Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore moodle 3.2 2018 all

moodle 3.2 2018 all

Published by computerbsru, 2018-06-18 21:41:13

Description: moodle 3.2 2018 all

Search

Read the Text Version

E-learning by Moodle 3.2 manual for teacher สำนักคอมพวิ เตอร์ มหำวทิ ยำลัยรำชภัฏบ้ำนสมเดจ็ เจ้ำพระยำ

สำรบญั หน้ำเรอ่ื ง 1 31. แนะนำ Moodle 3 5 1.1 Moodle คอื อะไร 72. กำรขอเปดิ รำยวิชำ และขอสิทธใ์ิ นกำรเข้ำใชร้ ะบบ 83. กำรเข้ำสู่ระบบ (Log in) และออกจำกระบบ (Log Out) 94. กำรแก้ไขข้อมูลสว่ นตวั 105. กำรแก้ไข/เปลี่ยนรหัสผำ่ น 116. กำรจดั กำรระบบ 147. กำรต้งั ค่ำ เพอื่ นำนสิ ติ นักศึกษำเข้ำสู่บทเรียน 148. กำรต้ังคำ่ Enrolled Users เพ่ือเพมิ่ ผชู้ ่วยสอนในรำยวชิ ำเดยี วกัน 159. กำรจดั กำร Block เพ่มิ /ลบ สำหรบั กำรทำงำน10. กำรสร้ำงหวั ข้อเนื้อหำ และกำรเพิ่มเน้ือหำจำกแหลง่ ข้อมูลต่ำง ๆ ในรำยวชิ ำ 18 19 10.1 กำรสรำ้ งหัวข้อเน้ือหำ 20 10.2 กำรเพ่ิมเนื้อหำแบบแหลง่ ข้อมูลหรอื ไฟลข์ ้อมลู 21 เช่น ไฟล์ word ,PDF ,Power point ฯลฯ 23 10.3 กำรเพ่ิมเนอ้ื หำแบบ โฟลเดอร์ (Folder) 25 10.4 กำรเพิ่มเนอ้ื หำแบบปำ้ ยข้อมูล Label 26 10.5 กำรเพ่ิม VDO จำก YouTube 2911. กำรสรำ้ งกิจกรรม Activity 30 11.1 กำรเพิ่มกระดำนเสวนำ Forum 32 11.2 กำรมอบหมำยงำน Assignment 34 11.3 กำรตรวจงำน / กำรบ้ำน 36 11.4 กำรเพิ่มกจิ กรรมแบบทดสอบ 38 11.5 กำรสร้ำงข้อสอบรูปแบบตำ่ ง ๆ - ขอ้ สอบแบบหลำยตัวเลอื ก Multiple choice - ขอ้ สอบแบบเติมคำ Embedded answers (Cloze) - ข้อสอบแบบจบั คู่ Matching - ข้อสอบแบบถูกผดิ True/False - ขอ้ สอบแบบอัตนัย Short answer

สำรบัญ (ตอ่ ) หนำ้เรอื่ ง 40 กำรสร้ำงคำถำมจำกภำยนอก Import 41 41 - รูปแบบกำรสร้ำงคำถำมแบบปรนยั Gift format 41 - รูปแบบกำรสร้ำงคำถำมแบบถกู -ผดิ Gift format 41 - รปู แบบกำรสร้ำงคำถำมแบบจับคู่ Gift format 42 - รปู แบบกำรสร้ำงคำถำมแบบเติมคำ Gift format 42 กำรนำข้อสอบเขำ้ สรู ะบบ (Import) 43 - กำรสร้ำงหัวข้อเนื้อหำ “แบบทดสอบ” 46 - กำรสรำ้ งหวั ข้อยอ่ ยรำยละเอียดเน้ือหำ ทจ่ี ะอยภู่ ำยใต้ หัวขอ้ “แบบทดสอบ” 50 - กำรนำเข้ำไฟล์แบบทดสอบ .txt 53 - ขั้นตอนสุดท้ำยของกำรนำเข้ำข้อสอบ 54 - ผลลัพธ์ทไี่ ด้จำกกำรทำแบบทดสอบ 5612. กำรจัดทำแบนเนอร์เนื้อหำ โดยใช้ Microsoft power point 2010 5813. กำรนำสอ่ื วดี ิโอในจำกแหล่งต่ำง ๆ เช่น YouTube 6314. กำรใช้ Google Map สำรวจสถำนท่ี 6415. กำรใช้ อภิธำนศพั ท์ 6616. กำรใช้ โพลล์ 6717. กำรใช้ ห้องสนทนำ18. กำรสำรองข้อมูล (Backup File)

1. แนะนำ Moodle 1.1 Moodle คอื อะไร Moodle ย่อมาจาก Modular Object Oriented Dynamic Learning Environment คือ ระบบจัดการเรยี นการสอนในระบบออนไลน์ให้มีบรรยากาศเหมือนเรียนในห้องเรียน หรือ เรียกว่า LMS (LearningManagement System) หรือระบบบริหารจัดการหลักสูตร CMS (Course Management System) ผ่านระบบเครือข่ายอินเตอร์เน็ต อินทราเน็ต สาหรับสถาบันการศึกษา หรือครูใช้เพ่ือเตรียมแหล่งข้อมูล กิจกรรมและเผยแพรแ่ บบออนไลนผ์ า่ น อินเทอรเ์ นต็ หรืออนิ ทราเน็ต ในระบบน้อี าจารย์ผูส้ อนสามารถท่ีจะจัดการกับโครงสร้างหลักสูตรได้อย่างเต็มท่ี รวมทั้งอาจารย์ท่านอนื่ ท่ีอยใู่ นหลักสตู รเดยี วกัน การเขียนโครงสร้างของหลักสูตรสามารถ กาหนดให้เรียนเป็นรูปแบบรายสัปดาห์หรือเป็นแบบไม่กาหนดผู้เรียนเลือกเรียนได้เองการ จัดการในเนื้อหารายวิชามีความยืดหยุ่นสูง สามารถท่ีจะปรับเปล่ียนให้มีกิจกรรม ในแต่ละสัปดาห์ของหลักสูตรเช่น การสอบ (Quizzes) กระทู้ในเนื้อหาประจา(Forums) การบ้าน (Assignments) Glossaries, Resources, Choices, Surveys, Chats, Workshopsการใช้งานใน พ้ืนที่ของการเขียนเน้ือหาการโพสต์ข้อความใน Forums เคร่ืองมือจะมีรูปแบบ จะเป็นWYSIWYG HTML Moodle เป็น Open Source ภายใต้ข้อตกลงของ gnu.org (General Public License) สามารถdownload ได้ฟรีจาก http://moodle.org ผู้พัฒนาโปรแกรมคือ Martin Dougiamas ซึ่งมีฟังก์ชันการทางานสาหรบั อาจารย์ผู้สอน ไดแ้ ก่ 1) โมดูลกำรบำ้ น (Assignment Module) อาจารย์ผู้สอนสามารถที่จะกาหนดระยะเวลา ส่งการบ้านได้ถ้าเลยกาหนดแล้วจะยังรับอีกหรือไม่สามารถให้คะแนนในส่วนของการบ้านไดผ้ ู้เรยี นสามารถสง่ การบ้านในรูปของ ไฟล์อะไรก็ได้ผู้สอนสามารถท่ีจะสง่ คาแนะนากลับไปให้ผู้เรยี นหลังจากตรวจการบ้าน ทางอีเมลเ์ มื่อมีผู้ส่งการบ้านมาอีกทั้งยังกาหนดได้ว่าจะให้มอี ีเมลม์ าเตือนผสู้ อนรวมทง้ั การเลือก ตรวจการบ้านผ้สู อน สามารถรู้ไดว้ า่ มีจานวนผู้สง่ มาแล้วเท่าใด 2) โมดูลสนทนำ (Chat Module) โมดลู การสนทนาจะช่วยทาให้ผู้เรียนสื่อสารกับผู้สอนได้อย่างราบรื่น และยังเห็นรูป ของผู้สนทนาด้วยและเม่ือคลกิ ทร่ี ูปจะสามารถท่ีจะเชอ่ื มโยงไปหาข้อมลู สมาชกิ ไดอ้ ีกทางดว้ ย คู่มอื การใชง้ านระบบ e-learning Moodle 3.2 สาหรบั อาจารยผ์ ู้สอน | เดชอาคม คดเกย้ี ว ฝ่ายบรกิ ารวิชาการไอซที ี สานกั คอมพิวเตอร์ มหาวทิ ยาราชภัฏบา้ นสมเด็จเจา้ พระยา

