Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore รูปเล่มรวมวิชาโครงงาน กลุ่ม4

รูปเล่มรวมวิชาโครงงาน กลุ่ม4

Published by weerasit.surinarporn, 2021-10-23 11:09:49

Description: รูปเล่มรวมกลุ่ม4

Search

Read the Text Version

บทเรียนสำเร็จรปู แบบออนไลน์ รำยวชิ ำ ระบบควบคุมกำรขบั เคลอื่ นเบ้อื งตน้ Online program instructional of basic drive control system subject นำยภำณุทัต จะรำ 62201270072 นำยวชั รพงศ์ สรวัตร 62201270077 นำยวีรสิทธิ สรุ นิ ทรอ์ ำภรณ์ 62201270079 โครงกำรนเี้ ปน็ สว่ นหนง่ึ ของกำรศกึ ษำตำมหลกั สตู รประกำศนียบัตรวชิ ำชีพ (ปวช.) พ.ศ. 2562 สำขำงำนเมคคำทรอนกิ ส์ สำขำวชิ ำเมคคำทรอนิกส์ วทิ ยำลัยเทคนคิ สัตหีบ ปีกำรศึกษำ 2564

ใบรับรองโครงการ สาขาวิชาเมคคาทรอนกิ ส์ วทิ ยาลยั เทคนคิ สตั หีบ ชอ่ื โครงการ บทเรยี นสำเรจ็ รูปแบบออนไลน์ รำยวิชำ ระบบควบคุมกำรขับเคล่ือนเบ้ืองต้น โดย นายภำณุทัต จะรำ นายวชั รพงศ์ สรวัตร นำยวีรสิทธิ สรุ ินทรอ์ ำภรณ์ ไดร้ บั อนุมัตใิ หน้ ับเปน็ ส่วนหน่ึงของการศึกษาตามหลักสูตรประกาศนยี บัตรวชิ าชพี (ปวช.) พ.ศ 2562 สาขาวชิ าเมคคาทรอนกิ ส์ วิทยาลยั เทคนิคสัตหีบ …………………………………………………หัวหนา้ สาขาวชิ าเมคคาทรอนิกส์ (นายสมบตั ิ อินยนิ ) วันท่ี 15 เดอื น ตลุ ำคม พ.ศ 2564 คณะกรรมการสอบโครงการ …………………………………………………ประธานกรรมการ (นายสมบตั ิ อนิ ยิน) …………………………………………………ครูที่ปรึกษาที่ 1 …………………………………………………ครทู ่ีปรกึ ษาที่ 2 (นางสาวศิริวรรณา ฐาปนะดิลก) (นำงสำวพิชญ์ชนก อ่ิมพิทักษ์) …………………………………………………กรรมการ …………………………………………………กรรมการ (นายสมบตั ิ ฆ้องส่งเสียง) (นางสาวณัฐสุดา เกียรติธวิ ัฒน์) …………………………………………………กรรมการ …………………………………………………กรรมการ (นางสาวศศิกานต์ จันทร์สมปอง) (นายวริ ณุ ชยั คลำ้ ยเดือน)

โครงการ บทเรยี นสำเร็จรปู แบบออนไลน์ รำยวชิ ำ ระบบควบคมุ กำรขบั เคล่อื นเบ้ืองต้น โดย นำยภำณุทัต จะรำ นำยวัชรพงศ์ สรวัตร สาขาวชิ า นำยวรี สิทธิ สุรนิ ทร์อำภรณ์ สาขางาน เมคคำทรอนิกส์ ครูที่ปรึกษา เมคคำทรอนิกส์ ครทู ่ีปรกึ ษาร่วม อำจำรย์ศริ วิ รรณำ ฐำปนะดิลก จานวนหนา้ อำจำรย์พิชญช์ นก อ่ิมพิทักษ์ ปีการศึกษา 79 หนำ้ 2564 บทคดั ย่อ โครงงำนนี้จัดทำขึ้นโดยมีวัตถุประสงค์ดังนี้ เนื่องจำกปัจจุบันวิทยำลัยเทคนิคสัตหีบได้เล็งเห็นถึง ศักยภำพดำ้ นกำรพฒั นำสมรรถนะภำพของนักเรียน นักศึกษำจำกกำรเรียนในส่วนวิชำระบบกำรควบคุม กำรขับเคลื่อนเบ้ืองตน้ ซง่ึ เป็นส่วนหนึ่งของสำขำวิชำช่ำงเมคคำทรอนิกส์ที่ทำงวิทยำลัยเทคนิคสัตหีบได้ ให้ควำมสำคัญ จึงสนับสนุนให้นักเรียนนักศึกษำเรียนรู้เกี่ยวกับระบบควบคุมกำรขับเคลื่อนโดย กำรศึกษำผ่ำนบทเรียนสำเร็จรูปแบบออนไลน์เพื่อฝึกทักษะให้เรียนรู้ระบบกำรเคลื่อนที่และให้เกิด ประโยชน์สูงสุดต่อผู้เรียนและกำรศึกษำที่ผ่ำนมำนั้นสำขำวิชำช่ำงเมคคำทรอนิกส์ยังมิได้มีบทเรียน สำเร็จรปู แบบออนไลน์เพ่ือใชใ้ นกำรศกึ ษำ คณะผู้จัดทำจึงได้เล็งเห็นปัญหำที่เกิดขึ้นจึงเกิดแนวคิดในกำรแก้ปัญหำโดยสร้ำง \"บทเรียน สำเร็จรูปแบบออนไลน์ รำยวิชำ ระบบควบคุมกำรขับเคลื่อนเบื้องต้น\" โดยประยุกต์ใช้ Google Site เพอื่ ใหม้ กี ำรศกึ ษำและนำควำมรู้ไปประยุกต์ใชง้ ำนได้จริงในวิทยำลัยเทคนคิ สัตหีบ

ค กติ ตกิ รรมประกาศ โครงงานฉบับนี้สาเร็จลุล่วงด้วยดีเนื่องจากการร่วมมือร่วมใจของสมาชิกภายในกลุ่มทุก ท่านคณะผู้จัดทาขอขอบพระคุณอาจารย์ศิริวรรณา ฐาปนะดิลก อาจารย์พิชญ์ชนก อิ่มพิทักษ์ ซึ่งเป็น อาจารย์ทปี่ รกึ ษาท่ีไดใ้ ห้คาแนะนา ตรวจสอบขอ้ บกพร่องต่างๆและช่วยเสนอแนะรวมไปถึงความรู้ต่างๆท่ี เป็นประโยชนต์ ่อโครงงานน้ี และขอบคุณรนุ่ พี่ในแผนกเมคคาทรอนิกส์ทชี่ ่วยเสนอความคิดและให้กาลงั ใจ ขอบพระคุณบิดา มารดา และผู้มีพระคุณสาหรับการให้ความสนับสนุนทุกสิ่งทุกอย่าง ด้านการศึกษามาตลอดจนถึงปัจจุบันและได้ให้กาลังใจที่ดีมาตลอดเช่นกัน และสุดท้ายต้องขอขอบคุณ เพอื่ นๆทุกคนที่เก่ียวข้องได้ให้ความชว่ ยเหลือมาตลอดและได้ให้กาลังใจท่ีดีจงึ ทาให้โครงงานนี้สาเร็จลุล่วง ไปได้ด้วยดี คณะผู้จดั ทา

สารบัญ ง เรื่อง หน้า ใบรบั รองโครงงาน ก บทคัดยอ่ ข กติ ตกิ รรมประกาศ ค สารบญั ง สารบญั (ตอ่ ) จ สารบัญตาราง ฉ สารบญั ภาพประกอบ ช สารบัญภาพประกอบ(ตอ่ ) ซ สารบญั ภาพประกอบ(ตอ่ ) ฌ สารบญั ภาพประกอบ(ตอ่ ) ญ บทท่ี 1 บทนำ 1 1 1.1 ทม่ี าและความสำคัญ 1 1.2 วตั ถุประสงค์ 1 1.3 ขอบเขตของโครงการ 1 1.4 ประโยชน์ทคี่ ำดวำ่ จะได้รับ 2 บทท่ี 2 ประโยชน์ท่ีคาดว่าจะได้รบั 2 2.1 กาสร้างเวบ็ เพจด้วย Google Site 6 2.2 บทเรียนสำเรจ็ รูป 7 2.3 บทเรียนสำเร็จรูปแบบออนไลน์ 14 2.4 การขับเคล่ือนด้วยระบบนิวเมติกส์ 40 2.5 งานวิจยั ทเ่ี ก่ยี วข้อง 41 บทที่ 3 อุปกรณแ์ ละวธิ ีการศึกษาคน้ ควา้ 42 3.1 ศึกษาข้อมูลเกี่นยวกับอปุ กรณ์เคล่ือนทใ่ี นแนวเสน้ รอบวง 45 3.2 การศึกษาการสร้างเว็บไซตผ์ ่าน Google Site 48 3.3 การออกแบบโครงสรา้ งในแตล่ละสว่ นของเว็บไซต์ 50 บทที่ 4 ผลการดำเนินงาน 50 4.1 ข้ันตอนการเตรียมแบบทดสอบก่อนเรยี นและหลงั เรียน 51 4.2 ข้นั ตอนการทดสอบของโครงงาน 51 4.3 ผลการทดสอบของโครงงาน

สารบญั (ต่อ) จ เร่อื ง หน้า 4.4 ผลการทดสอบกอ่ นเรยี นและหลังเรยี น 51 4.5 สอ่ื การเรียนการสอนออนไลน์ 52 54 บทที่ 5 การสรปุ ผลและข้อเสนอแนะ 54 5.1 สรปุ ผลการดำเนินการ 54 5.2 อภิปรายปญั หา 54 5.3 ขอ้ เสนอแนะ 55 56 เอกสารอา้ งอิง 57 ภาคผนวก 60 76 ภาคผนวก ก ขั้นตอนการดำเนนิ การโครงการ 79 ภาคผนวก ข รปู หนา้ เว็บไซตบ์ ทเรียนสำเร็จรูปแบบออนไลน์ ภาคผนวก ค รูปแบบทดสอบก่อนเรียนและหลังเรียน ภาคผนวก ง ประวัติผจู้ ดั ทำโครงงาน

ช สารบญั รปู (ตอ่ ) หนา้ 2 เรอื่ ง 3 รปู ที2่ .1 Google Sites 3 รูปท2่ี .2 การเขา้ ถึง Drive 4 รูปที่2.3 การสรา้ งเวบ็ ไซต์ 4 รปู ท2่ี .4 การป้อนช่อื เว็บและปรบั ขนาดตวั อักษร 5 รูปที่2.5 การแชร์เว็บไซต์ 5 รปู ที่2.6 การฝังจากเวบ็ 6 รปู ท2ี่ .7 หน้าเว็บไซต์ 7 รูปท2่ี .8 บทเรียนสาเร็จรปู แบบเส้นตรง 14 รูปท2่ี .9 บทเรยี นแบบสาขา 15 รปู ท2่ี .10 อุปกรณ์ทางานในระบบนวิ แมติกส์ 15 รูปท2ี่ .11 ลักษณะโครงสร้างของกระบอกสูบทางเดยี ว 16 รูปที่2.12 การทางานของกระบอกสบู ทางเดยี ว 17 รปู ที่2.13 ลักษณะการใชง้ านของกระบอกสบู ทางเดียว 18 รปู ที่2.14 รูปร่างของกระบอกสบู ทางเดียว 18 รปู ที2่ .15 ลกั ษณะโครงสรา้ งของกระบอกสูบทางาน 2 ทิศทาง 19 รูปท่2ี .16 การทางานของกระบอกสูบทางาน 2 ทศิ ทาง 19 รปู ที่2.17 ลกั ษณะการใช้งานของกระบอกสบู ทางาน 2 ทิศทาง 20 รูปที่2.18 รูปร่างของอปุ กรณ์ของกระบอกสบู ทางาน 2 ทิศทาง 21 รปู ที่2.19 ลักษณะโครงสร้างกระบอกสบู 2 ทิศทางแบบมเี บาะลมกันกระแทก 21 รปู ที่2.20 การทางานของกระบอกสบู 2 ทิศทางแบบมีเบาะลมกนั กระแทก 22 รปู ที่2.21 รูปร่างของกระบอกสูบ 2 ทิศทางแบบมเี บาะลมกันกระแทก 22 รปู ที่2.22 ลกั ษณะโครงสร้างของกระบอกสบู ทางานสองทางแบบกา้ นสบู สองข้าง 23 รูปท2่ี .23 การทางานของกระบอกสูบทางานสองทางแบบก้านสบู สองขา้ ง 23 รูปท2่ี .24 ลักษณะการใชง้ านของกระบอกสบู ทางานสองทางแบบก้านสบู สองข้าง 24 รูปท่ี2.25 รปู รา่ งของกระบอกสูบทางานสองทางแบบกา้ นสูบสองข้าง 24 รปู ท2่ี .26 ลักษณะโครงสรา้ งของกระบอกสบู ทางานสองทางแบบก้านสูบสองขา้ ง รูปที2่ .27 การทางานของกระบอกสบู ทางานสองทางแบบก้านสบู สองข้าง

ซ สารบญั รปู (ตอ่ ) หนา้ 25 เรอื่ ง 25 รูปท2่ี .28 รปู ร่างของกระบอกสูบทางานสองทางแบบกา้ นสูบสองขา้ ง 26 รปู ท2่ี .29 ลกั ษณะโครงสร้างของกระบอกสบู ทางานสองทางแบบก้านสบู สองข้าง 26 รปู ที่2.30 หลักการของกระบอกสบู ทางานสองทางแบบกา้ นสบู สองข้าง 27 รูปท2่ี .31 ลักษณะการใชง้ านของกระบอกสบู ทางานสองทางแบบก้านสบู สองขา้ ง 27 รูปที่2.32 รูปรา่ งอุปกรณข์ องกระบอกสบู ทางานสองทางแบบก้านสูบสองข้าง 28 รูปท2่ี .33 ลักษณะโครงสร้างของกระบอกสบู ทางานสองทางแบบกระแทก 28 รูปท2่ี .34 การทางานของกระบอกสบู ทางานสองทางแบบกระแทก 29 รูปท2่ี .35 ลักษณะการใช้งานของกระบอกสูบทางานสองทางแบบกระแทก 29 รูปที่2.36 รูปรา่ งของกระบอกสูบทางานสองทางแบบกระแทก 30 รูปท2่ี .37 ลกั ษณะโครงสร้างของกระบอกสบู ทางานสองทางแบบกระแทก 30 รปู ท2่ี .38 การทางานของกระบอกสบู ทางานสองทางแบบกระแทก 31 รูปท2่ี .39 ลักษณะการใชง้ านของกระบอกสบู ทางานสองทางแบบกระแทก 31 รูปท2่ี .40 รูปรา่ งของกระบอกสูบทางานสองทางแบบกระแทก 32 รูปท2่ี .41 ลกั ษณะโครงสร้างของกระบอกสบู ทางานสองทางแบบกระแทก 32 รูปที่2.42 การทางานของกระบอกสบู ทางานสองทางแบบกระแทก 33 รปู ที่2.43 รปู ร่างของกระบอกสูบทางานสองทางแบบกระแทก 33 รปู ที่2.44 สญั ลักษณท์ วั่ ไปของกระบอกสบู ตา่ งๆ 35 รูปท2่ี .45 สัญลกั ษณ์แบบพเิ ศษของกระบอกสูบต่างๆ 36 รูปที่2.46 การหาคา่ แรงของกระบอกสบู ท่คี ิดค่าแรงตา้ นเน่ืองจากความเสียดทาน 37 รูปท2่ี .47 อปุ กรณท์ ี่ทางานในลักษณะของการหมุนแกวง่ (Rotary Cylinder) 37 รูปท2่ี .48 อุปกรณ์หมุนแกว่งแบบใบพดั เล่ือน 38 รูปที่2.49 มอเตอรล์ มแบบลูกสูบ 39 รูปท่2ี .50 มอเตอร์ลมแบบใบพัดเลื่อน 40 รูปท3่ี .1 ขน้ั ตอนการดาเนนิ การของการสร้างเวบ็ ไซต์ 41 รปู ที่3.2 ลกู สูบหมนุ (Rotary Cylinder) 41 รปู ท3่ี .3 ใบพัดเลื่อน (Semi-Rotary Drive) รูปท3่ี .4 มอเตอร์แบบลูกสบู (Piston Motor)

ฌ สารบญั รปู (ตอ่ ) หนา้ 42 เรอื่ ง 42 รูปท3่ี .5 มอเตอร์ใบพดั เลือ่ น (Sliding Vane Motor) 43 รูปที่3.6 การลงทะเบียนเข้าใช้งาน Google Sites 43 รปู ที่3.7 การต้งั ช่ือเวบ็ ไซต์ 43 รูปที่3.8 การเลอื กเทมเพลตเพือ่ สรา้ งเว็บเพจใหม่ 44 รูปท3่ี .9 การเพิม่ ขอ้ มลู ตา่ งๆ ในรูปแบบ File 44 รปู ท3่ี .10 การเพิม่ Layout รปู แบบหนา้ ต่างในหนา้ เวบ็ เพจ 44 รปู ท3่ี .11 หน้าสาหรับดูเว็บเพจท่ีไดท้ าการสรา้ งไปแลว้ 45 รปู ท3่ี .12 หน้าสาหรับเลอื กธีมเพ่ือความงา่ ยในการอา่ น 45 รูปท3่ี .13 สว่ นของหนา้ Home 46 รูปท3ี่ .14 สว่ นของหน้า Oscillation Motion 47 รูปท3่ี .15 สว่ นของหน้า Rotary Motion 50 รูปท4ี่ .1 เตรยี มแบบทดสอบก่อนเรียนและหลงั เรยี น 58 รูปที่4.2 สื่อการเรยี นการสอนออนไลน์ 58 รูปที่ก.1 ศกึ ษาข้อมูลเกยี่ วกับอุปกรณ์ทีเ่ คลื่อนที่ในแนวเสน้ รอบวง 58 รูปที่ก.2 ศกึ ษาวธิ ใี ช้งานของ Google Sites 59 รูปทก่ี .3 ออกแบบเวบ็ ไซต์ 59 รปู ทก่ี .4 ใส่ข้อมูลในเวบ็ ไซต์ 59 รปู ทกี่ .5 จดั เรียงหน้าเว็บไซตใ์ ห้เรียบรอ้ ย 61 รปู ที่ก.6 ไดเ้ ว็บไซตฉ์ บบั สมบูรณ์ 61 รปู ที่ข.1 หน้า Home ของเว็บไซต์ 62 รปู ที่ข.2 หนา้ Home ของเว็บไซต์ (ต่อ) 62 รปู ที่ข.3 หนา้ เวบ็ เพื่อเลอื กอปุ กรณท์ เี่ คลอ่ื นท่ีเป็นเส้นรอบวงเพือ่ ศึกษาข้อมลู 63 รูปทขี่ .4 หนา้ เวบ็ เพื่อเลอื กอปุ กรณ์ท่ีเคลื่อนท่เี ปน็ เส้นรอบวงเพอ่ื ศกึ ษาข้อมลู (ต่อ) 63 รปู ทข่ี .5 หน้าเวบ็ เพ่ือเลือกอุปกรณ์ทีเ่ คลือ่ นทเ่ี ป็นเส้นรอบวงเพอ่ื ศกึ ษาข้อมลู (ต่อ) 64 รปู ทข่ี .6 หน้าเว็บเพือเลอื กอุปกรณ์ทีท่ างานในลักษณะของการหมุนแกวง่ รูปที่ข.7 หน้าเว็บเพื่อเลือกอปุ กรณ์ทีท่ างานในลักษณะหมนุ รอบ

ญ สารบญั รปู (ตอ่ ) หนา้ 64 เรอ่ื ง 65 รปู ทข่ี .8 หนา้ เว็บอปุ กรณ์ทท่ี างานในลักษณะของการหมุนแกวง่ 65 รปู ทข่ี .9 หน้าเว็บหลกั การทางานของอุปกรณท์ ที่ างานในลักษณะของการหมุนแกว่ง 66 รูปที่ข.10 หนา้ เว็บลกั ษณะโครงสรา้ งของอปุ กรณ์ท่ีทางานในลักษณะของการหมุนแกวง่ 66 รปู ทขี่ .11 หน้าเว็บลกั ษณะการใชง้ านของอุปกรณท์ ที่ างานในลกั ษณะของการหมุนแกวง่ 67 รปู ที่ข.12 หนา้ เว็บอปุ กรณ์ทีท่ างานในลักษณะหมนุ แกว่งแบบใบพัดเลื่อน รปู ทข่ี .13 หนา้ เว็บหลักการทางานของอปุ กรณ์ทท่ี างานในลักษณะหมนุ แกวง่ แบบ 67 ใบพัดเลือ่ น รปู ทข่ี .14 หนา้ เว็บลกั ษณะโครงสร้างของอปุ กรณท์ ี่ทางานในลักษณะหมุนแกวง่ แบบ 68 ใบพัดเลื่อน รูปท่ีข.15 หนา้ เวบ็ ลกั ษณะการใชง้ านของอุปกรณท์ ่ีทางานในลกั ษณะหมนุ แกวง่ แบบ 68 ใบพัดเล่ือน 69 รูปที่ข.16 หนา้ เว็บเพื่อเลือกอุปกรณ์ที่ทางานในลักษณะหมุนรอบ 69 รูปที่ข.17 หน้าเว็บมอเตอร์ลูกสบู 70 รูปที่ข.18 หน้าเวบ็ หลักการทางานของมอเตอร์ลูกสบู 70 รูปทข่ี .19 หน้าเว็บลักษณะโครงสร้างของมอเตอร์ลูกสูบ 71 รปู ทข่ี .20 หนา้ เวบ็ ลักษณะการใช้งานของมอเตอร์ 71 รปู ทข่ี .21 หนา้ เว็บของมอเตอรใ์ บพดั เล่อื น 72 รปู ทีข่ .22 หน้าเว็บหลกั การทางานของมอเตอร์ใบพดั เลอ่ื น 72 รปู ที่ข.23 หน้าเวบ็ ลักษณะโครงสรา้ งของมอเตอร์ใบพดั เลื่อน 73 รปู ที่ข.24 หนา้ เว็บเลือกแบบทดสอบ 77 รูปที่ข.25 หนา้ เว็บผจู้ ดั ทาโครงงาน 77 รูปที่ค.1 แบบทดสอบก่อนเรยี น 78 รปู ที่ค.2 แบบทดสอบก่อนเรยี น (ตอ่ ) 78 รูปทีค่ .3 แบบทดสอบหลงั เรยี น รปู ที่ค.4 แบบทดสอบหลงั เรียน (ตอ่ )

สารบญั ตาราง ฉ เรอื่ ง หนา้ ตารางที่ 4.1 ผลการทดสอบกอ่ นเรียนและหลงั เรียน 48 ตารางที่ 4.1 ผลการทดสอบก่อนเรียนและหลังเรียน (ตอ่ ) 49

1 บทที่ 1 บทนำ 1.1 ทมี่ ำและควำมสำคญั เน่ืองปัจจุบันวิทยำลัยเทคนิคสัตหีบได้เล็งเห็นถึงศักยภำพด้ำนกำรพัฒนำสมรรถนะภำพของ นกั เรียน นักศกึ ษำจำกกำรเรยี นในส่วนวิชำระบบกำรควบคุมกำรขับเคล่ือนเบ้ืองต้น ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของ สำขำวิชำ ช่ำงเมคคำทรอนิกส์ที่ทำงวิทยำลัยเทคนิคสัตหีบได้ให้ควำมสำคัญ จึงสนับสนุนให้นักเรียน นักศึกษำเรียนรู้ เกี่ยวกับระบบควบคุมกำรขับเคลื่อนโดยกำรศึกษำผ่ำน บทเรียนสำเร็จรปู แบบออนไลน์ เพอ่ื ฝกึ ทกั ษะให้ เรยี นรูร้ ะบบกำรเคลอ่ื นท่แี ละใหเ้ กดิ ประโยชน์สงู สดุ ตอ่ ผู้เรยี นและกำรศึกษำท่ผี ำ่ นมำน้ัน สำขำวชิ ำช่ำง เมคคำทรอนิกส์ยงั มิได้มีบทเรยี นสำเร็จรูปแบบออนไลน์เพือ่ ใช้ในกำรศึกษำ คณะผู้จัดทำจึงได้เล็งเห็นปัญหำที่เกิดขึ้นจึงเกิดแนวคิดในกำรแก้ปัญหำโดยสร้ำง \"บทเรียน สำเร็จรูปแบบออนไลน์ รำยวิชำ ระบบควบคุมกำรขับเคลื่อนเบื้องต้น\" โดยประยุกต์ใช้ Google Site เพอ่ื ใหม้ ีกำรศึกษำและนำควำมรู้ไปประยุกตใ์ ชง้ ำนไดจ้ รงิ ในวทิ ยำลัยเทคนคิ สัตหีบ 1.2 วัตถปุ ระสงค์ 1.2.1 เพื่อศึกษำระบบกำรควบคมุ กำรขับเคล่ือนเบอ้ื งต้น 1.2.2 เพื่อสรำ้ งบทเรยี นสำเร็จรูปแบบออนไลน์ รำยวชิ ำ ระบบควบคุมกำรขับเคลื่อนเบื้องต้น 1.2.3 เพ่อื ใช้เปน็ สื่อกำรเรยี นกำรสอนใหน้ ักเรยี นนกั ศึกษำมีควำมสนใจในวิชำระบบกำร ควบคมุ กำรขบั เคล่ือน 1.3 ขอบเขตของโครงกำร 1.3.1 จัดทำสอ่ื ประกอบกำรเรยี น ดว้ ยระบบออนไลน์ โดยประยุกต์ใช้ Google Site 1.3.2 จัดทำแบบทดสอบควำมร้กู ่อนเรยี นและหลังเรยี นดว้ ยระบบออนไลน์ โดย Google Form 1.3.3 สื่อกำรสอนวชิ ำกำรขับเคลื่อนเบื้องต้น 1.4 ประโยชนท์ ค่ี ำดวำ่ จะไดร้ บั 1.4.1 นกั ศึกษำมีควำมรคู้ วำมเขำ้ ใจในวิชำกำรควบคมุ กำรขับเคลือ่ นเบื้องต้น 1.4.2 นกั ศกึ ษำมีควำมสำมัคครี ่วมมอื ร่วมใจในกำรทำงำนและปฏบิ ัติหนำ้ ท่ตี นเองได้ 1.4.3 โครงงำนบทเรยี นสำเร็จรปู แบบออนไลน์สำมำรถนำมำประยุกต์และใช้ในชีวติ ประจำวนั ของกำรเรียนกำรสอนได้ดี 1.4.4 โครงงำนบทเรียนสำเรจ็ รปู แบบออนไลน์สำมำรถนำไปพัฒนำและตอ่ ยอดไดด้ ี

2 บทท2่ี ทฤษฎแี ละเอกสำรทเี่ กยี่ วขอ้ ง ในกำรศกึ ษำทำบทเรยี นสำเรจ็ ในรปู แบบออนไลน์เร่อื งอุปกรณท์ ำงำนในระบบนิวเมตกิ ส์ ผู้ศกึ ษำได้ศึกษำทฤษฎแี ละเอกสำรท่เี กยี่ วขอ้ งจำแนกออก ดังน้ี 2.1 กำรสร้ำงเวบ็ เพจ ด้วย Google Site 2.2 บทเรียนสำเร็จรปู 2.3 บทเรียนออนไลน์ 2.4 ระบบกำรขบั เคลือ่ นด้วยระบบนวิ เมติกส์ 2.5 งำนวิจยั ทเี่ ก่ยี วข้อง 2.1 กำรสรำ้ งเวบ็ เพจ ดว้ ย Google Site 2.1.1 Google Site Google Site คอื เวบ็ ไซต์ของ Google ทใ่ี ห้บรกิ ำรสร้ำงเวบ็ ไซต์ฟรี สำมำรถสร้ำง เว็บไซตไ์ ด้ง่ำย ปรบั แต่งรูปลกั ษณไ์ ดอ้ ย่ำงอสิ ระ และสำมำรถรวบรวมควำมหลำกหลำยของข้อมูล ไว้ในท่ีเดยี ว เช่น วดิ โี อ, ปฏทิ นิ , เอกสำร อื่น ๆ สำมำรถนำมำแทรกในหนำ้ เวบ็ เพจได้ เปน็ กำรเพิ่ม รปู ที่ 2.1 Google Site

3 2.1.2 กำรสร้ำงเวบ็ เพจด้วย Google Site 2.1.2.1 กำรเข้ำถึงDrive สำมำรถเข้ำถึงได้จำกhttp://sites.google.com หรือเม่ือ login อยู่ในระบบแลว้ ไปทเี่ มนูGoogle Apps เลือก Sites\" รปู ท่ี 2.2 กำรเข้ำถงึ Drive 2.1.2.2 กำรสร้ำงเวบ็ ไซต์ คลิกเลอื ก“วำ่ ง\" (ในกรอบสฟี ้ำ) เพื่อสรำ้ งเวบ็ ไซต์ รปู ที่ 2.3 กำรสร้ำงเว็บไซต์ 2.1.2.3 คลกิ ท่ปี ้อนช่ือเว็บและปรบั ขนำดตวั อักษรเพื่อเติมหนำ้ เว็บเพจ

4 รปู ที่ 2.4 กำรป้อนชื่อเวบ็ และปรับขนำดตัวอักษร 2.1.2.4 แชร์เว็บไซต์โดยกำรคลกิ ทปี่ ุม่ “เผยแพร่\" รปู ท่ี 2.5 กำรแชร์เว็บไซต์

5 2.1.2.5 กดฝงั ท่หี มำยเลข1และใส่Code ทห่ี มำยเลข2 \"กำรใช้Code HTMLเรำ สำมำรถใส่html สำหรบั ตดิ เวบ็ ไซต์ เพ่ือเเสดงรำยกำรต่ำงๆ รปู ท่ี 2.6 กำรฝงั จำกเว็บ 2.1.2.6 กำรเขำ้ ชมเว็บไซตโ์ ดยเปดิ หนำ้ Browser ใหม่แล้วเข้ำชมเว็บไซต์ได้จำก URL ที่ระบเุ ป็นกำรเสรจ็ สิน้ ข้นั ตอนกำรสร้ำงเว็บไซต์ รปู ท่ี 2.7 หน้ำเวบ็ ไซต์

6 2.2 บทเรียนสำเรจ็ รูป บทเรียนสำเร็จรูป หมำยถึง บทเรียนที่ผู้สอนจัดทำ เพื่อใช้เป็นเครื่องมือในกำรจัดกิจกรรกำร เรยี นรู้ใหน้ กั เรยี นนักศึกษำเรียนรู้ด้วยตนเอง แตล่ ะสำระกำรเรียนรู้วิชำขับเคลื่อนเบ้ืองต้นแต่ละบทเรียน โดยเริ่มจำก เนื้อหำสำระที่ง่ำย ๆ ไปสู่เนื้อหำที่ยำกขึ้นไปตำมลำดับ เป็นบทเรียน ที่สร้ำงขึ้นโดยกำหนด วัตถุประสงค์เนื้อหำวิธีกำร และ สื่อกำรเรียนกำรสอนไว้ล่วงหน้ำ ผู้เรียน สำมำรถศึกษำ ค้นคว้ำ และ ประเมินผลกำรเรยี นดว้ ยตนเองตำมขนั้ ตอนท่กี ำหนดไว้ 2.2.1 ลกั ษณะของบทเรียนสำเรจ็ รปู ลักษณะสำคัญของบทเรียนสำเร็จรูป คือ กำรออกแบบกำรบรรจุเนื้อหำและสำระ กำร เรียนรู้ออกเป็น กรอบ (Frame) ซึ่งเนื้อหำและสำระกำรเรยี นรู้ดังกล่ำวนัน้ จะนำมำจัดทำ เป็นหน่วยกำร เรียนรู้ย่อย ๆ แล้วบรรจุเนื้อหำสำระกำรเรียนรู้หน่วยย่อย ๆ ดังกล่ำวลงไปในกรอบ แต่ละกรอบให้มี ควำมสมั พันธแ์ ละเรยี งลำดับเน้ือหำจำกง่ำยไปยำก 2.2.2 ประเภทและองคป์ ระกอบของบทเรียนสำเรจ็ รูป 2.2.2.1 บทเรียนเชิงเส้น (Linear Program or Constructed Response Type) Skinner เป็นผู้คิดขึ้นโดยอำศัยผลกำรวิจัยกำรเรียนรู้ของสัตว์ สรุปว่ำกำรเรียนรู้ควรแบ่งเป็นชั้นย่อยแต่ ตอนท้ำยของแต่ละชั้น ผู้เรียนจะต้องแสดงให้เห็นสิ่งที่เขำได้เรียนรู้ด้วยกำรตอบคำถำมซึ่ง นิยมใช้เป็น แบบถูกผิดหรือเติมคำ และทรำบคำตอบทันทีลกั ษณะที่สำคัญของบทเรยี นประเภทนี้ คือ ผู้เรียนจะต้อง เรียนตำมลำดับทีละกรอบต่อเนื่องกันไปเรื่อยๆ ตั้งแต่กรอบแรกจนกรอบสุดท้ำย จะข้ำมกรอบใดกรอบ หน่งึ ไมไ่ ด้ องคป์ ระกอบเป็นแผน่ ภำพดงั น้ี รปู ที่ 2.8 บทเรียนสำเร็จรูปแบบเส้นตรงLinear(Program)

7 2.2.2.2 บทเรียนแบบสำขำ (Branching Program) นอรแ์ มนเอครำวเดอร์ องคก์ ำรอุตสำหกรรม ในสหรัฐอเมริกำเป็นผู้คิดขึ้น โดยแบ่งเนอ้ื หำออกเป็นขน้ั ย่อย ๆ ท่สี มบรู ณ์ตำมด้วย คำถำมที่มีคำตอบให้ เลือก เมอ่ื ผเู้ รียนเลอื กคำตอบผิดจะมคี ำอธบิ ำยสำเหตทุ ่ผี ิดผูเ้ รียนต้องเลือกใหม่ จนกวำ่ จะถกู รปู ท่ี 2.9 บทเรียนแบบสำขำ (Branching Program) 2.3 บทเรียนสำเรจ็ รปู แบบออนไลน์ 2.3.1 ควำมหมำยของเว็บเพจ วิทยำ เรืองพรวิสุทธิ์ กล่ำวว่ำ เว็บเพจ หมำยถึง ไฟล์ข้อเอชทีเอ็มแอลมูล (HTML)หรือ เป็นข้อมูลในระบบเวิล์ดไวดเ์ ว็บ (WWW) ซึ่งประกอบด้วยคำหรือวลีพิเศษต่ำงๆทีเ่ รียกว่ำ“ไฮเปอร์เท็กซ์” หรือเปน็ กำรเชอื่ มโยงแบบไฮเปอรล์ ิงคเ์ ป็นกำรเชื่อมโยงเพื่อติดต่อไปยังเวิล์ดไวด์เว็บเซิร์ฟเวอร์แหล่งข้อมูล ต่ำง ๆ ท่ถี กู กำหนดไวบ้ นเวิลด์ ไวดเ์ วบ็ เพจนน้ั เจนวิทย์ เหลืองอร่ำม กล่ำวว่ำเว็บเพจ คือหน้ำกระดำษอิเล็กทรอนิกส์ใน เวิลด์ไวด์เว็บ เรียกว่ำ เว็บเพจ ซึ่งมีหน้ำตำคล้ำยกับหน้ำกระดำษของหนังสือพิมพ์หรอื นิตยสำรมำก โดยมีทั้งตัวอักษร ขอ้ ควำม และภำพนิ่งนอกจำกนี้ยงั สำมำรถใสเ่ สียงและวีดีทัศน์ในหน้ำเว็บเพจได้สำหรับเว็บเพจหน้ำแรก เรำเรียกว่ำ “โฮมเพจ” โดยปกติแล้วเรำสำมำรถใชค้ ำเว็บเพจ เรียกแทนคำวำ่ โฮมเพจ หรอื เวบ็ ไซต์ ก็ได้

8 จำกข้อมูลข้ำงต้นสรุปได้ว่ำเว็บเพจ คือ เอกสำร (Hyper Text Markup Language) ท่ีมีข้อมูล โดยประกอบด้วย ข้อมูล ภำพกรำฟิก ภำพเคลื่อนไหว สำมำรถเชื่อมโยงไปยังหน้ำเอกสำร HTMLหรือ หนำ้ เวบ็ เพจอื่นๆ ได้ 2.3.2 องคป์ ระกอบของเวบ็ เพจ 2.2.2.1 โฮมเพจ วิทยำ เรืองพร ได้กล่ำวงถึงองค์ประกอบส่วนที่เป็นโฮมเพจว่ำลักษณะโดยทั่วไป โฮมเพจนั้นมีควำมคล้ำยคลึงกันมำกอำจต่ำงกันที่เทคนิคและวิธีกำรนำเสนอ ดังนั้น องค์ประกอบหลัก ของโฮมเพจจงึ แบง่ ออกได้ ดงั น้ี 1. ส่วนรูปภำพหรือโลโก้ (Logo) แสดงควำมเป็นเจ้ำของโฮมเพจ เป็นรูปที่มี ขนำด ไม่ใหญ่มำกนัก เพ่ืองำ่ ยตอ่ กำรโอนยำ้ ยขอ้ มูลบนครอื ขำ่ ยคอมพิวเตอร์ 2. ส่วนหัวเรื่องของข้อมูล เป็นหัวข้อของข่ำวสำร บริษัท องค์กรหรือสถำนบัน ที่เป็น เจ้ำของโฮมเพจ 3. ส่วนเนื้อหำขอ้ มลู และกำรเชอื่ มโยงไปยังเว็บเพจอ่นื ๆ ท่ีเกี่ยวข้องเป็นส่วน ของ ข่ำวสำรที่เปน็ เน้ือควำมแสดงถึงรำยละเอยี ดหรือเน้ือหำข้อควำมแบบคัดย่อทส่ี ำมำรถเชื่อมโยงไปยัง ข้อมลู แบบแสดงรำยละเอียดของโฮมเพจทเี่ ก่ียวข้องโดยผำ่ นไฮเปอร์เท็กซ์ 2.3.2.2 เวบ็ เพจทีเ่ ป็นขอ้ มูล กิตติ ภักดีวัฒนะกุล กล่ำวว่ำ เว็บเพจที่เป็นข้อมูลเป็นส่วนที่เสนอรำยละเอียดของ หวั ขอ้ ท่ีอยู่ในหน้ำโฮมเพจ โดยทั่วไปเวบ็ เพจมอี งค์ประกอบ ดังนี้ 1. Text เป็นข้อควำมปกติสำมำรถตกแต่ง มีรูปแบบกำรทำงำน Word Processing 2. Graphic มีรูปภำพ ลำยเส้น พื้นหลังต่ำง ๆ มำกมำยขึ้นอยู่กับผู้ออกแบบ เลอื ก 3. Multimedia ภำพเคล่ือนไหวและเสยี งประกอบ 4. Counter ใช้สำหรับนับจำนวนผ้ทู ี่เขำ้ เยยี่ มชมเวบ็ เพจ 5. Link ใชเ้ ช่ือมต่อไปยังเวบ็ เพจอน่ื ๆ 6. Form เป็นแบบฟอรม์ ใช้สำหรบั ผู้ใช้กรอกขอ้ มูล 7. Frame กำรแบ่งจอภำพเป็นส่วน ๆ แต่ละจะแสดงข้อมูลที่แตกต่ำงกัน ออกไป 8. Image Map รปู ภำพขนำดใหญท่ ีแ่ ละสำมำรถเชื่อมโยงไปยังเว็บเพจอนื่ ๆ

9 9. Java Applet โปรแกรมสำเร็จรูปที่ใช้ในเว็บเพจ เพื่อกำรใช้งำนที่มี ประสทิ ธภิ ำพ2.3.3 กฎพน้ื ฐำนของกำรออกแบบเวบ็ เพจ (Web Pages) 2.3.3.1 กฎแห่งควำมแปลกแตกต่ำง (Contrast) กำรออกแบบสื่อกำรเรียนกำรสอน ทำง อินเทอร์เน็ตต้องมีควำมโดดเด่นหลีกเลี่ยงกำรใช้องค์ประกอบบนจอภำพที่ดูคล้ำยกันแต่ถ้ำ 10 องค์ประกอบของเนือ้ หำไมใ่ ช่ส่ิงเดียวกัน ควรสร้ำงให้มีควำมแตกต่ำงกันอยำ่ งชดั เจน สิ่งที่มี ควำมหมำย หรอื ตอ้ งกำรเน้นใหเ้ ห็นชดั เจนต้องมีลกั ษณะทน่ี ่ำสนใจ เชน่ กำรเน้นขนำด สี ของวั อกั ษร 2.3.3.2 กฎกำรย้ำซ้ำ (Repetition) ในกำรออกแบบสื่อกำรเรียนทำงอินเทอร์เน็ตควรมี รูปแบบที่เป็นแบบแผนซึ่งจะประกอบด้วย พื้นหลัง รูปภำพ สี ควำมสัมพันธ์ของระยะห่ำง ระหว่ำง ตัวอักษร เส้นและขนำดที่สอดคล้องกันทั้งหมด วิธีกำรสร้ำงสื่อกำรเรียนกำรสอนทำงออนไลน์ แบบย้ำ ชว่ ยเสริมสร้ำงใหเ้ กิดควำมเป็นหน่งึ เดยี ว (Unity) แม้วำ่ ในกำรออกแบบเว็บเพจจะมผี ู้จัดทำ หลำยคนแต่ จะต้องมีรปู แบบเดยี วกนั 2.3.3.3 กฎกำรจดั แถววำงแนว (Alignment) กำรจัดวำงองค์ประกอบต้องมีแถว มแี นวต้อง มองวัตถุที่อยู่ข้ำงหน้ำเสมอ เช่น ตัวอักษร หรือรูปแบบที่อยู่ตอนล่ำงไม่ควรล้ำแนว องค์ประกอบที่ อยู่ ด้ำนบน หำกอยู่ขวำก็ดูสิ่งที่อยู่ซ้ำยมือที่มำก่อน กำรวำงแถวจะทำให้เว็บเพจ ดูสะอำดและเป็นไปใน ลกั ษณะไมข่ ดั กบั ควำมรูส้ กึ ของผอู้ ่ำน 2.3.3.4 ควำมเกี่ยวเนื่องของสิ่งที่อยู่ใกล้เคียงกัน (Proximity) กำรจัดวำงวัตถุต่ำง ๆ ที่อยู่ บนสื่อกำรเรียนอินเตอร์เน็ตต้องมีควำมเป็นระเบียบ โดยจัดให้มองเห็นได้ง่ำย ไม่กระจัดกระจำย กำร รวมกลุ่มเป็นวิธีกำรลดควำมยุ่งเหยิงและสร้ำงควำมเป็นระเบียบกำรใช้ไฟล์ภำพหรือกรำฟิก ที่ มีควำม หลำกหลำยแตซ่ ำ้ กนั ในสว่ นต่ำง ๆ ของแต่ละหนำ้ เอกสำร ยังช่วยให้กำรเปดิ เว็บไซด์ เปน็ ไปอยำ่ งรวดเร็ว และน่ำสนใจ เมื่อโปรแกรมเว็บบรำวเซอร์จะอ่ำนไฟล์ภำพหรือกรำฟิกนั้น แล้วเก็บไว้ในหน่วยควำมจำ ของเครื่องคอมพิวเตอร์ที่ใช้ เมื่อมีกำรใช้งำนไฟล์ภำพนั้นอีก ก็จะปรำกฏ ได้อย่ำงรวดเร็ว เพรำะ โปรแกรมเวบ็ บรำวเซอร์จะนำมำจำกหนว่ ยควำมจำแคชของเคร่ือง 2.3.4 โครงสร้ำงของเว็บ นกั ออกแบบเว็บสว่ นใหญ่จะมรี ูปแบบกำรสร้ำงทีแ่ ตกตำ่ งกันออกไป โดยทวั่ ไป จะข้ึนอยู่ กับควำมถนัด และควำมพอใจของตนเองเป็นหลัก โดยคำนึงถึงหลักกำรออกแบบที่ถูกต้อง เท่ำที่ควร ลินช์ และฮอร์ตัน จึงได้เสนอแนวคดิ สำหรับออกแบบเว็บไซต์ว่ำกำรออกแบบเว็บไซต์ที่ดี ควรจะต้องวำง โครงสร้ำงใหส้ มดุล มกี ำรเช่ือมต่อสัมพันธ์กันระหวำ่ งรำยกำร (Menu) หรอื โฮมเพจกับ หนำ้ เน้ือหำอื่น ๆ รวมถึงกำรเชื่อมโยงไปสู่ภำพและข้อควำมต่ำง ๆ โดยต้องวำงแผนโครงสร้ำงให้ดี เพื่อป้องกันอุปสรรคท่ี จะเกดิ ต่อผ้ใู ช้ เช่น กำรหลงทำงของผใู้ ช้ในขณะเขำ้ สเู่ นอ้ื หำในจุดร่วม (Node) ต่ำง ๆ เป็นตน้

10 แยงก์ และมอร์ ได้แบ่งลักษณะโครงสร้ำงของสื่อหลำยมิติ (Hypermedia) 3 แบบ เพ่ือ กำรจัดเก็บและเรยี งข้อมูลทต่ี ้องกำรข้ึนมำดังน้ี 1. สื่อหลำยมิติแบบไม่มีโครงสร้ำง (Unstructured) เป็นแบบที่ไม่มีโครงสร้ำง ควำมรู้ ผู้เรียนต้องเปิดเข้ำไปโดยมีกำรเชื่อมโยงระหว่ำงหน้ำจอแต่ละเรื่อง มีควำมยืดหยุ่นสูงสุดของ กำรจัด รวบรวมเป็นกำรใหผ้ ูเ้ รียนได้กำหนดควำมก้ำวหนำ้ และตอบสนองควำมสำเร็จดว้ ยตนเอง 2. สื่อหลำยมิติแบบลำดับขั้น (Hierarchical) เป็นกำรกำหนดวิธีกำรจัดเก็บควำมรู้ เป็น ลำดับขั้นมีโครงสร้ำงเป็นลำดับขั้นต้นไม้ โดยผู้เรียนได้ศึกษำค้นคว้ำไปทีละขั้น โดยสำรวจได้จำก บนลง ล่ำงและจำกล่ำงข้นึ บน โดยระบบขอ้ มูลและรำยกำรคอยบอก 3. สื่อหลำยมิติแบบเครือข่ำย (Network) เป็นกำรเชื่อมโยงกันระหว่ำงจุดร่วมของ ฐำนข้อมูล ควำมรู้ต่ำงๆ ที่เกี่ยวข้องสัมพันธ์กัน ควำมซับซ้อนของเครือข่ำยพึ่งพำควำมสัมพันธ์ ระหว่ำง จุดร่วมตำ่ ง ๆ 2.3.5 กำรออกแบบเว็บเพจที่ดี 2.3.5.1 มีรำยกำรแสดงรำยละเอยี ดของเว็บเพจนนั้ เรำควรแสดงรำยกำรท้ังหมด ทเ่ี วบ็ มอี ยู่ ให้ผู้ใช้ทรำบ โดยอำจทำในรูปของสำรบัญกำรสร้ำงสำรบัญนี้จะช่วยให้ผู้ใช้สำมำรถค้ำหำ ข้อมูลภำยใน เวบ็ อยำ่ งรวดเร็ว 2.3.5.2 เชื่อมโยงข้อมูลไปยังเป้ำหมำยโดยตรงตำมควำมต้องกำรมำกที่สุด กำรสร้ำง Link จะสร้ำงในรูปแบบของตัวอักษร หรือรูปภำพก็ได้ แต่ควรที่จะแสดงจุดเชื่อมโยง โดยกำรให้ผู้ใช้ ทรำบได้ งำ่ ยนอกจำกนใ้ี นแต่ละเพจควรมจี ุดเช่อื มโยงกลบั มำยงั หนำ้ แรกของโฮมเพจ 2.3.5.3 มีเนื้อหำกระชับ สั้น และทันสมัย ถ้ำเป็นโครงสร้ำงโฮมเพจหน้ำแรก ไม่ควร ที่ จะ ยำวเกินไป ขนำดที่ดี คือ กำหนดให้แต่ละเว็บเพจแสดงผลได้เพียงอย่ำงเดียวถ้ำไม่สำมำรถ แสดงผล ทงั้ หมดในหนำ้ เดียวต้องพยำยำมสร้ำงให้แสดงผลในจำนวนหน้ำนอ้ ยที่สุดเท่ำที่จะทำได้ 2.3.5.4 สำมำรถโต้ตอบกับผู้ใช้ได้ทันที ควรมีจุดแสดงควำมคิดเห็น หรือคำแนะนำ กับเรำ ได้ เช่น ใส่ E=mail ลงในเพจตำแหน่งที่เขียนควรอยู่ส่วนล่ำงสุด หรือบนสุดของเว็บนั้น ๆ ไม่ควรที่จะ เขียนแทรกไวใ้ นตำแหน่งใดๆ ของจอภำพ 2.3.5.5 มีรูปภำพประกอบกำรนำเสนอที่ดีแต่ไม่ควรมีรูปภำพมำกเกินไป โดยใช้ ภำพแทน คำพดู เช่น นำรปู บ้ำนมำแทนคำว่ำ กลับไปจดุ เริ่มตน้ หรือ Home และควรใช้รูปให้ตรง กบั ควำมหมำย 2.3.5.6 เข้ำสู่กลุ่มเป้ำหมำยได้ถูกต้อง โดยคำนึงถึงกลุ่มเป้ำหมำยมำกที่สุด เพรำะ กำร กำหนดกลมุ่ เป้ำหมำยจะทำให้สำมำรถกำหนดเน้ือหำ และเรอ่ื งรำวเพ่ือใหต้ รงกับควำมต้องกำร ของผู้ใช้ ได้มำกกว่ำ

11 2.3.5.7 ใชง้ ำนง่ำย ทำอย่ำงไรจึงจะสรำ้ งเวบ็ เพจใหใ้ ช้งำนไดง้ ่ำย ส่งิ เหลำ่ นข้ี ึน้ อยกู่ บั เทคนิค และประสบกำรณ์ของผู้สร้ำงแต่ละคนบำงสิ่งคนหนึ่งอำจบอกจะว่ำง่ำย แต่บำงคนอำจกลับ กลำยเป็น ยำก 2.3.5.8 กำรกำหนดเป้ำหมำยข้อมูลตำมมำตรฐำนเดียวกัน โดยจะต้องมีกำรแบ่ง ข้อมูล ออกเป็นส่วน ๆ ข้อมูลชุดใดที่สำมำรถจัดเปน็ กลุ่ม เป็นหมวดหมู่ได้ก็ควรจัดทำ จะทำให้ข้อมูล ทุกอย่ำง เปน็ ระเบียบในกำรนำมำใชง้ ำน 2.3.6 เคร่ืองมอื ในกำรสรำ้ งเว็บเพจ เครื่องมือที่ใช้ในกำรสร้ำงและพัฒนำเว็บเพจนั้นมีมำกมำย ซึ่งขึ้นอยู่กับผู้ที่มีหน้ำที่ ในกำร สรำ้ งและพัฒนำเว็บเพจ หรือเว็บมำสเตอร์ จะเลือกใช้งำนเคร่ืองมือท่เี กีย่ วข้องกับกำรสรำ้ งเว็บ มีจำนวน มำก ซึ่งรวมถึงโปรแกรมสร้ำงไฟล์เอกสำร HTML โปรแกรมสร้ำงเว็บเพจ มีจำนวนมำก ซึ่งรวมถึง โปรแกรมปรับเปล่ียนไฟล์ทีเ่ กี่ยวข้องกับเว็บเพจ 2.3.7 ขนั้ ตอนกำรพฒั นำเวบ็ เพจ หลักกำรและขั้นตอนกำรพัฒนำบทเรียนออนไลน์สำเร็จรูป ในลักษณะรูปแบบของ Intreactive Multimedia Computer Instruction Package : IMMCIP โดยเริ่มจำกวิธีกำรก ำหนด เป้ำหมำย กำหนดวัตถุประสงค์เชิงพฤติกรรมและกลุ่มเป้ำหมำยผู้ใช้บทเรียน โดยในกำรพัฒนำ จะ ประกอบไปด้วย 5 ขนั้ ตอนหลกั ๆ ดงั น้ี 2.3.7.1 ขัน้ ตอนกำรวเิ ครำะหเ์ น้ือหำ (Analysis) แบ่งเป็น 3 ข้ันตอนดังน้ี 1. สร้ำงแผนภูมิระดมสมอง (Brainstorm Chart Drafting) เป็นกำรค้นหำหัวเรื่อง ทั้งหมดอันเป็นเป้ำหมำยขององค์ควำมรู้และควำมเกี่ยวข้องของหัวเรื่องที่จะทำให้เห็นภำพบทเรียน ว่ำ ควรจะมีเนือ้ หำโดยรวมเช่นไร 2. สร้ำงแผนภูมิหัวเรื่องสัมพันธ์ (Concept Chart Drafting) เป็นขั้นตอนของกำร วิเครำะหห์ วั เรือ่ งโดยละเอียดจำกแผนภูมกิ ำรระดมสมอง เพอื่ คดั เลือกหัวเร่ืองตำ่ ง ๆ 3. สรำ้ งแผนภูมิโครงข่ำยเน้ือหำ (Concept Network Analysis Chart Drafting) เป็น กำรสร้ำงแผนภูมจิ ำกกำรวเิ ครำะหค์ วำมสัมพันธ์ของเน้ือหำในลักษณะของข่ำยงำนกำรนำเสนอ เป็นกำร แสดงให้เห็นภำพของควำมเกี่ยวข้องสัมพันธ์กันของกำรนำเสนอว่ำเนื้อหำส่วนใดควรนำเสนอ ก่อนหลัง หรอื พรอ้ มกนั ได้ 2.3.7.2 ขน้ั ตอนกำรออกแบบกำรเรียนกำรสอน (Design) แบง่ เปน็ 2 ข้ันตอนดงั นี้

12 1. ก ำหนดกำรน ำเสนอ (Strategic Presentation Plan & Behavior Objectives) เป็นกำรกำหนดกลวิธีกำรนำเสนอพร้อมกับจดลำดับแผนกำรกำรนำเสนอเป็นแผนภูมิบทเรียน (Course Flow Chart Drafting) และกำหนดวตั ถปุ ระสงค์เชิงพฤตกิ รรมใหส้ อดคลอ้ งกบั หัวข้อทีต่ งั้ ไว้ 2. สร้ำงแผนภูมิกำรนำเสนอแต่ละโมดูล (Module Presentation Chart Drafting) เป็นกำรสร้ำงแผนภูมิกำรนำเสนอในแต่ละโมดูล เพื่อแสดงถึงควำมต่อเนื่อง และกำหนดมำตรฐำนของ เวลำกำรนำเสนอในแตล่ ะโมดลู น้นั ๆ 2.3.7.3 ข้ันตอนกำรออกแบบกรอบเนอ้ื หำ (Development) แบ่ง 4 ข้ันตอนดงั น้ี 1. เขียนรำยละเอียดเนื้อหำ (Script Development) โดยกำรนำมำเขียนลงใน กรอบ ตำมแผนกำรนำเสนอ ซึ่งจะเป็นกำรสร้ำงต้นแบบกำรนำเสนอ ก่อนกำรนำเสนอจริงแต่ละเฟรม จะ กำหนดเนอ้ื หำลงในกรอบเป็นกำรกำหนดทั้งภำพนงิ่ ภำพเคลอื่ นไหว เสยี งและภำพวีดีทศั น์ 2. กำรจัดทำลำดบั เนือ้ หำ (Storyboard Development) โดยเมือ่ กำหนดเนือ้ หำ ลงใน กรอบเสร็จแลว้ นำเฟรมทีไ่ ดม้ ำจดั เรียงลำดับกำรนำเสนอตำมท่ีไดท้ ำกำรวำงแผนและออกแบบไว้ 3. กำรตรวจควำมถูกต้องของเนื้อหำ (Content Correctness Examination) คือ ขั้นตอนของกำรตรวจสอบควำมถูกต้อง ควำมเหมำะสม และควำมสมบูรณ์ของลำดับเนื้อหำท่ีจัดทำลง บนกรอบเน้ือหำ 4. กำรสร้ำงแบบทดสอบ (Test Item Check-up) ขั้นตอนกำรสร้ำงแบบทดสอบ ใน บทเรยี น เพอื่ วดั ผลสัมฤทธ์ทิ ำงกำรเรียนของผู้เรียนว่ำ ไดร้ ับกำรพฒั นำจำกกำรเรยี นมำกน้อย เพียงใดซ่ึง จะต้องนำแบบทดสอบเหล่ำนี้ไปทดสอบกับกลุ่มตัวอย่ำงที่มีควำมรู้ควำมสำมำรถเกี่ยวกับ เนื้อหำใน บทเรียน 2.3.7.4 ขัน้ ตอนกำรสรำ้ งบทเรยี น (Implementation) แบ่งเป็น 3 ขนั้ ตอนดงั นี้ 1. กำรเลือกโปรแกรมในกำรจัดทำบทเรียน เป็นวิธีกำรเลือกโปรแกรมที่เหมำะสม ใน กำรทจ่ี ะสนองตอบตอ่ ควำมตอ้ งกำร ของบทเรยี นทไี่ ด้กำหนดไวท้ ั้งนใี้ นกำรจดั ทำบทเรียน จะมหี ลำยส่วน ที่อำจดำเนินกำรจำกหลำยโปรแกรม เพรำะวิธกี ำรใชโ้ ปรแกรมใดโปรแกรมหน่งึ ในกำรดำเนินกำรจัดทำ จะไมส่ ะดวก 2. กำรเตรียมสว่ นประกอบมลั ติมีเดีย กำรจัดเตรียมสว่ นประกอบของมัลตมิ ีเดยี ที่เปน็ ตัวอักษรธรรมดำ ภำพนิง่ ภำพเคลื่อนไหว เสียงและรปู แบของวดี ที ศั น์ท่จี ะใช้ประกอบ 3. กำรจัดทำโปรแกรมบทเรียน เป็นขั้นตอนกำรนำบทเรียนที่ได้วำงแผนกำรมำ จัดเตรียมดำเนินกำรเป็นโปรแกรมกรนำเสนอโดยคอมพิวเตอร์สมบรู ณ์ 2.3.7.5 ข้นั ตอนตรวจสอบคณุ ภำพบทเรยี น (Evaluation) แบง่ เป็น 4 ขนั้ ตอนดงั น้ี 1. กำรตรวจสอบคุณภำพ (Quality Evolution)

13 2. ทำกำรทดลองกลมุ่ ยอ่ ย (Small Group Rehearsal) 3. ทดสอบประสทิ ธิภำพของบทเรียนและประสทิ ธผิ ลทำงกำรเรียน 4. จัดทำค่มู อื กำรใช้ Package (User Manual) 2.3.8 คุณลกั ษณะของเว็บไซต์ กำรนำระบบอินเทอร์เน็ต เพื่อนำมำทำเป็นสื่อสำหรับกำรเรียนกำรสอนในรูปของ เว็บช่วย สอนหรือจะเรียกว่ำเป็นโฮมเพจ เพื่อกำรศึกษำหรือจะเป็นกำรออกแบบติดตั้งระบบกำรเรียน กำรสอน รำยวชิ ำใด ๆ บนเวบ็ ผเู้ ขยี นจะต้องตัดสินใจด้วยตนเอง 2.3.9 ประเภทของเว็บช่วยสอน พำร์สัน (Parson) ไดแ้ บ่งประเภทของเวบ็ ชว่ ยสอนออกเปน็ 3 ลกั ษณะ คอื 1. เว็บช่วยสอนแบบรำยวิชำอย่ำงเดียว (Stand – Alone Courses) คือ รำยวิชำ ที่มี เครื่องมอื และแหลง่ ท่ีมำไปถึงและเขำ้ หำไดโ้ ดยผำ่ นระบบอินเตอร์เน็ต อย่ำงมำกทส่ี ุดถ้ำไม่มกี ำร ส่อื สำรก็ สำมำรถท่จี ะไปผ่ำนระบบคอมพวิ เตอรส์ ่ือสำรได้ 2. เว็บไซต์ช่วยสอนแบบเว็บเพจสนับสนุนรำยวิชำ (Web Supported Courses) เป็น รำยวิชำที่มีลักษณะเป็นรูปธรรมมีกำรพบปะครูกับนักศึกษำ เช่น กำรกำหนดงำนที่ให้ทำเว็บไซต์ กำร กำหนดใหอ้ ่ำน กำรสือ่ สำรผำ่ นระบบคอมพิวเตอร์ 3. เว็บไซต์ช่วยสอนแบบเว็บศูนย์กำรศึกษำ (Web Pedagogical Resources) คือ ประเภทของเว็บไซต์ที่มีวัตถุดิบและเครื่องมือ ซึ่งสำมำรถรวบรวมวิชำขนำดใหญ่เข้ำไวด้ ้วยกัน หรือ เป็น แหลง่ สนบั สนนุ กิจกรรมทำงกำรศึกษำ 2.3.10 โครงสร้ำงเวบ็ ไซตท์ ำงกำรศึกษำ กำรสร้ำงเว็บไซต์เพื่อใช้ในทำงกำรศึกษำมีลักษณะโครงสร้ำงที่หลำกหลำยรูปแบบ แบ่ง ตำมประโยชนใ์ ชง้ ำนตำมแนวคดิ ของ เจมส์สำมำรถแบง่ ได้ 3 รูปแบบใหญ่ คือ 1. โครงสร้ำงแบบกำรค้นหำ (Electric Structures) ลักษณะของโครงสร้ำงเว็บไซต์ เปน็ แหลง่ ของเวบ็ ไซต์ท่ีใชใ้ นกำรค้นหำมีกำรกำหนดขนำดและรปู แบบ ไมม่ ีโครงสรำ้ งทผี่ ู้เรียนต้องมี เว็บ ลักษณะของเว็บไซต์แบบนี้จะมีแต่กำรให้ใช้เครื่องมือในกำรสืบค้นหรอื เพื่อบำงสิ่งที่ตอ้ งกำรค้นหำ หรือ ผู้เขยี นเว็บไซตต์ ้องกำร โครงสรำ้ งแบบนจ้ี ะเปน็ แบบเปดิ ให้ผเู้ รยี นไดเ้ ข้ำมำค้นคว้ำเน้ือหำในบริบท โดยไม่ มโี ครงสรำ้ งข้อมูลเฉพำะใหไ้ ดเ้ ลือก 2. โครงสร้ำงแบบสำรำนุกรม (Encyclopedia Structures) กำรควบคุมกำรสร้ำง ของ เวบ็ ไซต์ที่เรำสร้ำงข้ึนเองได้ กจ็ ะใช้โครงสร้ำงข้อมลู ในแบบต้นไมใ้ นกำรเข้ำสู่ขอ้ มลู ซง่ึ เหมอื นกับ หนังสือ ที่มีเนื้อหำและมีกำรจัดเป็นบทตอน จะกำหนดให้ผู้ใช้ได้ผ่ำนเข้ำไปค้นหำข้อมูลและเครื่องมือ ที่อยู่พื้นท่ี

14 ของเว็บหรืออยู่ภำยนอกเว็บไซต์จำนวนมำก มีโครงสร้ำงในลักษณะดังกล่ำวนี้ โดยเฉพำะ เว็บไซต์ทำง กำรศึกษำที่ไม่ได้กำหนดทำงกำรค้ำองค์กร แต่ในเว็บไซต์ทำงกำรศึกษำต้องรับผิดชอบ ต่อกำรเรียนของ ผเู้ รยี น 3. โครงสร้ำงแบบกำรเรียนกำรสอน (Pedagogic Structures) มีกำรจัดทำรูปแบบ โครงสร้ำงหลำยอย่ำงในกำรนำมำสนองควำมต้องกำร ทั้งหมดเป็นที่รู้จักดีในบทบำทของกำรออกแบบ ทำงกำรศึกษำ สำหรับคอมพิวเตอร์ช่วยสอน หรือเครื่องมือมัลติมีเดีย ซึ่งควำมจริงมีหลักกำรแตกต่ำง ระหว่ำงคอมพิวเตอร์ช่วยสอนกับเว็บช่วยสอน นั้นคือ ควำมสำมำรถของ HTML ในกำรที่จะจัดทำ ใน แบบ ไฮเปอรเ์ ท็กซ์ กับกำรเขำ้ ถงึ ข้อมลู หนำ้ จอโดยผ่ำนระบบอนิ เตอรเ์ น็ต 2.4 กำรขบั เคลอ่ื นดว้ ยระบบนวิ เมตกิ ส์ 2.4.1 ควำมหมำยของระบบนวิ เมตกิ ส์ ทำหน้ำที่เปลี่ยนพลังงำนลมอัดเป็นพลังงำนกลแล้วนำไปขับเคลื่อน หรือควบคุม เครื่องจักรและอุปกรณ์ต่ำงๆแบ่งได้ตำมลักษณะกำรทำงำน คือ อุปกรณ์ที่ทำให้เกิดกำรเคลื่อนท่ีในแนว เส้นตรง, อุปกรณ์ท่ีทำใหเ้ กดิ กำรเคลอื่ นทใี่ นแนวเส้นรอบวง และอุปกรณก์ ำรทำงำนแบบพเิ ศษ รปู ที่ 2.10 อุปกรณ์ทำงำนในระบบนิวเมติกส์ 2.4.2 อปุ กรณท์ ำงำนในแนวเสน้ ตรง อุปกรณ์เคลื่อนที่เป็นเส้นตรง ในระบบนิวเมติกส์จะนิยมใช้กระบอกสูบลม (Pneumatic- Cylinder) เพรำะใช้งำนง่ำย โครงสร้ำงไม่ซับซ้อน กระบอกสูบสำมำรถแบ่งได้ 2 ชนิด ไดแ้ ก่

15 - กระบอกสูบทำงำนทำงเดยี ว กระบอกสูบทำงำนทำงเดียว จะป้อนลมอัดเข้ำทำงด้ำนลูกสูบและดันให้ก้ำนสูบ เคลื่อนที่ออก เมื่อปล่อยลมท้ิงด้ำนลูกสูบ จะทำให้ลูกสูบเคลื่อนที่กลับเองด้วยแรงสปริงที่อยู่ภำยใน กระบอกสูบ หรือถ้ำไม่มีสปริง จะต้องใช้แรงภำยนอกมำกระทำที่ก้ำนสูบ ลูกสูบจึงเคลื่อนที่กลับ โดยทั่วไประยะชักของกระบอกสูบประเภทนี้จะยำวสุดระหว่ำง 80-100mm ลักษณะกำรใช้งำนคือจะ นำไปใชด้ นั หรือดึงเพียงทศิ ทำงเดยี วเท่ำนนั้ - ลกั ษณะโครงสรำ้ ง 1. กระบอกสบู (Cylinder Barrel) 2. ลูกสูบ (Piston) 3. กำ้ นสูบ (Piston Rod) 4. สปริงดนั กลบั (Return Spring) 5. ซลี (Seal) 6. บชู ก้ำนสบู (Bush Bearing) 7. รูจำ่ ยลม (Working Port) 8. รรู ะบำยลม (Exhaust Port) รปู ท่ี 2.11 ลักษณะโครงสรำ้ ง

16 - หลักกำรทำงำนของกระบอกสบู ทำงเดยี ว - จังหวะกำรเคล่ือนที่ออก กำ้ นสบู เคลื่อนท่อี อกไดโ้ ดยแรงดันของลมทเ่ี ข้ำไปดนั หัวลูกสูบ โดย จะตอ้ งเอำชนะแรงต้ำนของสปริงและควำมฝดื ภำยในกระบอกสบู - จงั หวะกำรเคลอ่ื นท่ีเข้ำ กำ้ นสบู เคล่อื นทกี่ ลบั ดว้ ยแรงสปรงิ รปู ที่ 2.12 กำรทำงำนของกระบอกสูบทำงเดียว - ลกั ษณะกำรใชง้ ำนของกระบอกสูบทำงเดียว ใช้กับงำนทีอ่ อกแรงทำงำนในทิศทำงเดียว และในจงั หวะกลับไม่ควรจะรับแรง ใดๆ รวมถึงงำนท่มี รี ะยะชักส้นั ๆ ตวั อยำ่ งเชน่ งำนจบั ยดึ ชน้ิ งำน งำนยกของ งำนป้อนทิศทำงเดียว รปู ที่ 2.13 ลกั ษณะกำรใช้งำน

17 - รปู ร่ำงอปุ กรณ์ของกระบอกสูบทำงเดยี ว 1. จะสังเกตเห็นรูป้อนลมเพียง 1 รู 2. เมื่อดงึ ก้ำนสูบออก หรือดนั เขำ้ แล้วปลอ่ ยมือ ลูกสบู จะเคล่อื นท่กี ลบั ดว้ ย- สปริง 3. มรี ะยะชักส้นั ๆไม่เกิน 100 mm. รปู ท่ี 2.14 รูปร่ำงอุปกรณ์ - กระบอกสูบทำงำน 2 ทศิ ทำง กระบอกสูบทำงำนสองทำง ลมเข้ำด้ำนลูกสูบและลมออกด้ำนก้ำนสูบ ทำให้ได้แรงทั้ง 2 ทิศทำง กระบอกสูบชนิดนี้ จะมีหลำยชนิด เช่น กระบอกสูบทำงำน 2 ทิศทำงแบบไม่มีเบำะลมกัน กระแทก, กระบอกสูบทำงำน 2 ทิศทำงแบบมีเบำะลมกันกระแทก, กระบอกสูบทำงำน 2 ทิศทำงแบบมีกำ้ นสูบ 2 ข้ำง, กระบอกสูบทำงำน 2 ทิศทำงแบบ 2 ตอน, กระบอกสูบทำงำน 2 ทิศทำงแบบช่วงชักหลำยตำแหน่ง, กระบอกสูบทำงำน 2 ทศิ ทำงแบบกระแทก, กระบอกสบู ทำงำน 2 ทิศทำงแบบไม่มกี ้ำนสบู , กระบอกสบู ทำงำน 2 ทิศทำงแบบแกนคู่ - กระบอกสูบทำงำน 2 ทิศทำงแบบไม่มีเบำะลมกันกระแทก กระบอกสูบชนิดนี้ มีรำคำถกู เหมำะกบั งำนท่ีใชค้ วำมเร็วในกำรเคลือ่ นทที่ ่ีไมม่ ำกนกั ถำ้ นำไปใช้กับงำนเคลื่อนทเี่ ร็วจะทำให้กระบอกสบู เสยี หำยได้ - ลกั ษณะโครงสรำ้ งของกระบอกสบู ทำงำน 2 ทศิ ทำง

18 ประกอบดว้ ย ลูกสูบ และก้ำนสบู ซ่ึงเคลือ่ นท่ีไปมำอยู่ภำยในกระบอกสูบท่ปี ิด หวั ทำ้ ย โดยใชล้ มอัดไปอัดเพื่อใหท้ ำใหเ้ กิดกำรเคลื่อนที่ 1. รปู ้อนลม (Working Port) 2. ฝำสบู หวั ท้ำย (Base & Bearing Cap) 3. ลกู สบู (Piston) 4. ก้ำนสบู (Piston Rod) 5. กระบอกสบู (Cylinder) 6. ซีล (Seal) รปู ท่ี 2.15 ลกั ษณะโครงสร้ำง - กำรทำงำนของกระบอกสูบทำงำน 2 ทิศทำง จงั หวะกำรเคล่ือนท่ีออก - กำ้ นสบู เคล่ือนท่ีออกได้โดยแรงดันของลมทีเ่ ขำ้ ไป ดันหัวลกู สูบ จังหวะกำรเคลื่อนที่เข้ำ - ก้ำนสูบเคลื่อนที่กลับด้วยแรงดันของลมที่เข้ำไปดัน ลกู สูบดำ้ นกำ้ นสบู

19 รปู ที่ 2.16 กำรทำงำนของกระบอกสบู ทำงำน 2 ทศิ ทำง ชักยำวเชน่ - ลกั ษณะกำรใช้งำนของกระบอกสูบทำงำน 2 ทิศทำง ใชก้ บั งำนทต่ี ้องกำรใช้แรงทั้งจงั หวะเลอ่ื นเข้ำและออก และงำนที่ตอ้ งกำรชว่ ง 1. งำนเปิด-ปิดประตู 2. งำนป้อนเจำะ 3. งำนเลื่อนชน้ิ งำน รปู ที่ 2.17 ลักษณะกำรใช้งำนของกระบอกสบู ทำงำน 2 ทิศทำง

20 - รปู รำ่ งของอุปกรณ์กำรใช้งำนของกระบอกสูบทำงำน 2 ทิศทำง 1. จะสังเกตเห็นรปู ้อนลม 2 รู 2. มสี ญั ลกั ษณ์บอกชนดิ ของลูกสูบ รปู ท่ี 2.18 รปู ร่ำงของอปุ กรณ์ของกระบอกสบู ทำงำน 2 ทิศทำง - กระบอกสบู ทำงำน 2 ทิศทำงแบบมีเบำะลมกันกันกระแทก กระบอกสบู ชนดิ นี้ จะลดควำมเร็วหรือลดอตั รำหน่วงของลกู สบู เมื่อสดุ ระยะชกั ปรบั สก รูกันกระแทกที่หัวท้ำยของกระบอกสูบ ลมที่ถูกระบำยทิ้งจะต้องผ่ำนทำงสกรูปรับกันกระแทกได้ทำง เดยี วเทำ่ นั้น ทำใหเ้ กิดควำมดนั ต้ำนกลบั ในตำแหนง่ นล้ี ูกสบู จะเคล่ือนทชี่ ำ้ ลง และมรี ะยะกนั กระแทกอยู่ ที่ประมำณ 10-30mm

21 - ลกั ษณะโครงสร้ำงกระบอกสบู ทำงำน 2 ทศิ ทำงแบบมเี บำะลมกนั กนั กระแทก 1. กระบอกสูบ (Cylinder Barrel) 2. ฝำสูบหัวท้ำย (Base & Bearing Cap) 3. ลกู สบู (Piston) 4. ลูกสูบกันกระแทก (Cushion Piston) 5. สกรปู รับ (Adjustable Screw) รปู ที่ 2.19 ลกั ษณะโครงสร้ำงกระบอกสบู ทำงำน 2 ทิศทำงแบบมเี บำะลมกันกระแทก - กำรทำงำนกระบอกสูบทำงำน 2 ทศิ ทำงแบบมีเบำะลมกันกันกระแทก ในจงั หวะแรกท่ีก้ำนสูบเริ่มเคล่อื นที่ ลมระบำยด้ำนตรงขำ้ มจะไหลออกได้สะดวก ทำให้ ก้ำนสูบเคลื่อนที่เร็ว เมื่อก้ำนสูบเคลื่อนที่ออกไปจนเกือบสุด ระยะชัก ลูกสูบกันกระแทกจะปิดช่อง ระบำยลมออก ลมส่วนทเี่ หลือจะระบำยออกโดยผ่ำนทำงแคบทส่ี กรปู รับทำให้ก้ำนสบู เคล่ือนทช่ี ้ำลง แรง กระแทกระหวำ่ งลกู สบู กับฝำสูบก็ลดลง รปู ที่ 2.20 กำรทำงำน

22 - ลกั ษณกำรใช้งำน ใช้กับงำนที่ก้ำนสูบต้องเคลื่อนที่ด้วยควำมเร็วสูงเพื่อลดแรงกระแทกระหว่ำง ลกู สูบกบั ฝำสูบ - รูปร่ำงของอุปกรณ์ 1. จะสงั เกตเห็นรปู อ้ นลม 2 รู 2. มสี ญั ลกั ษณ์บอกชนิดของลูกสบู รปู ที่ 2.21 รูปรำ่ งของอุปกรณ์ - กระบอกสูบทำงำนสองทำงแบบกำ้ นสบู สองข้ำง กระบอกสูบชนิดนี้เคลื่อนที่ไปและกลับ แรงที่ได้ทั้ง 2 ข้ำงจะมีค่ำเท่ำกัน เนื่องจำก พื้นที่หน้ำตัดทั้ง 2 ข้ำงมีขนำดเท่ำกัน และที่ปลำยสุดจุดรองรับของกำรสูบทั้ง 2 ข้ำงจะมีแบริ่ง (ลูกปืน) รองรับก้ำนสูบอยู่ - ลกั ษณะโครงสรำ้ งของกระบอกสบู ทำงำนสองทำงแบบกำ้ นสบู สองขำ้ ง ลกั ษณะโครงสรำ้ งเหมือนกับกระบอกสบู ชนิดทำงำนสองทำงแบบทวั่ ไป แต่จะ ต่ำงกนั ตรงท่ีมีกำ้ นสูบทส่ี ำมำรถใช้งำนได้ 2 ข้ำง

23 รปู ที่ 2.22 ลกั ษณะโครงสร้ำงของกระบอกสูบทำงำนสองทำงแบบกำ้ นสบู สองขำ้ ง - กำรทำงำนของกระบอกสูบทำงำนสองทำงแบบก้ำนสูบสองขำ้ ง ลักษณะกำรทำงำนเหมือนกบั ลูกสูบชนิดทำงำนสองทำงแบบปกติ แต่จะต่ำงกันตรงท่ีมี กำ้ นสูบทส่ี ำมำรถใชง้ ำนได้ 2 ขำ้ ง รปู ที่ 2.23 กำรทำงำนของกระบอกสูบทำงำนสองทำงแบบก้ำนสูบสองข้ำง

24 - ลกั ษณะกำรใชง้ ำนของกระบอกสบู ทำงำนสองทำงแบบก้ำนสูบสองขำ้ ง ใช้กับงำนทต่ี ้องกำรใช้กำ้ นสูบทง้ั สองขำ้ ง เช่น กำรผลักชน้ิ งำน 2 ฝ่งั รปู ท่ี 2.24 ลกั ษณะกำรใช้งำน - รปู รำ่ งของอปุ กรณ์กระบอกสูบทำงำนสองทำงแบบก้ำนสูบสองข้ำง 1. สงั เกตเหน็ รูป้อนลม 2 รู 2. มกี ้ำนสูบโผล่ออกมำจำกกระบอกสูบทั้ง 2 ดำ้ น รปู ท่ี 2.25 รปู ร่ำงของอปุ กรณ์

25 - กระบอกสบู ทำงำนสองทำงแบบ 2 ตอน กระบอกสูบชนิดนี้ถูกออกมำเพื่อแก้ปญั หำกำรมีเนื้อที่ในกำรตดิ ตัง้ กระบอกสูบท่ีจำกดั แต่แรงที่กระบอกสูบจะต้องกระทำนั้นมีมำกกว่ำที่กระบอกชนิด 2 ทิศทำงจะกระทำได้ เนื่องจำกมีเส้น ผ่ำนศูนย์กลำงเล็กเกินไป ถ้ำจะเพิ่มเส้นผ่ำนศูนย์ให้กระบอกสูบชนิด 2 ทิศทำงให้มีขนำดโตขึ้น ก็จะมี ปญั หำเรื่องเน้อื ทใ่ี นกำรติดต้งั จงึ จำเปน็ ตอ้ งใชก้ ระบอกสูบชนดิ 2 ทำงแบบ 2 ตอนมำใช้แทน - ลักษณะโครงสร้ำงของกระบอกสูบทำงำนสองทำงแบบ 2 ตอน ลักษณะโครงสรำ้ งเหมือนกบั กระบอกสูบชนิดทำงำนสองทำงแบบทัว่ ไป แต่ จะเปน็ กำรนำกระบอกสบู ชนดิ ทำงำนสองทำงมำตอ่ กนั 2 กระบอกสูบ โดยจะใช้กำ้ นสบู อนั เดยี วกนั รปู ที่ 2.26 ลักษณะโครงสรำ้ ง - กำรทำงำนของกระบอกสบู ทำงำนสองทำงแบบ 2 ตอน ลักษณะกำรทำงำนเหมือนกับลูกสบู ชนดิ ทำงำนสองทำงแบบปกติ แต่ จะต้องจำ่ ยลมให้ทั้งสองชว่ งของกระบอกสูบ กำ้ นสบู จงึ จะเคลอื่ นท่ี ฟฟหกฟหกฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟ รปู ที่ 2.27 กำรทำงำน

26 - ลักษณะกำรใชง้ ำน ใช้กับงำนที่ต้องกำรแรงมำก แต่ใชร้ ะยะติดต้ังท่ีน้อย - รูปรำ่ งของอุปกรณ์ 1. สงั เกตเห็นรปู ้อนลม 4 รู 2. ลักษณะเหมอื นกระบอกสูบ 2 อนั นำมำต่อกนั รปู ที่ 2.28 รูปร่ำงของอปุ กรณ์ - กระบอกสบู ทำงำนสองทำงแบบชว่ งชกั หลำยตำแหนง่ เปน็ กระบอกสูบทีส่ ำมำรถหยุดก้ำนสูบได้หลำยตำแหน่ง โดยเป็นกำรนำกระบอกสูบ ชนิด 2 ทำง 2 กระบอก มำประบกอบรวมกันเปน็ กระบอกเดียว - ลกั ษณะโครงสร้ำง ลกั ษณะโครงสร้ำงเหมือนกับกระบอกสบู ชนดิ ทำงำนสองทำงแบบทัว่ ไป แต่จะ เปน็ เหมือนกระบอกสูบ 2 ทำง 2 กระบอกมำต่อกนั รปู ท่ี 2.29 ลกั ษณะโครงสรำ้ ง

27 - กำรทำงำน ให้ป้อนลมเข้ำกระบอกสูบตำมลูกศร ซึ่งจะได้ระยะตำมรูปที่แสดงไว้ มี 4 ตำแหน่งด้วยกัน รปู ที่ 2.30 กำรทำงำน - ลกั ษณะกำรใช้งำน ใช้กบั งำนท่ีต้องกำรใหก้ ระ บอกสูบ กระบอกเดียวกนั หยดุ ได้หลำยตำแหน่ง รปู ที่ 2.31 ลกั ษณะกำรใช้งำน

28 - รปู รำ่ งของอปุ กรณ์ 1. สังเกตเห็นรูป้อนลม 4 รู 2. มีกำ้ นสูบโผล่ออกจำกกระบอกสูบออกท้ัง 2 ด้ำน รปู ที่ 2.32 รปู ร่ำงของอปุ กรณ์ - กระบอกสบู ทำงำนสองทำงแบบกระแทก กระบอกสูบชนิดน้ีเหมำะกับงำนประเภท ตัดชิ้นงำน งำนขึ้นรูปช้ิน และงำนย้ำหมุด ซ่ึง งำนเหล่ำนี้ต้องใช้แรงกระแทกในกำรทำงำน ควำมเร็วของก้ำนสูบชนิดนี้อยู่ระหว่ำง 7.5-10 m/s (เมตร ตอ่ วนิ ำท)ี ส่วนระยะช่วงชักของกำรกระแทกจะมีระยะส้ันๆ - ลกั ษณะโครงสร้ำง ลกั ษณะโครงสรำ้ งเหมือนกับกระบอกสบู ชนดิ ทำงำนสองทำงแบบทั่วไป รปู ท่ี 2.33 ลักษณะโครงสร้ำง

29 - กำรทำงำน ลกั ษณะกำรทำงำนเหมือนกับลกู สูบชนิดทำงำนสองทำงแบบ รปู ท่ี 2.34 กำรทำงำน - ลักษณะกำรใชง้ ำน ใชก้ ับงำนทตี่ ้องกำรแรงกระแทก เช่น งำนตัดช้นิ งำน, งำนข้นึ รปู ชิ้นงำน, และ งำนย้ำหมุด รปู ท่ี 2.35 ลักษณะกำรใช้งำน

30 - รปู ร่ำงของอปุ กรณ์ 1. สังเกตรูปอ้ นลม 2 รู 2. ลกั ษณะคลำ้ ยกับกระบอกสบู แบบ 2 ทศิ ทำงแบบปกติ รปู ที่ 2.36 รูปรำ่ งของอุปกรณ์ - กระบอกสูบทำงำนสองทำงแบบไม่มีกำ้ นสูบ กระบอกสูบชนิดนี้ตัวก้ำนสูบจะอยู่กับที่ ส่วนตัวลูกสูบจะเคลื่อนที่ เหมำะกับงำนท่ี ต้องกำรช่วงชังยำวซึ่งมีระยะชักสูงสุด 5,000 mm (500 cm) ควำมเร็วเคลื่อนที่สูงสุด 400 mm/s (มิลลิเมตรต่อวินำที) กำรทำงำนของกระบอกสูบชนิดนี้จะใช้ลมอัดไปดันให้แม่เหล็กเคลื่อน และตัว แม่เหล็กนี้จะดึงให้ลูกสูบเคลื่อนตำมไปด้วย ตัวอย่ำงงำนที่ใช้กระบอกสูบชนิดนี้ เช่น งำนประเภท เคลอ่ื นยำ้ ยของจำกจุดหน่งึ ไปอกี จดุ หนึ่ง - ลกั ษณะโครงสร้ำง 1. รปู อ้ นลมเขำ้ -ออก (Working Port) 2. แท่นลูกสูบ (Piston Base) 3. ลูกสบู (Piston)

31 รปู ที่ 2.37 ลักษณะโครงสรำ้ ง - กำรทำงำน กระบอกสูบชนิดนี้ จะมีลักษณะกำรทำงำนเหมือนกระบอกสูบสองทำงแบบ ทั่วไป โดยภำยในก้ำนสูบจะมีแม่เหล็กติดอยู่กับลูกสูบที่เคลื่อนที่ได้ เมื่อมีแรงดันลมดันให้แม่เหล็ก เคลอ่ื นที่ เสน้ แรงแมเ่ หลก็ จะดงึ ให้ลูกสบู ภำยนอกเคล่ือนที่ตำมไปดว้ ย รปู ที่ 2.38 กำรทำงำน

32 - ลักษณะกำรใชง้ ำน ใชก้ บั งำนทต่ี อ้ งกำรช่วงชักยำว ซงึ่ มรี ะยะชกั สงู สดุ ถึง 5 เมตร และควำมเร็วใน กำรเคล่อื นทสี่ ูงสุด 40cm/s (เซนติเมตรต่อวนิ ำท)ี เช่น งำนประเภทเคล่ือนย้ำยของจำกจุดหน่ึงไปอีกจุด หน่ึ รปู ท่ี 2.39 ลักษณะกำรใช้งำน - รปู รำ่ งของอุปกรณ์ 1. จะมกี ำ้ นสูบอย่กู บั ท่ี 2. มรี ลู มใชง้ ำน 2 รู รปู ที่ 2.40 รปู ร่ำงของอปุ กรณ์ - กระบอกสูบทำงำนสองทำงแบบกำ้ นสบู คู่

33 กระบอกลมแบบแกนคู่ เป็นกระบอกคอมแพ็คประเภทหนึง่ ที่ลักษณะตัวจะแบนรำบมี 2 แกน ปลำยแกนมีไกดช์ ่วยประคองกนั และกันอยู่ จึงทำให้แกนของกระบอกไม่หมุนขณะเคลื่อนที่ และ เนอื่ งจำกกระบอกสูบชนิดนี้ ระยะ Stroke ไม่ยำวจึงมีควำมแม่นยำสงู ในกำรยน่ื ไปจบั งำน - ลักษณะโครงสร้ำง จะมลี กั ษณะเหมือนกระบอกสูบแบบ 2 ทิศทำงแบบทัว่ ไป แตจ่ ะมกี ำ้ นสบู 2 ก้ำนยดึ ตดิ กัน รปู ที่ 2.41 ลักษณะโครงสรำ้ ง - กำรทำงำน กระบอกสบู ชนดิ นี้ จะมลี ักษณะกำรทำงำนเหมือนกระบอกสูบสองทำงแบบ ทั่วไป รปู ท่ี 2.42 กำรทำงำน

34 - ลกั ษณะกำรใช้งำน ใชก้ บั งำนที่ต้องกำรแรง และควำมแมน่ ยำสงู ประหยดั เนื้อท่ใี นกำรตดิ ตั้ง เนือ่ งจำกมกี ำ้ นสบู 2 อนั จงึ ทำใหไ้ ด้แรงมำกกวำ่ กระบอกสูบแบบกำ้ นสบู เดียวถึง 2 เทำ่ - รปู ร่ำงของอุปกรณ์ 1. จะมีกำ้ นสูบ 2 อนั ยึดติดกัน 2. มรี ูลมใช้งำน 2 รู รปู ที่ 2.43 รปู ร่ำงของอุปกรณ์

35 - สญั ลักษณ์ทว่ั ไปและแบบพเิ ศษของกระบอกสูบต่ำงๆ - สัญลกั ษณ์แบบทั่วไป รปู ที่ 2.44 สัญลักษณ์ทั่วไป - สัญลักษณแ์ บบพเิ ศษ รปู ท่ี 2.45 สญั ลกั ษณแ์ บบพเิ ศษ

36 - กำรคำนวณหำค่ำแรงของกระบอกสบู - กำรคำนวณคำ่ แรงของกระบอกสบู กำรเลือกชนิดและขนำดของกระบอกสูบมีหลักกำรพิจำรณำ เช่น น้ำหนักของ งำน หรือแรงที่กระบอกสูบจะต้องไปกระทำ รวมทั้งควำมยำวของช่วงของก้ำนสูบที่จะรับแรง ในทำง ทฤษฎี แรงของกระบอกสูบคำนวณไดจ้ ำกควำมดันลมอัด ขนำดพ้ืนทีห่ น้ำตัด กระบอกสูบ และแรงเสียด ทำนของกระบอกสูบ ดงั สมกำรต่อไปนี้ Fth = A x P เมือ่ Fth คือแรงท่ีคำนวณจำกทฤษฎี (Theoretical Piston Force) มีหน่วยเปน็ นวิ ตัน (N) A คอื พืน้ ท่ีหนำ้ ตัดของกระบอกสูบ มหี นว่ ยเปน็ ตำรำงเมตร (m) P คอื ควำมดันลมอัดมีหน่วยเปน็ บำร์ (bar) ในทำงปฏิบัติ แรงที่เกิดขึ้นจริงจะน้อยกว่ำแรงที่คำนวณทำงทฤษฎี เนื่องจำกเกิดกำร สูญเสียจำกแรงเสียดทำนที่ควำมดัน 4-8 บำร์ ซึ่งค่ำแรงเสียดทำนมีค่ำ 3-20 เปอร์เซ็นต์ ของแรงท่ี คำนวณได้ทำงทฤษฎี และตอ้ งนำค่ำนี้ไปใช้คำนวณด้วย ดงั นี้ 1. กระบอกสูบทำงำนทำงเดยี วแรงที่เกดิ ขน้ึ จรงิ เทำ่ กับ Fn = A x P – (FR + FF) 2. กระบอกสบู ทำงำน 2 ทำง แรงที่เกดิ ขึ้นจริงในจังหวะลูกสบู เคลอื่ นที่ออกเท่ำกับ Fn = A x P – FR แรงท่ีเกดิ ข้ึนจริงในจงั หวะลูกสบู เคล่อื นที่กลับเท่ำกับ Fn = A’ x P – FR เม่อื A' (พน้ื ทหี่ น้ำตดั วงแหวน) = พื้นทหี่ น้ำตัดของลูกสบู – พนื้ ทห่ี นำ้ ตัดของก้ำนสบู ������′ = ������2 − ������2 ������′ = ������������2 − ������������2 ������4(������2 4 ������′ = 4 − ������2) เมอ่ื P คือควำมดันใชง้ ำน มหี น่วยเป็นบำรห์ รอื นิวตนั Fth คอื แรงท่ีคำนวณจำกทฤษฎี (Theoretical Piston Force) มีหน่วยเป็นนวิ ตนั (N) FN คอื แรงทีเ่ กิดขน้ึ จริง (Effective Piston Force) มีหนว่ ยเป็นนวิ ตนั (N) FR คือแรงเสียดทำน (Frictional Force) มีหนว่ ยเป็นนวิ ตนั (N) มีคำ่ 3 – 20

37 เปอรเ์ ซ็นต์ของแรงท่คี ำนวณทำงทฤษฎี FF คอื แรงต้ำนของสปรงิ (Force of Return Spring) มีหน่วยเป็นนวิ ตัน (N) A คือพ้นื ท่ีหนำ้ ตดั ของลูกสบู มีหน่วยเป็นตำรำงเมตร (m) a คอื พื้นทหี่ นำ้ ตัดของกำ้ น ลกู สูบ มหี นว่ ยเปน็ ตำรำงเมตร (m) A ’คือพนื้ ที่หนำ้ ตดั วงแหวน มีหนว่ ยเปน็ ตำรำงเมตร (m) D คอื เสน้ ผ่ำนศูนย์กลำงลูกสูบ มหี น่วยเป็นเมตร (m) d คือเส้นผ่ำนศูนยก์ ลำงก้ำนสูบ มีหน่วยเป็นเมตร (m) - กำรหำค่ำแรงของกระบอกสบู ทคี่ ิดค่ำแรงตำ้ นเน่ืองจำกควำมเสียดทำน 10% ของแรงทำง ทฤษฎี รปู ที่ 2.46 กำรหำค่ำแรงของกระบอกสบู ที่คดิ คำ่ แรงต้ำนเน่ืองจำกควำมเสียดทำน 10% ของแรงทำง ทฤษฎี

38 2.4.3 อปุ กรณก์ ำรทำงำนทเ่ี คลอ่ื นทเี่ ปน็ เสน้ รอบวง อุปกรณ์ที่เคลื่อนที่เป็นเส้นรอบวง (Rotary Motion) แบ่งเป็น 2 ประเภทตำมลักษณะ กำรทำงำน ได้แก่ อุปกรณ์ทำงำนในลักษณะของกำรหมุนแกว่ง (Oscillation Motion) ,อุปกรณ์ทำงำน ในลักษณะหมนุ รอบ(Rotary Motion) - อุปกรณ์ทำงำนในลักษณะของกำรหมนุ แกว่ง (Oscillation Motion) - อปุ กรณห์ มุนแกวง่ แบบลูกสบู หมุน (ROTARY CYLINDER) - หลักกำรทำงำนและลักษณะโครงสร้ำง เมื่อมีลมดันเข้ำไปในกระบอกสูบจะทำให้ก้ำนสูบที่มีเฟือง สะพำนเลื่อน ทำให้เฟืองหมุนซึ่งจำนวนรอบที่เฟืองหมุนไปและกลับขึ้นอยู่กับควำมยำวของก้ำนสูบโดย ค่ำมุมท่ีหมนุ สำมำรถปรับได้โดยกำรต้งั ชว่ งสกรู โดยลกั ษณะโครงสรำ้ งของลูกสบู หมุนจะประกอบไปด้วย กระบอกสูบ,ฝำสูบหวั ทำ้ ย,ลบู สบู ,กำ้ นสูบ,เฟือง,เฟืองสะพำน - ลกั ษณะกำรใชง้ ำน ใช้กับงำนที่ต้องกำรกำรเคลื่อนที่ในแนวหมุนแบบไม่ครบรอบ เช่น กำรหมนุ ชนิ้ งำน งำนดัดท่องำนควบคมุ วำลว์ เล่ือนแบบตำ่ งๆ เป็นต้น รปู ท่ี 2.47 อปุ กรณท์ ี่ทำงำนในลกั ษณะของกำรหมุนแกว่ง (Rotary Cylinder) - อปุ กรณ์หมนุ แกว่งแบบใบพัดเล่ือน (SEMI-ROTARY DRIVE) - หลักกำรทำงำนและลกั ษณะโครงสร้ำง เมื่อป้อนลมเข้ำทำงด้ำนหมำยเลข 2 แรงดันลมจะดันให้ใบพัด เคลื่อนที่ทวนเข็มนำฬิกำผลอันนี้จะทำให้เพลำของมอเตอร์แบบแกว่งนี้เคลื่อนที่ตำมไปด้วยส่วนรู 1 จะ เป็นรูระบำยลมในทิศทำงตำมเข็มนำฬิกำจะต้องป้อนลมเข้ำ 1 ส่วน รู 2 จะเป็นรูระบำยลม โดยมี ลักษณะโครงสร้ำงของลกู สูบหมนุ ประกอบไปดว้ ย ใบพัด,รูลมเข้ำ-ออก

39 - ลกั ษณะกำรใช้งำน ใชก้ บั งำนท่ตี ้องกำรกำรเคลื่อนที่ในแนวหมนุ แบบไม่ครบรอบแต่ใช้ลม อัดเข้ำไปโดยไมต่ อ้ งใชส้ ะพำนเฟืองในกำรช่วยหมนุ เชน่ กำรหมนุ ช้ินงำน กำรโยกยำ้ ยชน้ิ งำนในแนวแกน หมนุ ของแตล่ ะร่นุ ท่ีจะสำมำรถไดห้ มุนไปไดแ้ ค่ไหน เปน็ ต้น รปู ที่ 2.48 อุปกรณห์ มนุ แกวง่ แบบใบพัดเลื่อน - อุปกรณ์ทำงำนในลกั ษณะหมุนรอบ(Rotary Motion) - มอเตอรล์ มแบบลกู สูบ (Piston Motor) - หลกั กำรทำงำนและลกั ษณะโครงสร้ำง กำรจ่ำยลมหมุนเวียนตำมลำดับเพื่อไปดันให้ลูกสูบเคลื่อนที่ แลว้ ก้ำนสบู จะไปผลักให้ข้อเหว่ียงทำให้เพลำหมุนแบบต่อเน่ือง กำลังของมอเตอร์ขึน้ อยู่กับควำมดันของ ลมอัดและขนำดของลูกสูบ โดยมีลักษณะโครงสร้ำงคือลูกสูบจะวำงอยู่ในแนวรัศมีของเพลำโดยก้ำนสูบ จะผลักขอ้ เหว่ียงทำให้เพลำเกดิ กำรเคลื่อนทตี่ ำมลักษณะโครงสร้ำง - ลกั ษณะกำรใชง้ ำน ใช้กับงำนทตี่ ้องกำรแรงบดิ สงู เช่น ใชท้ ำกวำ้ นยกขน้ึ -ลงใน โรงงำน รปู ที่ 2.49 มอเตอรล์ มแบบลูกสบู