การเล้ียงดูและการสร้างเสริมสขุ ภาพ 6-12 เดอื น 1. ลกู วยั นเ้ี รมิ่ มคี วามวติ กกงั วลตอ่ การแยกจาก จงึ ควรมสี งิ่ ของทลี่ กู ชอบ เชน่ ตกุ๊ ตาหรอื หมอนทช่ี อบ 2. ให้ความสนใจใกลช้ ดิ กบั ลูกมากขึ้นในชว่ งเวลากลางวัน 3. กำ� หนดเวลาเข้านอน และกิจกรรมกอ่ นนอนให้เปน็ กิจวัตรประจ�ำวันท่ีสม�ำ่ เสมอ เช่น แปรง ฟันกอ่ นนอน 4. หลีกเล่ียงการเล่นสนุก หรือตื่นเต้นมากๆ ก่อนนอน หากลูกฝันร้ายหรือร้องกลัวควรเข้าไป ปลอบโยนทันที 5. ถ้าลูกร้องกวนควรรอเวลาให้นานข้นึ กอ่ นจะเข้าไปตอบสนอง 6. ชว่ งทล่ี กู เจบ็ ปว่ ย อาจตอ้ งปลอบโยนหรอื ตอบสนองมากขน้ึ แตถ่ า้ หายแลว้ ควรปฏบิ ตั ติ ามกฎ เกณฑ์เดิม 51
การเล้ยี งดูและการสรา้ งเสริมสุขภาพ การขบั ถา่ ยและการฝกึ ฝน ลูกวยั แรกเกิดยงั ไมส่ ามารถควบคมุ ปสั สาวะได้ จะปสั สาวะโดยเฉลีย่ ช่ัวโมงละ 1 ครั้ง ความถี่จะ ลดลงเล็กน้อยเมื่อลูกอายุยา่ งเขา้ 1 ขวบ และจะสามารถควบคมุ การขับถา่ ยปสั สาวะช่วงกลางวนั ได้เมื่อ อายุ 2-2.5 ขวบ ควบคุมปัสสาวะในตอนกลางคนื ได้เมอื่ อายุ 2.5-3 ขวบ เมื่อลกู อายุ 5 ขวบ การควบคมุ ปัสสาวะจะเริม่ ดขี ้ึนและใกล้เคยี งผูใ้ หญ่ การฝกึ การขบั ถา่ ยควรเรมิ่ ฝกึ เมอ่ื ลกู พรอ้ มหรอื ชว่ งอายปุ ระมาณ 18 เดอื นขนึ้ ไป ไมค่ วรบบี บงั คบั ลูกเพราะจะทำ� ใหล้ กู เกดิ ความกดดนั และวติ กกังวลโดยไมจ่ ำ� เปน็ สัญญาณท่ีจะแสดงใหเ้ หน็ ว่าลกู พรอ้ มในการฝึกการขับถ่าย 1. ลูกสามารถเดนิ ไดค้ ล่องเพ่ือทจี่ ะเข้าห้องนำ้� หรือนั่งกระโถน 2. ลูกนง่ั กระโถนหรือนัง่ ชกั โครกไดอ้ ย่างมั่นคง 3. ลกู สามารถควบคุมปสั สาวะได้ดีพอควรโดยสังเกตจากการไมป่ สั สาวะหา่ งกัน 2-3 ชวั่ โมง 4. ลกู สามารถเขา้ ใจค�ำสั่ง 2 ขัน้ ตอนได้ เช่น ถอดกางเกง แล้วไปเข้าหอ้ งนำ้� เป็นตน้ 5. ลูกสามารถสื่อสารได้ว่าต้องการจะปัสสาวะหรืออุจจาระ อาจเป็นการส่ือสารด้วยค�ำพูดหรือ ใชท้ ่าทาง 6. ลูกให้ความร่วมมือและอยากฝึกบนพ้ืนฐานของความต้องการเป็นตัวของตัวเองซึ่งสอดคล้อง กบั พัฒนาการของลูกวยั นี้ 7. ฝึกภายใต้บรรยากาศและความสมั พนั ธอ์ นั ดีระหว่างพอ่ แม่และลูก ข้นั ตอนในการฝึกลูกขบั ถา่ ย 1. ใชค้ �ำแทนการปัสสาวะหรอื อุจจาระงา่ ยๆ กบั ลกู เช่น ฉี่ อึ กระโถน ส้วม 2. เปดิ โอกาสใหล้ กู ไดม้ สี ว่ นรว่ มในการเลอื กวธิ กี ารฝกึ เชน่ เลอื กวา่ จะนง่ั กระโถนหรอื นงั่ ชกั โครก 3. ในชว่ งตน้ ควรสรา้ งความคนุ้ เคยโดยให้ลูกนั่งกระโถนหรอื สว้ มโดยยังไมต่ ้องถอดเสือ้ ผ้า และ พ่อแม่อาจลองนั่งให้ลูกดูเป็นตัวอย่าง เม่ือคุ้นเคยแล้วเริ่มให้นั่งโดยถอดกางเกงและให้นั่งหลังมื้ออาหาร อยา่ งสมำ�่ เสมอ 4. ให้ก�ำลังใจและแสดงความช่ืนชมเม่ือลูกท�ำได้ อย่าเล็งผลเลิศในทันทีที่ฝึก ไม่คาดคั้นลูกเมื่อ ลกู ทำ� ไมไ่ ด้ การฝึกขบั ถ่ายนน้ั จะไมม่ ีการลงโทษหรือว่ากลา่ วตกั เตอื นท่รี นุ แรง เพราะนอกจากจะไมเ่ กดิ ประโยชน์อันใดแล้วยังก่อให้เกิดโทษ ลูกจะต่อต้านและอาจเกิดปัญหากลั้นปัสสาวะหรือท้องผูกตามมา หากลกู ปฏิเสธควรหยดุ การฝึกไว้ก่อน และเริม่ ฝึกใหม่เมื่อลูกพรอ้ ม 52
การเล้ียงดแู ละการสร้างเสริมสุขภาพ การดูแลฟนั และช่องปาก ฟันนำ้� นมเรมิ่ ข้นึ ทอี่ ายุ 6 เดือนข้ึนไป การดแู ลฟันมีความจ�ำเปน็ เนื่องจากคนเรามฟี ันแค่ 2 ชดุ เท่านั้น ท้งั ชีวิต การทำ� ความสะอาดชอ่ งปาก การแปรงฟนั เปน็ วธิ ที ำ� ความสะอาดฟนั เพอื่ ขจดั แผน่ คราบจลุ นิ ทรยี ท์ เ่ี กาะบนเนอื้ ฟนั และปอ้ งกนั ไม่ให้เกิดโรคฟันผุและเหงือกอักเสบ การแปรงฟันโดยการถูไปมา โดยวางขนแปรงให้ต้ังฉากกับแกน ยาวของฟัน ขนแปรงวางบนตวั ฟันครอบคลุมไปถึงบริเวณชดิ ขอบเหงือก ขยับแปรงถไู ปมาตามแนวราบ เคลื่อนทแ่ี ปรงไปเป็นระยะส้นั ๆ ท�ำเชน่ นีท้ กุ ดา้ นของฟนั การใช้ไหมขัดฟัน เพอ่ื ท�ำความสะอาดซอกฟนั ใชเ้ ม่อื ฟันน้�ำนมข้นึ ชดิ ตดิ กนั เม่ืออายุประมาณ 3-4 ปี ควรใชไ้ หมขดั ฟนั หลงั จากการแปรงฟันก่อนเขา้ นอนวนั ละครั้ง การสร้างแรงจงู ใจให้เด็กแปรงฟัน 1. สรา้ งบรรยากาศทส่ี นกุ และผอ่ นคลายขณะแปรงฟนั โดยพอ่ แมค่ วรแปรงฟนั ไปพรอ้ มๆ กบั ลกู ดว้ ย 2. ให้รางวัลเมือ่ ลกู ใหค้ วามรว่ มมอื ในการแปรงฟนั เช่น ชม หอมแก้ม รอ้ งเพลงหรือเลา่ นิทาน ขณะแปรงฟัน เป็นตน้ 3. ไม่แปรงฟันในขณะทลี่ กู งว่ งนอน เพราะจะไมไ่ ด้รบั ความร่วมมือ การป้องกันการเกิดโรคฟันผใุ นเดก็ เล็ก 1. เลี้ยงด้วยนมแมอ่ ยา่ งเดียวนาน 6 เดอื น 2. อายุ 1-5 เดือน ไม่ปล่อยให้ลูกดูดนมจนหลับไปพร้อมกับขวดนม ฝึกให้กินน้�ำตามหลังการ กนิ นมทุกคร้งั เพอื่ ชำ� ระคราบนมออกจากตัวฟัน เช็ดทำ� ความสะอาดในช่องปากก่อนนอน ไมใ่ ชน้ มทเ่ี ติม นำ�้ ตาลหรอื น้ำ� ผง้ึ เพราะจะทำ� ให้ลกู ติดความหวานและฟันผุ ควรใหก้ นิ นมรสจืด 3. อายุ 6 เดือนให้เลิกนมม้อื ดกึ โดยเช็ดทำ� ความสะอาดฟนั กอ่ นนอน ควรพาไปพบทนั ตแพทย์ 4. เม่อื ลกู นงั่ ไดเ้ มอ่ื อายุ 8 เดอื น ควรหัดใหด้ ่ืมนมจากแกว้ แทนขวดนม เพ่อื เตรียมลูกให้พร้อม กับการหยา่ ขวดนม 5. อายุ 12 เดอื น ใหด้ ม่ื นมจากแกว้ และใหเ้ ลกิ ใชข้ วดนมทอี่ ายขุ วบครงึ่ หดั ใหแ้ ปรงฟนั โดยไมใ่ ชย้ าสฟี นั 6. อายุ 18 เดือน ใหเ้ ลกิ ดูดนมขวด แปรงฟันเชา้ และก่อนนอน หลังแปรงฟนั ไม่ดมื่ นม หรือกิน อาหารอกี แนะน�ำใหพ้ ่อแมพ่ าเดก็ ไปพบบุคลากรทางทนั ตกรรม ในกรณที ีย่ ังไมเ่ คยพาเด็กไป 7. อายุ 3 ปี ให้แปรงฟนั เชา้ และกอ่ นนอน ใชย้ าสีฟันปรมิ าณเทา่ เมล็ดถ่ัวเขยี ว เคลือบฟลูออไรด์ และผนกึ หลมุ ร่องฟนั กรามน�้ำนม 53
การเลีย้ งดแู ละการสรา้ งเสรมิ สขุ ภาพ การป้องกนั อุบตั เิ หตุ อบุ ตั เิ หตุในเดก็ วัยแรกเกดิ ถงึ 3 ปีพบได้สงู มาก และเปน็ สาเหตุการตายสูงกวา่ วยั อื่น การตายเกดิ ขนึ้ ไดท้ ง้ั ภายในบา้ นและรอบๆ บา้ น โดยพบวา่ การจมนำ�้ และอบุ ตั เิ หตจุ ากการจราจรเปน็ เหตทุ ท่ี ำ� ใหเ้ กดิ การเสยี ชวี ติ ในวยั นม้ี ากทสี่ ดุ ดงั นนั้ การปรบั สภาพแวดลอ้ มภายในบา้ น รอบๆ บา้ น และชมุ ชนใหป้ ลอดภยั จะเป็นวธิ ีการทีส่ �ำคัญในการป้องกนั ปัญหานีท้ ไี่ ด้ผลดที ่ีสดุ ในเด็กเล็กที่ช่างส�ำรวจและชอบเอาสิ่งของเข้าปากน้ัน จ�ำเป็นต้องระวังของเล่นช้ินเล็กๆ ท่ีอาจ ท�ำให้เกิดการอุดตันทางเดินหายใจ หรือของเล่นท่ีมีสายยาวซึ่งอาจรัดพันคอเด็ก รวมท้ังของเล่นท่ีมีคม ท้งั หลาย 54
การเล้ียงดูและการสร้างเสรมิ สขุ ภาพ การเลอื กพ่เี ลีย้ งเด็ก ปจั จบุ นั ภาวะสงั คมและเศรษฐกจิ ทำ� ใหล้ กั ษณะครอบครวั เปน็ แบบครอบครวั เดย่ี วมากขนึ้ พอ่ แม่ ตอ้ งทำ� งานนอกบา้ น พเ่ี ลยี้ งจงึ มบี ทบาทสำ� คญั ยงิ่ ตอ่ การมสี ว่ นรว่ มในการพฒั นาลกู ของเราใหเ้ จรญิ เตบิ โต พัฒนาไปในทางทพี่ งึ ประสงค์ ถ้าพอ่ -แมเ่ ลือกได้ พีเ่ ลยี้ งเดก็ ควรมคี ุณสมบัติดังนี้ 1. อายไุ มน่ ้อยกว่า 18 ปีบริบรู ณ์ 2. มีความรู้อยา่ งนอ้ ย จบการศกึ ษาภาคบังคบั 9 ปี และเปน็ ผู้ใฝร่ ู้ใฝเ่ รียน 3. ผา่ นการอบรมหลกั สตู รการเลยี้ งดเู ดก็ ตามหลกั สตู รมาตรฐานการชวี้ ดั การเลยี้ งดเู ดก็ อายนุ อ้ ย กวา่ 3 ปี ก่อนเร่มิ ปฏบิ ัติงานภายใน 3 เดือน 4. ไมเ่ ป็นผู้มีความประพฤตเิ สื่อมเสีย หรอื บกพรอ่ งในศีลธรรมอนั ดี 5. ไมม่ ปี ระวัติการกระทำ� ผดิ ตอ่ เดก็ หรือละเมิดสทิ ธเิ ด็ก 6. ไม่เปน็ ผู้รบั โทษจำ� คกุ โดยค�ำพพิ ากษาถึงท่ีสดุ ใหจ้ ำ� คุก เว้นแต่ความผิดลหุโทษ หรอื ความผดิ ท่ที �ำโดยประมาท 7. มีสุขภาพแข็งแรงผ่านการตรวจสุขภาพก่อนปฏิบัติงาน ทั้งน้ีต้องมีใบรับรองแพทย์ และต้อง ตรวจสุขภาพอยา่ งนอ้ ยปีละ 2 คร้งั 8. มีสุขภาพจติ ดี ไม่เป็นผวู้ กิ ลจริตหรือจติ ฟั่นเฟอื นไม่สมประกอบ และไมเ่ ป็นผ้ตู ดิ สารเสพตดิ 9. มรี ะดบั วฒุ ภิ าวะและบคุ ลกิ ลกั ษณะเหมาะสมทงั้ ทางดา้ นจติ ใจ อารมณ์ สงั คมมคี วามตง้ั ใจจะ ปฏิบัตติ ่อเดก็ ด้วยความรกั ความออ่ นโยนทีจ่ ะเออื้ อำ� นวยตอ่ การทำ� หน้าทีด่ ูแลเด็กไดอ้ ยา่ งเหมาะสม 10. เปน็ บคุ คลทม่ี คี วามรักเด็ก มอี ปุ นสิ ัยสขุ ุมเยือกเยน็ และมีความขยนั และอดทน ครอบครวั ใหญ่จัดการอยา่ งไรดี การอยู่กนั เป็นครอบครวั ใหญ่ทม่ี ปี ยู่ ่าตายาย พ่ปี า้ น้าอานน้ั ถ้ามองในแง่ดีก็สง่ ผลให้เดก็ มีโอกาส มากขึ้นในการที่จะได้พูดคุยและมีปฏิสัมพันธ์กับผู้อ่ืนได้หลากหลายเคยมีการศึกษาพบว่าเด็กที่อยู่ใน ครอบครวั ขยายมพี ฒั นาการทดี่ กี วา่ เดก็ ทอี่ ยใู่ นครอบครวั เดยี่ ว 0.5 เทา่ ถา้ มองมมุ กลบั บางครงั้ การอยใู่ น ครอบครัวใหญส่ รา้ งปัญหาไดม้ ากทเี ดียว เช่น การอบรมเด็กที่มีบรรทดั ฐานทแ่ี ตกตา่ งกนั โดยเฉพาะปู่ยา่ ตายายมักจะมีความผอ่ นปรนกบั หลาน และหากปูย่ า่ ตายาย มาออกคำ� สงั่ ให้พอ่ แมท่ ำ� ตาม ท�ำให้พ่อแม่ ไมม่ ีอ�ำนาจและอสิ ระในการปกครองลกู ลูกเองจะไม่เคารพเชื่อฟงั พ่อแมเ่ น่อื งจากเหน็ ว่าพ่อแมก่ เ็ หมือน ตนเองทต่ี อ้ งอยู่ภายใตค้ �ำสงั่ ของปู่ย่าตายาย การฝึกวินยั จะเป็นไปไดย้ าก 55
การเล้ียงดูและการสรา้ งเสรมิ สขุ ภาพ ดังน้ันพ่อแม่ควรขอความร่วมมือจากปู่ย่าตายายด้วยความเคารพและนอบน้อมเพื่อให้ได้เด็กที่จะเติบโต เป็นคนดแี ละมีระเบียบวนิ ัย ถ้าทกุ คนในครอบครัวปกครองเด็กดว้ ยกฎระเบยี บเดยี วกนั การอบรมเลีย้ ง ดเู ด็กจะงา่ ยมากขึน้ ทีเดียว วนิ ัยเร่ิมทีบ่ ้าน การฝึกฝนลกู ในเรอ่ื งการกนิ การนอน การขับถา่ ย ความรบั ผดิ ชอบในการดแู ลตัวเอง การแปรง ฟนั อาบน้ำ� แตง่ ตัว การเข้าหอ้ งน้�ำ การท�ำความสะอาด การชว่ ยตัวเองในการกินอาหาร การเกบ็ ของ เลน่ เปน็ ต้น ทง้ั หมดเปน็ รากฐานสำ� คญั ทีพ่ ่อแมต่ ้องมงุ่ เนน้ ใหล้ ูกฝกึ หัดทำ� ดว้ ยตัวเองมากท่ีสดุ การเขา้ ไปชว่ ยเหลอื จนเกนิ ความพอดี กลับกลายเปน็ การเข้าไปขดั ขวางพฒั นาการในการเรียนรู้ และพัฒนาความสามารถในดา้ นต่างๆ ของเดก็ อย่างรเู้ ทา่ ไม่ถึงการณ ์ (อา่ นเพ่มิ เตมิ ในบทท่ี 2 พฒั นาการดา้ นบุคลกิ ภาพและคณุ ธรรม) 56
การเลีย้ งดแู ละการสรา้ งเสรมิ สขุ ภาพ เตรยี มลกู ไปโรงเรียน สงิ่ ทพี่ อ่ แมค่ วรเตรยี มลกู เพอื่ การจากบา้ นไปใชช้ วี ติ ในโรงเรยี น มรี ายละเอยี ดอยา่ งนอ้ ย 3 ขอ้ คอื 1. อายุเด็ก ในการฝึกฝนเพื่อพัฒนาความสามารถของลูกน้ัน ย่ิงลูกเล็กเท่าไร ยิ่งต้องการการ ฝึกฝนใกลช้ ิด โดยฝกึ ซำ�้ ๆ และคอยให้กำ� ลังใจเป็นระยะ ลกู ท่ถี กู ฝกึ ฝนมาดี จะมีความสามารถชว่ ยเหลือ ตวั เองไดร้ ะดบั หนง่ึ มคี วามสามารถในการแยกจากสถานท่ี และคนทคี่ นุ้ เคย กา้ วไปสโู่ รงเรยี น อาศยั ความ ไวว้ างใจในคนอน่ื โดยเฉพาะครู จนสามารถเลยี นแบบ และเรยี นรตู้ อ่ ไปได้ อายจุ งึ มไิ ดบ้ อกถงึ ความพรอ้ ม ของลูก 2. โรงเรียน การตัดสินใจเลือกโรงเรียนอนุบาลควรต้ังอยู่บนรากฐานของความสามารถของลูก ใกล้บ้าน เดินทางไมล่ ำ� บาก มอี ตั ราสว่ นของครูต่อนกั เรยี นอยา่ งน้อย 1:15-20 คน มีสภาพแวดลอ้ มท่ี เหมาะสมกบั การเรยี นร้ขู องเดก็ เช่น สนามเดก็ เล่น มตี ้นไม้รม่ รน่ื ไมม่ ีอันตราย ของเล่นมากพอ และมี ประโยชนใ์ นการเรียนรู้ เป็นตน้ และท่ีสำ� คญั คือไม่ควรมหี ลกั สตู รทเ่ี น้นแต่การเรียนมากเกินไป 3. ความสามารถในตวั ลูก อาจเปน็ ความสามารถท่ตี ดิ ตวั มาตั้งแต่เกิด เชน่ ความอยากรู้อยาก เหน็ ความอยากทีจ่ ะเลยี นแบบ ฯลฯ หรือความสามารถทไ่ี ด้มาจากการเล้ยี งดู เช่น การใชม้ ือ การเลน่ การพูด สอื่ ภาษา เปน็ ตน้ สง่ิ ท่ีตอ้ งฝกึ ฝนเตรียมลูกกอ่ นไปโรงเรยี น 1. การชว่ ยเหลอื ตนเอง ลกู ควรชว่ ยเหลือตัวเองไดใ้ นเรื่องพื้นฐาน เช่น การติดกระดุม การถอด เสอ้ื กางเกง การเขา้ ห้องน�้ำ การกนิ ขา้ ว การแปรงฟัน การอาบน้�ำเชด็ ตัว เปน็ ต้น เพราะเมือ่ เด็กไปอยู่ รวมกนั เดก็ ทม่ี คี วามสามารถจะรสู้ กึ ภาคภมู ใิ จและกลา้ ทจี่ ะไปชว่ ยเหลอื เพอ่ื นๆ ซง่ึ ตรงขา้ มกบั เดก็ ทชี่ ว่ ย เหลือตัวเองได้น้อยซึ่งจะต้องรอคุณครู หรือพ่ีเล้ียงมาช่วยท�ำให้มองเห็นว่าตัวเองไร้ความสามารถ และ อาจตดิ อยกู่ ับการพึง่ พาผู้อน่ื 2. การเล่นกับผอู้ ื่น พอ่ แมค่ วรเตรยี มฝึกฝนการเลน่ ของลกู ในขัน้ พื้นฐาน เช่น เล่นซ่อนหา ว่งิ ไล่ จับ จระเข้ข้ึนบก เป็นต้น ให้เด็กเรียนรู้วิธีการเล่นและฝึกให้เล่นอยู่ในกติกา การท่ีต้องเล่นอยู่ในกติกา เท่ากบั เปน็ การขม่ ความรสู้ ึกท่ตี อ้ งการเอาชนะ ยอมรบั กตกิ าและความพา่ ยแพ้ไดเ้ พือ่ ความสนุกของคน กลุ่มใหญ่ ดังน้ันพ่อแม่จึงเป็นผู้ฝึกที่มีความส�ำคัญยิ่งเพราะในบ้านที่ฝึกฝนดี เด็กจะสามารถไปเล่นกับ เพอื่ นไดส้ นกุ แตบ่ ้านท่ยี อมให้ลกู เอาชนะอยู่ตลอดเวลาในการเลน่ หรือยอมให้ลูกเปลย่ี นกตกิ าให้ตัวเอง ไดเ้ ปรยี บ สดุ ท้ายจะท�ำให้เข้ากับเพื่อนๆ ไดย้ าก 57
การเล้ียงดูและการสร้างเสรมิ สขุ ภาพ 3. ความสัมพันธ์ระหว่างมือกับตา การใช้ชีวิตในโรงเรียนทั้งในห้องเรียนและนอกห้องเรียน จ�ำเปน็ ต้องอาศยั รากฐานการใชม้ ือทีด่ ี ในการเขียนหนงั สอื วาดรูป ระบายสี พับกระดาษ เล่นของเล่น ล้างมอื แต่งตัว ฯลฯ และจะตอ้ งมกี ารทำ� งานประสานกนั ระหวา่ งมอื กบั ตา และมอื สองขา้ งตอ้ งชว่ ยกนั ทำ� งานร่วมกันได้ การโยนลูกบอล การทอยกอง เป่ายงิ ฉุบ การตีปงิ ปอง ตแี บดมินตนั ตา่ งกต็ อ้ งใชม้ ือท่ี ทำ� งานไดค้ ลอ่ ง พอ่ แมต่ อ้ งฝกึ ใหล้ กู ใชม้ อื ไดค้ ลอ่ งทง้ั สองขา้ ง เชน่ ใหล้ กู ตกั ขา้ วกนิ เอง ถอดกระดมุ ใสเ่ สอื้ ใสร่ องเท้า แปรงฟนั หวผี ม ฯลฯ 4. การใช้กล้ามเนื้อใหญ่ ช่วงวัยที่ลูกอยู่ไม่นิ่งที่สุด อยู่ในช่วงอนุบาล จึงเป็นช่วงท่ีควรมีการ ส่งเสรมิ การออกก�ำลังกายและการเล่นกลางสนามใหม้ ากทีส่ ดุ เชน่ การวิ่ง ถบี จักรยาน เตะบอล ว่ายน�ำ้ เปน็ ตน้ นอกจากจะทำ� ใหก้ ล้ามเนือ้ แขนขาเติบโตแขง็ แรงท�ำงานไดค้ ลอ่ งแลว้ การออกกำ� ลังกายยงั เป็น พืน้ ฐานในการคลายเครยี ดของชีวติ เด็กนกั เรียนได้อยา่ งง่ายๆ ด้วย 5. การพดู และการสอื่ ภาษา ทอ่ี ายุ 3 ปี เดก็ จะมคี วามสามารถนำ� คำ� ตา่ งๆ มาผสมจนพดู ออกมา รเู้ รอื่ ง สรา้ งประโยด พดู ไดเ้ ขา้ ใจเนอ้ื หาไดม้ ากเกนิ ครง่ึ การฝกึ พดู ยงั คงตอ้ งดำ� เนนิ ตอ่ ไปทงั้ ทบ่ี ้าน และท่ี โรงเรียนในบรรยากาศท่ีสบายๆ เปน็ กนั เอง ความสามารถในการพดู และสอื่ ความหมายจะพฒั นาไดใ้ กล้ เคยี งผใู้ หญ่ทอี่ ายุ 7 ปี นอกจากพอ่ แม่ และคุณครจู ะฝกึ สอนใหพ้ ดู เปน็ แลว้ ยงั ต้องฝึกให้เดก็ กล้าพูดด้วย 6. การจดั การกบั อารมณข์ องตวั เอง ความกงั วลในการพลดั พรากจากคนทร่ี กั เปน็ ความกงั วล พบ ไดเ้ ปน็ ปกตใิ นชว่ งวยั 9 เดอื นถงึ 3 ปี หลงั จากนนั้ ลกู จะสามารถพมิ พภ์ าพพอ่ แมเ่ อาไวใ้ นใจ รว่ มกบั ความ ร้สู ึกมน่ั ใจในความรกั ทีพ่ ่อแมม่ ใี ห้ เพอ่ื ทจ่ี ะใชใ้ นการเดนิ จากพอ่ แมม่ าอยกู่ บั คนแปลกหน้าทโ่ี รงเรยี น ระ ยะแรกๆ อาจทำ� ไดไ้ มด่ พี อ จงึ มกั พบการรอ้ งไหจ้ ะกลบั บา้ น กอดแมเ่ อาไวไ้ มย่ อมใหจ้ ากไป พฤตกิ รรมเชน่ นี้พบไดใ้ นชว่ งสองอาทิตยแ์ รกของการไปโรงเรียนถอื ว่าเปน็ เร่ืองปกติ ยิง่ เดก็ ถูกเลีย้ งใหช้ ว่ ยเหลือตัวเอง ได้น้อยตอ้ งพ่งึ พาพอ่ แม่ตลอดเวลา ท่ตี อ้ งใชเ้ วลาในการปรับตัวนานกว่า 2 สปั ดาห์ จุดออ่ นทพ่ี บไดบ้ ่อย กค็ อื เมอ่ื พอ่ แมเ่ หน็ ลกู รอ้ งไหม้ าก หรอื ไมย่ อมไปโรงเรยี น บางครง้ั กใ็ จออ่ นยอมใหห้ ยดุ เรยี น หรอื กลบั มา จากโรงเรยี นกย็ งิ่ ตามใจเพม่ิ ขน้ึ เพอื่ ชดเชยกบั ความเสยี ใจของลกู ทตี่ อ้ งจากบา้ น กจ็ ะยงิ่ ทำ� ใหเ้ กดิ ปญั หา ตามมาไมร่ ู้จบ 7. การปรับตัว การไปโรงเรยี นจึงเปน็ แบบฝึกหดั ทย่ี ่ิงใหญส่ ำ� หรับชีวิตเด็กวยั 3 ขวบ เพราะจะ ต้องไปพบกับคนหรือเหตุการณ์ที่อาจไม่ได้ดังใจและไม่เหมือนส่ิงที่เคยพบท่ีบ้าน รสชาติของอาหารก็ เปล่ยี นไป สภาพแวดล้อมไม่เหมือนเดมิ มกี ฎกตกิ าที่แตกต่างไปจากทบี่ ้าน มเี รือ่ งตอ้ งขม่ ใจมากมาย ถึง เวลาเลน่ จงึ จะเลน่ ได้ ถงึ เวลาเรยี นก็ตอ้ งเรียน แต่ถ้าอยใู่ นบรรยากาศสบายๆ และคุณครทู ่ใี จดี เท่านก้ี ็ สามารถท�ำใหเ้ ดก็ ส่วนใหญป่ รบั ตัว ปรับใจใหเ้ ขา้ กับสภาพใหม่ได้ในทสี่ ดุ การเข้าโรงเรยี นอนบุ าลจึงเป็น เหตกุ ารณห์ น่ึงในการสรา้ งรากฐานการปรับตัวทส่ี �ำคัญ 58
การเล้ียงดแู ละการสรา้ งเสริมสขุ ภาพ การดูแลผวิ ในทารก ผิวหนังเปรียบเสมือนเกราะป้องกันท่ีธรรมชาติสร้างข้ึนเพ่ือคุ้มครองร่างกายให้ปลอดภัยจากส่ิง แวดล้อมท่ีเป็นอันตราย เช่น เชือ้ โรค แสงแดด ฝนุ่ ละออง สารเคมี ฯลฯ ดงั น้ันผวิ หนงั จงึ เปรยี บเสมอื น กระจกเงาแสดงให้เหน็ ถึงสขุ ภาพของรา่ งกายดว้ ย ผิวของเด็กทารกจะบอบบางกว่าในผู้ใหญ่และการท�ำงานของต่อมเหง่ือและต่อมไขมันยังไม่ดี สมบูรณ์ จงึ ต้องมกี ารดูแลเปน็ พเิ ศษ เมือ่ แรกเกิดผวิ จะถกู ปกคลุมด้วยไขเหนยี วๆ สีเทาปนขาว ซง่ึ ไขน้ี ประกอบด้วยไขมันจากต่อมไขมันปนกับเซลล์ผิวหนังที่ตายแล้วและหลุดลอกออกมา หน้าที่ของไขน้ีจะ คอยปอ้ งกันไม่ให้เชือ้ โรคหรอื สารระคายเคืองซมึ เขา้ สูผ่ ิวหนงั การดูแลคอื การใชน้ ำ้� อนุ่ เช็ดไขออกเบาๆ เท่าน้ัน ผิวทารกแรกเกิดประกอบด้วยเซลล์ช้ันหนังก�ำพร้าและหนังแท้ มีต่อมไขมัน ต่อมเหงื่อเหมือน ผวิ หนังผู้ใหญ่ แต่ผวิ ทารกแรกเกิดบางกว่า การท�ำงานของต่อมไขมนั และต่อมเหงื่อยังไมส่ มบูรณเ์ ทา่ กับ ผใู้ หญจ่ งึ เกดิ ผดหรอื ตมุ่ พองใสไดง้ า่ ย นอกจากนกี้ ารทำ� งานของระบบภมู ติ า้ นทานตอ่ เชอื้ โรคยงั ไมส่ มบรู ณ์ และสะดือยังเป็นรอยเปิดซ่ึงสามารถเป็นทางเข้าของเช้ือโรคได้ ทารกจึงมีโอกาสติดเชื้อท่ีผิวหนังได้ง่าย ดงั นน้ั ต้องล้างมือใหส้ ะอาดก่อนอ้มุ หรือสัมผสั เด็กทารก การดูแลผิวทารกต่างจากผใู้ หญ่ ดังได้กล่าวข้างต้นว่าผิวทารกแรกเกิดบางกว่าผิวหนังผู้ใหญ่ ดังนั้นการดูดซึมของที่ใช้สัมผัส ผิวหนังจึงเกิดได้ง่าย จึงต้องระวังการใช้ยาทาผิวหรือสบู่ท่ีมีส่วนผสมของสารฆ่าเช้ือแบคทีเรีย เช่น สบู่ ยา PhisohexTM ท่มี สี ่วนผสมของ Hexachlorophene เพราะมีรายงานในตา่ งประเทศว่าท�ำใหท้ ารก เกิดอาการชักได้ เสื้อผ้าควรใช้ผ้าเนื้อนุ่มและบางเบา ควรเป็นผ้าฝ้ายชนิดโปร่งบางหรือผ้าใยป่าน ระบายอากาศ ไดด้ ี ไม่ควรใชผ้ า้ เน้ือแขง็ เช่น ผ้าไนลอน ผา้ ใยสังเคราะห์ ผ้าขนสตั ว์ เนื่องจากระบายอากาศไดไ้ มด่ นี กั จะทำ� ให้อบ รอ้ น เกิดผดผนื่ คันงา่ ย ในการทำ� ความสะอาดไม่ควรใชผ้ งซกั ฟอกท่ัวไปแตค่ วรใชผ้ ลิตภัณฑ์ สำ� หรบั เดก็ อ่อน เนื่องจากถ้าลา้ งออกไมห่ มด สารเคมที ี่ตกค้างจะทำ� ให้เกดิ ผวิ หนังอักเสบได้งา่ ย การดูแลผมในทารกท่ีเกิดใหม่จะมีไขหรือสะเก็ดหนาบนศีรษะซ่ึงเป็นเรื่องธรรมชาติ เกิดจาก ฮอรโ์ มนของแมก่ ระตนุ้ ตอ่ มไขมนั ใหท้ ำ� งานมากกวา่ ปกติ ดงั นน้ั จงึ ควรดแู ลดว้ ยการทาดว้ ยนำ�้ มนั มะกอก และสระด้วยแชมพสู �ำหรับเด็กวนั ละ 1 ครงั้ ไมค่ วรแกะสะเกด็ ออก เพราะจะท�ำให้เลอื ดออกหรือมแี ผล ได้ง่าย ถ้ามีผื่นอักเสบ มีน้�ำเหลอื งควรพาทารกไปพบแพทย์ 59
การเล้ยี งดแู ละการสรา้ งเสรมิ สุขภาพ การเลือก สบู่ แชมพู แปง้ ผลิตภณั ฑ์ใหค้ วามชุ่มช้ืนส�ำหรับทารก การท่ีจะตัดสินใจเลือกใช้ผลิตภัณฑ์ชนิดใดนั้นควรมีหลักดังน้ี ผลิตภัณฑ์ส�ำหรับเด็กควรจะ ปราศจากนำ�้ หอมและสารปรงุ แตง่ เชน่ สซี งึ่ ทำ� ใหเ้ กดิ อาการแพ้ ระคายเคอื งไดง้ า่ ย สบคู่ วรจะมฤี ทธเิ์ ปน็ ดา่ งนอ้ ยกวา่ สบทู่ วั่ ไปหรอื มคี วามเปน็ กรดดา่ งเทา่ ๆ กบั ผวิ ควรใชผ้ ลติ ภณั ฑท์ เี่ หมาะกบั ผวิ ทารก ไมแ่ นะนำ� ใหใ้ ชส้ บยู่ าทำ� ความสะอาดผวิ หนงั ทารกทปี่ กติ เพราะผวิ หนงั เดก็ ปกตทิ ไี่ มม่ รี อยแผล โอกาสทเี่ ชอ้ื โรคจะ เข้าสู่ผิวหนังเกดิ ไดน้ อ้ ยอยู่แล้ว การดแู ลผิวจงึ เน้นถงึ ความสะอาดเท่านน้ั แชมพสู ระผม สามารถเลอื กใช้ เปน็ ชนดิ เดยี วกบั ทท่ี ำ� ความสะอาดผวิ ได้ และควรเลอื กผลติ ภณั ฑท์ ผี่ า่ นการทดสอบวา่ ระคายเคอื งตอ่ เยอ่ื บตุ านอ้ ย การทาแป้ง อาจมปี ระโยชนใ์ นการลดการเสียดสใี นบริเวณขอ้ พับได้ แต่ควรเลอื กแปง้ ทีเ่ น้อื เนียน ละเอยี ด และระวงั การทาทห่ี นาเกนิ ไป เนอ่ื งจากแปง้ อาจจบั ตวั เปน็ กอ้ น และตอ้ งระมดั ระวงั การทาบรเิ วณ ใบหน้า เนอื่ งจากเด็กอาจสูดฝ่นุ แป้งเขา้ ปอดได้ โดยทว่ั ไปผลติ ภณั ฑข์ องเดก็ มสี ว่ นประกอบและคณุ ภาพในแตล่ ะบรษิ ทั ไมต่ า่ งกนั มาก เพราะตอ้ ง ผา่ นการทดสอบวา่ มคี ณุ สมบตั เิ หมาะสำ� หรบั ทารกจรงิ หรอื ไม่ แตใ่ นรายทมี่ ปี ญั หาวา่ ใชแ้ ลว้ เกดิ ผนื่ ระคาย เคอื งอาจเนอ่ื งจากสภาพผิวของทารกแตล่ ะราย สารประกอบอ่ืนๆ ท่ผี สม เช่น สารกันบดู ดงั น้นั ไมว่ ่าจะ ใชผ้ ลติ ภณั ฑใ์ ดควรเลอื กผลติ ภณั ฑส์ ำ� หรบั ทารกเทา่ นนั้ นอกจากนไี้ มแ่ นะนำ� ใหฟ้ อกสบแู่ ละใชน้ ำ�้ อนุ่ มาก เกนิ ไปเพราะจะทำ� ใหผ้ วิ แหง้ การทาผลติ ภณั ฑใ์ หค้ วามชมุ่ ชน้ื หลงั อาบนำ�้ จะชว่ ยใหส้ ภาพผวิ ของทารกชมุ่ ชื้นและลดการระคายเคอื งได้มากข้นึ ความผดิ ปกติของผิวทารกซึ่งหายเองได้ 1. การลอกของผวิ ปกติผิวทารกจะลอกเปน็ ขุยได้ ประมาณ 24-36 ชั่วโมงหลังคลอด และจะ หายเป็นปกติภายในสัปดาห์แรก แตใ่ นเดก็ คลอดก่อนกำ� หนด ผิวอาจลอกนานถงึ 2-3 สปั ดาห์ ถ้าพบวา่ ผวิ ลอกตง้ั แตแ่ รกเกดิ ทนั ทถี อื วา่ ผดิ ปกติ ซง่ึ พบไดใ้ นทารกคลอดเกนิ กำ� หนด ภาวะขาดออกซเิ จนในครรภ์ หรือโรคดักแด้ 2. ภาวะปลายมือปลายเทา้ เขียว ทารกทร่ี อ้ งไหแ้ ละกลั้นหายใจ อาจพบบรเิ วณมอื เทา้ และรมิ ฝีปากมีสีเขียวคล้�ำได้ เกิดจากหลอดเลือดแดงส่วนปลายหดตัว ต้องแยกจากภาวะเขียวซึ่งเกิดจากโรค หวั ใจทจ่ี ะเขยี วทงั้ ตัวและเกิดตลอดเวลา 3. ผวิ ลาย พบเปน็ ลายสีแดงคล้ายตาข่าย มักพบท่ลี �ำตัว แขนและขา เหน็ ชัดเมอื่ อยู่ในที่อากาศ เย็นและเม่ือไดร้ ับความอบอุ่น ลายจะหายไปเอง 60
การเล้ยี งดูและการสรา้ งเสรมิ สขุ ภาพ 4. ผด เกดิ จากการอุดตนั ของต่อมเหง่ือ พบบ่อยในทารก เพราะการท�ำงานของตอ่ มเหง่อื ยังไม่ สมบรู ณ์ อาจเหน็ เปน็ ตมุ่ ใส ผนงั บาง แตกงา่ ย หรอื เปน็ ตมุ่ แดง มกั พบบรเิ วณทม่ี ตี อ่ มเหงอื่ มากไดแ้ ก่ หนา้ ผาก ไรผม หลงั บริเวณขอ้ พบั ของแขน การดูแลรักษา ได้แก่ พยายามหลีกเลยี่ งอากาศทร่ี ้อนจดั สวม เสอ้ื ผา้ โปร่งบาง อาจเชด็ ตัวหรือใชย้ าคาลาไมน์ทาท�ำให้ผิวหนงั เย็น เหงอ่ื ระบายไดด้ ขี ้นึ 5. สวิ ในทารกแรกเกดิ ลกั ษณะเปน็ ตมุ่ นนู แดง หรอื อาจพบเปน็ หวั สวิ พบบอ่ ยบรเิ วณหนา้ แกม้ ท้ังสองข้าง มักเป็นตั้งแต่อายุ 2-4 สัปดาห์หลังคลอด พบในเด็กชายมากกว่าเด็กหญิง สาเหตุเกิดจาก ฮอรโ์ มนแอนโดรเจนจากมารดามากระตนุ้ ตอ่ มไขมนั ใหท้ ำ� งานมากกวา่ ปกติ การรกั ษาจะพจิ ารณาในราย ทรี่ ุนแรง ในรายทีเ่ ป็นนอ้ ยผน่ื จะหายไดเ้ อง การตรวจสุขภาพและการสร้างเสรมิ ภมู ิคุ้มกันโรค ก�ำหนดการดูแลสุขภาพเด็กวัยแรกเกดิ -3 ปี ผปู้ กครองควรพาเด็กมาพบแพทยเ์ พ่อื ตรวจสขุ ภาพ ทง้ั หมด 8 ครั้ง คือ เมื่ออายแุ รกเกิดถึง 7 วัน, 1, 2, 4, 6, 9-12, 18 เดือน, 2, 21/2 , และ 3 ปี ซง่ึ มรี าย ละเอียดดังน้ี 1. ซกั ประวัติและตรวจร่างกายเพอื่ คัดกรองโรค 2. การตรวจพัฒนาการ 3. การประเมินการเจริญเติบโต 4. การสรา้ งเสรมิ ภมู คิ ุ้มกนั โรค 5. การให้ค�ำปรึกษาแนะน�ำในเรื่องโภชนาการและการออกก�ำลังกาย การฝึกฝนเล้ียงดู การส่ง เสริมพัฒนาการ การป้องกันอุบัติเหตุ การส่งเสริมบทบาทพ่อแม่ในการเล้ียงเด็ก การจัดการกับปัญหา ตามวยั เช่น ปัญหาการกนิ ปญั หาการนอน ปญั หาการขบั ถา่ ย เปน็ ตน้ 6. การตรวจฟนั และการส่งเสรมิ สุขภาพฟัน เดก็ ทกุ คนควรได้รบั การตรวจสุขภาพช่องปากและ ฟันโดยทันตแพทยท์ ีอ่ ายุ 1-2 ปี 7. การตรวจคดั กรองทางหอ้ งปฏิบัตกิ าร 7.1 ทารกแรกเกดิ ทุกรายจะไดร้ ับการตรวจคดั กรองเพือ่ หาภาวะบกพร่องฮอร์โมนไทรอยด์ 7.2 การตรวจคัดกรองการไดย้ ินตัง้ แตแ่ รกเกดิ -อายุ 6 เดอื น โดยเฉพาะอยา่ งยิ่งในกล่มุ ทมี่ ี ความเสย่ี งตอ่ การไดย้ นิ บกพรอ่ ง เชน่ ทารกคลอดกอ่ นกำ� หนด ทารกทตี่ อ้ งรบั การรกั ษาในหอ้ งทารกแรก เกดิ วิกฤติ ทารกท่ีต้องใสท่ อ่ ช่วยหายใจ เปน็ ตน้ 7.3 ตรวจเลือดเพื่อประเมินภาวะโลหติ จาง ท่ีอายุ 6-12 เดือน 7.4 แพทยจ์ ะพจิ ารณาสง่ ตรวจเพมิ่ เตมิ เฉพาะในเดก็ ทมี่ ปี จั จยั เสยี่ ง เชน่ ภาวะเสย่ี งตอ่ การเจบ็ ปว่ ยจากวณั โรค HIV การสมั ผสั สารตะกว่ั ภาวะโภชนาการเกนิ หรอื ภาวะทพุ โภชนาการ หรอื อน่ื ๆ เปน็ ตน้ 61
การเลีย้ งดแู ละการสร้างเสริมสขุ ภาพ การใหว้ คั ซนี ในเดก็ 2 ขวบปแี รก: เดก็ ทกุ คนควรไดร้ บั การฉดี วคั ซนี ปอ้ งกนั โรคทอี่ นั ตราย ดงั ตอ่ ไปนี้ วคั ซนี อายุ จำ� นวนครง้ั บซี ีจี ปอ้ งกนั วณั โรค แรกเกิด 1 ตับอกั เสบ บี แรกเกิด, 1-2 และ 6 เดอื น 3 4 คอตบี ไอกรน บาดทะยกั โปลิโอ 2, 4, 6 และ 18 เดือน 2 หัด หดั เยอรมนั คางทมู 9-12 เดือน และ 2½ ปี 2 ไข้สมองอกั เสบ 12 เดอื น และ 2 ปี 62
การเลยี้ งดแู ละการสร้างเสรมิ สขุ ภาพ กำ� หนดการดแู ลการฉดี วัคซีนเด็กไทย โดยสมาคมโรคตดิ เช้ือในเด็กแหง่ ประเทศไทย 2560 ราชวทิ ยาลยั กมุ ารแพทย์แห่งประเทศไทย 63
การเลย้ี งดูและการสรา้ งเสรมิ สุขภาพ 64
ปญั หาทีพ่ บบ่อยในเดก็ อายุ 0-3 ปี บทท่ี 6 ปัญหาทพี่ บบ่อยในเดก็ อายุ 0-3 ปี ปัญหาการนอน ลูกนอนไมห่ ลบั เมอ่ื ไมม่ ีสถานการณ์บางอยา่ งทีช่ ว่ ยใหห้ ลบั พ่อแมไ่ ม่ควรฝึกใหล้ กู เรยี นรู้ท่จี ะหลับภายใตส้ ถานการณ์บางอยา่ ง เช่น ดดู นม อุ้ม หรอื เขย่าตวั จนลูกหลับในอ้อมกอดของพ่อแม่ เพราะจะท�ำให้ลูกไม่เคยฝึกกล่อมตัวเองจนหลับเองได้ทั้งช่วงเริ่มต้น ของการนอนหลบั หรือเม่อื ต่นื กลางดกึ หากไม่มีสถานการณ์เหมอื นๆ เดิม ส่งผลให้ลกู ตืน่ นานตอนกลาง คืน และจะท�ำให้ทงั้ ลูกและพ่อแมน่ ั้นนอนหลบั ไม่เพยี งพอตามมา การปรับพฤตกิ รรม พ่อแม่จ�ำเป็นต้องก�ำหนดตารางการนอน และกิจวัตรประจ�ำวันก่อนนอนให้ชัดเจน โดยต้องท�ำ อยา่ งสม่ำ� เสมอเหมอื นๆ กนั ทกุ วัน ซึง่ การปรับพฤตกิ รรมเมือ่ ลกู ตืน่ กลางดึก แล้วไม่สามารถหลบั ตอ่ เอง ได้ มี 2 วิธี คอื พอ่ แมง่ ดการชว่ ยเหลือขณะลกู จะหลบั และต่ืนตอนกลางคืน โดยปลอ่ ยให้ลกู ร้องไห้ จน กระทงั่ หลบั ไปเองตอนกลางดกึ หรอื ใชว้ ธิ คี อ่ ยเปน็ คอ่ ยไป โดยเนน้ ใหพ้ อ่ แมว่ างลกู บนเตยี งนอนขณะงว่ ง แต่ยงั ไมห่ ลบั สนทิ ลดการช่วยเหลือเมอื่ ลกู ตืน่ กลางดกึ ซึ่งจ�ำเปน็ ตอ้ งคอ่ ยๆ รอเวลาในการเข้าไปหาลกู และลดระยะเวลาท่ีอยู่กับลูกลงเมื่อต่ืนกลางดึก ซึ่งลูกจะต่ืนแล้วร้องไห้กลางดึกนานแค่ไหนนั้น ขึ้นอยู่ กับพ้นื ฐานทางอารมณข์ องลูก และความอดทนของพ่อแม่ ในลกู ทอี่ ายุประมาณ 1 ขวบ พอ่ แมค่ วรฝึกให้ลูกนอนไปพร้อมกับส่งิ ทสี่ ามารถชว่ ยใหล้ กู หลับเอง ได้ในช่วงเร่มิ ต้นของการนอนหลบั หรือเมอื่ ตนื่ กลางดกึ เช่น ผา้ ห่มผนื โปรด ต๊กุ ตา เปน็ ต้น รวมท้ังพ่อแม่ ควรกล่าวชมเชย เมอื่ ลกู สามารถกลอ่ มตัวเองจนหลบั ได้ ซึ่งสง่ิ สำ� คัญของการปรบั พฤติกรรมตา่ งๆ ได้แก่ พ่อแม่จ�ำเป็นต้องมีความสม่�ำเสมอในการปรับพฤติกรรม และจะต้องเตรียมพร้อมว่าลูกอาจมีปัญหา พฤตกิ รรมมากขน้ึ ได้ หลงั จากการปรับพฤติกรรมในชว่ งแรกๆ ไมย่ อมเข้านอน ควรฝกึ ทารกให้นอนอยบู่ นท่นี อนของเขาต้ังแต่แรก คอยลบู ตวั ลูบหลงั ให้หลับไปเองโดยไม่ต้อง อมุ้ ข้นึ มาตัง้ แต่แรกเกิดเลยก็ได้ ทำ� ซ�ำ้ ๆ ทกุ ๆ ครั้ง สุดทา้ ยทารกกจ็ ะเคยชนิ กับการเขา้ นอนแบบท่พี ่อแม่ สอน 65
ปัญหาทพี่ บบ่อยในเด็กอายุ 0-3 ปี สาเหตทุ ีล่ ูกไมย่ อมเข้านอนในชว่ งเวลากลางคนื 1. นอนมากไปในชว่ งเวลากลางวนั ทำ� ให้ไม่งว่ ง 2. ขาดการออกกำ� ลงั กาย 3. วางกฎเกณฑ์ ไม่ชัดเจน ไม่สม่�ำเสมอ เช่น ใหน้ อนดกึ ในวนั หยดุ แต่ใหน้ อนหัวค�ำ่ ในวนั ที่พอ่ แม่ท�ำงานเปน็ ตน้ การปรับพฤตกิ รรม พ่อแม่ไม่ควรปล่อยให้ลูกนอนมากไปในช่วงเวลากลางวัน และควรพาลูกไปออกก�ำลังกายอย่าง สมำ�่ เสมอ จะชว่ ยส่งเสริมสขุ นสิ ัยการนอนท่ดี ใี หแ้ ก่ลกู ได้ สำ� หรับสาเหตทุ ี่ 3 พอ่ แม่ควรต้ังกฎกตกิ าอย่าง เหมาะสม ลดความสนใจหากลูกมีพฤติกรรมเข้านอนล่าช้ากว่าก�ำหนด ร่วมกับจ�ำเป็นต้องปรับกิจวัตร ประจ�ำวนั ก่อนนอนให้ชดั เจน สมำ่� เสมอ และใหแ้ รงเสรมิ ทางบวกหากลกู ร่วมมือ นอกจากน้พี อ่ แม่ควร ค่อยๆ ฝึกให้ลูกเข้านอนใกล้เวลาท่ีนอนหลับจริง โดยค่อยๆ ปรับเวลาเข้านอนให้ใกล้เวลาเข้านอนเป้า หมายมากท่ีสดุ 66
ปญั หาท่ีพบบอ่ ยในเด็กอายุ 0-3 ปี ปัญหาการขับถ่าย ท้องผกู หมายถึง การถา่ ยอุจจาระแขง็ เส้นผ่านศูนย์กลางขนาดใหญ่ หรือมคี วามยากล�ำบากในการถา่ ย อุจจาระ บางครง้ั อาจมีเลือดปนในอจุ จาระ หรอื มีแผลบรเิ วณทวารหนัก หรือมกี ารค่งั คา้ งทผี่ ดิ ปกตขิ อง อจุ จาระ เป็นปัญหาทพี่ บไดบ้ อ่ ย สว่ นใหญไ่ ม่ได้เกดิ จากความผิดปกติของลำ� ไส้ การกนิ นมผสมมโี อกาสทจ่ี ะเกดิ อาการทอ้ งผกู มากกวา่ กนิ นมแม่ เชอ่ื วา่ ไขมนั ในนมผสมจะรวมตวั กบั แคลเซยี มในนม เกิดเปน็ ก้อนแขง็ ในอจุ จาระ ทำ� ให้ไมอ่ ยากถ่ายอจุ จาระ และเวลาจะถา่ ยอจุ จาระจะ รอ้ งวนุ่ วายมาก เพราะรอยแผลบาดทร่ี กู น้ พอ่ แมไ่ มค่ วรทงิ้ ปญั หาไวน้ านจนทำ� ใหล้ กู ไมอ่ ยากถา่ ยอจุ จาระ เพราะจะยง่ิ ทำ� ใหท้ อ้ งผกู เปน็ มากขนึ้ พอ่ แมค่ วรเพม่ิ ผกั หรอื ผลไมใ้ นอาหารประจำ� วนั ของลกู ถา้ เปน็ มาก ควรปรึกษาแพทย์ สาเหตทุ ลี่ กู ทอ้ งผกู 1. กินอาหารไมเ่ หมาะสม กนิ แต่นมไม่ยอมกนิ ข้าวและผกั การกินนมที่ไม่ถกู สดั ส่วน หรอื ดื่มน�้ำ นอ้ ย เป็นตน้ 2. สภาวะแวดลอ้ มเปลี่ยนแปลง เช่น การเข้าโรงเรยี นใหม่ การเปลยี่ นท่อี ยูใ่ หม่ และเด็กยังปรบั ตวั ไมไ่ ด้ หรือการทลี่ ูกถกู บบี บังคบั ในการฝึกขบั ถา่ ย 3. ชอบกลนั้ อุจจาระบอ่ ยๆ สืบเนือ่ งมาจากการเจบ็ กน้ จากอาการท้องผูกเรือ้ รงั 4. การใชย้ าบางอยา่ ง เชน่ ยากนั ชกั ยาลดกรดทม่ี สี ว่ นผสมของอลมู เิ นยี ม ยาตา้ นมะเรง็ บางตวั เปน็ ตน้ 5. โรคบางอย่างที่น�ำมาด้วยอาการท้องผูก เช่นโรคท่ีมีไทรอยด์ฮอร์โมนต่�ำ เด็กมักมีปัญหา พัฒนาการชา้ รว่ มดว้ ย ฯลฯ หากสงสัยโรคดังกล่าวควรพาลูกไปพบแพทย์ วิธีการแกไ้ ข 1. ถา้ ลูกอายุ 1-3 เดอื น ยังกินนมแม่และนมผสม ควรงดนมผสมทงั้ หมด ถา้ ไม่ดขี ึน้ ใหน้ ำ�้ สม้ คัน้ โดยไมต่ ้องเจือจาง ถ้าอุจจาระลกู ยังแข็ง ให้เปลย่ี นเปน็ นำ้� ลกู พรนุ 2. แนะนำ� ใหล้ ูกกนิ อาหารท่ีมีกากใยมากข้นึ เช่น ผกั ผลไม้ ธญั พืช และด่มื นำ้� มากๆ 3. ฝกึ นง่ั อจุ จาระทกุ วนั หลงั อาหารเชา้ เยน็ นานครง้ั ละ 5-10 นาที พอ่ แมค่ วรทำ� บนั ทกึ ไวท้ กุ ครงั้ พรอ้ มท้งั ใหค้ ำ� ชมเชยเมือ่ ลูกท�ำได้ หากลกู ต้านการใช้กระโถน ควรเว้นไปสกั ระยะก่อน รอจนกวา่ ลูกจะ พรอ้ ม แลว้ คอ่ ยฝึกใหม่ 4. การใชย้ าระบายหรือยาสวนควรอยูภ่ ายใต้การดูแลของแพทย์ 67
ปัญหาทพ่ี บบ่อยในเด็กอายุ 0-3 ปี ทอ้ งเสยี ท้องเสียหรอื อุจจาระร่วงเฉียบพลนั หมายถงึ การถ่ายอุจจาระเหลวอย่างนอ้ ย 3 ครง้ั ตอ่ วนั หรอื ถ่ายมีมูกหรอื ปนเลอื ดอยา่ งนอ้ ย 1 ครั้ง หรือถา่ ยเปน็ น�ำ้ จำ� นวนมากกวา่ 1 ครง้ั ขึ้นไปในเวลา 1วนั สาเหตุท่ลี กู ทอ้ งเสยี 1. เกดิ จากการตดิ เชอ้ื บางชนดิ อจุ จาระคอ่ นขา้ งเหลวถา่ ยเปน็ นำ้� พงุ่ กน้ แดง และเดก็ อาจมอี าการ ทอ้ งอืดรว่ มด้วย 2. การดดู ซมึ สารอาหารบางอยา่ งทผ่ี ดิ ปกตไิ ป เดก็ จะเรม่ิ ดว้ ยอาการทอ้ งเสยี อาจมอี าการเรอ้ื รงั มากกว่า 2 อาทติ ย์ ควรรบี พามาพบแพทย์ แนวทางการแกไ้ ข ใหเ้ รมิ่ กนิ สารนำ้� ทดแทนไดต้ งั้ แตเ่ รมิ่ ถา่ ยโดยทลี่ กู ยงั ไมม่ อี าการขาดนำ้� ลกู ทกี่ นิ นมแมใ่ หก้ นิ นมแม่ ต่อไป ในลกู อายุเกิน 4 เดอื นท่ีเคยกินข้าวแลว้ ให้กนิ โจ๊กใส่เกลือคร้ังละนอ้ ย และบอ่ ยๆ ถ้าอุจจาระน่ิม เหมือนเส้นยาสฟี นั แสดงวา่ ลูกหายแลว้ ให้กนิ อาหารปกติ หากลกู มีอาการแสดงของการขาดน้�ำ เชน่ กระหายน้�ำ ปากแห้ง ถา่ ยเปน็ นำ้� มาก ให้กนิ สารน้ำ� ท่ี เตรยี มในบา้ น เชน่ นำ้� ขา้ วใสเ่ กลอื หรอื นำ้� ตม้ สกุ 8 ออนซ์ (1 แกว้ ) ผสมนำ้� ตาลทราย 2 ชอ้ นชาปาด ผสม เกลอื 2 หยบิ มือ หากมีผงโออารเ์ อส (ORS) ควรผสมน�ำ้ ต้มสกุ ตามที่แนะนำ� ขา้ งซอง ชงให้ลกู ดื่มบอ่ ยๆ แลว้ พามาพบแพทย์หากอาการยงั ไม่ดีขน้ึ หรอื มีไขส้ งู รว่ มด้วย หรือมอี าการขาดนำ้� มากข้ึน เชน่ ตาโหล ปัสสาวะนอ้ ยลง กนิ ไม่ได้ เปน็ ต้น 68
ปญั หาทพี่ บบ่อยในเด็กอายุ 0-3 ปี ปัญหาการกิน จะใหเ้ ลกิ นมมอ้ื ดกึ ไดอ้ ย่างไร ควรฝึกตง้ั แต่เลก็ และค่อยเป็นค่อยไป โดยธรรมชาตเิ ดก็ วยั 2-3 เดือนแรกจะตืน่ บอ่ ย กนิ บ่อย เพราะวงจรการนอนยงั ไมแ่ นน่ อน ความจขุ องกระเพาะอาหารยงั เลก็ จงึ หวิ บอ่ ย เมอื่ โตขน้ึ วงจรการนอน จะเหมอื นผใู้ หญ่ เริ่มนอนได้นานขึ้น กระเพาะอาหารกโ็ ตข้ึน ดงั น้ัน จะลดนมมื้อดกึ ตงั้ แต่อายุ 3-4 เดอื น และเมือ่ อายุประมาณ 6 เดอื น เดก็ ส่วนใหญม่ กั สามารถนอนกลางคนื ได้นานขน้ึ แลว้ เด็กกจ็ ะเลกิ กินนม ม้อื ดึกได้เมอื่ อายุ 6 เดอื น โดยจะนอนกลางคนื ไดน้ านติดตอ่ กัน 4-5 ช่ัวโมง โดยไม่ตอ้ งตื่นมากินนม ในชว่ งอายุ 1-3 เดอื น ใหล้ กู เขา้ นอนเปน็ เวลา ควรฝกึ ใหล้ กู หลบั ไดด้ ว้ ยตวั เองโดยไมต่ อ้ งใหก้ นิ นม จนหลบั ขณะตน่ื ขน้ึ กลางคนื กจ็ ะชนิ กบั การหลบั ไดเ้ อง ไมร่ อ้ งขอนม แตถ่ า้ อมุ้ หรอื ใหด้ ดู นมจนหลบั เมอื่ ตืน่ กจ็ ะชินกบั การปฏบิ ัติดงั กลา่ ว ตดิ ขวดนม ให้เร่ิมจากพ่อแม่ต้ังใจจะให้เด็กเลิกกินนมขวดให้ได้ และใจแข็ง ฝึกให้ลูกกินนมจากแก้วในตอน กลางวนั กอ่ น แลว้ ค่อยฝึกให้เลกิ นมม้อื ดึก โดยคอ่ ยๆ ลดปรมิ าณจนเลกิ ได้ และเปล่ยี นจากดูดนมกอ่ น นอน เปน็ ดืม่ นมกอ่ นนอน เวลาพาไปนอกบา้ นในช่วงกลางวัน ไม่ควรเอาขวดนมไปด้วย ให้ดม่ื นมดมื่ นำ้� จากแก้ว เสรมิ ดว้ ย การเล่านทิ านเกย่ี วกับการเลกิ ขวดนม เช่น “บา๊ ยบายขวดนม” “หนอู ยากมีฟันสวย” ฯลฯ ถ้าท�ำทุกวธิ ี แลว้ ลูกยังเลกิ ไม่ได้ ก็อาจใชว้ ธิ ี “ทันทีทนั ใด” เกบ็ อุปกรณ์เกี่ยวกบั การกนิ นมขวดออกจากบ้าน ก็คงต้อง ร้องไห้กันสัก 2-3 วนั เด็กบางคนกส็ ามารถเลิกได้ อยา่ ลืมชมลกู ด้วยถา้ เขาท�ำได้ จะรูไ้ ดอ้ ยา่ งไรวา่ นมท่ีใหล้ กู กินมกี ารเตมิ น�้ำตาลพิเศษ ในตลาดเมอื งไทย นมผสมสำ� หรับเด็กเลก็ กินหลังอายุ 6 เดอื นส่วนใหญจ่ ะมีรสหวาน ก่อนเลอื ก นมใหล้ กู ใหอ้ ่านฉลากก่อน ถ้ามีการเตมิ นำ้� ตาลเพม่ิ ไปจากนำ�้ ตาลธรรมชาติ ไม่วา่ จะช่อื ซโู ครส กลูโคส คอร์นไซรับ นำ้� ผึง้ ไมค่ วรเลือกซอ้ื ใหล้ กู กิน แม้แตเ่ ครื่องดม่ื ทใี่ ชใ้ นการ เล้ียงดูเด็ก มีปริมาณความหวานมาก ได้แก่ น�้ำส้ม (20%) น้�ำอัดลม (17%) นมเปรี้ยว (11%) นม/นมกลอ่ ง เตมิ น้�ำตาล (9%) จึงมีโอกาส ตดิ รสหวานแตเ่ ยาวว์ ยั ปรมิ าณนำ�้ ตาลในเครอื่ งดม่ื ทเ่ี หมาะสมนา่ จะอยู่ ท่ี 5-7 % 69
ปัญหาทพ่ี บบ่อยในเดก็ อายุ 0-3 ปี ปัญหาพฒั นาการ พดู ชา้ เดก็ พดู ชา้ หมายถึงเด็กท่ีไม่สามารถพูดค�ำท่ีมคี วามหมาย 1 คำ� เม่ืออายุ 18 เดือน หรอื ไม่พดู ค�ำ 2 ค�ำต่อกนั เมอื่ อายุ 2 ขวบ หรอื ไม่สามารถพดู ให้ผ้อู ืน่ เขา้ ใจได้ทอ่ี ายุ 3 ปี หรอื มพี ัฒนาการด้านภาษา ถดถอย เช่น ลกู เคยพูดคำ� บางค�ำได้ แลว้ ไม่พดู อีกไมว่ า่ อายุใดก็ตาม หรือสงสัยว่าลูกจะไมไ่ ดย้ นิ ควรพา ลกู มาปรกึ ษาแพทยเ์ พอ่ื หาสาเหตุ และแกไ้ ขตงั้ แตต่ น้ เนอ่ื งจากภาษาเปน็ พฒั นาการดา้ นทมี่ คี วามสมั พนั ธ์ กับระดบั เชาวป์ ญั ญาของเด็กมากทส่ี ดุ สาเหตุของเด็กพดู ชา้ 1. เดก็ ไดร้ ับการเลีย้ งดอู ยา่ งไมเ่ หมาะสม เชน่ เดก็ ทถ่ี กู เลยี้ งดูอย่างปลอ่ ยปะละเลย ท่ีพบบอ่ ย ไดแ้ ก่ การปล่อยให้เดก็ ไดร้ บั ส่ืออเิ ล็กทรอนกิ ส์ผ่านจอตงั้ แต่อายุนอ้ ยๆ เปน็ ปรมิ าณมาก ตามลำ� พงั ถูก ทอดท้ิง ไม่ค่อยมีคนเล่น พูดส่ือสาร หรือมีปฏิสัมพันธ์ทางสังคมร่วมกับผู้อ่ืน จึงขาดการกระตุ้นอย่าง เหมาะสมจากส่งิ แวดลอ้ ม นอกจากนเี้ ดก็ อาจมพี ฒั นาการดา้ นอ่ืนลา่ ช้ารว่ มดว้ ย เชน่ เดนิ ชา้ กล้ามเนอื้ มดั เลก็ ลา่ ชา้ ไม่คอ่ ยสนใจสิ่งแวดลอ้ ม ช่วยเหลอื ตวั เองล่าช้า ไดป้ ระวตั กิ ารเลี้ยงดทู ไ่ี มเ่ หมาะสม ซึง่ เมอ่ื ปรบั เปลีย่ นการเล้ียงดู เด็กจะมพี ฒั นาการทีด่ ขี ้นึ อยา่ งเหน็ ไดช้ ดั เจน 2. การไดย้ นิ บกพรอ่ ง ท�ำให้เด็กพูดช้า และไม่ตอบสนองตอ่ เสียง เช่น ไม่หันตามเสียงเรยี ก ไม่ สะดุ้งเมื่อมีเสียงฟ้าร้อง หรือปิดประตู เด็กกลุ่มนี้มักใช้ภาษาท่าทางมากขึ้นเพื่อช่วยในการสื่อสาร เช่น มองหนา้ สบตามาก เวลาพดู ดว้ ยจะพยายามจอ้ งปาก ซ่ึงหากพอ่ แม่กังวลวา่ ลกู อาจไมไ่ ด้ยินเสียง จำ� เป็น ตอ้ งพาไปปรกึ ษากมุ ารแพทย์เพอื่ ไดร้ ับการตรวจการได้ยนิ อย่างละเอยี ดตอ่ ไป 3. ภาวะพัฒนาการลา่ ช้าหลายด้าน จะพบภาวะพูดชา้ ร่วมกับพัฒนาการดา้ นอ่นื ๆ ล่าชา้ ดว้ ย อกี อย่างนอ้ ย 1 ด้าน เชน่ เดนิ ชา้ การทำ� งานของตา และมอื ในการแก้ปญั หาชา้ กว่าวยั ช่วยเหลอื ตัวเอง ไดน้ อ้ ย บางรายมรี ปู รา่ งหนา้ ตาทผี่ ดิ ปกตอิ ยา่ งเหน็ ไดช้ ดั พอ่ แมก่ ค็ วรพาลกู มาปรกึ ษาแพทยเ์ พอ่ื หาสาเหตุ และวางแผนการดแู ลรักษาอยา่ งเหมาะสมต่อไป 4. เดก็ ทม่ี พี ฒั นาการดา้ นภาษาและการพดู สอ่ื สารลา่ ชา้ เพยี งอยา่ งเดยี ว ในขณะทม่ี พี ฒั นาการ ด้านอนื่ ๆ ปกติ จดั อยูใ่ นกลมุ่ เดก็ พูดช้าปากหนกั ซึ่งมกั มปี ระวตั ิในครอบครวั พูดชา้ ร่วมดว้ ย เด็กอาจมี พฒั นาการดา้ นการแสดงออกทางภาษาลา่ ชา้ เพยี งอยา่ งเดยี ว หรอื มที งั้ พฒั นาการดา้ นการแสดงออกทาง ภาษา และดา้ นความเขา้ ใจภาษาลา่ ชา้ รว่ มดว้ ย นอกจากนเ้ี ดก็ มกั มปี ระวตั ไิ ดร้ บั การเลยี้ งดอู ยา่ งไมเ่ หมาะ สมตามท่รี ะบุไวข้ า้ งต้นดว้ ย ซึง่ จะท�ำใหเ้ พิม่ ความเสยี่ งตอ่ การมพี ฒั นาการดา้ นภาษา และการพูดสอื่ สาร ลา่ ชา้ มากขึ้น 70
ปัญหาที่พบบอ่ ยในเดก็ อายุ 0-3 ปี 5. กลมุ่ อาการออทิสติก เดก็ มักอย่ใู นโลกส่วนตวั เรยี กช่อื ไมห่ ัน ไม่ค่อยชนี้ ้ิวเพ่ือบอกสงิ่ ท่ีสนใจ ไมส่ บตา ไมน่ �ำสงิ่ ของมาอวด หรอื โชว์ให้พอ่ แม่ดู ไมร่ ับรคู้ วามรู้สกึ และอารมณ์ของผู้อืน่ ไม่มคี วามสนใจ ในเดก็ คนอน่ื ชอบเลน่ คนเดยี ว ไมเ่ ลน่ สมมติ เชน่ ปอ้ นอาหารตกุ๊ ตา หรอื เลน่ เลยี นแบบตา่ งๆ ไมพ่ ดู สอ่ื สาร มีภาษาของตนเอง ชอบพูดตาม แตไ่ มเ่ ขา้ ใจความหมาย บางรายพูดภาษาเลียนแบบโฆษณาไดเ้ ปน็ ประ โยคยาวๆ แต่จะไม่เขา้ ใจ มีพฤติกรรมซำ้� ๆ และมคี วามสนใจจำ� กัด เบีย่ งเบนความสนใจยาก และปรบั ตัว ยากกบั สง่ิ แวดลอ้ มใหมๆ่ ปจั จบุ นั มเี ครอ่ื งมอื คดั กรองภาวะออทสิ ตกิ ในเดก็ อายุ 18-48 เดอื น ฉบบั ภาษา ไทย ซงึ่ เปน็ แบบสอบถาม Modified Checklist for Autism in Toddlers (M-CHAT) จำ� นวน 23 ขอ้ ใช้ เวลาในการตอบประมาณ 5 นาที ซงึ่ สามารถดาวโหลดไดท้ ่ี http://mchatscreen.com/wp-content/ uploads/2015/05/M-CHAT_Thai.pdf หากพอ่ แมต่ อบแบบสอบถามแลว้ ควรปรกึ ษากมุ ารแพทย์ หรอื แพทยผ์ เู้ ช่ยี วชาญเพอื่ ชว่ ยแปลผลอย่างถกู ต้องต่อไป แนวทางการแก้ไข 1. ควรพาลกู ไปพบกมุ ารแพทยเ์ พอ่ื วเิ คราะหห์ าสาเหตเุ บอื้ งตน้ และแนวทางแกไ้ ข รวมถงึ พจิ ารณา สง่ ปรึกษาแพทย์ผเู้ ชย่ี วชาญ ถา้ พบสาเหตทุ ีซ่ ับซอ้ น และตอ้ งการการรกั ษา และตดิ ตามอยา่ งเป็นระบบ 2. ปรับพฤติกรรมการเลี้ยงดู เพราะพัฒนาการด้านภาษา และการพูดสื่อสารเป็นพัฒนาการท่ี ตอ้ งอาศยั การเรียนรู้ และเลยี นแบบโดยเฉพาะจากการเลยี้ งดูท่มี คี ณุ ภาพ ดังนน้ั พ่อแม่ หรอื ผู้เล้ยี งดูจึง มีบทบาทส�ำคัญอยา่ งยง่ิ ในการฝึกพูด ส่งเสรมิ การพดู คยุ กับลกู ด้วยภาษาทา่ ทาง หรอื ค�ำพูด 3. ฝึกพูดโดยผู้เชี่ยวชาญ หรือพ่อแม่ โดยเพิ่มปริมาณการพุดคุยกับลูก และให้รางวัลเมื่อลูก พยายามพดู ส่ือสาร 4. หากลูกพูดช้า พ่อแม่ควรพัฒนาเทคนิคการฝึกฝนพัฒนาการด้านภาษา และการพูดส่ือสาร ตามทีร่ ะบุไว้ในบทก่อนหน้า 71
ปญั หาท่ีพบบ่อยในเด็กอายุ 0-3 ปี พฒั นาการลา่ ชา้ ทุกดา้ น พัฒนาการ หมายถึง การเปล่ียนแปลงของทักษะต่างๆ ท่ีเกิดขึ้นตามวัยตลอดชีวิตตั้งแต่เด็กจน เตบิ โตเปน็ ผใู้ หญ่ ซงึ่ เปน็ สงิ่ ทส่ี ำ� คญั โดยเฉพาะในเดก็ 5 ขวบปแี รกของชวี ติ เนอ่ื งจากเปน็ ชว่ งทส่ี มองและ ร่างกายก�ำลังเจริญเติบโตในอัตราท่ีค่อนขา้ งสูง การเปลีย่ นแปลงเหน็ ได้อย่างชดั เจน ซ่งึ อิทธิพลของการ เลยี้ งดู และตน้ ทนุ ทางชวี ภาพนนั้ มสี ว่ นสำ� คญั พอๆ กนั ในการทจ่ี ะสง่ ผลตอ่ พฒั นาการของลกู พฒั นาการ ของเดก็ มีหลายด้าน ไดแ้ กพ่ ฒั นาการด้านกลา้ มเนอื้ มดั ใหญ่ พัฒนาการด้านกล้ามเนอ้ื มดั เลก็ พฒั นาการ ดา้ นภาษาและการพดู สอ่ื สาร พฒั นาการดา้ นสงั คม อารมณ์ และการชว่ ยเหลอื ตวั เอง ซง่ึ เดก็ ทม่ี พี ฒั นาการ ล่าช้าหลายดา้ น หมายถงึ เดก็ มีพฒั นาการอย่างน้อย 2 ดา้ นลา่ ชา้ เช่น พัฒนาการด้านกล้ามเนื้อมดั เล็ก และพัฒนาการด้านภาษาและการพูดส่อื สารล่าช้า เปน็ ต้น การสง่ เสรมิ พฒั นาการในชว่ งวยั เดก็ เลก็ กอ่ น 5 ขวบ สามารถลดความรนุ แรง หรอื แกไ้ ขใหใ้ กลเ้ คยี ง ปกติไดม้ าก เน่อื งจากสมองของเด็กช่วงนี้ มคี วามยืดหยนุ่ ค่อนข้างมาก สามารถมกี ารปรบั ทงั้ โครงสรา้ ง และการทำ� หน้าท่ไี ด้อยา่ งเหมาะสม ถึงแมว้ ่าจะมสี าเหตตุ ่างๆ ก็ตาม แตเ่ มอื่ ผ่านชว่ งน้ไี ปแล้ว โอกาสที่ จะฝึกฝน จนให้กลับมาใกล้เคียงปกติน้ันจะท�ำได้ยากข้ึน ดังน้ันหากพ่อแม่ใกล้ชิดกับลูก และเห็นลูกมี พัฒนาการ หรือพฤติกรรมที่ผิดปกติให้รีบมาปรึกษากุมารแพทย์เพื่อหาสาเหตุ และวิธีการแก้ไขอย่าง เหมาะสมต่อไป นอกจากนี้หากพ่อแม่ใส่ใจเฝ้าติดตามพัฒนาการของลูกอย่างต่อเนื่องโดยเฉพาะเมื่อพาลูกไปฉีด วัคซีนตามวัย แลว้ มคี วามกังวลเก่ียวกบั พฒั นาการ พฤตกิ รรม และการเรยี นรขู้ องลกู ก็สามารถปรกึ ษา แพทยไ์ ดก้ อ่ นทล่ี กู จะมพี ฒั นาการลา่ ชา้ อยา่ งชดั เจน ซงึ่ จะทำ� ใหล้ กู ไดร้ บั การวนิ จิ ฉยั และดแู ลรกั ษาอยา่ ง เหมาะสมตั้งแตร่ ะยะเร่มิ แรก สาเหตขุ องเด็กที่มพี ฒั นาการโดยรวมลา่ ชา้ 1. ปัจจัยด้านตัวเด็ก เช่น การคลอดก่อนก�ำหนด น�้ำหนักแรกเกิดน้อยกว่าปกติ การติดเชื้อใน ระยะตัง้ ครรภ์ ขาดออกซเิ จนชว่ งแรกเกิด มภี าวะเหลืองแรกเกดิ อย่างรนุ แรงจนต้องเปลีย่ นถ่ายเลอื ด มี ความพิการแต่กำ� เนิดโดยเฉพาะระบบประสาท มกี ารตดิ เชอื้ ในสมอง หรือเยอื่ ห้มุ สมอง ไดร้ ับอุบัตเิ หตุ ทางศีรษะ หรือมคี วามผดิ ปกตทิ างพันธกุ รรม เชน่ กลุ่มอาการดาวน์ ซ่งึ จะมรี ปู รา่ งหนา้ ตาทผ่ี ดิ ปกติ มี ลักษณะเฉพาะ และพฒั นาการลา่ ชา้ 2. ปจั จยั ดา้ นสง่ิ แวดล้อม เด็กที่อยใู่ นส่งิ แวดลอ้ มทีไ่ ม่ดี และได้รบั การเล้ยี งดทู ีไ่ ม่เหมาะสม เชน่ เด็กท่ีถูกปล่อยปะละเลย ขาดการดูแลเอาใจใส่ และมีปฏิสัมพันธ์อย่างเหมาะสมกับพ่อแม่ ถูกทอดทิ้ง เด็กในสถานเล้ยี งเด็กกำ� พร้า ครอบครวั ยากจนขาดแคลน ยอ่ มส่งผลต่อพัฒนาการของเดก็ ในภาพรวม 72
ปญั หาทพี่ บบ่อยในเดก็ อายุ 0-3 ปี แนวทางการแกไ้ ข 1. หาสาเหตทุ ่ที �ำให้พฒั นาการลา่ ช้า โดยพบกุมารแพทย์ ถ้าพบวา่ เปน็ ความผิดปกติทถ่ี ่ายทอด ทางพนั ธกุ รรมจะมปี ระโยชนใ์ นดา้ นการปอ้ งกนั เพอ่ื ไมใ่ หเ้ กดิ ซำ้� ได้ มากกวา่ ครงึ่ หนงึ่ ของเดก็ ทมี่ พี ฒั นาการ ลา่ ชา้ อาจไม่สามารถหาสาเหตไุ ด้ 2. กลุ่มทีม่ พี ัฒนาการล่าชา้ เลก็ น้อย อาจให้คำ� แนะนำ� ในการฝึกกระตุ้นพัฒนาการเบอื้ งต้น และ นดั ตรวจตดิ ตามซ้ำ� 3. การกระตุ้นส่งเสรมิ พฒั นาการ ทีใ่ ชใ้ นชีวิตประจ�ำวัน ท่ีคลินิกฝกึ กระต้นุ พฒั นาการ ตามโรง พยาบาลตา่ งๆ ฝกึ สอนพ่อแมเ่ พือ่ นำ� กลับไปฝึกฝนตอ่ ที่บ้านอย่างสมำ�่ เสมอ 4. ใหค้ ำ� ปรกึ ษากบั ครอบครวั ในการหาแหลง่ ความรเู้ พม่ิ เตมิ ตา่ งๆ เชน่ หนงั สอื หรอื เวบ็ ไซตเ์ กยี่ ว กบั เด็กพเิ ศษ สมาคม และชมรมผู้ปกครองตา่ งๆ 73
ปัญหาที่พบบอ่ ยในเดก็ อายุ 0-3 ปี ปญั หาพฤติกรรมท่พี บบ่อย รอ้ งไห้มาก ทารกแรกเกดิ ชว่ งแรกมกั จะนอนมาก ไมค่ อ่ ยรอ้ งกวน จนเมอื่ อายุ 2 สปั ดาหข์ น้ึ ไปจะพบวา่ ทารก ปกติอาจร้องไห้มากข้ึนเรื่อยๆ โดยไม่มีสาเหตุชัดเจนได้ ท�ำให้พ่อแม่และผู้เลี้ยงดูเกิดความวิตกกังวลได้ โดยธรรมชาติ เมอ่ื ทารกอายุประมาณ 6-8 สัปดาห์ จะรอ้ งไหโ้ ดยเฉล่ยี วันละ 2.75 ช่วั โมง หลังจากนั้น เมือ่ อายุ 10-12 สัปดาห์ ทารกจะรอ้ งไหน้ ้อยลงเหลือประมาณวันละ 1 ชว่ั โมง ซง่ึ การรอ้ งไหน้ ี้ไม่สง่ ผล เสยี ใดๆ ต่อรา่ งกายหรือพฒั นาการของทารก สาเหตุของการร้องไห้ 1. หวิ 2. เหน่ือย เพลยี อยากนอน 3. จกุ เนอื่ งจากกินนมเขา้ ไป และเรอออกไม่หมด 4. ร�ำคาญ เชน่ ผา้ อ้อมเปียก ถงุ มือรัดนวิ้ เป็นต้น 5. เจบ็ ปวด เชน่ ปวดทอ้ ง ปวดหูจากหอู ักเสบ มดกัด 6. อ้อน อยากใหแ้ มอ่ ้มุ 7. ไมไ่ ด้ดังทต่ี อ้ งการเนือ่ งจากพ่อแมไ่ ม่เขา้ ใจ 8. ไดร้ ับความวิตกกังวล ถ่ายทอดมาจากผเู้ ล้ียงดู วิธีการชว่ ยเหลอื 1. สงั เกตพฤตกิ รรมและลกั ษณะพนื้ ฐานทางอารมณข์ องลกู เพอ่ื ทจี่ ะไดต้ อบสนองใหต้ รงกบั ความ ตอ้ งการ พอ่ แมค่ วรตอบสนองความตอ้ งการของลกู ในชว่ งอายุ 6 เดอื นแรกโดยทนั ที ตามทลี่ กู ตอ้ งการ เพอ่ื ใหล้ ูกเรยี นรูท้ จี่ ะไว้ใจพอ่ แม่ ทำ� ใหเ้ กดิ ความรูส้ ึกผกู พันทม่ี ั่นคง เชอื่ มน่ั ว่าพอ่ แม่จะสามารถช่วยเหลอื และ แกไ้ ขปญั หาได้ การอุ้มและสัมผัสทารกอย่างสมำ�่ เสมอระหวา่ งวัน สามารถช่วยให้ทารกรอ้ งไห้ลดลงได้ 2. สรา้ งบรรยากาศสบายๆ ในการเล้ยี งดู พ่อแม่ควรผอ่ นคลาย ไมว่ ิตกกังวลมากไป อาจหาคน มาชว่ ยแบ่งเบาภาระในการดแู ลลกู บา้ ง ผูเ้ ลยี้ งดูควรผลดั กันดแู ล อุม้ ปลอบโยนเด็ก อาจเปดิ เพลงเบาๆ หรือถ้าเดก็ รอ้ งอย่นู านจนเหง่อื แตกกใ็ หเ้ ช็ดตวั หรืออาบน้ำ� ให้สดชนื่ 3. ปรึกษาแพทย์ หากสงสัยวา่ มีความผดิ ปกตขิ องรา่ งกาย เช่น หูอักเสบ ไมส่ บาย ฯลฯ 4. พ่อแม่ควรปรับอารมณ์ ไม่เครียดหรือวิตกกังวลมากไป ควรเข้าใจว่าการร้องไห้ของลูกเป็น เร่ืองธรรมชาตขิ องทารก หากตรวจแล้วไมพ่ บความผดิ ปกติ 74
ปญั หาที่พบบ่อยในเดก็ อายุ 0-3 ปี ตดิ พอ่ แม่ ตดิ มือ โบราณวา่ ถา้ อมุ้ เดก็ มากไปจะทำ� ใหเ้ ดก็ ตดิ มอื ไมย่ อมทำ� อะไรเอง แตต่ ามหลกั พฒั นาการเดก็ สมยั ใหม่พบวา่ ถ้าตอบสนองเดก็ ให้ตรงกบั ความต้องการพน้ื ฐาน อ้มุ บ่อยๆ สัมผัส เลน่ คุยดว้ ยบอ่ ยๆ จะย่งิ ท�ำให้ทารกเรียนรู้ และมีพัฒนาการเร็ว รวมทงั้ เปน็ การสร้างความผูกพันไว้วางใจในพ่อแมอ่ ีกด้วย ทงั้ นเ้ี นอื่ งจาก เมื่อเด็กมีความสขุ และมคี วามม่ันใจในตัวพอ่ แมแ่ ล้ว เด็กก็อยากเลน่ และค่อยๆ แยกหา่ งจากพอ่ แมเ่ พอื่ สำ� รวจสง่ิ แวดลอ้ มไดม้ ากขน้ึ เมอื่ อายุ 8-12 เดอื น ลกู จะเรม่ิ คลานออกไปเลน่ หา่ ง จากพอ่ แม่ได้ แตเ่ มอื่ มีคนแปลกหนา้ เขา้ มาใกลๆ้ หรอื มสี งิ่ ทีท่ �ำใหไ้ ม่แน่ใจในสถานการณ์รอบขา้ ง ลูกจะ รบี คลานกลับมาหาพอ่ แมท่ นั ที และเมือ่ อายุ 1 ปี ลูกเดนิ ได้ ก็เริ่มออกห่างพ่อแม่ได้ด้วยความมน่ั ใจ สาเหตขุ องเดก็ ติดพอ่ แม่ 1. เปน็ ช่วงพฒั นาการปกตใิ น 1 ปีแรก 2. เดก็ ไม่เช่อื ม่ันในตัวพอ่ แม่ กลวั ว่าจะหายไปโดยเฉพาะในเวลาที่คนแปลกหนา้ เข้ามาใกล้ๆ ใน ช่วง 8 เดือน-2 ปี 3. พอ่ แมช่ ว่ ยเหลอื ลกู มากทกุ อยา่ ง ทำ� ใหล้ กู รกั สบาย ไมช่ ว่ ยเหลอื ตวั เอง ตอ้ งพงึ่ พาพอ่ แมต่ ลอดเวลา 4. การเลี้ยงดูที่มีการแสดงออกถึงความรักและความเอาใจใส่ท่ีไม่สม่�ำเสมอหรือไม่ชัดเจนท�ำให้ เด็กสับสน ไมไ่ ว้วางใจ วิธกี ารแกไ้ ข 1. เขา้ ใจพฒั นาการของเดก็ แตล่ ะวยั และตอบสนองใหต้ รงกบั ความตอ้ งการพน้ื ฐาน แตม่ ใิ ชย่ อม ให้เดก็ ทำ� อะไรกไ็ ด้ตามใจตนเอง 2. ฝึกฝนให้เด็กช่วยตัวเองให้มากที่สดุ ต้ังแตเ่ ลก็ เช่น ใหถ้ ือขวดนมเอง ให้หยิบจบั ควา้ ของเล่น ดว้ ยตนเอง ใหเ้ ดก็ ไปหยิบของเลน่ เอง เปน็ ตน้ 3. ใหค้ วามใกลช้ ดิ สมำ่� เสมอ และอยใู่ กลล้ กู เมอ่ื ลกู ตอ้ งการพอ่ แมท่ กุ ครงั้ โดยเฉพาะในชว่ งเวลา ทเี่ ด็กกลวั หรอื ไม่แนใ่ จ 4. สรา้ งบรรยากาศภายในบา้ นใหส้ งบ ราบรนื่ สนกุ สนาน ลดบรรยากาศเสยี งดงั ทที่ ำ� ใหเ้ ดก็ ตกใจบอ่ ยๆ 75
ปัญหาท่พี บบอ่ ยในเด็กอายุ 0-3 ปี ร้องกลน้ั เม่อื เดก็ โกรธ เจ็บปวดหรอื ถูกขดั ใจ อาจแสดงออกโดยการร้องไห้อยา่ งรนุ แรงแลว้ กลัน้ หายใจใน ระยะสน้ั ๆ ทำ� ใหม้ อี าการตวั ออ่ น รมิ ฝปี ากและตวั เขยี วคลำ�้ หมดสติ หรอื มอี าการเกรง็ แอน่ ตวั ไปขา้ งหลงั รว่ มดว้ ยได้ โดยมกั มอี าการไมเ่ กนิ 1-2 นาที เดก็ จะกลบั มารสู้ กึ ตวั และรอ้ งไหใ้ หม่ อาการรอ้ งกลนั้ หายใจ นีส้ ่วนใหญจ่ ะเรมิ่ เกดิ ไดใ้ นช่วงอายุ 6-24 เดือน และมักหายไปเองได้ก่อนอายุ 5 ปี อาการดงั กลา่ วทำ� ใหพ้ อ่ แมว่ ติ กกงั วลและตกใจมาก จนมกั จะยอมตามใจลกู ทกุ อยา่ งเมอื่ ลกู รอ้ งไห้ ทำ� ใหเ้ ดก็ เรยี นรูท้ จ่ี ะใชก้ ารรอ้ งไห้เพอ่ื เรยี กร้องใหไ้ ด้สิง่ ทีต่ อ้ งการ อาการนจี้ ึงอาจเกดิ ซ้ำ� ๆ ได้บ่อยขึ้น สาเหตทุ เี่ ด็กรอ้ งกลั้น 1. ลกั ษณะพนื้ ฐานทางอารมณข์ องเดก็ ทสี่ ง่ ผลตอ่ การควบคมุ และการแสดงออกทางอารมณ์ ซงึ่ มคี วามแตกตา่ งกนั ในแตล่ ะราย อาการรอ้ งกลนั้ เปน็ การแสดงความโกรธ กลวั เจบ็ ปวด หรอื การถกู ขดั ใจ ของเดก็ อยา่ งหนง่ึ 2. การเล้ยี งดูทม่ี ีการควบคุม หา้ มปราม หรือกระตนุ้ ให้เด็กโกรธมากเกนิ ไป 3. การตอบสนองของพ่อแม่เม่อื เกดิ อาการ โดยการตามใจ ท�ำให้ลกู แสดงอาการมากขึน้ วิธกี ารแก้ไข เดก็ ปกติทีก่ ลัน้ หายใจ 1-2 นาที ซงึ่ อาจท�ำใหต้ ัวออ่ นหรือปากเขยี วน้ัน ร่างกายของเด็กจะปรับให้ เดก็ กลบั มาหายใจไดเ้ องโดยอตั โนมตั ิ อาการตา่ งๆ ทเี่ กดิ จากการรอ้ งกลนั้ หายใจนไี้ มเ่ ปน็ อนั ตรายตอ่ รา่ งกาย หรือพัฒนาการของเดก็ ซงึ่ โดยปกติอาการนีจ้ ะค่อยๆ ลดน้อยลงและหายไปเองไดห้ ลังอายุ 2-3 ปี ดังนน้ั 1. ในรายที่มีอาการครั้งแรก ควรปรึกษาแพทย์เพ่ือตรวจประเมินว่ามีความผิดปกติของระบบ หวั ใจ และระบบประสาทหรือไม่ 2. ปอ้ งกนั การเกดิ อาการ โดยหลกี เลีย่ งการกระตุ้นใหเ้ ดก็ กลัว ตกใจ หรือโกรธ หลีกเลีย่ งการ บงั คบั หรอื ขัดใจโดยไมจ่ �ำเป็น แต่ไม่ตามใจเด็กเม่อื เกดิ อาการ ควรหา้ มดว้ ยความนุม่ นวล อาจใช้วิธีเบี่ยง เบนความสนใจของเดก็ ไปยงั ส่งิ อื่นแทน 3. เม่ือเด็กร้องกล้ัน อย่าตกใจ ให้จัดการด้วยความสงบ โดยการอุ้มหรือให้เด็กนอนราบกับพื้น เพอื่ ปอ้ งกันอันตรายจากการลม้ ศีรษะกระแทก เมอ่ื เด็กร้ตู วั ไมใ่ หใ้ นสิ่งท่เี ด็กเรียกรอ้ งแตค่ วรเบย่ี งเบน ความสนใจของเดก็ ไปยงั ส่ิงอืน่ แทน 4. ปรับการเล้ียงดูให้เหมาะสม ผู้ใหญ่ในบ้านควรใช้วิธีการแบบเดียวกันในการเล้ียงดูและปรับ พฤติกรรม 76
ปญั หาทพ่ี บบอ่ ยในเด็กอายุ 0-3 ปี รอ้ งดนิ้ อาละวาด เมอ่ื เดก็ เลก็ มคี วามคบั ขอ้ งใจหรอื ถกู ขดั ใจ มกั จะรอ้ งไห้ แผดเสยี งดงั กระทบื เทา้ ลงนอนดน้ิ กบั พนื้ ขวา้ งปาสิง่ ของหรือทุบตผี อู้ ืน่ ซงึ่ พฤติกรรมร้องดิน้ อาละวาดนพี้ บได้บอ่ ยเป็นปกตติ ามพฒั นาการของเดก็ อายุ 18 เดอื น-3 ปี หากพอ่ แม่จดั การไดอ้ ยา่ งเหมาะสม อาการจะลดลงและหายไปเมื่อเด็กเขา้ ส่วู ยั เรียน สาเหตทุ ่เี ดก็ ร้องด้นิ อาละวาด 1. เด็กมีความคับข้องใจ เน่ืองจากยังไม่สามารถสื่อสารเป็นค�ำพูดให้คนอื่นเข้าใจได้ว่าตนเอง ต้องการอะไรหรือรูส้ ึกอย่างไร 2. เด็กยังไม่สามารถจัดการกับอารมณ์ ความรู้สึกของตนเองได้ดี เม่ือมีความกังวล เครียด จึง แสดงออกเป็นการรอ้ งดิน้ อาละวาด 3. ความหิว เหนอ่ื ย อ่อนเพลีย หรือเจ็บป่วยไมส่ บาย กระตุ้นใหเ้ ดก็ หงุดหงิด อาละวาดไดง้ ่าย เพราะเดก็ เลก็ มคี วามอดทนจ�ำกดั 4. เปน็ การเรยี กรอ้ งความสนใจ เพราะเด็กเรียนรูว้ า่ เคยท�ำวิธีนแี้ ล้วไดผ้ ล จงึ แสดงพฤติกรรมดงั กลา่ วเพอื่ ให้คนอืน่ ตามใจหรอื สนใจ 5. การเล้ียงดูทีต่ ามใจมาก ไมก่ ำ� หนดขอบเขตท่ีชัดเจนให้เด็กปฏบิ ตั ิ หรอื คาดหวังมากเกนิ ไป วิธีการแก้ไข 1. รกั ษากิจวตั รประจำ� วนั ในบ้านใหส้ มำ�่ เสมอ ทำ� ให้เด็กคุ้นเคย และสามารถช่วยลดความขดั แยง้ ในบ้านไดด้ ี ตง้ั กฎเกณฑห์ รือระเบยี บต่างๆ ในบา้ นอย่างสมเหตุสมผล ไม่คาดหวังในตวั เด็กสูงเกนิ ไป 2. ส่งเสริมพฒั นาการทางภาษา สอนให้เด็กรจู้ ักพูดส่อื สารบอกความรสู้ กึ หรือความตอ้ งการของ ตัวเอง เชน่ “หนโู กรธแลว้ นะ” 3. พยายามหลกี เลย่ี งสถานการณท์ จี่ ะทำ� ใหเ้ ดก็ หงดุ หงดิ หรอื เกดิ ความคบั ขอ้ งใจ ไมค่ วรหา้ มปราม เดก็ มากเกนิ ไป หลกี เลยี่ งการพดู ปฏเิ สธเดก็ อยา่ งพรำ�่ เพรอ่ื ควรยดื หยนุ่ หรอื ปฏเิ สธอยา่ งนมุ่ นวลแทน อาจ ใช้การเบย่ี งเบนความสนใจ หรือหาอยา่ งอ่ืนใหเ้ ดก็ ทำ� ทดแทน เช่น หากลูกไมย่ อมเลกิ ดูทวี ี ควรจะปดิ ทวี ี แลว้ ชวนเด็กออกไปว่งิ เล่นนอกบ้านดว้ ยกนั เปน็ ต้น 4. ควรตกลงหรือบอกเด็กล่วงหน้า เพื่อให้เด็กได้มีเวลาเตรียมตัวเตรียมใจก่อนให้เด็กหยุดหรือ เปลี่ยนกิจกรรม และให้เด็กมโี อกาสตัดสนิ ใจเลือกบา้ ง เดก็ จะไดไ้ มร่ สู้ ึกวา่ ถูกบงั คบั เพราะเด็กอาจจะตอ่ ตา้ นมากข้ึน 5. ฝึกใหเ้ ด็กหดั ยบั ย้ังอารมณ์ เรียนรทู้ ี่จะรอคอยคนอนื่ และชว่ ยเหลือตัวเองให้มากขึน้ ทลี ะเล็กที ละนอ้ ย ให้ก�ำลังใจและแสดงความรกั เมื่อเดก็ ท�ำได้ แม้เพยี งเล็กน้อยกต็ าม 6. พ่อแม่และผู้ใหญใ่ นบา้ นควรเปน็ แบบอยา่ งทด่ี แี กเ่ ด็กในการจัดการกบั อารมณ์ ไม่ควรทะเลาะ วิวาทหรอื ใช้ความรุนแรงตอ่ หน้าเดก็ และควรเล้ียงดู ปรบั พฤตกิ รรมเดก็ ในแนวทางเดียวกนั 77
ปญั หาท่พี บบ่อยในเด็กอายุ 0-3 ปี วิธีปฏิบตั ิเมอื่ เดก็ อาละวาด 1. ไมต่ ามใจและตอบสนองดว้ ยความสงบ โดยการเพกิ เฉย ไมส่ นใจกบั พฤตกิ รรมเดก็ บอกใหเ้ ดก็ รู้ว่า เม่อื เขาสงบ พอ่ แมจ่ ึงจะพูดกับเขา เช่น “แมร่ ูว้ ่าหนโู กรธ หนูนั่งพักก่อน เมอ่ื หนูหยดุ ร้องไห้แล้วแม่ ถึงจะคุยด้วย” เปน็ ตน้ เมื่อเด็กสงบแลว้ จงึ เข้าไปให้ความสนใจ พูดคยุ กับเด็ก แต่ไม่โอเ๋ ดก็ 2. พาเด็กไปอยู่ในทีป่ ลอดภัย เก็บสิง่ ของท่ีเปน็ อันตรายทุกอยา่ งให้พ้นมือเด็ก 3. หากเดก็ แสดงพฤตกิ รรมทกี่ า้ วรา้ ว เชน่ ทบุ ตที ำ� รา้ ยตวั เองหรอื ผอู้ น่ื ขวา้ งปาหรอื ทำ� ลายสง่ิ ของ พอ่ แมไ่ มค่ วรเพกิ เฉย แตค่ วรเขา้ ไปจดั การทนั ทดี ว้ ยทา่ ทที ส่ี งบ โดยการกอดเดก็ จบั แขนขาไว้ ไมใ่ หท้ ำ� รา้ ย ตัวเองหรอื ผอู้ ่นื ไมพ่ ดู หรอื อธบิ ายมากในขณะนัน้ ไม่จับเด็กแรง หรือใช้การจบั ตวั เปน็ การลงโทษ พดู ให้ เด็กเข้าใจว่าพ่อแม่ช่วยจับเขาไว้ช่ัวคราว เพื่อช่วยเหลือให้เด็กสามารถควบคุมตัวเองได้ และให้เด็กรู้ว่า พ่อแม่ไม่ยอมให้เขา ท�ำลายข้าวของ ท�ำร้ายตัวเองหรือคนอื่นอย่างเด็ดขาด แต่ยอมรับอารมณ์ของเด็ก ได้ เชน่ “หนูโกรธแล้ว หนูร้องไห้ได้ แต่หนตู ีคนอ่ืนไมไ่ ด”้ การใช้ท่าทที มี่ ัน่ คง น�้ำเสยี งและสัมผัสท่จี ับ เดก็ อยา่ งนุ่มนวล จะช่วยทำ� ใหเ้ ด็กสงบไดเ้ ร็วข้นึ 4. เมอ่ื เดก็ สงบแลว้ ควรเขา้ ไปพดู คยุ ถงึ สาเหตทุ ท่ี ำ� ใหเ้ ดก็ หงดุ หงดิ และแนะนำ� วธิ กี ารแกไ้ ขปญั หา อยา่ งเหมาะสม เชน่ หากหนอู ยากกินขนม ใหพ้ ดู บอกแม่ แตไ่ ม่รอ้ งอาละวาดแบบน้ี เป็นตน้ 78
ปัญหาที่พบบ่อยในเดก็ อายุ 0-3 ปี มันเข้ียว วัย 8 เดือน เป็นช่วงท่ีเด็กจะฝึกหัดการกัด ขบ เคี้ยว จะเห็นว่าพฤติกรรมมันเขี้ยวเกิดขึ้นตาม ธรรมชาติ เดก็ จะตรงรค่ี ลานเขา้ มาหา และใชเ้ หงอื ก ไลง่ บั ของเลน่ ขาเกา้ อี้ รองเทา้ ฯลฯ นนั่ เปน็ สญั ญาณ ใหพ้ อ่ แม่รู้ว่าเดก็ พร้อมทีจ่ ะกนิ อาหารทีใ่ ชก้ ารกัด แทะ เคย้ี วได้แล้ว สาเหตทุ เ่ี ดก็ เลก็ ชอบกัดคน 1. เป็นพฤตกิ รรมตามธรรมชาติ เป็นชว่ งวัยทเี่ หงอื กพร้อมทจี่ ะท�ำงานมากขน้ึ (8 เดอื น-1 ป)ี 2. ถูกส่งเสริม เช่น ผู้ใหญ่ยินยอมให้เด็กกัด หรือผู้ใหญ่กัดตอบ ท�ำให้เด็กแยกแยะไม่ถูกคิดว่า พฤติกรรมน้เี ป็นพฤติกรรมปกตทิ ี่ท�ำกันได้ 3. เปน็ การแสดงออกของความโกรธอยา่ งหนงึ่ วธิ กี ารแกไ้ ข 1. ปรบั เปลยี่ นลกั ษณะอาหารใหเ้ หมาะสม ใหอ้ าหารทแี่ ขง็ หยนุ่ ทที่ ำ� ใหเ้ หงอื กและฟนั ทำ� งานเพม่ิ ขน้ึ 2. เบยี่ งเบนความสนใจ โดยใชข้ องเลน่ ทก่ี ดั ไดใ้ นหลากหลายรปู แบบ สง่ิ ใดไมส่ มควร เชน่ รองเทา้ ขาเก้าอี้ เนอ้ื ฯลฯ ต้องหยดุ ยั้งไม่ใหม้ ีโอกาสท�ำ นนั่ คอื สอนว่าส่งิ ใดกดั ได้ และสิง่ ใดกัดไมไ่ ด้ 3. อยา่ ปลอ่ ยใหเ้ ด็กแสดงความโกรธโดยการทำ� ร้ายคน ท�ำร้ายตวั เองหรือขา้ วของ แต่โกรธแล้ว ร้องไห้ได้ คร�ำ่ ครวญได้ 79
ปญั หาที่พบบ่อยในเด็กอายุ 0-3 ปี ไมย่ อมสบตา ทารกแรกเกิดจะจบั จ้องมองสิ่งใดไดไ้ มน่ านพอ แตถ่ า้ แม่เข้าไปใกลๆ้ บ่อยๆ ในระยะ 1 ฟตุ คอย เรียก หมัน่ พูดคยุ ย้ิมและเล่นด้วย โดยเฉพาะพยายามสบตาเดก็ ให้บอ่ ยๆ สุดท้ายจะดึงความสนใจจาก เด็กได้ หน้าของแม่จะเปน็ สิง่ ทที่ ารกให้ความสนใจสูงสุด จากสบตาได้ 2 วินาที จะค่อยๆ เพิ่มเปน็ 3 และเพม่ิ เป็น 5 และ 10 นาที เด็กจะเฝ้ามองดูราย ละเอยี ดของหนา้ แม่ (ถา้ แมเ่ ขา้ มาอุ้ม คุยเลน่ บอ่ ยๆ) สาเหตุทเ่ี ดก็ ไม่ยอมสบตา 1. ขาดการกระตนุ้ จากผใู้ กลช้ ดิ ใหแ้ ตน่ มแตเ่ ดก็ ถกู ละทงิ้ ไวก้ บั ขวดนมไมม่ ใี ครเขา้ มาเลน่ หรอื เขา้ มาคุยด้วย 2. มีความผดิ ปกติของตาและการรับภาพ 3. มคี วามบกพร่องในการท�ำงานของระบบประสาท จากการขาดออกซเิ จน 4. โรคออทสิ ตกิ คือโรคที่มคี วามบกพรอ่ งในการพูด การเขา้ สังคม การสบตา และการเรยี นรู้ วิธกี ารชว่ ยเหลอื 1. ตรวจเช็คความสามารถของเด็ก ในกรณีที่เด็กไม่ยอมมอง จ้องหน้า หรือสบตา แสดงว่า พัฒนาการดา้ นหนึ่งเร่ิมเสยี หาย อาจมีพัฒนาการด้านอืน่ ๆ เสยี หายด้วย โดยทพ่ี อ่ แม่คาดไมถ่ งึ จงึ ควร ตรวจความสามารถของลกู กบั สมดุ สขุ ภาพวา่ มดี า้ นอน่ื ผดิ ปกตดิ ว้ ยหรอื ใม่ ถา้ ไมแ่ นใ่ จควรพบกมุ ารแพทย์ เพ่ือตรวจเชค็ พัฒนาการอยา่ งละเอียด 2. หาตน้ เหตุของปญั หาท่ีเด็กไมส่ บตา ถา้ คิดวา่ อาจเกดิ จากการท่มี คี นเขา้ ไปเล่น พูดคยุ กบั เดก็ นอ้ ยเกนิ ไป ให้ปรับเปลีย่ นโดยเพิ่มทัง้ ปริมาณและคณุ ภาพของคนท่เี ข้าไปเลน่ กบั เดก็ เพิม่ การมองหนา้ และสบตากบั เดก็ โดยตรงอย่างเตม็ ท่ี โดยดูจากระยะเวลาที่เด็กตื่นว่ามคี นเขา้ ไปคุยด้วยกี่นาทีตอ่ วนั ย่ิง มากก็จะได้ผลในทางที่ดี แต่ถ้าส่วนใหญ่เด็กถูกทิ้งให้อยู่คนเดียวนานๆ สุดท้ายจะท�ำให้พัฒนาการด้าน อนื่ ๆ ล่าช้าตามไปด้วย 3. ในกรณีท่ที �ำเต็มที่แลว้ และไมด่ ีขนึ้ กรุณาไปพบกมุ ารแพทย์ เพอ่ื ตรวจเชค็ สายตา และระบบ ประสาท รวมทงั้ ตรวจพฒั นาการของเดก็ อย่างละเอียด 4. ขอความชว่ ยเหลอื ในการฝกึ จากทมี งานสาธารณสขุ เชน่ นกั กระตนุ้ พฒั นาการ นกั ฝกึ พดู เปน็ ตน้ 80
ปญั หาทพี่ บบอ่ ยในเดก็ อายุ 0-3 ปี ไม่ร่าเรงิ ช่วงวัย 4 เดือน จะเป็นช่วงท่ีเด็กแสดงความร่าเริงแจ่มใส ส่งย้ิมให้กับคนท่ัวไป เน่ืองจากยังแยก หนา้ คนแปลกหนา้ กบั หนา้ ของคนทีค่ ุ้นเคยไมไ่ ด้ ความสามารถนีเ้ รยี กว่า เดก็ มี Social smile ซ่งึ เปน็ สิง่ ท่ี สะทอ้ นถงึ คณุ ภาพทด่ี ขี องผทู้ อี่ ยใู่ กลช้ ดิ เดก็ และจากการทเ่ี ดก็ ไมร่ า่ เรงิ จะทำ� ใหก้ ารเคลอื่ นไหวลดลง ความ สนใจตอ่ สิ่งต่างๆ ลดลง สง่ ผลท�ำใหก้ นิ นมน้อย นำ้� หนักไมเ่ พม่ิ ตามเกณฑ์ สาเหตุท่เี ดก็ ไม่รา่ เรงิ 1. ขาดการคยุ เล่น สนกุ สนานกบั เด็ก 2. ถูกละทงิ้ ละเลย หรอื การเล้ยี งดทู ่รี นุ แรง 3. มีความผิดปกติของระบบประสาททร่ี นุ แรง หรือตาบอด 4. เปน็ โรคบางอย่าง เช่น ปัญญาอ่อน โรคออทิสติก ฯลฯ วธิ กี ารแก้ไข 1. ปรบั เปลยี่ นสภาพแวดลอ้ มโดยดใู นรายละเอยี ดของแตล่ ะชว่ งเวลาทเี่ ดก็ ตน่ื วา่ มใี ครเขา้ ไปเลน่ กบั เดก็ มากนอ้ ยเพียงใด จะเหน็ วา่ ถ้ามีการคุยเลน่ กบั เดก็ บ่อยๆ เด็กก็จะกลับมามีอารมณ์รา่ เรงิ ตอบโตอ้ ยา่ ง สนกุ สนานได้ 2. หาคนเลีย้ งท่อี ารมณ์ดแี ละรักเด็กมาช่วยเลย้ี ง เพอ่ื ใหค้ ุณแมท่ เี่ หน็ดเหนื่อยจากการท�ำงานบา้ น และต้องเลยี้ งลูกตามล�ำพัง จะไดม้ ีเวลาพักผ่อนเพยี งพอ มเี วลาทจ่ี ะท�ำธุระสว่ นตัวได้บ้าง 3. ถา้ พยายามแก้ไขอยา่ งเต็มทเี่ ป็นเวลาอย่างนอ้ ย 2-4 สัปดาห์แลว้ แตย่ งั ไม่พบการเปลย่ี นแปลง ของเดก็ เลย ควรน�ำเดก็ ไปพบกุมารแพทย์ เพ่ือตรวจหาความผิดปกติ 81
ปญั หาที่พบบอ่ ยในเด็กอายุ 0-3 ปี ดดู นิว้ การดดู นวิ้ เปน็ พฤตกิ รรมทพี่ บไดบ้ อ่ ยและเกดิ ขนึ้ ไดต้ ามปกตขิ องพฒั นาการเดก็ เดก็ เรมิ่ ดดู นว้ิ ตงั้ แต่ อยูใ่ นครรภ์มารดาจนถึง 2 ขวบ และมักจะคอ่ ยๆ เลกิ ดดู ไปเอง เด็กอาจดูดนิ้วมากขึน้ ในบางภาวะ ได้แก่ เม่อื เครยี ด ง่วงนอน กงั วล กลวั ถูกขดั ใจ เหนื่อย หรอื เวลาเพลนิ ๆ เชน่ ดูทวี ี โดยท่ัวไปแลว้ การตดิ ดดู นว้ิ น้ี มักจะหายไปก่อนอายุ 5 ปี สาเหตทุ เี่ ดก็ ชอบดดู นวิ้ 1. เปน็ พฤตกิ รรมตามธรรมชาติ ซงึ่ พบบอ่ ยในระยะ 1 ขวบปีแรก 2. ถูกปล่อยให้ยึดติดกับพฤติกรรมนี้ โดยไม่ได้รับการฝึกฝนหรือเบี่ยงเบนแก้ไข จนเด็กติดกลาย เปน็ นสิ ัย ไมย่ อมเลกิ ดดู นวิ้ เม่อื โตข้ึน 3. เปน็ วธิ กี ารระบายความเครยี ดจากความวติ กกงั วล เชน่ การพลดั พรากจากพอ่ แม่ ตน่ื เตน้ เปน็ ตน้ 4. การเลย้ี งดทู ่ไี มเ่ หมาะสม เชน่ ถูกทอดทง้ิ ขาดการกระตุ้น เปน็ ต้น วิธีการแกไ้ ข แม้ว่าการดูดน้ิวจะเป็นพฤติกรรมตามธรรมชาติ แต่จ�ำเป็นต้องปรับลดให้หมดไปก่อนโต วิธีการท่ี ใช้ไดผ้ ล เช่น 1. ควรใหค้ วามสนใจเด็ก โดยการเล่น หยอกล้อกับเด็ก เพอื่ ไมใ่ ห้เด็กกระตนุ้ ตวั เองตามล�ำพงั 2. เบ่ยี งเบนความสนใจ โดยใช้ของเลน่ ท่ีต้องใชม้ อื หรือใหเ้ ดก็ ทำ� กิจกรรมอื่นๆ ที่ตอ้ งใชม้ ือแทน 3. ใหเ้ ดก็ ออกกำ� ลงั กายมากขน้ึ ชว่ งเยน็ เพอ่ื ชว่ ยใหห้ ลบั งา่ ยขนึ้ เปน็ การลดระยะเวลาทเ่ี ดก็ จะกลอ่ ม ตวั เองด้วยการดดู นิ้วในชว่ งกอ่ นนอนให้สนั้ ลง 4. ปรับเปล่ียนลักษณะอาหารให้ต้องใช้การเค้ียวให้มากข้ึน โดยเฉพาะในวัย 8 เดือนขึ้นไป เพ่ือ ทำ� ใหก้ ล้ามเนอื้ บรเิ วณปาก คาง คอ ทำ� งานหนกั ขน้ึ 5. ไมด่ วุ า่ ทำ� โทษ หรอื ไปสนใจกบั การดดู นวิ้ มากไป เพราะจะยงิ่ ทำ� ใหเ้ ดก็ เครยี ดและดดู นว้ิ มากขนึ้ 6. ในเดก็ โต ควรคอ่ ยๆ พดู อธบิ ายใหเ้ ดก็ เขา้ ใจ และชมเชยเมอ่ื เดก็ พยายามจะเลกิ ถงึ แมจ้ ะยงั เลกิ ไม่สำ� เร็จกต็ าม 7. หาสาเหตุทท่ี �ำใหเ้ ดก็ เครียด และพยายามชว่ ยแก้ไข 8. เด็กทดี่ ดู นิ้วนานๆ จนฟนั แทข้ ้นึ อาจมีปัญหาขบฟันได้ จงึ ควรปรกึ ษาทันตแพทย์ด้วย 82
ปญั หาทพ่ี บบอ่ ยในเด็กอายุ 0-3 ปี ตดิ ผ้าหม่ ความวติ กกงั วลในการพลดั พรากจากพอ่ แม่ ถือวา่ เป็นเร่อื งตามธรรมชาติของเด็กในวยั ก่อน 3 ขวบ ในครอบครัวทพ่ี อ่ แมต่ อ้ งไปทำ� งานนอกบ้าน เดก็ ตอ้ งเรยี นรทู้ จี่ ะอยกู่ บั คนอน่ื ผา้ หม่ ตกุ๊ ตา หมอนขา้ ง ขวดนม ฯลฯ สง่ิ ของเหลา่ นจี้ งึ เปน็ ตวั แทน หรอื สัญลักษณข์ องความคนุ้ เคยเกา่ ๆ ท่ีจะเชื่อมโยงเดก็ กบั พอ่ แม่ ชว่ ยท�ำใหเ้ ด็กลดความวิตกกังวล สาเหตุท่ีเด็กตดิ ผ้าห่มจนโต 1. วติ กกงั วล ไมแ่ น่ใจ ไม่มั่นใจในความรัก และความปลอดภยั จากพอ่ แม่ 2. การฝกึ ฝนการแยกจากกัน ทำ� ได้ไม่นมุ่ นวล 3. มีประสบการณ์ทำ� ให้วิตกกงั วล หรอื หวาดกลัวสงู 4. ไม่ม่นั ใจในตนเอง ชว่ ยเหลอื ตวั เองได้น้อย แก้ปัญหาตา่ งๆ ได้ไม่ดี 5. ถกู เลย้ี งดูแบบปกปอ้ ง ส่งเสริมใหเ้ ปน็ เดก็ เล็กทีต่ อ้ งคอยพ่ึงพาผู้เล้ยี งดตู ลอดเวลา วธิ กี ารแกไ้ ข 1. สังเกตลกั ษณะของลูกวา่ ส่งิ ใดท่ีเป็นพฤตกิ รรมทคี่ วรส่งเสรมิ เช่น การช่วยเหลอื ตนเองการใช้ มือ การแกป้ ัญหาเฉพาะหน้า เป็นตน้ 2. ฝกึ ฝนสอนทกั ษะตา่ งๆ ผ่านการเลน่ การชว่ ยเหลอื ตนเอง และการทำ� งานบา้ น โดยเปดิ โอกาส ใหท้ ำ� ซำ�้ ๆ ภายใตบ้ รรยากาศท่ดี ี สนุกสนาน 3. จัดสง่ิ แวดลอ้ มให้ทา้ ทายความสามารถและให้โอกาสเดก็ ท�ำส่ิงต่างๆ สำ� เรจ็ มากกวา่ ลม้ เหลว 4. อย่าบีบบงั คบั ใหเ้ ด็กท้งิ ผ้าหม่ ตกุ๊ ตา หรอื หมอนข้าง เมอ่ื เด็กยังไมม่ ่นั ใจ 5. ให้เวลาเล่นสนุกกับลูกเพ่ิมข้ึน นอกจากจะได้ฝึกฝนลูกผ่านการเล่นแล้ว ยังเป็นการสร้าง สัมพนั ธภาพทด่ี ีระหว่างกัน 83
ปญั หาท่ีพบบอ่ ยในเด็กอายุ 0-3 ปี กลวั คนแปลกหน้า ชว่ งทารกอายปุ ระมาณ 6 เดอื นขน้ึ ไป การเรยี นรขู้ องทารกจะพฒั นาขน้ึ มากจนสามารถแยกแยะคน แปลกหนา้ และมปี ฏกิ ริ ยิ าโตต้ อบโดยการปฏเิ สธทจี่ ะเขา้ ใกลค้ นแปลกหนา้ และรอ้ งหาผคู้ นุ้ เคยได้ ถา้ พอ่ แม่ มคี วามวติ กกงั วลสงู ตน่ื เตน้ ตกใจงา่ ย กจ็ ะถา่ ยทอดความวติ กกงั วลเหลา่ นไี้ ปยงั ลกู ได้ ทารกสามารถสงั เกต เหน็ ทา่ ทขี องพอ่ แมท่ เ่ี ปลย่ี นแปลงไปทงั้ นำ�้ เสยี ง สหี นา้ ทา่ ทาง หรอื วธิ กี ารอมุ้ จบั ลกู เมอื่ มคี นแปลกหนา้ มา เข้าใกล้ลูก จะทำ� ใหล้ ูกรอ้ งไหไ้ ปก่อนดว้ ยซำ�้ ความวิตกกงั วล กลัวคนแปลกหนา้ เปน็ สญั ชาตญิ าณประจำ� ตวั ทีท่ ุกคนควรจะมีตดิ ตัวไว้เพ่อื ความ ปลอดภยั แตห่ ากมมี ากไปกส็ ามารถขดั ขวางพฒั นาการได้ แต่หากไมม่ เี ลยก็ทำ� ให้เดก็ ไวใ้ จคนงา่ ยไป อาจ ถกู หลอกไดง้ ่าย สาเหตุทีล่ กู กลวั คนแปลกหนา้ 1. เป็นพัฒนาการปกติของเด็กเล็ก 2. เด็กถูกข่บู อ่ ยๆ หรอื ใชเ้ สียงดงั ทำ� ให้เด็กหวาดกลวั ตกใจอยบู่ ่อยๆ 3. ไมม่ ่นั ใจในตัวพ่อแม่ ไมม่ น่ั ใจในตวั เอง 4. มแี บบอย่างคนขีก้ ลัว หรอื มีความวิตกกงั วลสงู วธิ กี ารแก้ไข 1. ตอบสนองความต้องการของเดก็ อยา่ งสม�่ำเสมอ ด้วยทา่ ทีที่อบอ่นุ สบายๆ และคาดเดาได้ เพอ่ื ชว่ ยใหเ้ ด็กมน่ั ใจในตนเอง 2. ฝึกให้เดก็ ท�ำส่ิงตา่ งๆ ดว้ ยตนเอง เชน่ การเดิน กนิ ข้าว หยบิ ของ อาบน�้ำ เป็นตน้ 3. ลดการขม่ ขู่ 4. ฝกึ ให้พบคนแปลกหนา้ พรอ้ มพ่อแมใ่ หบ้ อ่ ยขน้ึ โดยฝกึ ซำ�้ ๆ อยา่ ไปเรง่ เด็กเม่ือเดก็ ยังไม่พรอ้ ม 84
เอกสารอา้ งอิง เอกสารอ้างองิ 1. วนั เพญ็ บญุ ประกอบ. พัฒนาบคุ ลกิ ภาพของเด็กและวัยรนุ่ . ใน: วินัดดา ปยิ ะศิลป์, พนม เกตุมาน, บรรณาธิการ. ต�ำราจิตเวช เด็กและวยั รนุ่ . ชมรมจติ แพทยเ์ ดก็ และวัยรุ่น. กรุงเทพมหานคร: บรษิ ัท บียอนด์ เอ็นเทอร์ไพรซ์ จ�ำกดั , 2545: 1-31. 2. วนั เพ็ญ บญุ ประกอบ. ปฐมวยั . ใน: วันเพ็ญ บญุ ประกอบ, อมั พล สูอำ� พนั , นงพะงา ลิม้ สุวรรณ, บรรณาธกิ าร. จิตเวชเดก็ สำ� หรบั กมุ ารแพทย์. กรุงเทพมหานคร: ชวนพมิ พ์, 2538: 24-33. 3. วัณเพ็ญ บุญประกอบ. อารมณ์ผูกพัน. ใน: วินัดดา ปิยะศิลป์, พนม เกตุมาน, บรรณาธิการ. ต�ำราจิตเวชเด็กและวัยรุ่น. กรุงเทพมหานคร: บริษัท บยี อนด์ เอน็ เทอร์ไพรซ์ จำ� กดั , 2545: 32-42. 4. นงพงา ลิม้ สุวรรณ. หลกั การอบรมเลี้ยงดเู ดก็ . ใน: วินัดดา ปิยะศิลป์, พนม เกตุมาน, บรรณาธิการ. ตำ� ราจิตเวชเด็กและวัย รนุ่ . กรุงเทพมหานคร: บริษัท บยี อนด์ เอ็นเทอร์ไพรซ,์ 2545: 57-65. 5. นงพงา ล้ิมสวุ รรณ. เลย้ี งลกู ถูกวธิ ชี ีวีเปน็ สุข. กรงุ เทพมหานคร: เมคอินโฟ จ.ี ดี., 2542. 6. อมุ าพร สุทศั น์วรวุฒิ, สุภาพรรณ ตนั ตราชีวาธร, สมโชค คณุ สนอง, บรรณาธิการ. ค่มู อื อาหารตามวยั สำ� หรบั ทารกและเดก็ เลก็ . กรงุ เทพมหานคร: บียอนด์ เอ็นเตอร์ไพรซ์; 2552. 7. สำ� นกั ส่งเสรมิ สุขภาพ กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข. สมดุ บันทึกสุขภาพแม่และเดก็ . กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์องค์การ สงเคราะหท์ หารผา่ นศึก; 2557. 8. กราฟมาตรฐานการเจรญิ เตบิ โตขององคก์ ารอนามยั โลก. (Cited 2017 Jan 28). Available from: http://nutrition.anamai. moph.go.th/temp/main/view.php?group=1&id=717. 9. วรี ะศกั ด์ิ ชลไชยะ. Child Health Supervision towards Excellence: Developmental & Behavioral Considerations. ใน ศิริวรรณ วนานกุ ูล, วรนชุ จงศรีสวสั ด,ิ์ สชุ รี า ฉตั รเพริดพราย, องั คนยี ์ ชะนะกุล, บรรณาธกิ าร. Pediatric Practice: Towards the Future Excellence. พิมพค์ ร้งั ท่ี 1. กรุงเทพมหานคร: บรษิ ัท บียอนด์ เอน็ เทอรไ์ พรซ์ จำ� กดั , 2557: 60-97. 10. วรี ะศกั ด์ิ ชลไชยะ. ผลของสอื่ อเิ ลก็ ทรอนกิ สต์ อ่ พฒั นาการ พฤตกิ รรม และสขุ ภาพของเดก็ Children and Electronic Media: Effects on Development, Behaviors, and Health. ใน ทิพวรรณ หรรษคุณาชยั , รววิ รรณ รงุ่ ไพรวัลย์, สุรียล์ ักษณ์ สจุ ริตพงศ,์ วีระศกั ดิ์ ชลไชยะ, บรรณาธิการ. ตำ� ราพฒั นาการและพฤติกรรมเดก็ เล่ม 3 การดแู ลเดก็ สุขภาพดี. พมิ พค์ รั้งที่ 1. กรงุ เทพมหานคร: บรษิ ัท บยี อนด์ เอ็นเทอรไ์ พรซ์ จำ� กัด, 2556: 356-369. 11. อมุ าพร ตรังคสมบัต.ิ สร้างวินยั ใหล้ กู คุณ. กรงุ เทพมหานคร: บรษิ ัท ซันต้าการพมิ พ์ จ�ำกัด, 2542. 12. วิฐารณ บญุ สทิ ธ.ิ ปัญหาพฤตกิ รรมทพี่ บบอ่ ยในเดก็ วัย 0-5 ปี. ใน: จนั ทฑ์ ติ า พฤกษานานนท์, รตั โนทยั พลบั ร้กู าร,พงษศ์ ักดิ์ นอ้ ยพยัคฆ์, ประสบศรี อง้ึ ถาวร, บรรณาธิการ. การบริหารความเสี่ยงในการดแู ลสขุ ภาพเด็ก. กรุงเทพมหานคร: หจก.ภาพ พิมพ,์ 2546: 87-98. 13. วนั ดี นงิ สานนท์, วนิ ดั ดา ปยิ ะศลิ ป์, สมุ ติ ร สตุ รา และคณะ, บรรณาธกิ าร. วเิ คราะหส์ ขุ ภาวะเดก็ ไทยในปี 2552. ราชวิทยาลัย กมุ ารแพทย์แห่งประเทศไทย. กรงุ เทพฯ: บรษิ ัท บียอนด์ เอ็นเทอร์ไพรซ์ จำ� กดั , 2553. 14. วินัดดา ปิยะศิลป์, วันดี นิงสานนท์, บรรณาธิการ. Best practice in Communication. ราชวิทยาลัยกุมารแพทย์แห่ง ประเทศไทย สมาคมกุมารแพทย์แหง่ ประเทศไทย. กรุงเทพฯ: บริษทั สรรพสาร จ�ำกดั , 2557. 85
เอกสารอ้างองิ 15. พงษ์ศกั ดิ์ นอ้ ยพยคั ฆ,์ วนิ ดั ดา ปิยะศลิ ป์, วันดี นงิ สานนท,์ ประสบศรี อึ้งถาวร, บรรณาธิการ. Guideline in Child Health Supervision. ราชวทิ ยาลัยกมุ ารแพทย์แห่งประเทศไทย สมาคมกุมารแพทย์แห่งประเทศไทย. กรุงเทพฯ: บรษิ ัท สรรพสาร จ�ำกดั , 2557. 16. Phalen JA. Managing feeding problems and feeding disorders. Pediatr Rev 2013; 34: 549-57. 17. Hagan JF, Shaw JS, Duncan PM. Bright Futures: Guidelines for Health Supervision of Infants, Children, and Adolescents. 3rd ed. Elk Grove Village, IL: American Academy of Pediatrics; 2008. 18. Srisinghasongkram P, Pruksananonda C, Chonchaiya W. Two-Step Screening of the Modified Checklist for Autism in Toddlers in Thai Children with Language Delay and Typically Developing Children. J Autism Dev Disord 2016; 46: 3317-29. 19. Chonchaiya W, Pintunan P, Pruksananonda C. M-CHAT Thai version. (Cited 2017 March 25). Available from: http://mchatscreen.com/wp-content/uploads/2015/05/M-CHAT_Thai.pdf. 20. Chonchaiya W, Wilaisakditipakorn T, Vijakkhana N, Pruksananonda C. Background media exposure prolongs nighttime sleep latency in Thai infants. Pediatr Res 2017; 81: 322-328. 86
Search