2 3) โมดูลกระทู้ (Forum Module) เป็นกระดานถามตอบโดยที่แตกต่างจากกระดานถามตอบโดยทั่วไปคือ สามารถกาหนดเป็นรายวชิ าได้ กาหนดใหเ้ ฉพาะอาจารย์ประจาหมวดวิชาน้ัน ๆ ได้หรือจะให้เฉพาะผู้เรียนด้วยกัน ขึ้นอยู่กับความเหมาะสม หรือจะอนุญาตให้บุคคลภายนอกกไ็ ด้เช่นกัน ในโมดูลนี้สามารถใส่รปู ประกอบด้วยได้ 4) โมดลู ขอ้ สอบ (Quiz Module) โมดลู ข้อสอบ ผู้สอนสามารถรว่ มกนั ออกข้อสอบสะสมไว้เป็นฐานข้อมูลได้แล้วเลือก มาใช้การสอบกาหนดให้สุ่มเลือกมาเป็นบางข้อได้การสอบกาหนดให้เข้ามาสอบตาม กาหนดเวลาหรือไม่ก็ได้ส่วนเวลาในการสอบกส็ ามารถทีจ่ ะกาหนดเวลาที่ใช้สอบในแต่ละข้อ โดยมีนาฬิกากาหนดสามารถท่ีจะส่งคาตอบพร้อมกันทุกข้อหรือส่งคาตอบที่ละข้อได้การนาเข้าข้อสอบสามารถนาเข้าจากไฟล์เอกสารได้โดยมีมาตรฐานบอกไว้จึงสามารถนาเข้า ข้อสอบหรือแลกเปล่ียนข้อสอบกับผู้สอนท่านอ่ืนได้รูปแบบของข้อสอบมีทั้งข้อสอบแบบปรนัยคาถามถูกผิด คาถามอัตนัย คาถามเติมคาตอบด้วยตัวเลข หรือเติมคาในช่องว่าง คาถาม คานวณ คาถามจับคู่คาถามแบบเติมคาในชอ่ งว่าง 5) โมดลู แหล่งขอ้ มูล (Resource Module) ในส่วนเน้ือหาหรือบทเรยี น สามารถทจี่ ะเพิม่ เนื้อหาจากแหล่งตา่ ง ๆ ได้ เช่น จากเว็บ เพจจากไฟล์Word, PowerPoint, Flash, Video, Soundsไฟล์ต่าง ๆ สามารถท่ีจะอัพโหลด จาก zip ไฟล์แล้ว unzipโดยที่ควบคมุ จากระบบไดก้ ารจัดการไฟลส์ ามารถทจี่ ะลบออก สรปุ ว่าโมดลู นี้ Moodle รองรับไฟล์ทุกประเภท 6) โมดลู แบบสำรวจ (Survey Module) โมดูลน้ีเตรียมคาถามไว้ 24 ข้อ เพ่ือสารวจความคิดเห็น ของการเรียนของนักเรียนต่อ บทเรียนหรอื ส่ือตา่ ง ๆ ที่ผู้สอนเตรียมไวส้ ามารถโหลดผลของแบบสารวจออกมาเปน็ รายงาน ในรปู ของ Excel File ได้ ค่มู อื การใช้งานระบบ e-learning Moodle 3.2 สาหรับอาจารย์ผสู้ อน | เดชอาคม คดเกี้ยว ฝา่ ยบรกิ ารวชิ าการไอซีที สานักคอมพวิ เตอร์ มหาวิทยาราชภฏั บ้านสมเดจ็ เจ้าพระยา

32. กำรขอเปิดรำยวชิ ำ และขอสิทธ์ใิ นกำรเข้ำใช้ระบบ การเข้าสู่ระบบในครั้งแรก ท่านจะยังไม่สามารถสร้างรายวิชาได้ ฉะนั้นเพ่ือให้ง่ายต่อการดูแลสาหรับAdmin และเปน็ จัดระบบอีเลริ ์นนงิ ในการเพ่มิ รายวชิ า สานกั คอมพิวเตอรจ์ งึ ได้ขอใหท้ ่านดาเนินการ ดงั น้ี 2.1 เขา้ เวบ็ ไซต์ http://elearning.bsru.ac.th 2.2 คลิก “แบบฟอร์มขอเปิดรายวิชาในระบบการจัดการเรียนการสอนออนไลน์ (Moodle) สาหรับอาจารยภ์ ายใน มบส.” ซึง่ จะเปน็ การกรอกข้อมูลออนไลนใ์ นแบบฟอรม์ 2.3 กรอกรายละเอียด ตามหัวข้อให้ครบถ้วน และคลิกปุม่ ยนื ยนั การลงทะเบยี น “Submit” 2.4 สานักคอมพิวเตอร์จะดาเนินการเปิดรายวิชาตามท่ีท่านได้ร้องขอมา พร้อมสร้าง Username และPassword สง่ กลับไปยงั อเี มล์ (e-mail) ของท่าน 2.5 เมื่อท่านได้รับ Username และ Password ในการเข้าใช้งานระบบอีเลิร์นนิงท่านสามารถเข้าไปปรับปรงุ เนอื้ หา พรอ้ มทั้งให้นิสิต นักศึกษาเขา้ ใช้งานในรายวชิ าของท่านได้เลย *หมำยเหตุ* สาหรับท่านใดท่ีมีรายวิชาเดิมของท่านอยู่แล้ว แต่ต้องการเพิ่มรายวิชาใหม่ให้ปฏิบัติตามข้ันตอนเหมือนเดิมทุกข้นั ตอน ทุกครั้งทด่ี าเนินการเสร็จสิน้ จะแจง้ กลับไปยังอเี มลข์ องท่านเสมอ3. กำรเขำ้ สรู่ ะบบ (Log in) และออกจำกระบบ (Log Out) การ Log in เข้าสู่ระบบ การใช้งานระบบการจัดการเรียนการสอนออนไลน์ หรือที่เรียกว่า Moodle LMSสามารถเข้าใช้งานได้ที่เว็บไซต์ http://e-learning.bsru.ac.th โดยผู้ใช้จะต้องมีการ Log in เข้าสู่ระบบก่อนจงึ จะสามารถเข้าระบบอีเลิร์นนงิ ได้ ซง่ึ มขี ้นั ตอนดงั น้ี 3.1 เปิด Browser Google chrome พมิ พ์ http://e-learning.bsru.ac.th ค่มู อื การใชง้ านระบบ e-learning Moodle 3.2 สาหรับอาจารย์ผสู้ อน | เดชอาคม คดเกี้ยว ฝ่ายบริการวิชาการไอซที ี สานักคอมพิวเตอร์ มหาวทิ ยาราชภฏั บ้านสมเดจ็ เจ้าพระยา

43.2 พิมพ์ (Username) และ (Password) ที่สานกั คอมพิวเตอร์กาหนดให้ เพอื่ เข้างานระบบฯ เช่นUsername: detarkom.kh (ชื่อ.นามสกลุ 2 ตวั แรก) *ภาษาอังกฤษ*Password : 123456 (ตามทีส่ านักคอมพิวเตอรก์ าหนดให้) พิมพ์ Username & Password แล้วคลกิ ป่มุ Log in เพื่อเข้าสูร่ ะบบฯ 3.3 คลิก ป่มุ เขา้ สรู่ ะบบ (Log in) จะปรากฏขอ้ มลู ของผใู้ ชง้ านระบบฯ ที่มมุ บนดา้ นขวา ชือ่ ผู้ใชท้ เ่ี ข้าส่รู ะบบเรียบร้อย ในกรณที ่ีทา่ นไม่สามารถ Log in เขา้ ระบบได้ จาเป็นจะต้องตรวจสอบดงั นี้ 1. ระบบอนิ เทอรเ์ น็ต สามารถใช้งานได้หรือไม่ 2. เว็บบราวเซอรท์ ี่คุณใช้ตอ้ งใช้ Google chrome เทา่ นัน้ ** เม่ือตรวจสอบเรียบร้อยแล้ว หากยังไม่สามารถ log in เข้าระบบได้ ติดต่อ สานักคอมพิวเตอร์อาคาร 10 ชั้น 8 โทร 02-473700 ต่อ 1722 กด 109. คู่มือการใช้งานระบบ e-learning Moodle 3.2 สาหรบั อาจารย์ผูส้ อน | เดชอาคม คดเกย้ี ว ฝ่ายบรกิ ารวิชาการไอซที ี สานักคอมพวิ เตอร์ มหาวิทยาราชภฏั บ้านสมเด็จเจ้าพระยา

5 3.4 การออกจากระบบ เม่ือเลกิ ใชง้ าน สามารถออกจากระบบได้โดยคลิกที่ลิงค์ “ออกจากระบบ”ท่ีมีอยู่ 2ตาแหนง่ คือ 1) ทมี่ มุ บนขวาของเว็บเพจ 2) ด้านล่างสุดของเว็บเพจ ขอ้ แนะนำ : หลังจากการใช้งานระบบเสร็จส้ิน ควรจะกดปุ่ม ออกจำกระบบ ทุกครั้งเพ่ือป้องกันมิให้บุคคลอืน่ ไปทาข้อมลู ในรายวิชาของท่านหายไป4. กำรแกไ้ ขขอ้ มลู สว่ นตวั หลังจากท่ีเข้าสู่ระบบในคร้ังแรก ควรจะทาการป้อนข้อมูลส่วนตัวพื้นฐาน เช่น เพ่ิมรูปภาพเข้าสู่ระบบข้อมูลส่วนตัวเหล่าน้ี จะเอ้ือต่อการสร้างสัมพันธภาพและสังคมในการเรียนออนไลน์ การแก้ไขข้อมูลส่วนตัวสามารถปฏบิ ตั ติ ามขัน้ ตอน ดงั น้ี 4.1 ไปทท่ี ่มี ุมบนขวาของเวบ็ เพจ คลิกสญั ลกั ษณ์ แลว้ เลอื ก4.2 จะปรากฏหนา้ ต่าง คลิก คา่ ท่ีตอ้ งการ แก้ไขขอ้ มูลสว่ นตวัคู่มือการใช้งานระบบ e-learning Moodle 3.2 สาหรับอาจารย์ผ้สู อน | เดชอาคม คดเก้ียว ฝ่ายบริการวชิ าการไอซีที สานกั คอมพิวเตอร์ มหาวทิ ยาราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา

6 4.3 จากนั้นใหท้ ่านทาการแกไ้ ขข้อมูลส่วนตัวของท่านตามความเป็นจริงเม่ือกรอกข้อมูลทุกอย่างเรียบร้อยแล้วให้คลกิ ทป่ี ่มุ “อัพเดทประวตั สิ ว่ นตัว” แก้ไขขอ้ มูลสว่ นตวั คลิกเพ่อื ใส่รูปภาพ อัพเดทประวัตสิ ว่ นตัว คู่มือการใชง้ านระบบ e-learning Moodle 3.2 สาหรบั อาจารย์ผสู้ อน | เดชอาคม คดเกีย้ ว ฝ่ายบริการวิชาการไอซีที สานักคอมพิวเตอร์ มหาวทิ ยาราชภัฏบ้านสมเดจ็ เจา้ พระยา

75. กำรแก้ไข/เปลี่ยนรหสั ผ่ำน หลังจากที่เข้าสู่ระบบในคร้ังแรก ควรจะทาการป้อนข้อมูลส่วนตัวพื้นฐาน และเปล่ียนรหัสผ่านทุกเดือนการแกไ้ ข/เปลี่ยนรหัสผ่าน สามารถปฏบิ ัติตามขั้นตอน ดงั นี้ 5.1 ไปทที่ มี่ มุ บนขวาของเว็บเพจ คลกิ สญั ลักษณ์ แล้วเลอื ก5.2 จะปรากฏหนา้ ต่าง คลิก ค่าทีต่ ้องการ เปลย่ี นรหัสผ่าน 5.3 จากนั้นให้ท่านทาการแก้ไข/เปลี่ยนรหัสผ่าน ตามความต้องการ เมื่อกรอกข้อมูลทุกอย่างเรียบร้อยแล้วใหค้ ลิกทีป่ ุ่ม “บนั ทกึ กำรเปลีย่ นแปลง”บันทึกกำรเปลย่ี นแปลง ค่มู อื การใชง้ านระบบ e-learning Moodle 3.2 สาหรบั อาจารย์ผสู้ อน | เดชอาคม คดเก้ยี ว ฝ่ายบรกิ ารวิชาการไอซที ี สานักคอมพวิ เตอร์ มหาวิทยาราชภฏั บา้ นสมเดจ็ เจ้าพระยา

86. กำรจดั กำรระบบ ท่านสามารถจัดการข้อมูลต่าง ๆ ในรายวิชาของท่านได้ โดยเข้าไปที่รายวิชาของท่านก่อน เม่ือเข้าไปในรายวิชาดงั กลา่ วแล้วระบบจะมเี มนู กำรจัดกำรระบบ อยทู่ ่ีด้านล่างซ้ายของหน้าโครงสรา้ งรายวชิ า การจดั การระบบ  เรมิ่ กำรแก้ไขในหน้ำนี้ ใช้สาหรบั ปดิ หรือเปิดการแกไ้ ขหน้าจอโครงสรา้ งรายวชิ า  กำรตั้งคำ่ ใช้สาหรบั กลบั ไปตงั้ คา่ เร่มิ ตน้ หรอื เปลย่ี นแปลงค่าเริ่มตน้ ของรายวิชา  คะแนนท้ังหมด จะแสดงคะแนนของผู้เรียนทั้งหมดแยกตามกิจกรรมทั้งหมดท่ีมีการเก็บคะแนนนอกจากนย้ี ังสามารถดาวน์โหลดคะแนนในรูปแบบไฟล์ Excel ไดด้ ว้ ย  กำรสำรองข้อมูล ใช้สาหรับเก็บหรือบันทึกข้อมูลของระบบในการเข้าใช้งานในแต่ละหลักสูตรเพื่อป้องกันข้อมูลสูญหาย  นำเข้ำ ใช้สาหรับนาเข้ากิจกรรมจากรายวิชาอื่นท่ีเนื้อหาวิชาใกล้เคียงกัน สามารถใช้กิจกรรมร่วมกันไดเ้ ช่น นาเข้าข้อสอบ หรือเน้อื หาหลกั สูตร  รำยงำน ใช้สาหรับเรียกดูรายงาน เช่น ผลบันทึกการใช้งานเว็บไซต์เร่ิมจากช่ัวโมงท่ีผ่านมา รายงานผลกจิ กรรม คูม่ อื การใช้งานระบบ e-learning Moodle 3.2 สาหรบั อาจารย์ผู้สอน | เดชอาคม คดเก้ยี ว ฝ่ายบรกิ ารวิชาการไอซที ี สานักคอมพิวเตอร์ มหาวทิ ยาราชภฏั บา้ นสมเด็จเจ้าพระยา

97. กำรตั้งคำ่ เพอื่ นำนิสิต นกั ศกึ ษำเขำ้ ส่บู ทเรียน การตัง้ คา่ หรอื การอนุญาตให้ นสิ ติ นกั ศกึ ษาเขา้ มาเรียนในรายวิชาท่านอัตโนมัติสามารถตงั้ คา่ ดังนี้ 7.1 ไปที่สมาชิก Enrolment methods Self enrolment (นักเรียน) คลิกสัญลักษณ์เปิดตา จากสถานะทป่ี ดิ อยู่เพ่อื ใหผ้ ู้ท่เี ขา้ มาเรียนมองเห็นรายวชิ า และเขา้ มาเรียนได้อตั โนมัติEnrolment methods Self enrolment (นักเรยี น) สญั ลักษณส์ ถานะปิด สัญลกั ษณส์ ถานะถกู เปดิ 7.2 การกาหนดผูเ้ รยี นเฉพาะกลมุ่ เชน่ หมเู่ รยี น ใหม้ าเรียน ทางาน และส่งการบ้าน ในรายวิชาของท่านดงั น้ี 1) ไปที่ Enrolled Users Enrol UsersEnrolled Users Enrol Usersคมู่ ือการใช้งานระบบ e-learning Moodle 3.2 สาหรับอาจารยผ์ ูส้ อน | เดชอาคม คดเกย้ี ว ฝา่ ยบรกิ ารวิชาการไอซที ี สานกั คอมพวิ เตอร์ มหาวทิ ยาราชภฏั บ้านสมเดจ็ เจา้ พระยา

10 2) จะปรากฏหน้าต่าง อาจารย์และนักเรียน ที่มีอยู่ในระบบข้ึนมา โดยให้เลือกสถานะเป็นนักเรียนในช่อง Assign roles ผู้สอนสามารถเลือกนักเรียนเฉพาะหมู่เรียนได้โดยการ Search ช่ือในช่องค้นหาด้านล่าง เมือ่ เจอชอ่ื นกั เรยี นแลว้ คลิกปุ่ม Enrol รายชื่อทที่ าการคัดเลือกมาก็จะมาอยู่ในรายวิชาของท่าน ซ่ึงวิธีน้ีเหมาะกับการจดั กลุ่มเรยี น 1. เลือกสถานะ นักเรยี น2. ค้นหารายช่อื นักเรยี น 3. นารายชอ่ื นกั เรยี นเขา้ กลุ่ม คลกิ ป่มุ Enrol 4. คลิกป่มุ “Finish enrolling users”8. กำรตั้งค่ำ Enrolled Users เพื่อเพม่ิ ผ้ชู ่วยสอนในรำยวิชำเดียวกนั 8.1 การต้ังคา่ ในระบบเพอ่ื เพิม่ ผชู้ ว่ ยสอนในรายวิชาเดียวกัน เช่น วิชาการคิดการตัดสินใจ มีผู้สอนร่วมกันในรายวิชา 2 ท่านสามารถเพ่ิมผูส้ อนได้ ดังน้ี 1) ไปท่ี Enrolled Users Enrol UsersEnrolled Users Enrol Usersคู่มือการใชง้ านระบบ e-learning Moodle 3.2 สาหรบั อาจารย์ผสู้ อน | เดชอาคม คดเกีย้ ว ฝ่ายบรกิ ารวิชาการไอซที ี สานักคอมพิวเตอร์ มหาวทิ ยาราชภฏั บ้านสมเด็จเจา้ พระยา

11 2) จะปรากฏหน้าต่าง อาจารย์และนักเรียน ที่มีอยู่ในระบบขึ้นมา โดยให้เลือกสถานะเป็น อำจำรย์ในช่อง Assign roles ผู้สอนสามารถเลือกอาจารย์เฉพาะหมู่เรียนได้โดยการ Search ช่ือในช่องค้นหาด้านล่าง เม่ือเจอช่ืออาจารย์แล้วคลิกปุ่ม Enrol รายชื่อที่ทาการคัดเลือกมาก็จะมีสิทธ์ิสอนในรายวิชาเดยี วกนั เลือกสถานะ อำจำรย์ ค้นหารายชื่ออาจารย์ นารายช่ืออาจารยเ์ ป็น ผชู้ ว่ ยสอน คลิกปุ่ม Enrol 4. คลิกปุม่ “Finish enrolling users”9. กำรจดั กำร Block เพ่มิ /ลบ สำหรบั กำรทำงำน บล็อก (block) เป็นคารวมมาจากคาว่า เว็บบล็อก (we block) โดยปกติจะประกอบด้วยข้อความภาพ ลิงค์ ซึ่งบางครั้งจะรวมส่ือต่าง ๆ ไม่ว่า เพลง หรือวิดีโอในหลายรูปแบบได้ จุดท่ีแตกต่างของบล็อกกับเว็บไซต์โดยปกติคือ บล็อกจะเปิดให้ผู้เข้ามาอ่านข้อมูล สามารถแสดงความคิดเห็นต่อท้ายข้อความท่ีเจ้าของบล็อกเปน็ คนเขยี น ซง่ึ ทาให้ผู้เขียนสามารถได้ผลตอบกลบั โดยทันที บล็อกเป็นเว็บไซต์ที่มีเนื้อหาหลากหลายข้ึนอยู่กับเจ้าของบล็อก โดยสามารถใช้เป็นเคร่ืองมือสื่อสารการประกาศข่าวสาร การแสดงความคิดเห็น การเผยแพร่ผลงาน ในหลายด้านไม่ว่า อาหาร การเมืองเทคโนโลยี หรือข่าวปัจจุบัน นอกจากน้ีบล็อกที่ถูกเขียนเฉพาะเร่ืองส่วนตัวหรือจะเรียกว่าไดอารีออนไลน์ ซึ่งท่านสามารถสร้าง Block สว่ นตัวได้ ดังน้ี คมู่ ือการใชง้ านระบบ e-learning Moodle 3.2 สาหรับอาจารยผ์ ู้สอน | เดชอาคม คดเกี้ยว ฝ่ายบริการวิชาการไอซีที สานกั คอมพวิ เตอร์ มหาวทิ ยาราชภฏั บ้านสมเดจ็ เจา้ พระยา

129.1 โดยคลิกปมุ่ “เรม่ิ กำรแกไ้ ขในหน้ำนี้” ซ่งึ มีดว้ ยกัน 2 จดุ คอื 1) ที่อย่มู มุ บนขวา “เริม่ การแกไ้ ขในหน้าน”ี้2) แถบเมนูดา้ นซ้ายมอื “เริม่ การแกไ้ ขในหน้าน”ี้ 9.2 เม่ือกดปุม่ “เริม่ กำรแกไ้ ขในหนำ้ น้ี” เรยี บร้อย 1) จะแสดงกล่องข้อความ เพ่มิ บล็อค มุมซ้ายลา่ ง 2) เมื่อกดช่องที่เราต้องการ เพิ่ม (สัญลักษณ์ สามเหลี่ยมเล็ก) จะปรากฏรายการกิจกรรมท่ีเราต้องการเพิม่ “เพิ่ม” เพ่ือเพิ่มกจิ กรรม ค่มู ือการใช้งานระบบ e-learning Moodle 3.2 สาหรบั อาจารยผ์ สู้ อน | เดชอาคม คดเกีย้ ว ฝา่ ยบริการวชิ าการไอซีที สานกั คอมพวิ เตอร์ มหาวทิ ยาราชภฏั บา้ นสมเด็จเจา้ พระยา

13 9.3 เชน่ เราต้องการเพ่ิมรายละเอียดส่วนตัว ให้ทาการ Add HTML เสร็จกดสัญลักษณ์ฟันเฟืองเพ่ือตง้ั ค่า การทางานของบล็อค “ตั่งค่าการทางานของบลอ็ ค” 9.4 จะปรากฏหน้าการตั้งค่าบล็อค พร้อมกับพิมพ์รายละเอียดส่วนตัวเพื่อแนะนาตัวเองในรายวิชา เม่ือพิมพ์รายละเอียดเรียบร้อย กดปุม่ “บันทึกกำรเปลี่ยนแปลง” “รายละเอยี ดแนะนาตวั ” ประกอบดว้ ย ชอ่ื , อเี มล,์ FB, เบอรโ์ ทรศัพทต์ ิดต่อ“บนั ทึกกำรเปล่ียนแปลง”9.5 เมอ่ื กดปมุ่ “บันทึกกำรเปลี่ยนแปลง” เรียบร้อยจะปรากฏรายละเอียดส่วนตัว พร้อมกับกดปุ่ม “ปิดกำรแกไ้ ขในหนำ้ นี้” เพ่ือแสดงข้อมลู ท่ีปรับเปลีย่ นเรียบรอ้ ยแลว้ “ปดิ กำรแกไ้ ขในหน้ำนี้”ค่มู ือการใชง้ านระบบ e-learning Moodle 3.2 สาหรบั อาจารย์ผสู้ อน | เดชอาคม คดเกย้ี ว ฝา่ ยบริการวชิ าการไอซที ี สานกั คอมพวิ เตอร์ มหาวทิ ยาราชภฏั บ้านสมเดจ็ เจา้ พระยา

1410. กำรสรำ้ งหวั ข้อเน้อื หำ และกำรเพิม่ เนอ้ื หำจำกแหล่งข้อมูลตำ่ ง ๆ ในรำยวชิ ำ การเพิ่มเนื้อหาหรือบทเรียน สามารถท่ีจะเพิ่มเน้ือหาจากแหล่งต่าง ๆ ได้ เช่น จากเว็บ เพจจากไฟล์Word, PowerPoint, Flash, Video, Sounds ไฟลต์ ่าง ๆ ดังนี้10.1 กำรสรำ้ งหัวขอ้ เน้อื หำ1) กดปุ่ม “เร่มิ กำรแกไ้ ขในหนำ้ นี้”2) กดสัญลักษณ์ เพ่ือ ตั้งคา่ หรือพิมพ์ขอ้ ความของรายวิชา กดสัญลกั ษณ์ “ ” แลว้ คลิก Edit topic เพอื่ พมิ พ์หัวข้อเนอื้ หา 3) จะปรากฏหน้าต่าง พิมพ์หัวข้อเนื้อหา โดยให้คลิกเครื่องหมาย ออกในส่วน Use defaultsection name (ถา้ ไม่คลกิ เคร่อื งหมาย ออกจะไมส่ ามารถพิมพ์หวั ข้อเน้ือหาได)้ คลิก “” ออก แลว้ พิมพห์ ัวขอ้ เนอ้ื หา4) พิมพ์รายละเอียดหวั ข้อ เรยี บร้อยแล้ว กดปุ่ม “บันทกึ กำรเปลี่ยนแปลง” “พมิ พร์ ายละเอยี ดหวั ข้อ” “บนั ทกึ กำรเปลย่ี นแปลง” ค่มู อื การใช้งานระบบ e-learning Moodle 3.2 สาหรับอาจารยผ์ ้สู อน | เดชอาคม คดเก้ยี ว ฝา่ ยบรกิ ารวิชาการไอซีที สานกั คอมพิวเตอร์ มหาวทิ ยาราชภัฏบา้ นสมเดจ็ เจา้ พระยา

155) เมื่อกดปุ่ม “บันทึกกำรเปลี่ยนแปลง” เรียบร้อยจะปรากฏรายละเอียดส่วนตัว พร้อมกับกดปุ่ม“ปิดกำรแกไ้ ขในหนำ้ น้ี” เพื่อแสดงขอ้ มูลทป่ี รบั เปลยี่ นเรียบร้อยแล้ว “ปดิ กำรแก้ไขในหนำ้ น้ี” 6) จะปรากฏหนา้ ต่าง หัวขอ้ เนือ้ หาท่ีเพ่มิ เติมเรยี บรอ้ ย “หัวขอ้ เนอ้ื หา” ทเี่ พมิ่ เตมิ เรียบร้อย10.2 กำรเพ่ิมเน้ือหำแบบแหลง่ ขอ้ มูลหรอื ไฟลข์ ้อมูล เชน่ ไฟล์ word ,PDF ,Power point ฯลฯ 1) กดปุ่ม “เร่ิมกำรแก้ไขในหนำ้ นี้” 2) คลกิ Add an activity or resource เพอื่ นาข้อมลู มาใส่ตามหัวข้อเนือ้ หาทีเ่ ราไดต้ ้งั ไว้ “เพม่ิ กจิ กรรมหรือแหลง่ ข้อมูล” เพ่มิ กิจกรรมการเรียนการสอน เพิ่มคาสั่งใบงาน สือ่ การสอน สง่ งานผา่ นเวบ็ ไซต์ แบบทดสอบ และอ่นื ๆ คู่มอื การใชง้ านระบบ e-learning Moodle 3.2 สาหรับอาจารยผ์ สู้ อน | เดชอาคม คดเก้ียว ฝ่ายบริการวชิ าการไอซีที สานักคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาราชภัฏบ้านสมเดจ็ เจ้าพระยา

16 3) อาจารย์ผู้สอนต้องเพ่ิมเน้ือหารายวิชาเข้าไปในรายวิชาท่ีจะสอน ซึ่งเนื้อหารายวิชาจะมีการเพ่ิมขอ้ มูล 2 สว่ น คือ 1. Activities กิจกรรมต่าง ๆ ในการเรยี นการสอน และ 2. Resource แหล่งข้อมลู คมู่ อื การใช้งานระบบ e-learning Moodle 3.2 สาหรบั อาจารย์ผู้สอน | เดชอาคม คดเกยี้ ว ฝา่ ยบรกิ ารวชิ าการไอซที ี สานักคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาราชภฏั บา้ นสมเดจ็ เจ้าพระยา

174) การนาไฟล์ขอ้ มูลทีเ่ ป็น word , PDF , Power point , Excel ฯลฯ 1) เลอื ก แหล่งข้อมูล 2) คลกิ เพ่ิม5) กดป่มุ add เลอื กไฟลท์ ตี่ ้องการ 3) กรอกชอื่ 4) กรอกคาอธบิ าย 6) ไฟลท์ ่ี upload เข้ามา 7) คลกิ บนั ทกึ และกลบั ไปยังรำยวชิ ำ 8) ผลลพั ธ์คู่มือการใช้งานระบบ e-learning Moodle 3.2 สาหรบั อาจารย์ผสู้ อน | เดชอาคม คดเก้ยี ว ฝ่ายบรกิ ารวิชาการไอซีที สานักคอมพิวเตอร์ มหาวทิ ยาราชภัฏบา้ นสมเด็จเจา้ พระยา

18 10.3 กำรเพิ่มเน้ือหำแบบ โฟลเดอร์ (Folder) เพอ่ื ใหด้ าวนโ์ หลดเอกสาร จะคล้ายกบั การเพิ่มแหล่งข้อมูล แต่สามารถเพิ่มไฟล์เข้าไปใน ใน Folderได้หลายไฟล์ 1) เลอื ก Folder 2) คลิก เพ่ิม 3) กรอกชือ่ 4) กรอกคาอธบิ าย5) กดป่มุ add เลือกไฟลท์ ตี่ ้องการ 6) ไฟล์ท่ี upload เข้ามา 7) คลิก บนั ทึกและกลบั ไปยงั รำยวิชำ 8) ผลลัพธ์คู่มือการใช้งานระบบ e-learning Moodle 3.2 สาหรบั อาจารย์ผ้สู อน | เดชอาคม คดเกยี้ ว ฝ่ายบรกิ ารวิชาการไอซที ี สานกั คอมพวิ เตอร์ มหาวทิ ยาราชภัฏบา้ นสมเดจ็ เจ้าพระยา

1910.4 กำรเพ่มิ เนื้อหำแบบป้ำยข้อมูล Label (ใช้สำหรับกำรประชำสมั พนั ธข์ อ้ มลู ) 1) เลือก Label 2) คลิก เพม่ิ 3) พมิ พ์รายละเอยี ดขอ้ ความ ท่ีต้องการประชาสมั พนั ธ์ 4) คลิก บนั ทกึ และกลบั ไปยังรำยวชิ ำ 5) ผลลัพธ์คู่มือการใชง้ านระบบ e-learning Moodle 3.2 สาหรบั อาจารย์ผู้สอน | เดชอาคม คดเกยี้ ว ฝ่ายบรกิ ารวชิ าการไอซที ี สานักคอมพวิ เตอร์ มหาวิทยาราชภฏั บ้านสมเดจ็ เจ้าพระยา

2010.5 กำรเพิม่ VDO จำก YouTube 1) เลอื ก Page 2) คลิก เพิ่ม 3) พมิ พ์หวั ข้อช่อื วีดิโอ 4) คลิกสญั ลักษณ์รปู โซ่ เพื่อใส่ลิงค์ (Link)5) Copy Link VDO จาก YouTube มาวาง6) คลิกปุ่ม Open in new window 7) คลิก Create Link8) คลิก บันทกึ และกลบั ไปยังรำยวชิ ำคมู่ ือการใช้งานระบบ e-learning Moodle 3.2 สาหรับอาจารย์ผสู้ อน | เดชอาคม คดเกย้ี ว ฝ่ายบรกิ ารวชิ าการไอซที ี สานักคอมพิวเตอร์9) ผลลัพธ์ มหาวทิ ยาราชภฏั บ้านสมเด็จเจ้าพระยา

2111. กำรสร้ำงกจิ กรรม Activity กิจกรรม คือ เคร่ืองมือสาหรับผู้สอนที่ใช้เพ่ือวัดและประเมินประสิทธิภาพของการสอนและเน้ือหาท่ีสร้างจากแหล่งข้อมูล โดยผู้เรียนจะใช้กิจกรรมเป็นช่องทางในการส่ือสารความรู้ความเข้าใจผ่านทางส่ือกิจกรรมซึ่งกจิ กรรมประกอบดว้ ย 11.1 กำรเพ่ิมกระดำนเสวนำ Forum กระดานเสวนา หรือท่ีนิยมเรียกกันว่า Web board สามารถนามาใช้สาหรับเป็นกระดาน ถาม-ตอบปัญหาในการเรียน ใช้เป็นพื้นที่สาหรับการอภิปรายโต้ตอบ การแลกเปลี่ยนความรู้ซึ่งกันและกันระหว่างผู้เรียนกับผู้เรียน การสอดแทรกความรู้เพ่ิมเติมจากผู้สอน การตั้งคาถามจากผู้สอนไปยังผู้เรียน การใช้ Forumกระดานเสวนา ผู้เรียนทุกคนจะเห็นข้อความและข้อมูลต่าง ๆ ท่ีโต้ตอบกันระหว่างผู้สอนกับผู้เรียน หรือระหว่างผ้เู รียนกับผเู้ รียน ทาใหส้ ามารถติดตามหรือสามารถอภิปรายโต้ตอบได้ 1) เลอื ก กระดำนเสวนำ 2) คลิก เพิ่ม 3) กรอกชอ่ื กระดานเสวนา ค่มู อื การใช้งานระบบ e-learning Moodle 3.2 สาหรบั อาจารยผ์ สู้ อน | เดชอาคม คดเก้ียว ฝา่ ยบริการวิชาการไอซีที สานักคอมพวิ เตอร์ มหาวิทยาราชภฏั บ้านสมเด็จเจ้าพระยา

22 5) เลือกขนาดไฟล์สูงสุดทอ่ี นุญาตใหอ้ พั โหลด 6) เลือกจานวนไฟลส์ งู สุดท่จี ะให้แนบได้ 7) คลิก บันทึกและกลบั ไปยงั รำยวิชำ 8) ผลลพั ธ์คู่มอื การใช้งานระบบ e-learning Moodle 3.2 สาหรบั อาจารย์ผู้สอน | เดชอาคม คดเกยี้ ว ฝ่ายบรกิ ารวชิ าการไอซีที สานกั คอมพิวเตอร์ มหาวิทยาราชภฏั บา้ นสมเด็จเจ้าพระยา

23 10.2 กำรมอบหมำยงำน Assignment เมอ่ื ผู้สอนได้สอนเน้ือหาหรือได้กาหนดให้ผู้เรียนได้ศึกษาข้อมูลจากแหล่งข้อมูลต่าง ๆ แล้วอาจจะมีการมอบหมายงานให้ศึกษาค้นคว้า จัดทาเป็นรายงาน หรือจัดทาเป็นสไลด์เพ่ือการนาเสนอระบบก็รองรับการมอบหมายงานหรือท่ีเรียกว่า Assignment ที่สามารถใส่ช่ืองานที่มอบหมาย รายละเอียดของงาน จานวนไฟลท์ ี่จะให้ผู้เรียนส่งได้สูงสดุ กไี่ ฟล์ กาหนดคะแนน ระยะเวลาท่ีจะใหส้ ง่ งาน เป็นตน้ 1) เลอื ก Assignment 2) คลกิ เพ่ิม 3) หัวขอ้ การบา้ น 4) กรอกคาอธบิ าย รายละเอยี ด 5) คลกิ ปุม่ กรณีตอ้ งการแนบไฟล์งาน คมู่ ือการใชง้ านระบบ e-learning Moodle 3.2 สาหรบั อาจารยผ์ ้สู อน | เดชอาคม คดเกี้ยว ฝ่ายบริการวิชาการไอซที ี สานกั คอมพิวเตอร์ มหาวทิ ยาราชภฏั บา้ นสมเดจ็ เจ้าพระยา

245) กาหนดวันท่ีเปิดใหผ้ เู้ รยี นเริม่ สง่ การบ้านได้ 6) กาหนดวันที่สุดท้ายทผี่ เู้ รียนจะสามารถ สง่ งานได้ กาหนดส่ง และ Cut-off date คือ การกาหนดวันที่สุดท้ายที่ผู้เรียนจะสามารถส่งงานได้แต่กาหนดส่ง จะยังสามารถส่งงานได้อยู่แต่จะปรากฏข้อความว่าส่งงานล่าช้าเป็นข้อความสีแดง ส่วน Cut-offdate จะไม่สามารถส่งงานได้ หากเลยกาหนดดังกลา่ วแลว้ 7) กาหนดประเภทของการสง่ งาน8) กาหนดจานวนไฟลท์ ีใ่ หส้ ง่ ได้ 9) กาหนดคะแนนทจ่ี ะให้ 10) คลกิ บนั ทกึ และกลบั ไปยงั รำยวิชำ 11) ผลลัพธ์คู่มอื การใช้งานระบบ e-learning Moodle 3.2 สาหรบั อาจารยผ์ สู้ อน | เดชอาคม คดเกี้ยว ฝา่ ยบรกิ ารวิชาการไอซีที สานกั คอมพิวเตอร์ มหาวิทยาราชภฏั บา้ นสมเด็จเจ้าพระยา

2510.3 กำรตรวจงำน / กำรบ้ำน การตรวจการบา้ นทาได้โดยคลิกเขา้ ไปในสว่ นของการบา้ น 1) คลกิ เลือกการบา้ น2) คลิก View all submissions 3) คลิก คะแนนท่ไี ด้ 4) ไฟล์งานทน่ี ิสิต ส่งมา 5) คะแนนท่ไี ด้6) กรอกความคดิ เห็นเกี่ยวกับการบ้าน 7) คลกิ บันทึกกำรเปลย่ี นแปลงคูม่ อื การใชง้ านระบบ e-learning Moodle 3.2 สาหรับอาจารยผ์ ู้สอน | เดชอาคม คดเก้ียว ฝา่ ยบรกิ ารวชิ าการไอซีที สานักคอมพวิ เตอร์ มหาวทิ ยาราชภฏั บ้านสมเด็จเจา้ พระยา

26 8) ผลลัพธค์ ะแนนทไี่ ด้ 10.4 กำรเพม่ิ กิจกรรมแบบทดสอบ การสร้างแบบทดสอบ มี 2 ขั้นตอน ในข้ันตอนที่ 1 สร้างกิจกรรมแบบทดสอบและตั้งค่าตัวเลือกซึ่งกาหนดหลักเกณฑ์สาหรับการสอบ ข้ันตอนที่ 2 การเพิ่มคาถามสาหรับแบบทดสอบ คาถามแต่ละข้อสามารถต้ังค่าได้และสามารถเลือกคาถามแบบเจาะจง หรือจะเลือกแบบสุ่มก็ได้ในแบบทดสอบ การเพิ่มแบบทดสอบสามารถทาได้ดังนี้ 1) เลือก แบบทดสอบ 2) คลกิ เพ่มิ คูม่ อื การใช้งานระบบ e-learning Moodle 3.2 สาหรับอาจารย์ผสู้ อน | เดชอาคม คดเกี้ยว ฝ่ายบรกิ ารวชิ าการไอซีที สานักคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาราชภัฏบ้านสมเดจ็ เจา้ พระยา

27 3) กรอกชอื่ แบบทดสอบ4) คาช้แี จงแบบทดสอบ 5) วัน-เวลา ครั้งแรกทีส่ ามารถทาแบบทดสอบได้ 6) วนั -เวลา ครง้ั สุดทา้ ยท่ี สามารถทาแบบทดสอบได้7) เวลาทใี่ ชท้ าแบบทดสอบ8) จานวนคร้ังที่ให้สอบได้ Review option คือการกาหนดสิ่งที่ต้องการให้แสดงขณะทาแบบทดสอบ และส้ินสุดการทาแบบทดสอบ เช่น คะแนน, Feedback, เฉลย เป็นตน้ คู่มอื การใชง้ านระบบ e-learning Moodle 3.2 สาหรบั อาจารยผ์ ู้สอน | เดชอาคม คดเกี้ยว ฝา่ ยบรกิ ารวิชาการไอซที ี สานกั คอมพวิ เตอร์ มหาวทิ ยาราชภฏั บ้านสมเด็จเจ้าพระยา

289) กาหนดตาแหนง่ ทศนิยม 10) ใสร่ หัสผา่ นในการทาแบบทดสอบ11) พมิ พเ์ ปอรเ์ ซ็นแบง่ อนั ตรภาคชนั้ ตัดเกรด12) พมิ พข์ ้อความตอบกลบั ตามเกณฑท์ ต่ี งั้ ไว้ 13) คลิก บนั ทึกและกลบั ไปยงั รำยวิชำ14) ผลลัพธ์คูม่ อื การใชง้ านระบบ e-learning Moodle 3.2 สาหรบั อาจารย์ผสู้ อน | เดชอาคม คดเกยี้ ว ฝา่ ยบริการวชิ าการไอซที ี สานกั คอมพวิ เตอร์ มหาวิทยาราชภฏั บ้านสมเดจ็ เจา้ พระยา

2910.5 กำรสร้ำงขอ้ สอบรูปแบบต่ำง ๆMoodle จะเป็นลักษณะคลังข้อสอบสามารถสร้างแบบทดสอบได้หลายแบบ ในรายวิชาเดียวกันใน1 รายวิชาจะมีคลงั ขอ้ สอบ 1 คลงั การสอบแตล่ ะครั้งจะต้องเลือกแบบทดสอบจากคลังข้อสอบน้ีไปสอบ ฉะนั้นจึงควรสร้างประเภทของข้อสอบไว้ เพื่อความสะดวกในการเลือกเร่ืองไปสอบอาจจะแบ่งเป็นบทเรียน หรือแบ่งตามวัตถุประสงค์ หรอื แบง่ ตามการสอบกลางภาค ปลายภาค เป็นต้น 1) คลิก “ ” เพือ่ ต้งั คา่ และ คลิก Edit topic เพื่อพิมพ์หวั ข้อ10.5.1 กำรสร้ำงหมวดหมขู่ ้อสอบ 2) คลิก “” ออก แลว้ พิมพ์หัวขอ้ เนอ้ื หา 3) กรอกรายละเอยี ดหวั ขอ้ ” 4) “บนั ทึกกำรเปลยี่ นแปลง” 5) ผลลัพธ์ค่มู อื การใชง้ านระบบ e-learning Moodle 3.2 สาหรบั อาจารย์ผสู้ อน | เดชอาคม คดเกย้ี ว ฝ่ายบริการวิชาการไอซีที สานักคอมพวิ เตอร์ มหาวทิ ยาราชภัฏบา้ นสมเดจ็ เจ้าพระยา

30 การเพ่ิมขอ้ สอบ หลงั จากท่ไี ด้กาหนดค่าแบบทดสอบแล้ว ก็จะเปน็ การเพม่ิ ข้อสอบหรือคาถามสามารถทาได้ 2 วธิ ี วธิ ีแรกการสรา้ งคาถามดว้ ยเครือ่ งมือในการสร้างคาถามจากเว็บไซต์ และวิธีที่สองการสร้างคาถามจากภายนอกโดยใช้โปรแกรม Notepad แล้ว Import เข้าไป วิธีนี้จะสามารถสร้างข้อมูลได้จานวนมากตามที่ตอ้ งการ สะดวกในการแก้ไข มากกว่าวิธีแรก วิธที ่ี 1 สร้ำงข้อสอบดว้ ยเครอ่ื งมอื ในกำรสร้ำงคำถำมจำกเว็บไซต์ 1) ข้อสอบแบบหลำยตัวเลือก Multiple choice สร้างได้โดยไปที่เมนู การจัดการรายวิชา >Question bank 1) เลอื กหมวดหมขู่ อ้ สอบ 2) คลิก Create a new question 3) เลอื ก: แบบปรนัย 4) คลกิ เพ่ิม คูม่ อื การใชง้ านระบบ e-learning Moodle 3.2 สาหรับอาจารยผ์ ้สู อน | เดชอาคม คดเกย้ี ว ฝ่ายบริการวชิ าการไอซที ี สานกั คอมพิวเตอร์ มหาวทิ ยาราชภฏั บา้ นสมเดจ็ เจา้ พระยา

5) เลือกหมวดหมู่ 31 6) ชือ่ คาถาม 7) คาถาม8) คะแนน9) คาตอบเดยี ว หรอื หลายคาตอบ 10) สลบั คาตอบหรอื ตวั เลอื ก11) เลอื กรูปแบบตวั เลอื ก 12) ตัวเลอื กท่ี 1 13) หากขอ้ น้ีถกู กาหนดเป็น 100%หากผิดให้เปน็ ไม่ มี 14) ใส่เหตผุ ลเพราะอะไรคู่มือการใชง้ านระบบ e-learning Moodle 3.2 สาหรับอาจารยผ์ ู้สอน | เดชอาคม คดเกยี้ ว ฝา่ ยบริการวชิ าการไอซที ี สานักคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาราชภฏั บ้านสมเดจ็ เจา้ พระยา

3215) คลกิ บนั ทึกกำรเปลย่ี นแปลง 16) ผลลัพธ์ ขอ้ สอบจะแสดงในคลงั ขอ้ สอบ2) ขอ้ สอบแบบเติมคำ Embedded answers (Cloze) 1) เลอื ก Embedded answers (Cloze) 2) คลิก เพิม่ คมู่ อื การใช้งานระบบ e-learning Moodle 3.2 สาหรบั อาจารย์ผู้สอน | เดชอาคม คดเกี้ยว ฝา่ ยบรกิ ารวิชาการไอซที ี สานกั คอมพิวเตอร์ มหาวิทยาราชภัฏบ้านสมเดจ็ เจ้าพระยา

333) เลอื กหมวดหมู่ 4) ช่อื คาถาม / คาสง่ั5) คาถาม พิมพ์ตามรปู แบบ {คะแนน:SHORTANSWER=เชยี งราย} ไม่เว้นวรรค6) คลิก บันทึกกำรเปลยี่ นแปลง 7) ผลลัพธ์ คู่มอื การใชง้ านระบบ e-learning Moodle 3.2 สาหรบั อาจารยผ์ สู้ อน | เดชอาคม คดเก้ยี ว ฝ่ายบรกิ ารวชิ าการไอซที ี สานกั คอมพวิ เตอร์ มหาวทิ ยาราชภัฏบ้านสมเดจ็ เจ้าพระยา

343) ขอ้ สอบแบบจับคู่ Matching 1) เลือก Matching 2) คลิก เพิ่ม 3) เลอื กหมวดหมู่ 4) ชอื่ คาถาม 5) ชื่อสง่ั / คาชแ้ี จง6) คะแนนคู่มอื การใช้งานระบบ e-learning Moodle 3.2 สาหรับอาจารย์ผูส้ อน | เดชอาคม คดเกีย้ ว ฝา่ ยบรกิ ารวิชาการไอซที ี สานักคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาราชภฏั บ้านสมเดจ็ เจา้ พระยา

357) คาถาม 8) คาตอบทีถ่ กู ต้อง 9) คาตอบหลอก10) คลกิ บนั ทกึ กำรเปลย่ี นแปลง 11) ผลลัพธ์ คมู่ อื การใช้งานระบบ e-learning Moodle 3.2 สาหรบั อาจารยผ์ ้สู อน | เดชอาคม คดเกยี้ ว ฝ่ายบรกิ ารวชิ าการไอซีที สานักคอมพิวเตอร์ มหาวทิ ยาราชภัฏบา้ นสมเดจ็ เจ้าพระยา

364) ข้อสอบแบบถูกผดิ True/False 1) เลือก True/False 2) คลกิ เพมิ่ 3) เลือกหมวดหมู่ 4) ชอื่ คาถาม 5) คาวลี 6) คะแนน 7) คาตอบถกู หรอื ผิดคูม่ อื การใช้งานระบบ e-learning Moodle 3.2 สาหรับอาจารย์ผสู้ อน | เดชอาคม คดเก้ยี ว ฝา่ ยบรกิ ารวชิ าการไอซีที สานักคอมพิวเตอร์ มหาวทิ ยาราชภฏั บ้านสมเด็จเจ้าพระยา

37 8) คาชีแ้ จงเม่อื ตอบผิด 9) คาช้แี จงเมื่อตอบถกู ต้อง10) คลิก บันทึกกำรเปล่ียนแปลง 11) ผลลพั ธ์คู่มอื การใชง้ านระบบ e-learning Moodle 3.2 สาหรับอาจารย์ผสู้ อน | เดชอาคม คดเก้ยี ว ฝ่ายบรกิ ารวิชาการไอซีที สานักคอมพวิ เตอร์ มหาวิทยาราชภัฏบ้านสมเดจ็ เจ้าพระยา

385) ขอ้ สอบแบบอัตนยั Short answer 1) เลอื ก Short answer2) คลกิ เพม่ิ 3) เลือกหมวดหมู่ 4) ช่อื คาถาม 5) คาถาม6) คะแนนคู่มอื การใช้งานระบบ e-learning Moodle 3.2 สาหรบั อาจารย์ผสู้ อน | เดชอาคม คดเก้ียว ฝ่ายบรกิ ารวิชาการไอซที ี สานกั คอมพวิ เตอร์ มหาวทิ ยาราชภฏั บ้านสมเด็จเจา้ พระยา

39 7) คาตอบที่เปน็ ไปได/้ ถกู ตอ้ ง 8) กาหนดค่าน้าหนกั คะแนน9) คาช้ีแจงเม่อื ตอบถกู ตอ้ ง10) คาชีแ้ จงเม่อื ตอบผดิ11) คลกิ บนั ทึกกำรเปล่ยี นแปลง 12) ผลลัพธ์ คู่มอื การใช้งานระบบ e-learning Moodle 3.2 สาหรบั อาจารย์ผูส้ อน | เดชอาคม คดเกีย้ ว ฝา่ ยบริการวชิ าการไอซีที สานกั คอมพิวเตอร์ มหาวิทยาราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา

40 วิธีที่ 2 สร้ำงคำถำมจำกภำยนอก Import การสร้างคาถามจากภายนอกโดยใช้โปรแกรม Notepad แล้ว Import เข้าไป วิธีนี้จะสามารถสร้างข้อมูลได้จานวนมากตามที่ต้องการ สะดวกในการแก้ไข มากกว่าวิธีแรก การ Import ข้อสอบเข้าสู่ระบบจะต้องพมิ พข์ อ้ สอบดว้ ยโปรแกรม Notepad ตามรปู แบบท่ี Moodle กาหนดซึ่งมีให้เลอื กหลายรูปแบบ เชน่ - Aiken format - Blackboard - Embedded answers (Cloze) - Exam view - Gift format - Learn wise format - Missing word format - Moodle XML format - WebCT format รูปแบบท่ีแนะนา คือ Gift format เน่ืองจากสามารถสร้างคาถามได้หลายชนิด เช่น ปรนัย(Choice),ถูก-ผิด, จับคู่ , เติมคาในช่องว่าง ฯลฯ โดยเมื่อพิมพ์ข้อสอบด้วย Notepad เสร็จแล้วจะต้อง Save แล้วกำหนด Encoding type เปน็ UTF-8 เพื่อให้การแสดงขอ้ ความภาษาไทยแสดงได้อย่างถูกต้อง Save file โดยเลือก encoding เป็น UTF-8 คูม่ อื การใช้งานระบบ e-learning Moodle 3.2 สาหรบั อาจารยผ์ ้สู อน | เดชอาคม คดเกย้ี ว ฝ่ายบรกิ ารวิชาการไอซที ี สานักคอมพวิ เตอร์ มหาวิทยาราชภัฏบ้านสมเดจ็ เจา้ พระยา

411) รูปแบบกำรสร้ำงคำถำมแบบปรนยั Gift formatคาถามข้อที่ 1 { ปีกกาเปิด~ ตวั เลอื กที่ 1 ~ สาหรบั ตวั เลือกที่ผิด~ ตัวเลือกที่ 2 = สาหรบั ตวั เลอื กท่ีถูก~ ตัวเลอื กที่ 3= ตัวเลอื กที่ 4 } ปกี กาปิดคาถามข้อท่ี 2 {~ ตวั เลือกท่ี 1~ ตัวเลอื กท่ี 2~ ตวั เลอื กท่ี 3= ตัวเลอื กท่ี 4 }2) รูปแบบกำรสร้ำงคำถำมแบบถกู -ผดิ Gift formatประโยคคาถามขอ้ ที่ 1 {T} {T} สาหรบั คาถามท่ีถกูประโยคคาถามขอ้ ท่ี 2 {T} {F} สาหรบั คาถามทผ่ี ิดประโยคคาถามขอ้ ท่ี 3 {F}ประโยคคาถามข้อที่ 4 {F}ประโยคคาถามขอ้ ที่ 5 {T}3) รปู แบบกำรสรำ้ งคำถำมแบบจบั คู่ Gift formatจงจับคู่คาท่มี ีความหมายตรงกนั { ปีกกาเปดิ=January -> มกราคม=February -> กุมภาพนั ธ์=March -> มีนาคม=April -> เมษายน=May -> พฤษภาคม} ปกี กาปิด4) รปู แบบกำรสร้ำงคำถำมแบบเตมิ คำ Gift format Information คือ {=สารสนเทศ} LMS ย่อมาจาก {=Learning Management System} Moodle เปน็ {=open source} *จงึ ไมต่ ้องห่วงเรื่องลิขสทิ ธ*์ิ คู่มือการใช้งานระบบ e-learning Moodle 3.2 สาหรับอาจารยผ์ สู้ อน | เดชอาคม คดเกีย้ ว ฝ่ายบริการวิชาการไอซที ี สานกั คอมพวิ เตอร์ มหาวิทยาราชภัฏบา้ นสมเดจ็ เจา้ พระยา

42 5) กำรนำข้อสอบเข้ำสูระบบ (Import) ซ่ึงมีขั้นตอนดังนี้ สร้างประเภท เพ่ือแยกคาถามออกเป็นบท หรือเป็นเรื่อง ๆ ไป คาถามจะได้ไม่ ปนกัน เวลานามาทดสอบจะได้เลือกคาถามได้ง่าย โดยข้ันตอนการนาเข้ามดี งั น้ี 5.1) การสร้างหัวข้อเน้ือหา “แบบทดสอบ” 1) คลกิ เพอ่ื ตั้งคา่ และ คลิก Edit topic เพอ่ื พมิ พ์หวั ขอ้ 2) คลกิ “” ออก แลว้ พิมพ์หวั ข้อเนื้อหา 3) พมิ พ์รายละเอยี ดหวั ข้อ 4) คลกิ บนั ทกึ กำรเปลีย่ นแปลง 6) ผลลัพธ์ คู่มอื การใช้งานระบบ e-learning Moodle 3.2 สาหรบั อาจารยผ์ ้สู อน | เดชอาคม คดเกีย้ ว ฝา่ ยบริการวิชาการไอซที ี สานักคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาราชภฏั บา้ นสมเดจ็ เจ้าพระยา

435.2) การสรา้ งหวั ข้อย่อยรายละเอียดเน้อื หา ท่จี ะอยภู่ ายใต้ หวั ขอ้ “แบบทดสอบ”7) เลือก แบบทดสอบ8) คลกิ เพิ่ม 9) หัวข้อคาถาม 10) คาชีแ้ จงในการทาแบบฝกึ หดั 11) วัน-เวลา ครง้ั แรกที่สามารถทาแบบทดสอบได้ 12) วนั -เวลา ครัง้ สุดทา้ ยท่สี ามารถทาแบบทดสอบได้13) เวลาท่ใี ชท้ าแบบทดสอบคู่มือการใช้งานระบบ e-learning Moodle 3.2 สาหรับอาจารย์ผูส้ อน | เดชอาคม คดเกย้ี ว ฝ่ายบรกิ ารวิชาการไอซีที สานักคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาราชภฏั บ้านสมเดจ็ เจา้ พระยา

44 14) ระบุจานวนครงั้ ท่ีสอบ Review option คือการกาหนดส่ิงที่ต้องการให้แสดงขณะทาแบบทดสอบ และส้ินสุดการทาแบบทดสอบเชน่ คะแนน, Feedback, เฉลย เปน็ ต้น 15) กาหนดตาแหนง่ ทศนยิ ม 16) ถ้าต้องการกาหนด รหัสผำ่ น ของแบบทดสอบ คู่มอื การใชง้ านระบบ e-learning Moodle 3.2 สาหรับอาจารยผ์ ู้สอน | เดชอาคม คดเกย้ี ว ฝา่ ยบรกิ ารวชิ าการไอซที ี สานักคอมพิวเตอร์ มหาวทิ ยาราชภัฏบา้ นสมเด็จเจา้ พระยา

4517) กาหนดเปอร์เซน็ เพื่อเปน็ เกณฑก์ ารให้คะแนน 18) ระบุข้อความหลังจากทาขอ้ สอบเสรจ็ 19) คลิก บันทึกและกลบั ไปยงั รำยวชิ ำ 20) ผลลัพธ์คู่มือการใช้งานระบบ e-learning Moodle 3.2 สาหรบั อาจารยผ์ สู้ อน | เดชอาคม คดเกยี้ ว ฝา่ ยบรกิ ารวชิ าการไอซที ี สานกั คอมพวิ เตอร์ มหาวทิ ยาราชภัฏบ้านสมเดจ็ เจ้าพระยา

465.3) การนาเข้าไฟลแ์ บบทดสอบ .txt 21) คลิก ปดิ แกไ้ ขในหน้ำนี้22) คลิก หัวขอ้ แบบทดสอบ (หน้าหลกั ) 23) คลกิ แบบทดสอบกอ่ นเรยี นชดุ ที่ 1 ท่อี ยภู่ ายใต้หวั ขอ้ “แบบทดสอบ” 24) จะปรากฏ แบบทดสอบกอ่ นเรียนชดุ ที่ 1 24) คลิก Questions bank เพือ่ จะนาไฟลข์ ้อสอบที่ ทาสาเรจ็ ในรปู แบบ .Gift format เขา้ สู่คลงั ขอ้ สอบคู่มอื การใชง้ านระบบ e-learning Moodle 3.2 สาหรบั อาจารยผ์ ู้สอน | เดชอาคม คดเกยี้ ว ฝ่ายบรกิ ารวชิ าการไอซีที สานกั คอมพวิ เตอร์ มหาวิทยาราชภฏั บา้ นสมเดจ็ เจ้าพระยา

47 24) คลิก แบบทดสอบก่อนเรยี น ชุดที่ 125) คลิก นาเข้าขอ้ สอบ .Gift format 26) เลอื ก .Gift format 27) เลอื ก ไฟลข์ อ้ สอบที่ทาไวแ้ ลว้ .txt 28) ไฟลข์ อ้ สอบนาเข้าแล้ว 29) คลกิ นำเขำ้ คูม่ อื การใช้งานระบบ e-learning Moodle 3.2 สาหรับอาจารย์ผู้สอน | เดชอาคม คดเกีย้ ว ฝา่ ยบรกิ ารวิชาการไอซีที สานกั คอมพิวเตอร์ มหาวิทยาราชภฏั บา้ นสมเด็จเจ้าพระยา


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook