรรยายให้แกบ่ คุ คลใดบุคคลหน่งึ หรอื หลายคนในเวลาเดยี วกัน สภาพการจา้ งงาน ส�ำหรับเจ้าหน้าท่ีในองค์กรของรัฐบาล จะได้รับค่าตอบแทนการท�ำงานเป็นเงินเดือนตามวุฒิการศึกษาและ อาจมีค่าวิชาชีพเพ่ิมให้ ในภาคเอกชนจะได้รับการว่าจ้างในอัตราเงินเดือนที่มากกว่า 5 - 10 เท่าขึ้นไปตามความ สามารถและความรับผิดชอบ ผปู้ ระกอบอาชพี อสิ ระในการแปลหนงั สอื นวนยิ ายตา่ งประเทศ คา่ จา้ งแปลโดยเฉลย่ี เปน็ ชนิ้ งานตามความหนา ของหนงั สอื จะไดร้ บั คา่ จา้ งแปลประมาณเลม่ ละ 30,000 - 80,000 บาท ซงึ่ ใชเ้ วลาแปลประมาณ 1 - 2 เดอื น บางเลม่ ทม่ี คี วามเปน็ วชิ าการมากอาจไดร้ บั คา่ แปลมากกวา่ 100,000 บาท และในกรณถี า้ มกี ารพมิ พซ์ ำ้� ผแู้ ปลจะไดค้ า่ แปลเพมิ่ ขนึ้ ตามแตเ่ ปอรเ์ ซน็ ตท์ ตี่ กลงไวก้ บั ผวู้ า่ จา้ ง การแปลบทสารคดจี ะไดร้ บั คา่ ตอบแทนเปน็ ชน้ิ งานประมาณ 5,000 - 7,000 บาทตอ่ เรอ่ื ง หรอื ความยาวประมาณ 20 หนา้ นอกจากน้ี ยงั มกี ารแปลบทภาพยนตรต์ า่ งประเทศทแี่ พรภ่ าพทางทวี แี ละ ฉายในโรงภาพยนตร์ คา่ แปลบทภาพยนตรท์ วี ี ประมาณเรอื่ งละ 3,000 - 5,000 บาท การแปลบทภาพยนตรจ์ ะไดร้ บั คา่ จา้ งทส่ี งู พอสมควร สว่ นคา่ จา้ งแปลเอกสารธรรมดาในทอ้ งตลาดทว่ั ไปหนา้ ละประมาณ 300 - 800 บาท

ทตี่ ลาด20แร0งงขาอ้ นมตลู ้อองากชาพี ร ประจ�ำ ปี 2558/2015 สภาพการทำ� งาน กรมการ ัจดหางาน Department of Employment ผู้ปฏิบัติงานผู้แปลภาษาต่างประเทศ-พนักงานแปล-และ ล่าม-Translator-Interpreter อาจท�ำงานประจ�ำในองค์กรต่าง ๆ เช่น ส�ำนักงานทนายความและบริษัทท่ีปรึกษากฎหมาย บริษัท อุตสาหกรรม บริษัทอุตสาหกรรมร่วมทุนกับบริษัทต่างชาติ บริษัท ก่อสร้างและอสังหาริมทรัพย์ ธนาคาร โดยท�ำหน้าท่ีปฏิบัติงานอยู่ ในสำ� นกั งาน หรือในกรณีทีท่ �ำหนา้ ท่ีลา่ ม ตอ้ งเดินทางออกไปปฏบิ ัติ หน้าที่ในพื้นที่ท�ำงาน ในต่างจังหวัดหรือต่างประเทศ และอาจต้อง ท�ำหน้าท่ีเลขานุการของผู้บริหารด้วย ในการออกไปท�ำงานนอกสถานที่ งานท่ีท�ำอาจมีความกดดันในเร่ืองเวลา ปฏิบัติงานพอสมควร คือชั่วโมงท�ำงานอาจนานจนกว่าการสนทนา การบรรยาย หรือการเจรจาธุรกิจจะเสร็จสิ้น สำ� หรบั “นกั แปล” ทร่ี บั จา้ งแปลงานใหก้ บั บรษิ ทั นำ� เขา้ ภาพยนตรต์ า่ งประเทศ บรษิ ทั สอื่ สง่ิ พมิ พ์ และสำ� นกั พมิ พ์นั้นสามารถปฏิบัติงานท่ีบ้านได้ โดยน�ำงานต้นฉบบั แปลส่งตามที่ก�ำหนดกับผู้ว่าจา้ งไว้ นักแปลต้องท�ำงานแขง่ กบั เวลา เพื่อใหง้ านแล้วเสร็จทันก�ำหนดเวลา โอกาสในการมีงานทำ� ปัจจุบันผู้แปลภาษาต่างประเทศ เป็นที่ต้องการของตลาดอย่างมาก เน่ืองมาจากการเปิดการค้าเสรีและ การส่ือสารไร้พรมแดน ท�ำให้ธุรกิจทุกวงการต้องหันมาส่งเสริมพนักงานทุกคนในองค์กรให้ใช้ภาษาอังกฤษได้เป็น อยา่ งน้อย นอกเหนือไปจากการจา้ งพนกั งานประจ�ำท้ังนักแปล และล่าม ภาษาองั กฤษ ญป่ี นุ่ จนี เยอรมันกันอย่าง มากมายในช่วง 1 - 2 ปีท่ีผ่านมา เช่น ธุรกิจอุตสาหกรรม วงการก่อสร้างงานสาธารณูปโภคระดับนานาชาติและ บริษัทที่ปรึกษากฎหมาย เป็นต้น ดังนั้น ผู้ประกอบผู้แปลภาษาต่างประเทศจึงมีแนวโน้มเป็นที่ต้องการของตลาด แรงงานอย่างมาก เพราะบางบริษัทจ้างพนักงานแปลหรือล่ามที่สามารถใช้ภาษาต่างประเทศได้มากกว่า 2 ภาษา 273 และจะได้รบั การพิจารณาเป็นพิเศษ ผู้ทม่ี ีความสามารถด้านการแปลภาษาสามารถเลือกงานได้ตามทต่ี นต้องการ ผปู้ ระกอบผแู้ ปลภาษาตา่ งประเทศ-พนกั งานแปล-และลา่ ม-Translator-Interpreter มคี วามมนั่ ใจในตนเอง สูง และเป็นอาชีพอิสระอาจเลือกทำ� งานตามอดุ มคตไิ ด้ เช่น ท�ำงานในองค์กรระหว่างประเทศในโครงการตา่ ง ๆ ได้ ถ้าไม่ต้องการเป็นนักแปล หรือล่าม บรรณาธิการข่าวต่างประเทศอาจประกอบผู้แปลภาษาต่างประเทศ-พนักงาน แปล-และลา่ ม-Translator-Interpreter เปน็ อาชีพเสรมิ นอกเหนอื งานประจำ� คุณสมบตั ิของผ้ปู ระกอบอาชีพ ผปู้ ระกอบอาชพี ผแู้ ปลภาษาตา่ งประเทศ ตอ้ งเตรยี มความพรอ้ ม โดยอาจมคี วามรรู้ ะดบั ปรญิ ญาตรหี รอื ปรญิ ญาโท สาขาอักษรศาสตร์ ศิลปศาสตร์ หรือสาขาที่เก่ียวข้อง หรืออย่างน้อยมีความสามารถในการแปลอย่างช�่ำชอง ท้ังสองภาษา โดยมคี ณุ สมบัตดิ ังตอ่ ไปน้ี 1. สนใจและรกั ในภาษาและมคี วามรคู้ วามช�ำนาญในภาษาของตนเองไม่นอ้ ยไปกวา่ ต้นฉบบั 2. เปน็ ผู้มีความรู้ในภาษาต้นฉบับและภาษาทใี่ ช้ในการแปลดีพอ 3. เป็นผหู้ มน่ั ค้นคว้าหาความรเู้ พ่ิมเติมอยเู่ สมอ ทงั้ ในงานที่ทำ� และงานแขนงอ่ืน ๆ 4. เปน็ ผมู้ วี ิจารณญาณในการแปล 5. เปน็ ผมู้ ีใจเปิดกวา้ งยอมรบั ขอ้ ตติ งิ จากทั้งเพือ่ นรว่ มงานและผู้ว่าจ้าง 6. เปน็ ผู้มีความละเอียดรอบคอบ และความละเอยี ดออ่ นในการแปล

ท20ีต่ 0ลาดข้อแรมงูลงอานาชตพี อ้ งการ ประจ�ำ ปี 2558/2015 กรมการ ัจดหางาน สถานฝึกอบรมอาชีพ / สถาบนั การศึกษา Department of Employment - คณะอกั ษรศาสตร์ จฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั ถนนพญาไท เขตปทมุ วนั กรงุ เทพฯ 10330 โทรศพั ท์ 0-2218- 4870 เว็บไซต์ http://www.arts.chula.ac.th/ - คณะศลิ ปศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยธรรมศาสตร์ (ศนู ย์รังสติ ) 99 หมู่ 18 ตำ� บลคลองหน่ึง อำ� เภอคลองหลวง จงั หวัดปทมุ ธานี 12121 โทรศพั ท์ 0-2696-5626, 0-2696-5629, 0-2696-5204, 0-2696-5205 โทรสาร 0-2696- 5619 เวบ็ ไซต์ arts.tu.ac.th/ - คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลยั เชยี งใหม่ 239 ถนนหว้ ยแก้ว ต�ำบลสเุ ทพ อำ� เภอเมือง จงั หวดั เชียงใหม่ 50200 โทรศัพท์ 0-5394-3208-9 โทรสาร 0-5322-1595 เวบ็ ไซต์ http://www.human.cmu.ac.th/ - คณะมนษุ ยศาสตรแ์ ละสงั คมศาสตร์ หลักสตู รนิเทศศาสตรบัณฑติ มหาวิทยาลัยบรู พา 169 ถนนลงหาด บางแสน ตำ� บลแสนสขุ อำ� เภอเมอื ง จงั หวดั ชลบรุ ี 20131 โทรศพั ท์ 0-3810-2222 ตอ่ 2336 เวบ็ ไซต์ http://www. huso.buu.ac.th/ - คณะมนุษยศาสตร์และสงั คมศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยขอนแก่น 23 ถนนมติ รภาพ ต�ำบลในเมือง อ�ำเภอเมือง จังหวัดขอนแก่น 40002 โทรศัพท์ 0-4320-2861 โทรสาร 0-4320-2318 อเี มล [email protected] เวบ็ ไซต์ http:// hs.kku.ac.th/pages/home - คณะมนุษยศาสตรแ์ ละสงั คมศาสตร์ มหาวิทยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลตะวนั ออก ตำ� บลขามเรียง อำ� เภอ กันทรวชิ ัย จังหวดั มหาสารคาม 44150 โทรศพั ท์ 0-4375-4369 โทรศพั ท์ภายใน 4734, 4703 อีเมล human.msu. [email protected] เวบ็ ไซต์ http://human.msu.ac.th/husoc/ - คณะศลิ ปศาสตร์ หลกั สูตรศลิ ปศาสตรบัณฑติ (ศศ.บ.) มหาวิทยาลัยพะเยา 19 หมู่ 2 ตำ� บลแมก่ า อำ� เภอ เมอื ง จงั หวัดพะเยา 56000 โทรศัพท์ 0-5446-6666 โทรสาร 0-5446-6690 อีเมล [email protected] - คณะศลิ ปศาสตร์ หลกั สตู รศลิ ปศาสตรบณั ฑติ มหาวทิ ยาลยั แมฟ่ า้ หลวง 333 หมู่ 1 ตำ� บลทา่ สดุ อำ� เภอเมอื ง 274 จังหวัดเชยี งราย 57100 โทรศัพท์ 0-5391-6000, 0-5391-7034 โทรสาร 0-5391-6034, 0-5391-7049 เว็บไซต์ http://www.mfu.ac.th/bachelor-art-eng.php - ฯลฯ โอกาสความกา้ วหน้าในอาชีพ ผู้ปฏิบัติงานผู้แปลภาษาต่างประเทศ-พนักงานแปล-และล่าม-Translator-Interpreter มีโอกาสก้าวหน้า ทางดา้ นวชิ าชพี ในเรอ่ื งของคา่ จา้ งและเงนิ เดอื น อาจไดร้ บั ตำ� แหนง่ ตา่ ง ๆ ในองคก์ รทตี่ อ้ งตดิ ตอ่ กบั ตา่ งประเทศ จนถงึ ระดบั ผบู้ รหิ าร ถา้ ผแู้ ปลหรอื ลา่ มมคี วามชำ� นาญพเิ ศษและมปี ระสบการณใ์ นระดบั สงู อาจทำ� งานกบั องคก์ รนานาชาตไิ ด้ อาชีพท่ีเกยี่ วเนอ่ื ง ล่าม นักแปลหนังสือ นักแปลบทภาพยนตร์ต่างประเทศ นักแปลบทสารคดีต่างประเทศ นักแปลข่าว นกั ประพนั ธ์ รไี รท์เตอร์ บรรณาธิการข่าวต่างประเทศ บรรณาธิการหนงั สอื แปล พนักงานแปลประจ�ำหน่วยขา่ วใน องคก์ รต่างประเทศหรอื สถานทูต มัคคเุ ทศก์ ผู้จัดการโครงการขององค์กรระหวา่ งประเทศ แหลง่ ข้อมูลอื่น ๆ - แหล่งจัดหางานในหนังสอื พิมพ์ และเว็บไซต์ - ชมรมนักแปล

ธุรกจิ ดา้ นการรองรบั การก้าวเข้าสู่สังคมผู้สงู อายุ

กรมการ ัจดหางาน 2ท0่ตี 0ลาดข้อแรมงูลงอานาชตีพ้องการ Department of Employment ประจ�ำ ปี 2558/2015 นกั กายภาพบำ� บัด Physiotherapist นยิ ามอาชพี บ�ำบัดรักษาผู้ป่วยท่ีเป็นโรคเกี่ยวกับกล้ามเนื้อ โรคทางกระดูก โรค ทางข้อ โรคทางระบบประสาท และความพิการต่าง ๆ ที่เกิดจากโรคหรือ อบุ ตั เิ หตุ ตามคำ� สงั่ แพทยด์ ว้ ยวธิ กี ายภาพบำ� บดั เพอ่ื ฟน้ื ฟใู หก้ ลบั สสู่ ภาพปกติ ใช้ความร้อนแสง เสียง ไฟฟ้า หลักกลศาสตร์ การดัด การดึง การนวด การบรหิ ารรา่ งกายตลอดจนการใชเ้ ครอื่ งมอื ทางกายภาพชนดิ ตา่ ง ๆ เพอ่ื ฟน้ื ฟู ป้องกัน ปรบั ปรุง แก้ไขสมรรถภาพของรา่ งกายท่ีเสือ่ มสภาพหรือพกิ ารให้ กลบั สสู่ ภาพปกติ อาจมคี วามชำ� นาญในการรกั ษาแบบใดแบบหนงึ่ โดยเฉพาะ เช่น การรกั ษาด้วยน�้ำ (วารีบำ� บดั ) รกั ษาด้วยเครอ่ื งกล ไฟฟา้ หรอื ความรอ้ น ผู้ปฏิบัติงานอาชีพนี้จะต้องมีความรู้ความสามารถและมีวุฒิไม่ต�่ำกว่า ปรญิ ญาตรีทางด้านกายภาพบ�ำบัด ลกั ษณะของงานทีท่ �ำ 276 แตเ่ ดมิ นน้ั การบำ� บดั รกั ษาคอื การบบี นวดดว้ ยมอื การอาศยั ความรอ้ นและการใชเ้ ครอ่ื งมอื อนื่ ๆ เขา้ มาชว่ ย ต่อมาได้มีการพัฒนาข้ึนโดยมีการจัดต้ังโรงเรียนกายภาพบ�ำบัดข้ึนมา เพื่อศึกษาวิธีการและส่งเสริมการท�ำงาน ทางด้านกายภาพบ�ำบัดให้มีคุณภาพมากข้ึน อีกทั้งยังมีการประดิษฐ์เครื่องมือทางกายภาพบ�ำบัดโดยใช้เทคโนโลยี ที่ทันสมัยมาช่วย ท�ำให้ผลจากการบ�ำบัดรักษาเป็นท่ีน่าพอใจ และประชาชนทั่วไปได้รู้จักค�ำว่า กายภาพบ�ำบัด มากขึ้น และเป็นที่ยอมรับว่านักกายภาพบ�ำบัดมีบทบาทส�ำคัญต่อการแพทย์ ในการบ�ำบัดรักษาผู้ป่วยให้หายจาก โรคภัยไข้เจ็บเร็วข้ึน โดยปราศจากภาวะแทรกซ้อน สามารถกลับไปประกอบอาชีพการงานได้ตามปกติในเวลา อนั รวดเรว็ นักกายภาพบ�ำบดั จะให้การช่วยเหลอื ผทู้ ่ีมปี ญั หาดงั ต่อไปน้ี - ด้านพฒั นาการ (Development) - ด้านอายรุ กรรม (Medicine) - ด้านศัลยกรรม (Surgery) - ด้านระบบประสาท (Neurology) - ดา้ นกระดกู และข้อ (Orthopedics) - ดา้ นจิตเวช (Psychiatry) - ดา้ นผู้สงู อายุ (Geriatric) นักกายภาพบ�ำบัด มีหน้าที่บ�ำบัดรักษาผู้อื่นตามค�ำสั่งแพทย์ โดยการใช้เครื่องมือทางฟิสิกส์ท�ำการบริหาร ร่างกายเฉพาะท่า เช่น การดึง การนวด และเทคนิคอ่ืน ๆ ทางกายภาพบ�ำบัด ผู้ป่วยทางออร์โธปิดิกส์ คือผู้ป่วย ทางระบบกลา้ มเนือ้ กระดกู และข้อต่อซง่ึ อาจเกดิ จากโรคบางชนิดหรอื อบุ ัติเหตุ มุ่งเน้นใหก้ ารช่วยเหลอื ฟนื้ ฟูผู้ปว่ ย

ทต่ี ลาด20แร0งงขา้อนมตูลอ้ องากชาพี ร ประจ�ำ ปี 2558/2015 เพ่ือป้องกนั ความพกิ าร บำ� บดั รักษาและฟน้ื ฟสู ภาพในผทู้ ี่มีความเสอ่ื มสมรรถภาพ หรือความพิการทางด้านร่างกาย กรมการ ัจดหางาน จติ ใจ การเขา้ สังคม เพ่อื พฒั นาการการรับรู้ และความรู้ความเข้าใจด้วยวธิ ีกิจกรรมบ�ำบัด ซงึ่ ไดแ้ ก่ การใช้กิจกรรม Department of Employment ท่ีได้วิเคราะห์โดยวิธีการทางวิทยาศาสตร์ การใช้เครื่องพยุงส่วนของร่างกาย หรืออุปกรณ์ช่วยเหลือต่าง ๆ รวมท้ัง การใชเ้ ทคนคิ พิเศษในการบำ� บัดรักษาเฉพาะทาง เพ่ือมุง่ เนน้ ใหผ้ ปู้ ว่ ยสามารถช่วยเหลอื ตนเองไดโ้ ดยอิสระ นักกายภาพบ�ำบัดจะรักษาอาการผิดปกติของร่างกาย เช่น กระดูกหัก ข้อเคล็ด อัมพาต โรคหัวใจ หรือ โรคประสาท ดว้ ยวิธกี ายภาพบ�ำบัด หรือวธิ กี ารอน่ื ๆ ทม่ี ใิ ชก่ ารรักษาทางยา และโดยปกติจะปฏบิ ัติงานตามค�ำส่ัง ของแพทย์ ชแี้ จงผปู้ ว่ ยใหอ้ อกกำ� ลงั กายเพอื่ รกั ษาโรคกลา้ มเนอื้ ไมป่ กตแิ ละหยอ่ นประสทิ ธภิ าพ ใชม้ อื นวดตามรา่ งกาย ของผ้ปู ่วย ใหก้ ารรกั ษาด้วยการฉายแสงอาทิตย์เทียม แสงอัลตราไวโอเลต หรืออินฟราเรด และมุ่งเนน้ ชว่ ยตรวจหา ข้อบกพร่อง เพ่ือให้ผู้ป่วยสามารถช่วยเหลือตนเองได้โดยอิสระ และให้การช่วยเหลือด้านการพัฒนาร่างกาย ทางด้านจิตเวช โดยมีขอบเขตความรบั ผดิ ชอบ ดงั นี้ - ชว่ ยตรวจสอบหาขอ้ บกพร่อง รวมท้งั ให้การบำ� บัดรกั ษาในเด็กท่มี ีปญั หาดา้ นพัฒนาการ - ช่วยกระตุ้น ฟ้นื ฟู และส่งเสริมความสามารถในผ้ทู ม่ี ีปญั หาดา้ นการรบั รู้ และการเรียนรู้ - สอน และฝึกหัดกิจวัตรประจ�ำวัน เชน่ การเคล่ือนยา้ ยตัว สขุ อนามยั ส่วนบคุ คล การรบั ประทานอาหาร เปน็ ต้น - ให้การรกั ษาพิเศษ เพ่ือเพ่มิ พูนความสามารถทางกาย ไดแ้ ก่ เพิม่ ก�ำลังกลา้ มเนื้อ เพมิ่ ความทนทานในงาน สหสัมพันธ์ในการท�ำงาน เป็นต้น - ท�ำการปรับอุปกรณ์ช่วยเสริม และท�ำให้เหมาะสมกับอาการของผู้ป่วย รวมท้ังฝึกหัดการใช้งานและการ ดแู ลรกั ษา - ทำ� การปรับสภาพบา้ น และขจัดสิง่ กดี ขวางทางสถาปตั ยกรรม - ใหก้ ารรกั ษาพเิ ศษแกผ่ ทู้ ม่ี ปี ญั หาดา้ นจติ ใจ การเขา้ สงั คม อารมณ์ และพฤตกิ รรม เพอ่ื เปน็ เครอื่ งมอื ในการ ช่วยวนิ จิ ฉยั โรค ช่วยลด หรือขจดั แรงขับทางอารมณ์ แกไ้ ข และปรับพฤตกิ รรมท่ไี ม่เหมาะสม รวมท้งั ใหค้ �ำแนะน�ำ 277 เก่ียวกบั วธิ จี ดั การกบั ความเครยี ดหรอื ความวติ กกงั วลของผปู้ ว่ ย - ประเมนิ สมรรถภาพทางรา่ งกายและจติ ใจ ในการปรบั ตวั ใหเ้ ขา้ กบั สงั คม ความสนใจงาน นสิ ยั ในการทำ� งาน รวมทงั้ ปรบั ปรุงทกั ษะและศักยภาพในการประกอบอาชีพ - แนะนำ� วางแผนการใช้ชีวติ และการปรบั ตวั หลังจากการเกษียณใหแ้ กผ่ ูส้ ูงอายแุ ละผมู้ ีปัญหาทางรา่ งกาย หรือพิการ สภาพการจ้างงาน ผู้ปฏิบัติงานอาชีพนี้ได้รับค่าตอบแทนเป็นเงินเดือนตามวุฒิการศึกษา โดยนักกายภาพบ�ำบัดท่ีส�ำเร็จ การศึกษาวุฒิปริญญาตรี และไม่มีประสบการณ์ในการท�ำงานจะได้รับเงินเดือนตามอัตรา สามารถประกอบธุรกิจ ส่วนตัว หรือหารายได้พิเศษโดยการรับท�ำกายภาพบ�ำบัดกับผู้ป่วยท่ีต้องการให้ท�ำกายภาพบ�ำบัดที่บ้าน โดยได้รับ คา่ ตอบแทนครง้ั ละ 400 - 500 บาทตอ่ ช่ัวโมง รายไดท้ ่ีไดร้ บั จึงขึน้ อยู่กบั ความอุตสาหะของแตล่ ะบุคคล นกั กายภาพบ�ำบดั มกี ำ� หนดเวลาทำ� งานตามปกติทัว่ ไป คอื วนั ละ 8 ชัว่ โมง หรือสัปดาหล์ ะ 40 - 48 ชั่วโมง และอาจได้ค่าล่วงเวลาเมือ่ ต้องทำ� งานล่วงเวลา

ท20ีต่ 0ลาดขอ้แรมงลู งอานาชตีพอ้ งการ ประจ�ำ ปี 2558/2015 กรมการ ัจดหางาน สภาพการทำ� งาน Department of Employment สถานท่ีท�ำงาน จะเป็นโรงพยาบาล หรือสถานพยาบาลท่ัวไป ซ่ึงจะมีห้องส�ำหรับท�ำกายภาพบ�ำบัด โดยมี อปุ กรณต์ า่ ง ๆ ทใี่ ชช้ ว่ ยในการบำ� บดั รกั ษา หรอื ในกรณที ต่ี อ้ งทำ� กายภาพบำ� บดั นอกสถานที่ อาจจะเปน็ บา้ นของคนไข้ นกั กายภาพบำ� บดั ควรจะตอ้ งดแู ลแนะนำ� การจดั สถานทใ่ี หเ้ หมาะสมสำ� หรบั ทำ� กายภาพบำ� บดั คนไขใ้ หไ้ ดป้ ระสทิ ธผิ ล สูงสุดในการฟ้นื ฟสู ภาพคนไข้ใหห้ ายและกลับสู่สภาพปกตโิ ดยเรว็ โอกาสในการมงี านทำ� นักกายภาพบ�ำบัดจะสามารถทำ� งานตามหน่วยงานทงั้ ภาครัฐและเอกชน ดังต่อไปน้ี โรงพยาบาลท่ัวไป โรงพยาบาลเฉพาะทาง ศูนย์ฟื้นฟูสภาพผู้พิการ สถาบันให้การดูแลหรือบ�ำบัดรักษา ผสู้ งู อายุ ทณั ฑสถาน ศนู ยร์ กั ษาฟน้ื ฟผู ตู้ ดิ ยาเสพตดิ สถาบนั รกั ษาฟน้ื ฟผู ปู้ ว่ ยทางจติ สงั คม ศนู ยบ์ รกิ ารทางสาธารณสขุ โรงเรียนรัฐบาล โรงเรยี นหรอื คลนิ ิกส�ำหรบั เด็กพเิ ศษ ศูนย์ดแู ลเดก็ เลก็ คณุ สมบัตขิ องผปู้ ระกอบอาชีพ 1. เปน็ ผสู้ ำ� เร็จการศกึ ษาในระดับปริญญาตรี สาขาวทิ ยาศาสตรบณั ฑติ (กายภาพบำ� บดั ) 2. มีความชำ� นาญในทักษะวิชาชพี มคี วามตั้งใจ มีจรยิ ธรรมอนั ดีงาม และมคี วามต้งั ใจทจ่ี ะให้บริการหรือ ใหก้ ารดูแลรกั ษาผู้ป่วย ผูพ้ กิ าร ทุกเพศ ทกุ วยั 3. มคี วามอดทน และมคี วามต้ังใจทีจ่ ะใหค้ วามช่วยเหลือ หรือใหค้ ำ� แนะนำ� คนไขท้ ่ีต้องการหายจากสภาพ ร่างกาย ซึ่งอาจต้องใชร้ ะยะเวลาในการฟน้ื ฟูใหค้ ืนสสู่ ภาพปกติ 278 สถานฝึกอบรมอาชพี / สถาบนั การศึกษา - คณะสหเวชศาสตร์ ภาควชิ ากายภาพบำ� บัด มหาวทิ ยาลัยธรรมศาสตร์ อาคารปิยชาติ ชั้น 3 99 หมู่ 18 ถนนพหลโยธิน ต�ำบลคลองหนึ่ง อ�ำเภอคลองหลวง จงั หวดั ปทมุ ธานี 12120 โทรศัพท์ 0-2986-9213-9 ต่อ 7237, 7274 โทรสาร 0-2516-5379 - คณะสหเวชศาสตร์ ภาควชิ ากายภาพบ�ำบดั จุฬาลงกรณ์มหาวทิ ยาลยั โทรศพั ท์ 0-2218-1065 เวบ็ ไซต์ www.ahs.chula.ac.th - คณะสหเวชศาสตร์ สาขาเทคนิคการแพทย์ มหาวิทยาลัยนเรศวร 99 หมู่ 9 ต�ำบลท่าโพธิ์ อ�ำเภอเมือง จงั หวัดพิษณุโลก 65000 โทรศัพท์ 0-5596-6226 โทรสาร 0-5596-6234 - คณะเทคนิคการแพทย์ สาขาวิชากายภาพบ�ำบัด มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ โทรศัพท์ 0-5394-5075 โทรสาร 0-5394-5075 เวบ็ ไซต์ www.ams.cmu.ac.th - คณะกายภาพบ�ำบัด สาขาวิชากายภาพบ�ำบัด มหาวิทยาลัยรังสิต เลขที่ 52/347 ถนนพหลโยธิน ต�ำบลหลักหก อำ� เภอเมอื ง จงั หวดั ปทุมธานี โทรศัพท์ 0-2997-2222 ต่อ 1453, 1483 - คณะสหเวชศาสตร์ ภาควชิ าเวชศาสตร์ มหาวิทยาลัยบรู พา โทรศพั ท์ 0-3810-2222 - คณะเทคนคิ การแพทย์ สาขาวิชากายภาพบำ� บดั มหาวิทยาลยั ขอนแกน่ 123 ถนนมิตรภาพ ต�ำบลในเมอื ง อ�ำเภอเมอื ง จงั หวดั ขอนแก่น 40002 โทรศัพท/์ โทรสาร 0-4320-2399, 0-4334-7482 อเี มล [email protected] - คณะกายภาพบ�ำบัด สาขาวิชากายภาพบ�ำบัด มหาวิทยาลัยมหิดล 99 ถนนพุทธมณฑลสาย 4 ต�ำบลศาลายา อำ� เภอพทุ ธมณฑล จังหวัดนครปฐม 73170 โทรศพั ท์ 0-2441-5450 โทรสาร 0-2441-5454

ทีต่ ลาด20แร0งงขาอ้ นมตูล้อองากชาีพร กรมการ ัจดหางาน ประจ�ำ ปี 2558/2015 Department of Employment โอกาสความกา้ วหนา้ ในอาชพี นักกายภาพบ�ำบัดที่ได้รับการอบรมในวิชาที่เก่ียวกับงานและมีประสบการณ์ในท�ำงาน มีโอกาสก้าวหน้าใน การทำ� งานตามระบบราชการ และระเบียบทีอ่ งคก์ รธรุ กจิ เอกชนกำ� หนด ยงั สามารถประกอบอาชพี อสิ ระได้ โดยการ เปดิ สถานทสี่ ำ� หรบั ทำ� กายภาพบำ� บดั หรอื รบั ทำ� กายภาพบำ� บดั ใหค้ นไขท้ อี่ ยบู่ า้ น สำ� หรบั นกั กายภาพบำ� บดั ทมี่ คี วาม สามารถในการบรหิ ารงาน ก็อาจจะเลื่อนข้นั เป็นผ้บู รหิ ารทางด้านกายภาพบำ� บดั ในสถาบันน้ัน ๆ ได้ อาชีพที่เก่ียวเนื่อง นกั กจิ กรรมบ�ำบดั นักอาชีวบ�ำบัด หมอนวด นักบำ� บัด (การพกั ผอ่ นหยอ่ นใจ) แหลง่ ขอ้ มลู อ่นื ๆ - โรงพยาบาลของรัฐและเอกชน เชน่ โรงพยาบาลศริ ริ าช โรงพยาบาลธนบรุ ี เป็นตน้ - การจัดมาตรฐานอาชีพ (ประเทศไทย) 279

กรมการ ัจดหางาน 2ท0ต่ี 0ลาดข้อแรมงลู งอานาชตีพ้องการ Department of Employment ประจ�ำ ปี 2558/2015 นกั กจิ กรรมบ�ำบดั Occupational Therapist นยิ ามอาชพี บ�ำบัดและฟื้นฟูสมรรถภาพและความพิการทางด้าน ร่างกายจิตใจและสังคมของผู้ป่วย ด้วยวิธีการทางกิจกรรมบ�ำบัด ภายใต้การควบคุมและความร่วมมือของแพทย์ และ นกั กายภาพบำ� บดั : ตรวจสอบหาขอ้ บกพรอ่ งของผปู้ ว่ ยทม่ี ปี ญั หา ในด้านต่าง ๆ เช่น ปัญหาด้านการพัฒนาการ ความเสื่อม สมรรถภาพ ปัญหาด้านอารมณ์และพฤติกรรม จัดกิจกรรม ในรูปแบบต่าง ๆ ให้เหมาะสมกับปัญหาของแต่ละบุคคล เพอ่ื ชว่ ยกระตนุ้ ฟน้ื ฟแู ละสง่ เสรมิ ความสามารถของผปู้ ว่ ย รวมทง้ั ใหค้ ำ� แนะนำ� ในการขจดั ความเครยี ด ความวติ กกงั วล การปรบั ปรงุ ทกั ษะและการปฏบิ ตั ติ วั ในทอ่ี ยอู่ าศยั หรอื ในสงั คม ผู้ปฏบิ ตั ิงานอาชพี น้จี ะต้องมีความรู้ความสามารถเฉพาะดา้ นและมีวุฒิไมต่ �ำ่ กว่าปริญญาตรี ลกั ษณะของงานทีท่ �ำ เป็นวิชาชีพทางการแพทย์แขนงหน่ึงที่ประยุกต์กิจกรรมมาใช้ในการตรวจ ประเมิน วินิจฉัย ส่งเสริม ดูแล รกั ษา และฟน้ื ฟสู มรรถภาพแกผ่ ปู้ ว่ ยทม่ี คี วามบกพรอ่ งทางกาย มพี ฒั นาการบกพรอ่ ง หรอื เปน็ ผทู้ มี่ คี วามผดิ ปกตทิ าง 280 ด้านจติ ใจ อารมณแ์ ละมปี ญั หาในการเข้าสังคม ให้ทำ� กิจกรรมตา่ ง ๆ ไดด้ ว้ ยตนเองอย่างเตม็ กำ� ลงั ความสามารถตาม ศักยภาพที่มีอยู่ เพ่ือให้ด�ำรงชีวิตอยู่ในสังคมได้อย่างมีความสมดุล เกิดความสุขท้ังทางร่างกายและจิตใจ รวมทงั้ การปอ้ งกนั ความเสอ่ื มถอยของสมรรถภาพอนั เนอ่ื งมาจากขอ้ จำ� กดั ขององคป์ ระกอบในการทำ� กจิ กรรมตา่ ง ๆ ผา่ นการใชส้ ือ่ อยา่ งเปน็ กระบวนการ งานด้านกจิ กรรมบ�ำบัดจงึ สามารถให้บรกิ ารแก่บคุ คลไดท้ ุกเพศ ทุกวัย สภาพการจ้างงาน อตั ราเงนิ เดือนจะขึ้นอยู่กบั แต่ละหน่วยงาน อตั ราขั้นต�ำ่ อย่ทู ี่ 15,000 บาท แต่อาจบวกเพม่ิ ค่าเข้าเวรหรือ คา่ ล่วงเวลา และอื่น ๆ เร่ิมต้นตามวุฒิปริญญาตรี คือ เดือนละ 15,000 บาท มีสวัสดิการต่าง ๆ และค่าใบประกอบโรคศิลปะ ขึ้นอยู่กับสถานที่ท�ำงาน หากเป็นศูนย์เอกชนรายได้อาจจะสูงขึ้น อยู่ท่ีราวเดือนละ 20,000 - 35,000 บาท ในต่างประเทศ นักกิจกรรมบ�ำบัดอาจมีรายได้ถึงเดือนละราว 200,000 บาท นอกจากการท�ำงานในโรงพยาบาล หรอื ศูนยเ์ อกชนตา่ ง ๆ นักกจิ กรรมบ�ำบดั กส็ ามารถเปดิ คลนิ กิ กจิ กรรมบำ� บดั ได้ สภาพการทำ� งาน - ใชก้ ิจกรรมต่าง ๆ เพื่อส่งเสรมิ สมรรถนะทางร่างกายของผรู้ ับบริการให้สามารถชว่ ยเหลือตนเองได้ - สรา้ งก�ำลงั ใจใหผ้ รู้ ับบรกิ ารมีพลังในการด�ำเนินชีวติ - สรรหากิจกรรมทเ่ี ป็นประโยชน์ตอ่ การชว่ ยเหลอื ผมู้ ารบั บรกิ าร - อนื่ ๆ

ทีต่ ลาด20แร0งงขาอ้ นมตูล้อองากชาพี ร ประจ�ำ ปี 2558/2015 โอกาสในการมงี านท�ำ กรมการ ัจดหางาน Department of Employment นักกิจกรรมบ�ำบัดเป็นวิชาชีพทางการแพทย์ท่ีมีหน้าที่ตรวจประเมิน ส่งเสริม ป้องกัน และ บ�ำบัดฟื้นฟู ให้กับบุคคลทุก ๆ ช่วงวัยท่ีมีความบกพร่องท้ังทางด้านร่างกายและสติปัญญา ให้กลับมาช่วยเหลือตนเอง ในการประกอบกิจวัตรประจำ� วันใหเ้ ป็นปกติหรอื ใกล้เคียงปกติให้ได้มากท่ีสุด ปัจจุบัน นักกิจกรรมบ�ำบัดเป็นอาชีพท่ีต้องการอย่างมาก เนื่องด้วยนักกิจกรรมบ�ำบัดยังมีน้อยมาก ไม่เกิน 1,000 คน ท่ัวทง้ั ประเทศ คุณสมบัตขิ องผปู้ ระกอบอาชพี 1. มีความรับผิดชอบเป็นคุณสมบัติพ้ืนฐาน มีวุฒิการศึกษาในการท�ำงานทุกงาน ในงานกิจกรรมบ�ำบัด จะต้องใชค้ วามรับผิดชอบสูง เนื่องจากต้องดแู ลคนไข้เพอ่ื ฝึกการท�ำกจิ วัตรประจำ� วนั 2. เหน็ อกเหน็ ใจผู้อนื่ ชอบช่วยเหลอื ผูอ้ ื่น เปน็ นิสัยอยา่ งหนึง่ ทนี่ กั บำ� บดั ทกุ คนพงึ มี และรักในงานบริการ มจี ติ ใจท่ีรักในการดแู ลผอู้ ่นื 3. มีมนุษยสัมพันธ์ดี มีน้�ำใจ ซึ่งงานกิจกรรมบ�ำบัดเป็นงานดูแลคนไข้ ดังน้ันเราจะต้องใส่ใจและ สรา้ งสัมพันธภาพท่ีดกี ับคนไข้และญาตขิ องคนไข้ 4. มีความคิดสร้างสรรค์ ซ่ึงนักกิจกรรมบ�ำบัดจะต้องใช้ความคิดในการออกแบบกิจกรรมให้ไม่น่าเบ่ือ และเหมาะสมกบั คนไขแ้ ตล่ ะคน ซ่ึงงานกิจกรรมบำ� บดั จะใชท้ ั้งศาสตร์และศลิ ปใ์ นการน�ำมาเป็นสื่อในการรักษา 5. มคี วามอดทน ซง่ึ งานกจิ กรรมบ�ำบัดเปน็ งานท่ตี อ้ งใช้ความอดทนสงู ในการดูแลคนไข้แต่ละคน 6. มีความยืดหยุ่น เป็นทักษะหนึ่งท่ีนักบ�ำบัดพึงมี โดยในบางครั้งเราจะต้องมีการปรับเปลี่ยนกิจกรรม ให้เหมาะสมกบั คนไข้ มีการจัดการคนไข้ในแต่ละรายแตกตา่ งกันไปตามสภาพ สถานฝึกอบรมอาชพี / สถาบนั การศึกษา 281 - คณะเทคนคิ การแพทย์ ภาควชิ ากิจกรรมบำ� บดั มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 110 ถนนอินทวโรรส ตำ� บลศรภี ูมิ อ�ำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ 50200 โทรศัพท์ 0-5394-9255 โทรสาร 0-5394-6042 เว็บไซต์ www.ot.ams. cmu.ac.th/ - มหาวทิ ยาลยั มหดิ ล 999 ถนนพทุ ธมณฑลสาย 4 ตำ� บลศาลายา อำ� เภอพทุ ธมณฑล จงั หวดั นครปฐม 73170 โทรศพั ท์ 0-2441-5450 ตอ่ 12 โทรสาร 0-2441-5454 เวบ็ ไซต์ www.pt.mahidol.ac.th/ - ศูนย์กายภาพบำ� บัด (เชงิ สะพานสมเด็จปิ่นเกล้า) คณะกายภาพบ�ำบดั มหาวทิ ยาลยั มหิดล 198/2 ถนน สมเด็จพระปิ่นเกล้า แขวงบางยี่ขัน เขตบางพลัด กรุงเทพฯ 10700 โทรศัพท์ 0-2433-7098 ต่อ 1 เว็บไซต์ www.pt.mahidol.ac.th/ โอกาสความก้าวหน้าในอาชีพ งานกิจกรรมบ�ำบัดสามารถท�ำได้กับผู้รับบริการหลากหลายประเภทและทุกช่วงวัย ไม่ว่าจะเป็นผู้ป่วย ท่ีเป็นเด็กที่มีสมาธิสั้น ผู้ป่วยท่ีได้รับอุบัติเหตุสูญเสียอวัยวะแขนขา ท่ีเป็นโรคซึมเศร้า ผู้ป่วยที่เป็นโรคมะเร็ง ผสู้ งู อายวุ ยั เกษยี ณ ฯลฯ นกั กจิ กรรมบำ� บดั สามารถพฒั นาความสามารถในการบำ� บดั รกั ษาเฉพาะทาง และเฉพาะกลมุ่ เช่น Hand therapy, Natal mental health, End of life care ฯลฯ เพ่ือสร้างความถนัดเฉพาะด้าน ถอื เปน็ ความก้าวหนา้ ทางหนึ่ง

2ท0ต่ี 0ลาดขอ้แรมงูลงอานาชตีพ้องการ ประจ�ำ ปี 2558/2015 กรมการ ัจดหางาน สามารถท�ำงานได้ในหลายหน่วยงาน ท้ังทาง Department of Employment ภาครัฐและเอกชน ไม่ว่าจะเป็นโรงพยาบาล โรงเรียน ศนู ยฟ์ น้ื ฟู โรงงาน หรอื ศนู ยเ์ อกชนตา่ ง ๆ ความกา้ วหนา้ ของอาชีพอาจข้ึนกับแต่ละส่วนงาน อาจมีการเลื่อนขั้น ต�ำแหน่งตามส่วนงานน้ัน ๆ บางคนอาจศึกษาต่อทั้ง ในและตา่ งประเทศเพอ่ื เพม่ิ ทกั ษะในการทำ� งานหรอื เปน็ อาจารย์ และบางคนอาจจะเปิดศูนย์กิจกรรมบ�ำบัด ส่วนตวั ก็ได้ อาชพี ทีเ่ กีย่ วเนื่อง นักจัดกิจกรรมบ�ำบัด เจ้าหน้าท่ีนักกิจกรรมบ�ำบัดในโรงพยาบาล เจ้าหน้าท่ีนักกิจกรรมบ�ำบัดในหน่วยงาน ตา่ ง ๆ เจา้ ของสถานบำ� บดั ตา่ ง ๆ วิทยากรด้านการจดั กิจกรรมบดั แหลง่ ขอ้ มูลอ่นื ๆ - หอ้ งสมุด - มหาวทิ ยาลยั ต่าง ๆ ทเ่ี ปดิ สอนสาขานักกจิ กรรมบ�ำบดั และอน่ื ๆ - เว็บไซต์ newnaew.net และ naenaew.blogspot.com - ภาควชิ ากิจกรรมบ�ำบดั คณะเทคนคิ การแพทย์ มหาวทิ ยาลัยเชยี งใหม่ - คณะกายภาพบำ� บัด มหาวทิ ยาลัยมหิดล - สมาคมนกั กจิ กรรมบำ� บัด/ อาชีวบำ� บัดแหง่ ประเทศไทย (The Occupational Therapists Association 282 of Thailand) เวบ็ ไซต์ www.otat.org/index.php - กิจกรรมบ�ำบดั ชีวติ - ดร.ศภุ ลักษณ์ เขม็ ทอง - สหพนั ธน์ กั กิจกรรมบำ� บัดโลก

ทีต่ ลาด20แร0งงขา้อนมตูลอ้ องากชาพี ร กรมการ ัจดหางาน ประจ�ำ ปี 2558/2015 Department of Employment นกั เทคโนโลยกี ารอาหาร Food Technology นิยามอาชีพ เป็นสาขาวิชาที่ประยุกต์มาจากวิทยาศาสตร์การอาหาร มเี นื้อหาเกย่ี วกับการถนอมอาหาร การแปรรูปอาหาร บรรจภุ ัณฑ์ การจดั จ�ำหนา่ ยอาหาร และหลักโภชนาการของอาหาร ลกั ษณะของงานทีท่ ำ� ศึกษาและวิจัยการแปรรูปผลิตผลทางการเกษตรให้เป็น ผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมอาหารเพ่ือใช้และบริโภค โดยใช้พ้ืนฐาน ด้านวิทยาศาสตร์และวิศวกรรมศาสตร์เป็นหลักประยุกต์ใช้ร่วมกัน โดยใช้กรรมวิธีต่าง ๆ เช่น การท�ำแห้ง การใช้ ความรอ้ น การแชแ่ ขง็ การอาบรงั สี การกลน่ั การสกดั การแยก การผสม การรกั ษาผลติ ผลการเกษตร โดยการควบคมุ อุณหภูมิและบรรยากาศ ตลอดจนกรรมวิธีการป้องกันการสูญเสียของอาหารหลังการเก็บเกี่ยว การตรวจวิเคราะห์ และควบคุมคุณภาพอาหาร การจัดการบริหารงานโรงงานอุตสาหกรรมอาหาร คุณค่าความปลอดภัยของอาหาร การสง่ เสรมิ และการจ�ำหน่ายจ่ายแจกผลติ ภัณฑ์อาหาร สภาพการจ้างงาน 283 เนอ่ื งจากมผี จู้ บการศกึ ษาตอ่ ปนี อ้ ยมากจงึ เขา้ รบั การทำ� งานอยใู่ นภาคเอกชนเปน็ สว่ นมาก โดยเฉพาะโรงงาน อุตสาหกรรมขนาดใหญ่ท่ีมีช่ือเสียงหลายแห่ง โดยได้รับอัตราค่าจ้างเป็นเงินเดือน เดือนละประมาณ 15,000 - 20,000 บาท และได้รบั สวัสดิการตา่ ง ๆ รวมท้งั การได้รบั โบนสั เม่อื ผลประกอบการมีกำ� ไร สภาพการทำ� งาน เรียนจบสาขานี้ส่วนมากจะท�ำงานโรงงาน เร่ิมต้นงานที่ต�ำแหน่งซุปเปอร์ไวเซอร์ มีลูกน้องให้ต้องดูแล สว่ นมากทำ� งานหกวนั ตอ่ สปั ดาห์ บางแหง่ ทำ� งานเปน็ กะและมกั จะตอ้ งทำ� งานลว่ งเวลา ถอื วา่ เปน็ งานทค่ี อ่ นขา้ งหนกั ต้องใช้ความอดทนพอควร แต่คนจบสาขานี้สามารถเติบโตขึ้นไปเป็นผู้จัดการ หรือผู้บริหารระดับสูงได้ เป็นสาขา ที่ต้องใชค้ วามช�ำนาญเฉพาะด้าน ซึง่ จะได้เปรียบคนท่ีจบไมต่ รงสายงาน โอกาสในการมีงานทำ� ผู้สนใจประกอบอาชีพน้ีสามารถมีโอกาสเลือกท�ำงานได้ และสามารถมีอ�ำนาจต่อรองในการเข้าท�ำงาน ในสถานประกอบการแตล่ ะแหง่ ได้ เชน่ โรงงานผลติ อาหารกระปอ๋ ง โรงงานอาหารแชเ่ ยอื กแขง็ โรงงานอตุ สาหกรรม เฉพาะทาง เชน่ ผลติ ภณั ฑเ์ นอ้ื สตั วต์ า่ ง ๆ ทผ่ี ลติ ไสก้ รอก โรงงานผกั ผลไมอ้ บแหง้ โรงงานขนมปงั คกุ กี้ อาหารขบเคย้ี ว โรงงานผลิตภณั ฑน์ ม และโรงงานจำ� พวกเครือ่ งดม่ื ตา่ ง ๆ

2ท0ี่ต0ลาดข้อแรมงลู งอานาชตีพอ้ งการ ประจ�ำ ปี 2558/2015 กรมการ ัจดหางาน คุณสมบตั ขิ องผูป้ ระกอบอาชพี Department of Employment 1. เป็นผู้ท่ีมีร่างกายและจิตใจสมบูรณ์ ที่ไม่เป็นอุปสรรคต่อการศึกษาต่าง ๆ และการฝึกงานในโรงงาน อตุ สาหกรรมเกษตร 2. เปน็ ผทู้ ม่ี ีพ้ืนฐานความร้ดู ีทางสาขาวิทยาศาสตร์และคณติ ศาสตร์ 3. มคี วามคิดท่จี ะศกึ ษาคน้ ควา้ ในระดบั สูง ๆ 4. มคี วามมานะอดทน 5. มคี วามกระตือรือรน้ 6. มีมนุษยสัมพนั ธท์ ด่ี ีตอ่ บคุ คลอื่น และสามารถทำ� งานเป็นทมี ได้ดี สถานฝึกอบรมอาชพี / สถาบันการศึกษา - ภาควิชาเทคโนโลยีทางอาหาร คณะวทิ ยาศาสตร์ จฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั เขตพญาไท กรุงเทพฯ 10330 โทรศัพท์ 0-2218-5515-6 โทรสาร 0-2254-4314 เวบ็ ไซต์ www. sc.chula.ac.th/foodtech - ภาควิชาวิทยาศาสตร์และ เทคโนโลยีการอาหาร คณะอุตสาหกรรม เกษตร มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร์ เลขท่ี 50 ถนนงามวงศว์ าน แขวงลาดยาว เขตจตจุ กั ร กรงุ เทพฯ 10900 โทรศพั ท์ 0-2579-0113, 284 0-2942-8500-11 เวบ็ ไซต์ [email protected] - ค ณ ะ อุ ต ส า ห ก ร ร ม เ ก ษ ต ร มหาวิทยาลัยเชยี งใหม่ เลขท่ี 155 หมู่ 2 ต�ำบลแมเ่ หยี ะ อำ� เภอเมอื ง จงั หวดั เชยี งใหม่ 50100 โทรศัพท์ 0-5394- 8208 เวบ็ ไซต์ www.agro.cmu.ac.th - คณะอุตสาหกรรมเกษตร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ 15 ถนนกาญจนวณิชย์ อ�ำเภอหาดใหญ่ จังหวดั สงขลา 90110 โทรศพั ท์ 0-7428-2000 โทรสาร 0-7455-8941 เวบ็ ไซต์ http://agro.psu.ac.th/ - คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ชั้น 2 ห้อง 219 เลขที่ 99 ถนนพหลโยธิน ต�ำบลคลองหน่ึง อ�ำเภอคลองหลวง จังหวัดปทุมธานี 12121 โทรศัพท์ 0-2564-4491, 0-2564-4495 โทรสาร 0-2564-4485, 0-2564-4494 - คณะเทคโนโลยีการเกษตร สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง แขวงลาดกระบัง เขตลาดกระบัง กรุงเทพฯ 10520 เว็บไซต์ www.agri.kmitl.ac.th โทรศัพท์ 0-2329-8504, 0-2329-8507, 0-2329-8000 ตอ่ 7172 โทรสาร 0-2329-8507 - คณะเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยขอนแก่น 123 หมู่ 16 ถนนมิตรภาพ ต�ำบลในเมือง อ�ำเภอเมือง จังหวดั ขอนแก่น 40002 โทรศัพท์ 0-4320-2403 โทรสาร 0-4334-3182 - คณะวิทยาศาสตร์ประยุกต์ สาขาวิชาเทคโนโลยีการอาหาร มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ 110/1-4 ถนนประชาชื่น แขวงทงุ่ สองห้อง เขตหลักส่ี กรงุ เทพฯ 10210 โทรศพั ท์ 0-2954-7300 อีเมล [email protected]

ทตี่ ลาด20แร0งงขาอ้ นมตูล้อองากชาพี ร ประจ�ำ ปี 2558/2015 - คณะอุตสาหกรรมเกษตร สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง อาคารเจ้าคุณทหาร กรมการ ัจดหางาน ถนนฉลองกรงุ เขตลาดกระบัง กรงุ เทพฯ 10520 โทรศัพท์/โทรสาร 0-2329-8526-7 Department of Employment - ต้องมีการฝึกงานในโรงงานอุตสาหกรรมอาหาร ต้องมีการทดลองวิจัยด้านเทคโนโลยีการอาหารในระดับ ปริญญาตรี โดยใชเ้ วลาเรียนตามหลักสูตร 4 ปี โอกาสความก้าวหน้าในอาชพี - ประกอบอาชพี ในโรงงานอตุ สาหกรรมผลิตอาหาร ไดแ้ ก่ ผลิตภัณฑน์ มหมกั ผลติ ภณั ฑผ์ ักและผลไมด้ อง ผลิตภัณฑ์ไส้กรอกหมัก ผลิตภัณฑ์ปลาหมัก เป็นต้น เคร่ืองด่ืมแอลกอฮอล์หรือโรงงานผลิตเครื่องปรุงรส หรือ สารเติมแต่งอาหาร ได้แก่ น้�ำปลา ซีอิ๊ว และผงชูรส เป็นต้น หรือโรงงานอุตสาหกรรมที่เก่ียวข้องกับเทคโนโลยี การหมกั เช่น แอลกอฮอลก์ ลนั่ ไบโอเอทานอล และไบโอดเี ซล เปน็ ต้น โดยท�ำหนา้ ท่ใี นฝา่ ยการผลิต การวางแผน การผลิต การควบคุมการผลิต ฝ่ายวิจัยและพัฒนาผลิตภัณฑ์ ฝ่ายควบคุมและประกันคุณภาพ ฝ่ายสุขาภิบาลและ ความปลอดภยั และฝา่ ยขาย - ประกอบอาชีพในหน่วยงานราชการและรัฐวิสาหกิจ โดยท�ำหน้าท่ีเป็นนักวิทยาศาสตร์ นักวิชาการ นกั วจิ ยั และพฒั นา รวมทง้ั เปน็ เจา้ หนา้ ทวี่ เิ คราะหโ์ ครงการทางดา้ นวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยที เี่ กยี่ วขอ้ งกบั จลุ นิ ทรยี ์ ในอาหารและเทคโนโลยีการหมัก รวมถงึ ระบบคณุ ภาพ - สามารถประกอบอาชีพอิสระทีเ่ กี่ยวข้องกับอาหารเทคโนโลยกี ารหมกั และระบบคณุ ภาพ อาชพี ที่เกย่ี วเนอื่ ง นกั วทิ ยาศาสตรด์ ้านอาหาร นกั วิชาการดา้ นอาหาร นักวิจัยดา้ นอาหาร คร/ู อาจารย์ นกั วิชาการ ผ้เู ชี่ยวชาญ ให้ค�ำแนะน�ำปรึกษาการออกแบบโรงงานอุตสาหกรรมอาหาร นักออกแบบโรงงานผลิตในอุตสาหกรรมอาหาร นกั ธุรกิจทางดา้ นอุตสาหกรรมอาหาร 285 แหลง่ ข้อมลู อืน่ ๆ - กองบรกิ ารการศกึ ษา สำ� นักงานปลดั ทบวงมหาวทิ ยาลัย - ภาควชิ าเทคโนโลยีทางอาหาร คณะวทิ ยาศาสตร์ จฬุ าลงกรณ์มหาวทิ ยาลยั เว็บไซต์ www.chula.ac.th - มหาวทิ ยามหิดล เวบ็ ไซต์ www.mahidol.ac.th - มหาวิทยาลัยราชภัฏ เวบ็ ไซต์ www.fstrabhat.ac.th - สถาบนั อาหาร เวบ็ ไซต์ National Food Institute www.nfi.or.th

กรมการ ัจดหางาน 2ท0ี่ต0ลาดขอ้แรมงูลงอานาชตีพอ้ งการ Department of Employment ประจ�ำ ปี 2558/2015 นักโภชนากร Nutritionists นยิ ามอาชีพ วางแผน ควบคมุ สงั่ งาน เตรยี มและกำ� หนดอาหารตามหลกั โภชนาการ ส�ำหรับผ้ปู ่วยหรือบุคคล ท่ัวไป : ศกึ ษา วเิ คราะห์ วจิ ัยปัญหาทางโภชนาการ ด้านต่าง ๆ เพื่อวางแผนและป้องกันโรคขาดสารอาหาร เพื่อก�ำหนดเคร่ือง ช้ีวัดทางโภชนาการและเพ่ือพัฒนาเทคโนโลยีต่าง ๆ ให้เหมาะสม ทดลอง ต�ำรับอาหารใหม่ พัฒนาสตู รอาหารตามหลักวิชาการและโภชนาการ ก�ำหนด รายการอาหาร ค�ำนวณคุณค่าของอาหารและผลิตภัณฑ์อาหารที่ใช้บริโภค ควบคมุ และใหค้ ำ� แนะนำ� การประกอบอาหารเฉพาะโรค การถนอมอาหารหรอื แปรรูปอาหารเพื่อเพิ่มคุณค่าทางอาหาร รวมถึงการเผยแพร่ความรู้ด้านโภชนาการแก่สาธารณชน ผู้ปฏิบัติงาน อาชพี น้ีจะตอ้ งมีความรคู้ วามสามารถและวฒุ กิ ารศึกษาไม่ตำ่� กว่าปรญิ ญาตรีทางดา้ นโภชนาการ ลักษณะของงานทีท่ �ำ 1. แนะน�ำและให้ความรู้พ้ืนฐานในการแก้ปัญหาด้านสุขอนามัย เก่ียวกับโภชนาการ และความปลอดภัย ของอาหารทีบ่ ริโภคต่อสาธารณชน ผปู้ ระกอบกจิ การ หรอื ผผู้ ลิต 286 2. วเิ คราะหว์ จิ ยั คณุ คา่ ทางอาหาร คณุ สมบตั ิ สรรพคณุ และศกั ยภาพของอาหารทต่ี อ้ งการนำ� มาใชแ้ ปรรปู ในการประกอบอาหาร เช่น เนื้อสัตว์ พืช ผักและผลไม้ และแปรรูปในห้องปฏิบัติการทดลอง อาจใช้การทดลอง ทางเคมี เพ่ือหาคุณค่าความเป็นกรดหรือด่างในอาหาร หรือจ�ำนวนสารผสมอาหารทางเคมี ท่ีสามารถใช้เจือปน ในอาหารได้ หรือหาสารตกคา้ งตา่ ง ๆ จดั ท�ำฉลากคุณคา่ ทางโภชนาการ 3. ทำ� หน้าทเี่ ปน็ วทิ ยากรในการสาธติ การประกอบอาหาร และการผลติ ผลติ ภณั ฑอ์ าหารทใ่ี ชใ้ นการบรโิ ภค การถนอมอาหาร การแปรรูปอาหาร และคิดค้นวิธกี ารแปรรูปใหม่ ๆ เพ่อื เพ่มิ คณุ ค่าผลิตผลการเกษตร เมอ่ื ผลติ ผล มีราคาต่�ำ โดยน�ำเทคโนโลยีชาวบ้านหรือเทคโนโลยีท่ีเหมาะสมมาช่วยในกระบวนการผลิตให้ถูกหลักอนามัยและ ปลอดภัย 4. จัดทำ� ประมาณการต้นทนุ การผลิต จัดหาแหลง่ วัตถดุ ิบ แหลง่ ตลาดทเ่ี หมาะสม ให้ขอ้ มลู ดา้ นการผลติ เพือ่ การอตุ สาหกรรมการส่งออก และการกีดกันทางการค้าจากสัญญาต่าง ๆ 5. เกบ็ รวบรวมข้อมลู และผลติ เอกสารเผยแพรเ่ ก่ียวกบั โภชนาการใหก้ บั กล่มุ ผบู้ รโิ ภค หรอื กล่มุ เปา้ หมาย ให้รับทราบ เพื่อสุขภาพที่ดี และให้ความรู้ในการป้องกันการแพ้สารอาหารต่าง ๆ ท�ำงานร่วมกับเจ้าหน้าที่ต่าง หน่วยงานทั้งภาครัฐและภาคเอกชน เพ่ือให้บรรลุเป้าหมายในการท�ำงาน เช่น นักวิทยาศาสตร์การอาหาร นักเทคโนโลยีอาหาร (Food Technologist) นกั วทิ ยาศาสตร์สาขาจุลชวี วิทยา และนักวชิ าการเกษตร สภาพการจา้ งงาน นกั โภชนากรอาจปฏบิ ตั ิหนา้ ท่ใี นภาครฐั บาล เช่น เคหกิจเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ กรมพฒั นา ชุมชน กระทรวงมหาดไทย ส�ำนักงานสาธารณสขุ จงั หวดั กระทรวงศกึ ษาธกิ าร กระทรวงอุตสาหกรรม

ทต่ี ลาด20แร0งงขา้อนมตลู ้อองากชาพี ร ประจ�ำ ปี 2558/2015 โภชนากรในภาคเอกชนอาจมีช่ือเรียกแตกต่างกันไปตามต�ำแหน่งหน้าท่ีและสาขาที่มีความเชี่ยวชาญ กรมการ ัจดหางาน หรือหน้าทใี่ นโครงการต่าง ๆ ท่ไี ด้รับการวา่ จ้าง ภาคธรุ กิจเอกชน องคก์ รพัฒนาเอกชน หรอื องค์กรระหวา่ งประเทศ Department of Employment จะไดร้ บั อัตราค่าจ้างข้นั ต้นเป็นเงนิ เดอื น โดยประมาณดงั นี้ ในสว่ นเอกชนอาจไดร้ บั โบนสั และสทิ ธพิ ิเศษอน่ื ๆ ตามผลประกอบการของบริษัท สภาพการทำ� งาน โภชนากรอาจท�ำงานในโรงพยาบาล โรงแรม สถานประกอบกิจการอาหารส�ำเร็จรูป สถานประกอบการ ทางด้านอาหารเสริม ในศูนย์ถ่ายทอดเทคโนโลยีเพื่อการเกษตรชุมชนทุกจังหวัด โรงงานผลิตน้�ำผลไม้ และเคร่ืองด่ืม บริษัทยาและเคมีภัณฑ์ ซูเปอร์มาร์เกตขนาดใหญ่ เป็นต้น โภชนากรจะปฏิบัติงานในห้องเรียน ห้องเตรยี มอาหาร หอ้ งปฏบิ ตั กิ ารทดลอง หรอื มกี ารออกให้ค�ำปรกึ ษานอกพื้นท่ี ในชมุ ชน อ�ำเภอ และต่างจงั หวดั หรอื ในหอ้ งทดลองในโรงงานอตุ สาหกรรมผลิตอาหารและเครื่องดื่ม ซึ่งมกี ารใชอ้ ุปกรณ์และเครือ่ งมือทางเทคโนโลยี การอาหาร การใช้คอมพิวเตอร์เข้าชว่ ยในการปฏบิ ตั งิ าน ตรวจวดั คา่ อาหาร และการบนั ทึก โอกาสในการมงี านทำ� ปัจจุบันน้ี อาชีพโภชนากรก�ำลังเป็นท่ีต้องการในการผลิตอาหารในชุมชนตามเศรษฐกิจพอเพียง เพ่ือให้ ชุมชนสามารถพ่ึงตนเองได้ โดยนำ� วัตถุดิบและภมู ปิ ัญญาในทอ้ งถนิ่ มาใช้ในการประกอบอาหารได้ เช่น อาหารและ เคร่ืองด่ืมที่ผลิตจากสมุนไพร การหมักดอง การเชื่อม หรือการท�ำเครื่องส�ำอางจากผลิตภัณฑ์พื้นบ้าน ก็เข้าข่ายการยกระดับเกณฑ์มาตรฐานคุณภาพของผลิตภัณฑ์ดังกล่าวเช่นกัน ด�ำเนินการขออนุญาตผลิตและ จ�ำหน่ายผลิตภัณฑ์จากคณะกรรมการอาหารและยาอีกด้วย นับเป็นการช่วยส่งเสริมให้ผลิตภัณฑ์ต่าง ๆ ท่ีผลิต จากชมุ ชนมมี าตรฐานและมคี วามปลอดภยั ตอ่ ผบู้ รโิ ภค และมคี วามสามารถในการแขง่ ขนั เพอ่ื การสง่ ออกสตู่ ลาดโลก ได้มากข้นึ ซึง่ คาดวา่ จะมีตลาดแรงงานทั่วประเทศรองรับผทู้ สี่ �ำเร็จการศึกษาในสาขาดังกลา่ ว ในสถานการณก์ ารสง่ ออกสนิ คา้ อาหารไทยไดข้ ยายตวั มากขน้ึ เนอื่ งจากประเทศไทยมศี กั ยภาพสงู ในการผลติ 287 สินค้าอาหาร มีพ้ืนฐานทางด้านเกษตรกรรมท่ีมั่นคง ผลผลิตการเกษตรก็เพียงพอท่ีจะใช้เป็นวัตถุดิบในการแปรรูป สินค้าอาหาร มูลค่าการส่งออกอยู่ในระดับต้น คือประมาณ 300,000 ล้านบาท รัฐบาลไทยจึงจ�ำเป็นต้องดูแล ไม่ให้เกิดผลกระทบต่อการส่งออก และเพ่ือให้การส่งออกขยายตัวเพิ่มขึ้น ไทยต้องดูแลมาตรการทางสุขอนามัย มาตรการด้านส่ิงแวดล้อม เทคโนโลยีการตัดต่อพันธุกรรมของสิ่งมีชีวิต (GMOs) และใบรับรองสุขอนามัยพืช ด้วยเหตุนี้กระทรวงสาธารณสุขจึงได้ออกกฎหมายให้มีการใช้หลักเกณฑ์วิธีการท่ีดีในการผลิตอาหาร (Good Manufacturing Practice หรือ GMP) ซึ่งเป็นระบบการประกันคุณภาพขั้นพ้ืนฐาน ส�ำหรับโรงงานผลิตอาหาร ทชี่ ่วยปอ้ งกันอันตรายท่อี าจเกิดขนึ้ กับผลติ ภณั ฑอ์ าหาร และท�ำให้สนิ คา้ นน้ั มคี ุณภาพ ปลอดภัยในการบรโิ ภค และ สอดคล้องกับกระแสการค้าของโลกในปัจจุบัน ซึ่งผู้ประกอบกิจการอาหารทุกแห่งเพ่ือการบริโภคในประเทศและ เพอ่ื การส่งออกได้ตระหนักถงึ กระบวนการในการผลติ ทม่ี ีคณุ ภาพ ดังน้ัน เพ่ือการยกระดับคณุ ภาพผลติ ภัณฑ์อาหาร ให้มีความได้เปรียบในเชิงการแข่งขัน จึงต้องมีการวา่ จ้างบุคลากรท่ีมีความรู้ทางด้านโภชนาการ วิทยาศาสตร์การ อาหาร และเทคโนโลยีการอาหาร เข้าทำ� งานมากขึ้น ผู้ที่ส�ำเร็จการศึกษาทางด้านนี้สามารถท�ำธุรกิจของตนเองทางด้านอาหารท่ีใช้ต้นทุนน้อย หรือสามารถ รวมกลุ่มเป็นชมรม เพื่อน�ำโครงการและงบประมาณที่ต้องการผลิตผลิตภัณฑ์เข้าเสนอของบประมาณการลงทุน จากธนาคารเพ่ือการเกษตร โดยเข้าถึงกลุ่มผู้บริโภคท่ีมีการต่ืนตัวเรื่องสุขภาพกันมากขึ้น เช่น ประกอบอาหาร จากผลิตภัณฑ์ธรรมชาติ ผลิตอาหารแปรรูป ผลิตน�้ำผักและผลไม้ หรือคิดค้นกรรมวิธีการผลิตใหม่ ๆ จาก วตั ถดุ ิบในทอ้ งถิน่ เปน็ ตน้

2ท0่ีต0ลาดขอ้แรมงลู งอานาชตีพ้องการ ประจ�ำ ปี 2558/2015 กรมการ ัจดหางาน Department of Employment คณุ สมบัติของผูป้ ระกอบอาชพี 1. สำ� เรจ็ การศกึ ษาอยา่ งนอ้ ยหลกั สตู รประกาศนยี บตั รวชิ าชพี ชน้ั สงู ทางดา้ นคหกรรมศาสตร์ สาขาอาหาร และระดบั ปริญญาตรี สาขาโภชนาการ วิทยาศาสตร์การอาหาร หรือสาขาท่เี กีย่ วข้องกับอาหาร 2. รักการประกอบอาหาร วิเคราะห์ และวิจยั อาหาร 3. มคี วามรู้ในการใชภ้ าษาอังกฤษได้ดี 288 4. มคี วามเป็นผูน้ �ำ และเปน็ ผ้รู ับฟังความคิดเหน็ ทดี่ ี 5. เปน็ นักวางแผนงานทีด่ ี 6. มีมนษุ ยสัมพันธ์ดี เป็นนักประสานผลประโยชนแ์ ละประสานงานทด่ี ี 7. เป็นนักคิดค้นนวตั กรรมใหมใ่ นกระบวนการผลติ และแปรรูปอาหาร สถานฝกึ อบรมอาชพี / สถาบนั การศกึ ษา - คณะเทคโนโลยีคหกรรมศาสตร์ สาขาวิชาอาหารและโภชนาการ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล ธัญบรุ ี ตำ� บลคลองหก อำ� เภอธญั บุรี จงั หวดั ปทุมธานี 12110 โทรศพั ท์ 0-2549-3161 เวบ็ ไซต์ www.het.rmutt. ac.th/ - คณะเกษตร ภาควิชาคหกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ โทรศัพท์ 0-2579-5514, 0-2579-5534, 0-2942-8522, 0-2942-8682 โทรสาร 0-2940-6687 (หมายเลขภายในมหาวิทยาลัย 1315, 1312, 1309) - คณะสหเวชศาสตร์ จฬุ าลงกรณม์ หาวิทยาลยั 154 ถนนพระราม 1 แขวงวงั ใหม่ เขตปทมุ วนั กรงุ เทพฯ 10330 โทรศัพท์ 0-2218-1065 โทรสาร 0-2218-1064 เวบ็ ไซต์ www.ahs.chula.ac.th/newweb/ - ฯลฯ


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook