Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore PDCA

PDCA

Published by 14 ชนิภรณ์ น้อยแผ้ว, 2023-06-08 04:30:10

Description: น.ส.ชนิภรณ์ น้อยแผ้ว เลขที่ 14

Search

Read the Text Version

P – Plan ระบุและวิเคราะห์ D – DO พัฒนาทางออกและ ปั ญหา ดำเนิ นการตามแผน หลังจากกำหนดแผนแล้วก็ถึงเวลาที่จะลง มือทำ เพราะเรา เริ่มต้นการวางแผนจะต้องมีเป้ าหมายที่ชัดเจนเสียก่อน จะต้องนำแผนดังกล่าวมาใช้จริง ดำเนิ นการจริง เพื่อให้ โดยขั้นตอนนี้ ต้องกำหนดให้ครอบคลุมทั้งกระบวนการ เห็นผลลัพธ์จริงในขั้นตอนนี้ ทุกคนต้องระลึกไว้เสมอว่า การดำเนิ นการจะเกิดปั ญหาอื่นตามมาเสมอ นั่ นจึงเป็ น ตั้งแต่เริ่มไปจนถึงสุดสิ้นสุดว่า มีปั ญหาอะไรที่จะต้อง เหตุผลว่าควรใช้แผนดังกล่าวกับทีมนำร่องไม่กี่คนหรือเป็ น โปรเจกต์เล็ก ๆ เสียก่อน เพราะสภาพแวดล้อมที่ควบคุม แก้ไข ใครเป็ นผู้รับผิดชอบที่เกี่ยวข้อง กระบวนการ ได้จะป้ องกันความเสียหายที่เกิดขึ้นไม่ให้ส่งผลกระทบไป ทั้งบริษัท ค้นหาข้อมูลคืออะไร กระบวนการแก้ไขคืออะไร โดย เฉพาะระบุตัวชี้วัด เช่น KPIs หรือ OKR ที่ชัดเจน แล้ว ทำออกมาเป็ นแผนการดำเนิ นงาน (Action Plan) ซึ่ง PD สามารถปรับเปลี่ยนได้ตามความเหมาะสม CA ถ้าการปฏิบัติแผนดังกล่าวประสบความสำเร็จเป็ นอย่างดี ก็ เมื่อดำเนิ นการมาถึงจุดหนึ่ งแล้ว เราจะต้องตรวจสอบให้ได้ว่า ถึงเวลานำแผนนั้ นมาประยุกต์ใช้กับทุกคนองค์กร ผ่านการ แผนดังกล่าวมีผลลัพธ์เป็ นไปตามตัวชี้วัดที่ต้องการหรือไม่ ถ้าประสบความสำเร็จตามตัวชี้วัด ก็สามารถดำเนิ นการไปสู่ ประกาศ ประชุม อีเมล หรือการจัดการอบรมภายในบริษัท ขั้นตอนสุดท้ายได้เลย แต่ถ้าไม่ประสบความสำเร็จ ก็ควรนำ ข้อมูลที่ได้มาวิเคราะห์หาสาเหตุของปั ญหา แล้วดำเนิ นการขั้น เพื่อสร้างการเปลี่ยนแปลงจนเกิดตามมาตรฐานใหม่ ตอนที่ 1 – 3 ใหม่จนกว่าจะประสบความสำเร็จหรือผ่านตัวชี้ วัดที่กำหนดไว้ ทั้งนี้ อย่าลืมว่า PDCA เป็ นกระบวนการที่ทำซ้ำได้ ไม่ใช่ C – Check ประเมินและสรุ ปผล สำเร็จแล้วจะหยุดเลยทันที ทางที่ดีเราควรต่อยอดแผนใหม่ ภายใต้ความคิดว่า “จะต้องดีกว่าเดิมเสมอ” และมองหาวิธี ใหม่ ๆ เพื่อปรับปรุ งพัฒนาองค์กรไปเรื่อย ๆ อย่างไม่มีวัน A – Act ปรับปรุ งแก้ไขและ หยุด วางแผนใหม่ต่อไป

1 2 เมื่อไหร่จึงจะใช้ผังก้าง ผังก้างปลา ปลา 1. เมื่อต้องการค้นหาสาเหตุของปัญหา ซึ่ง ผังก้างปลา (fishbone diagram) เป็นผังที่ ปัญหาหนึ่งอาจมีปัจจัยหรือสาเหตุที่ แสดงถึงความสัมพันธ์ระหว่างปัญหากับสาเหตุ เกี่ยวข้องหลายปัจจัย ของปัญหาทั้งหมด ชื่อเรียกผังก้างปลานี้ เนื่องจากเป็นผังที่มีลักษณะคล้ายปลาที่ประกอบ 2. เมื่อต้องการใช้ระดมความคิด เพื่อให้ ด้วย หัวปลา โครงร่างกระดูกแกนกลาง และก้าง ปลา โดยระบุปัญหาที่หัวปลา ระบุสาเหตุหลักของ สมาชิกของกลุ่มร่วมกันหาสาเหตุของปัญหา ปัญหาเป็นลูกศรเข้าสู่กระดูกแกนกลางและระบุ ที่ระบุไว้ที่หัวปลา 3 สาเหตุย่อยที่เป็นไปได้ที่ส่งผลกระทบให้เกิด ปัญหานั้นเป็นลูกศรเข้าสู่สาเหตุหลัก นอกจากนี้ สรุ ปเนื้ อหา วิธีการสร้างผังก้างปลา ผังก้างปลามีชื่อเรียกอีกชื่อหนึ่งว่า แผนผังอิชิกา แผนภูมิก้างปลา 1.กำหนดหรือเขียนปั ญหาที่หัวปลาทางด้านขวาของแผนภาพควรกำหนดให้ชัดเจน ว่า (Ishikawa Diagram) (FISH BONE มีความเป็ นไปได้ซึ่งหากเรากำหนดประโยคปั ญหานี้ ไม่ชัดเจนตั้งแต่แรกจะทำให้ DIAGRAM) ต้องใช้เวลามากในการค้นหาสาเหตุและจะใช้เวลานานในการทำผังก้างปลา 2. เขียนสาเหตุหรือปั จจัยหลัก ๆ ซึ่งอาจมีหลายสาเหตุไว้ที่ปลายก้างปลาแต่ละ ก้างโดยสาเหตุหรือปั จจัยนั้ นสามารถที่จะช่วยให้เราแยกแยะและกำหนดสาเหตุ ต่าง ๆ ได้อย่างเป็ นระบบและเป็ นเหตุเป็ นผลซึ่งสาเหตุหรือปั จจัยหลัก ๆ อาจ เปลี่ยนแปลงไปขึ้นกับบริบทของปั ญหา เช่น - 4M 1E (Man Machine Material Method Environment) - 4P (Place Procedure People Policy) - 4S (Surrounding Supplier System Skill) 3. เขียนสาเหตุย่อยต่าง ๆ ที่ก่อให้เกิดผลกระทบในแต่ละสาเหตุหรือปั จจัยหลัก ไว้ที่ก้างปลาย่อยหากมีสาเหตุย่อยๆอีกก็จะเขียนไว้ที่ก้างปลาย่อยที่เกี่ยวข้องโดย อาจใช้คำถามทำไม หลาย ๆ ครั้ง ในการเขียนแต่ละก้างปลาย่อย 4. เมื่อสิ้นสุดคำถามแล้ว จึงขยับไปที่ก้างต่อ ๆ ไปจนกว่าจะได้ผังก้างปลาที่ สมบูรณ์ 5. เมื่อทำผังก้างปลาเรียบร้อยแล้วก่อนที่จะนำผังก้างปลาไปใช้ประโยชน์ ต่อไป ควรตรวจทานดูว่าการเขียนเหตุผลบนผังมีความสั มพันธ์กันหรือไม่โดยให้ ทดลอง อ่านจากก้างที่ เล็กที่ สุ ดไปยังก้างที่ ใหญ่ที่ สุ ดจนกระทั่ งถึงหั วปลา

สรุปเนื้อหา แผนภูมิระบบ/แผนภูมิ ต้นไม้(Systemic Diagram/Tree ข้อดีของ Tree Diagrams Related Ideas 1.กำหนดหัวข้อ (เป้าหมายหรือ วัตถุประสงค์) 1. ทำให้มีกลยุทธ์สำหรับแก้ปัญหาเป็น 2.ระดมสมองโดยใช้เทคนิคบัตรความ ระบบ มีเหตุมีผล ทำให้รายการที่ คิด เพื่อให้ได้วิธีการ มาตรการ สำคัญอันใดอันหนึ่งไม่ตกหล่นไป 3.รวบรวมหลายๆ วิธีการ (ใบ) ที่มี 2. ทำให้การตกลงภายในสมาชิกกลุ่ม ลักษณะร่วมกันให้อยู่ด้วยกัน สะดวกขึ้น 4.รวบรวมหล่ายๆ มาตรการ (สาขา) ที่มี 3. สร้างความมั่นใจในกลยุทธ์ให้แก่ ลักษณะร่วมกันให้อยู่ด้วยกัน สมาชิกของกลุ่ม 5.จัดเรียงให้มีรูปร่างคล้ายกับต้นไม้ โดยมีเป้ าหมาย


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook