Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ฝนหลวง

ฝนหลวง

Published by สุพัฒ ทองดวง, 2023-02-07 11:00:02

Description: ฝนหลวง

Search

Read the Text Version

คำ�นำ� หนังสืออเลก็ ทรอนิกส์ (E-Book) เล่มนี้มีเนื้อหาเกี่ยวกบั เรื่อง รวมภาษา คอมพวิ เตอร์ เพื่อศกึ ษาหาความรเู้ พม่ิ เติมและไดศ้ ึกษาเกีย่ วกบั ภาษา คอมพิวเตอร์ เพื่อนำ�ความรไู้ ปใชป้ ระโยชน์ ผ้จู ัดทำ�หวงั เป็นอยา่ งยง่ิ ว่าหนังสืออเิ ล็กทรอนกิ ส์ (E-Book) เรือ่ ง รวมภาษาคอมพวิ เตอร์ เล่มนี้จะมีประโยชนก์ บั ผู้ทีส่ นใจ นายเมคินทร์ แกว้ บางพูด ผู้จัดทำ�

สารบัญ หนา้ ก เรือ่ ง ข ค�ำ น�ำ สารบัญ 1-5 6-9 ประวตั ิความเปน็ มา 10-12 ขัน้ ตอนการผลิตฝน 13-16 ฝนหลวงกบั การบรรเทาความเดือดรอ้ นของประชาชน ฝนหลวงในอนาคต

1 ประวัติความเป็นมาฝนหลวง ในปี พ.ศ. 2498 ในโอกาสที่ พระบาทสมเดจ็ พระปรมินทรมหาภมู ิพลอดลุ ยเดช บรมนาถบพติ ร เสดจ็ พระราชดำ�เนินเพื่อทรงเยีย่ มเยียนทุกข์สุขของพสกนิกรในภาคตะวันออกเฉียงเหนือยา่ นบรเิ วณเทือก เขาภพู าน ทรงพบเห็นวา่ ภาวะแห้งแล้งได้ทวีความถีแ่ ละมีแนวโนม้ วา่ จะรุนแรงยิ่งขึ้นเป็นลำ�ดับนั้น นา่ จะ มีสาเหตุเกิดข้นึ จากการผนั แปรและคลาดเคลือ่ นของฤดูกาลตามธรรมชาติและการตัดไมท้ ำ�ลายป่า โดย เฉพาะอยา่ งยง่ิ ทำ�ให้สภาพอากาศจากพื้นดนิ ถึงระดบั ฐานเมฆไมเ่ อือ้ อำ�นวยต่อการกล่นั ตัวของไอนำ้ �ที่จะ กอ่ ตัวเกดิ เป็นเมฆ และทำ�ใหย้ ากตอ่ การเหนี่ยวนำ�ให้ฝนตกลงสูพ่ ืน้ ดนิ จึงมีฝนตกนอ้ ยหรือไม่ตกเลย ทรง สงั เกตวา่ มีเมฆปริมาณมากปกคลมุ เหนือพื้นที่ระหว่างเสน้ ทางบนิ แต่ไม่สามารถกอ่ รวมตวั จนเกิดเปน็ ฝน ตกได้ เปน็ เหตใุ ห้เกิดสภาวะฝนทง้ิ ช่วงเป็นระยะเวลายาวนาน เกดิ สภาพความแห้งแลง้ ทวั่ พื้นทีท่ ้ัง ๆ ที่ทอ้ งฟา้ มีเมฆมาก คือจดุ ประกายขอ้ สงั เกตของพระบาทสมเด็จ พระปรมินทรมหาภมู ิพลอดลุ ยเดช บรมนาถบพิตร ในขณะทีพ่ ระองคท์ า่ นไดเ้ สด็จพระราชดำ�เนินไปเยี่ยม ประชาชนและทอดพระเนตรเห็นแตค่ วามแห้งแล้งเกิดขึน้ ทั่วไป ท้ัง ๆ ทีท่ ้องฟ้ามีเมฆปกคลุมอยู่ นอกจาก นีไ้ ด้ทรงพบเห็นทอ้ งถ่นิ หลายแห่งประสบปัญหาพืน้ ดนิ แห้งแลง้ หรือการขาดแคลนน้ำ�เพื่อการอุปโภค บริโภค และทำ�การเกษตร โดยเฉพาะอยา่ งยิ่งในฤดูเพาะปลกู เกษตรกรมกั จะประสบความเดือดรอ้ นทกุ ข์ ยากมาก เนือ่ งจากบางคร้ังเกดิ ภาวะฝนทิ้งชว่ งในระยะวกิ ฤติของพืชผลกล่าวคือหากขาดนำ้ �ในระยะดงั กล่าวนี้จะทำ�ให้ผลผลิตตำ่ �หรืออาจไมม่ ีผลผลติ ให้เลย รวมทง้ั อาจทำ�ให้ผลผลติ ที่มีอย่เู สียหายได้ การเช่น นี้เมื่อเกดิ ภาวะฝนแลง้ หรือฝนทง้ิ ชว่ งในคราใดของแต่ละปี จึงสรา้ งความเดือดรอ้ นอยา่ งสาหัสและก่อ ให้เกิดความสูญเสียทางเศรษฐกจิ แก่เกษตรกรอยา่ งใหญ่หลวง นอกจากนีภ้ าวะความตอ้ งการใช้นำ้ �ของ ประเทศนบั วนั จะทวีปรมิ าณความต้องการสูงขึ้นอย่างมหาศาลเพราะการขยายตัวเจริญเตบิ โตทางดา้ น อุตสาหกรรม เกษตรกรรม และการเพ่มิ ข้นึ ของประชากร ซง่ึ ส่งผลใหป้ ริมาณน้ำ�ตน้ ทนุ จากทรพั ยากรนำ้ �ที่ มีอยูไ่ ม่เพียงพอ ตัวอย่างนีเ้ หน็ ไดช้ ัดคือ ปริมาณน้ำ�ในเขื่อนภูมิพลลดลงอยา่ งนา่ ตกใจ พระบาทสมเดจ็ พระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร มีพระมหากรณุ าธคิ ุณพระราชทาน สมั ภาษณ์เกี่ยวกับฝนหลวงแก่ข้าราชการสำ�นกั งาน กปร. ประกอบด้วย นายสเุ มธ ตนั ติเวชกุล นายมนูญ มกุ ขป์ ระดษิ ฐ์ และนายพมิ ลศักดิ์ สุวรรณทตั เมือ่ วันที่ 17 มีนาคม 2529 ณ พระตำ�หนักจติ รลดารโหฐาน เรื่องฝนเทียมนี้เร่มิ ต้งั แต่ พ.ศ. 2498 แตย่ งั ไมไ่ ด้ทำ�อะไรมากมาย เพราะว่าไปภาคอีสานตอนนน้ั หน้าแล้ง เดือนพฤศจกิ ายน ทีไ่ ปมีเมฆมาก อีสานกแ็ ลง้ กเ็ ลยมีความคิด 2 อย่าง ต้องทำ� Check dam ตอนน้ันเกิด ความคดิ จากนครพนม ผ่านสกลนครข้ามไปกาฬสินธ์ุ ลงไปสหัสขันธท์ ีเ่ ดีย๋ วนีเ้ ป็นอำ�เภอสมเดจ็ ไปจอดที่ นัน่ ไปเยี่ยมราษฎรมันแลง้ มีฝนุ่ แตม่ าเงยดูทอ้ งฟ้า มีเมฆ ทำ�ไมมีเมฆอยา่ งนี้ ทำ�ไมจะดึงเมฆนีใ่ ห้ลงมาได้ ก็เคยไดย้ ินเรื่องทำ�ฝนกม็ าปรารภ

2 ดว้ ยพระเนตรที่ยาวไกล และทรงความอจั ฉรยิ ะของพระองค์ท่านทีป่ ระกอบด้วยคณุ ลกั ษณะของนกั วทิ ยาศาสตร์ จึงทรงสงั เกต วิเคราะหข์ ้อมูลในขนั้ ตน้ แลว้ จึงไดม้ ีพระราชดำ�ริครงั้ แรก ในปี พ.ศ. 2498 แก่ ม.ร.ว.เทพฤทธ์ิ เทวกลุ ว่าจะทรงค้นหาวิธีการทีจ่ ะทำ�ใหเ้ กดิ ฝนตกนอกเหนือจากทีจ่ ะไดร้ บั จากธรรมชาติ โดยการนำ�เทคโนโลยีสมยั ใหมม่ าประยกุ ต์กับทรพั ยากรที่มีอยู่ให้เกิดมีศักยภาพของการเปน็ ฝนใหไ้ ด้ ทรงเชือ่ มน่ั ในพระราชหฤทยั วา่ ด้วยลักษณะภูมิอากาศและภูมิประเทศของบา้ นเราจะสามารถดำ�เนนิ การ ใหบ้ ังเกิดผลสำ�เรจ็ ได้อยา่ งแนน่ อน เนื่องจาก นำ้ � เป็นที่ไดร้ บั การกลา่ วขวญั ถึงตลอดเวลาในสงั คมไทยที่ กำ�ลงั ได้รับผลกระทบอยา่ งรนุ แรงอนั เนื่องมาจากขาดแคลนน้ำ�อยใู่ นขณะน้นั เป็นเพราะน้ำ�คือปจั จัยขั้น พืน้ ฐานทีส่ ำ�คญั ในการดำ�รงชีพของมนุษย์และพืชพรรณธญั ญาหาร ตลอดจนสิงสาราสัตว์ทงั้ หลายทง้ั ปวง การขาดแคลนนำ้ �จึงมิได้มีผลโดยตรงแคเ่ พียงความเปน็ อยูข่ องประชาชนเทา่ นัน้ แต่ยังได้ก้าวลว่ งไป ถงึ การพฒั นาเศรษฐกจิ และสังคมของประเทศโดยสว่ นรวมอีกด้วย และถงึ ขนาดที่พระบาทสมเดจ็ พระปรมิ นทรมหาภูมิพลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร มีพระราชดำ�รัสว่า “นำ้ � คือ ชีวิต” แม้วา่ ประเทศไทยเราได้พยายามอยา่ งสุดกำ�ลงั ทีจ่ ะทำ�การแกไ้ ขปัญหาดงั กลา่ วด้วยการพัฒนาทรัพยากร แหลง่ น้ำ�ของชาติทุกประเภทที่มีอยู่ ซึง่ เปน็ ทีย่ อมรบั กนั วา่ แหล่งทรัพยากรน้ำ�ของประเทศที่มีอยูใ่ นปจั จุบนั ยังอยหู่ ่างจากระดับความเพียงพอของความต้องการใช้น้ำ�ของประชากรในประเทศเป็นอยา่ งมาก อีกทง้ั ยงั มีพืน้ ที่เกษตรกรรมที่ตอ้ งพ่งึ พานำ้ �ฝนเป็นหลกั ใหญอ่ ยูอ่ ีกถึง 82.6% ดังนนั้ จงึ ทรงคาดการณว์ า่ กอ่ น ที่จะถงึ สภาพทีส่ ดุ วสิ ัยหรือยากเกนิ กวา่ จะแก้ไขได้นนั้ ควรจะมีมาตรการหนงึ่ ที่จะปอ้ งกนั และแก้ไขปัญหา ดงั กล่าวได้ จึงพระราชทานพระราชดำ�ริในปี พ.ศ. 2499 แก่ ม.ล.เดช สนทิ วงศ์ วา่ นา่ จะมีลู่ทางที่จะ คิดค้นหาเทคนคิ หรือวธิ ีการทางวิทยาศาสตร์ด้านการดัดแปรสภาพอากาศมาชว่ ยให้เกิดการกอ่ และรวม ตัวของเมฆใหเ้ กิดฝนได้ การรับสนองพระราชดำ�รไิ ดด้ ำ�เนินการอย่างจริงจังจากความรว่ มมือกันระหวา่ ง ม.ล.เดช สนทิ วงศ์ ม.จ.จกั รพนั ธ์เพญ็ ศริ ิ จักรพันธุ์ และ ม.ร.ว.เทพฤทธิ์ เทวกลุ ในอันทีจ่ ะศึกษาและนำ� วธิ ีการทำ�ฝนอยา่ งในตา่ งประเทศมาประยกุ ตใ์ ชก้ ับสภาพอากาศของเมืองไทย ฝนหลวง หรือ ฝนเทียม จงึ มีกำ�เนิดจึ้นจากการสนองพระราชดำ�ริ โดยประยกุ ต์ใชจ้ ากผลการวจิ ยั ค้นควา้ ทางวิชาการดา้ นทำ�ฝนเทียม ของประเทศต่าง ๆ เช่น สหรัฐอเมริกา ออสเตรเลีย และอิสราเอล ภายใต้การพระราชทานข้อแนะนำ�จาก องคพ์ ระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภมู พิ ลอดลุ ยเดช บรมนาถบพิตร อย่างใกลช้ ิด พร้อมกนั นีไ้ ด้มีการ จดั ต้งั สว่ นราชการ สำ�นักงานปฏิบตั กิ ารฝนหลวงขนึ้ รบั ผิดชอบการดำ�เนนิ การฝนหลวงในระยะเวลาตอ่ มาจนถึงปจั จุบัน ในระยะแรกของการดำ�เนินการตามพระราชดำ�รนิ ี้ ข้อมูล หรือหลักฐานทีน่ ำ�มาทดลอง พิสูจน์ยืนยันผลนน้ั ยังมีน้อยมาก และขาดความน่าเชือ่ ถือทางวิชาการ โดยเฉพาะอยา่ งยิง่ ในประเทศไทย เรายงั ไม่มีนกั วิชาการดา้ นการวัดแปรสภาพอากาศ หรือนักวิชาการทำ�ฝนอยู่เลย ดังนนั้ ในชว่ งเร่ิมต้นของ การทดลองปฏบิ ัตกิ ารฝนหลวง พระบาทสมเด็จพระปรมนิ ทรมหาภูมพิ ลอดุลยเดช บรมนาถบพติ ร จึงได้ ทรงตดิ ตามผล วางแผนการทดลองปฏบิ ัตกิ าร โดยทรงสงั เกตจากรายงานแทบทกุ ครง้ั อยา่ งใกล้ชิด

3 วันที่ 20 กรกฎาคม พ.ศ. 2512 นับเป็นประวตั ศิ าสตร์แห่งการทำ�ฝนหลวงของประเทศไทย เพราะเป็นวันปฐมฤกษ์ในการปฏิบตั ิการทดลองทำ�ฝนเทียมกบั เมฆในทอ้ งฟ้าเหนือภาคพื้นดนิ บริเวณวนอุทยานแห่งชาติเขาใหญ่ อำ�เภอปากชอ่ ง จังหวัดนครราชสีมา โดยการใชน้ ำ้ �แข็งแห้ง (Dry-ice) โดยทีย่ อดของกลมุ่ กอ้ นเมฆ ปรากฎว่าหลังการปฏิบัตกิ ารประมาณ 15 นาที ก้อนเมฆใน บริเวณนน้ั เกดิ มีการรวมตัวกนั อยา่ งหนาแนน่ จนเห็นไดช้ ดั สังเกตได้จากสีของฐานเมฆไดเ้ ปลี่ยน จากสีขาวเป็นสีเทาเขม้ ซึ่งผลการทดลองเปน็ ที่น่าพอใจ เพียงแตย่ ังไม่อาจควบคมุ ใหฝ้ นตกใน บรเิ วณทีต่ ้องการได้ ต่อมาพระบาทสมเด็จพระปรมนิ ทรมหาภูมพิ ลอดุลยเดช บรมนาถบพติ ร ได้ พระราชทานคำ�แนะนำ�เพิม่ เตมิ ตลอดเวลาอย่างต่อเนือ่ ง อาทิ การเปลี่ยนที่ทดลองไปยังจดุ แห้งแล้ง อืน่ ๆ เชน่ ที่อำ�เภอชะอำ� จงั หวัดเพชรบุรี เปน็ ต้น จะเหน็ ได้วา่ การปฏิบัติงานฝนหลวงเมือ่ ตอนเร่มิ ตน้ ต้องพบกบั ความยากลำ�บากและอุปสรรคมากมายนานาประการ สงิ่ สำ�คญั คือจะตอ้ งมีสภาพดนิ ฟา้ อากาศทีเ่ อือ้ อำ�นวยต่อการทำ�ฝนทดลองกล่าวคือ จะต้องดูลักษณะเมฆทีม่ ีศกั ยภาพที่จะเกดิ ฝน ได้ ซึ่งเมฆในลกั ษณะในลกั ษณะเชน่ นี้มองเผิน ๆ จะคลา้ ยขนแกะในทอ้ งฟา้ ถา้ ไมม่ ีก็จำ�เป็นตอ้ งสร้าง ใหเ้ กดิ เมฆขน้ึ โดยเฉพาะอย่างยง่ิ ความชืน้ จะต้องอยู่ในระดับ 70% การปฏิบตั งิ านจึงจะไดผ้ ล แตถ่ า้ ความชื้นต่ำ�ลงเท่าใดกจ็ ะยง่ิ ไดผ้ ลน้อยลงจนไม่คมุ้ ค่า ฉะนน้ั การสรา้ งเมฆกค็ ือการสรา้ งความชืน้ ข้ึน ในอากาศนั่นเอง โดยใชเ้ คมีภัณฑ์ หลายชนิดซง่ึ ได้ทดสอบแล้วว่าได้ผลดีและปลอดภัยต่อชีวิตมนษุ ย์ มาใชใ้ นการทำ�ฝนหลวง จากพระมหากรณุ าธคิ ณุ แห่งองคพ์ ระบาทสมเดจ็ พระปรมินทรมหาภมู พิ ลอดลุ ยเดช บรมนาถบพติ ร เมือ่ มีปัญหาอปุ สรรคเกีย่ วกับการทดลอง จึงโปรดเกลา้ ฯ พระราชทานคำ�แนะนำ�และมีพระราชดำ�ริ เพิ่มเติมในการปรับปรุงหลายประการจนสามารถปฏบิ ัติการฝนหลวงได้ดี และทรงให้การสนบั สนนุ ใน ด้านต่าง ๆ โดยเฉพาะทรงติดตามการปฏบิ ัตงิ านทดลองอยา่ งใกล้ชิดทกุ ระยะ และทรงแนะนำ�ฝึกฝน นกั วิชาการใหส้ ามารถวางแผนปฏิบตั กิ ารอย่างเหมาะสมกบั สภาพภมู อิ ากาศของแตล่ ะทอ้ งถิ่น บาง คร้ังพระองคก์ ท็ รงทดลองและควบคมุ บัญชาการทำ�ฝนหลวงดว้ ยพระองคเ์ อง

4 อนจะทำ�ฝนหลวงแตล่ ะครัง้ จะทรงเตือนใหเ้ จ้าหนา้ ที่ตรวจสอบสภาพอากาศลว่ งหนา้ เพื่อป้องกนั มใิ หเ้ กิด ความเสียหายแก่พืชผลและทรัพยส์ นิ ของราษฎร ทรงเร่งให้ปฏบิ ตั กิ าร เมื่อสภาพอากาศอำ�นวยเพื่อจะได้ ปรมิ าณน้ำ�ฝนมากยิ่งขึน้ กับทรงแนะนำ�ใหร้ ะมดั ระวงั สารเคมีทีใ่ ช้ปฏบิ ัติการตอ้ งไมเ่ ปน็ อนั ตรายต่อผใู้ ช้ด้วย จนในทีส่ ดุ การศึกษาวจิ ัยเป็นการส่วนพระองคใ์ นเรื่องเกีย่ วกบั กระแสและทิศทางลมในแตล่ ะพืน้ ที่แต่ละเวลามี การทดสอบปรบั ปรุงหลายประการจนนำ�ไปใชก้ ารได้ดี จนสามารถพระราชทานข้อแนะนำ�ให้ดงึ หรือสรา้ งเมฆ ได้ ทั้งยงั สามารถบังคับเปลี่ยนทศิ ทางของเมฆให้เกิดฝนตกในบริเวณรับน้ำ�ทีต่ อ้ งการ เช่น อา่ งเกบ็ น้ำ� หว้ ย หนอง คลองบึง หรือบรเิ วณใกลเ้ คียงทีก่ ำ�หนดไวจ้ งึ นบั ว่า ฝนหลวงเป็นความสำ�เรจ็ ที่เกิดจากพระรอัจฉริย ภาพ และความสนพระราชหฤทยั อย่างจรงิ จงั ของ พระบาทสมเดจ็ พระปรมนิ ทรมหาภูมพิ ลอดลุ ยเดช บรม นาถบพติ ร โดยแท้ การพฒั นาคน้ คว้าที่เกี่ยวกบั ฝนหลวงไดพ้ ัฒนากา้ วหนา้ ขน้ึ เปน็ ลำ�ดับ ท้ังนี้ เพราะพระบาทสมเด็จพระปรมิ นทรมหาภมู พิ ลอดุลยเดช บรมนาถบพติ ร ได้ทรงทำ�การทดลองวจิ ัยดว้ ยพระองค์เอง รวมท้งั ได้พระราชทาน ทรพั ย์สินสว่ นพระองค์เปน็ ค่าใชจ้ ่าย เพื่อทำ�การทดลองปฏิบตั ิการฝนหลวงดว้ ยพระเมตตาธรรม ระยะเวลา ทีท่ รงมานะบากบ่ัน อดทนดว้ ยพระวิรยิ ะอุตสาหะ นับถงึ วนั นี้เป็นเวลาเกือบ 30 ปี ในที่สดุ ดว้ ยพระปรีชา สามารถและพระอจั ฉริยภาพที่ทรงสัง่ สมจากการทดลอง สามารถทำ�ให้กำ�หนดบงั คับฝนใหต้ กลงสู่พื้นที่เป้า หมายได้สำ�เร็จกลายเปน็ หลักแนวทางใหน้ กั วชิ าการฝนหลวงรนุ่ ปัจจุบัน ได้ทำ�การศกึ ษาวจิ ัยอย่างมีระเบียบ และเปน็ ระบบวทิ ยาศาสตรท์ ีแ่ ทจ้ ริง

5 พระบรมราโชบายในพระบาทสมเดจ็ พระปรมนิ ทรมหาภูมพิ ลอดุลยเดช บรมนาถบพิตรถงึ กลยุทธการ พฒั นาโครงการพระราชดำ�ริ ฝนหลวง ทรงเน้นถงึ ความจำ�เปน็ ในด้านพัฒนาการและการดำ�เนนิ การปรับปรุงวธิ ีการทำ�ฝนในแนวทางของการ ออกแบบปฏบิ ตั ิการ การตดิ ตามและการประเมินผลทีม่ ีลกั ษณะเป็นกระบวนการทางวทิ ยาศาสตรม์ ากยง่ิ ขนึ้ ตลอดจนความเป็นไปไดใ้ นการใช้ประโยชน์ของเครื่องคอมพวิ เตอร์ เพื่อศึกษารูปแบบของเมฆและการ ปฏิบตั ิการทำ�ฝนใหบ้ รรลตุ ามวัตถุประสงค์ของโครงการ ทรงยำ้ �ถงึ บทบาทของการดัดแปรสภาพอากาศหรือการทำ�ฝนว่าเปน็ องค์ประกอบทีส่ ำ�คญั อนั หนง่ึ ใน กระบวนการจดั การทรัพยากรแหล่งน้ำ� เช่น การเพิ่มปริมาณน้ำ�ใหแ้ ก่แหล่งเก็บกักนำ้ �ต่าง ๆ การบรรเทา ปญั หามลภาวะและการเพิ่มปริมาณน้ำ�เพือ่ สาธารณูปโภค เปน็ ต้น ทรงเนน้ ว่าความรว่ มมือประสานงานอย่างเตม็ ที่ระหว่างหนว่ ยงานและสว่ นราชการที่เกีย่ วขอ้ งเท่านัน้ ที่ เปน็ กญุ แจสำ�คัญในอนั ทีจ่ ะทำ�ให้บรรลุผลตามวตั ถปุ ระสงค์ของโครงการได้ดุจส่ิงมหศั จรรย…์ เพาะเมฆและ บังคับเมฆให้เกิดฝน

6 ขั้นตอน การผลิตฝนหลวง พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภมู พิ ลอดุลยเดช บรมนาถบพิตรได้ทรงวิเคราะห์กรรมวิธีที่จะ ทำ�การผลติ ฝนหลวงว่ามีขน้ั ตอนที่สามารถเข้าใจกันได้งา่ ย 3 ขนั้ ตอน คือ ขั้นตอนที่ 1 ก่อกวน โดยการใช้สารเคมีไปกระตุ้นมวลอากาศทางดา้ นเหนือลมของพืน้ ทีเ่ ป้าหมาย ให้เกดิ การลอยตัว ข้ึนสูเ่ บื้องบนรวมตัวกันเปน็ กลุ่มก้อนเมฆฝน ข้ันตอนแรกนีเ้ ป็นขน้ั ตอนที่เมฆธรรมชาตเิ รม่ิ ก่อตัว ทางแนวต้งั การทำ�ฝนหลวงในข้ันตอนนีจ้ งึ มงุ่ ใช้สารเคมีไปกระต้นุ อากาศให้เกิดการลอยตัวขึน้ สู่ เบือ้ งบน เพือ่ ใหเ้ กิดกระบวนการชักนำ�ไอนำ้ �หรือความชื้นเข้าสูร่ ะดบั การเกิดเมฆ ระยะเวลาที่เหมาะ สมในการปฏบิ ัติงานของขน้ั ตอนแรกนี้ ควรดำ�เนนิ การในชว่ งเช้าของแต่ละวนั สารเคมีที่ใช้ในขน้ั ตอนนี้ ไดแ้ ก่ สารแคลเซียมคลอไรด์ สารแคลเซียมคาร์ไบด์ สารแคลเซียมอ๊อกไซด์ หรือสารผสม ระหว่างเกลือแกงกบั สารยูเรียหรือสารผสมระหว่างสารยูเรียกบั สารแอมโมเนียไนเตรทซ่ึงสารผสม ดังกลา่ วนี้ แมจ้ ะมีเปอรเ์ ซ็นต์ความชืน้ สัมพทั ธต์ ่ำ�กต็ าม แต่ก็สามารถดูดซบั ไอน้ำ�จากมวลอากาศ ไดอ้ ันเป็นการกระตุน้ กลไกของกระบวนการกล่ันตวั ของไอน้ำ�ในมวลอากาศ อีกทง้ั ยังเสรมิ สรา้ ง ใหเ้ กดิ สภาพแวดล้อมโดยรอบที่เหมาะสมตอ่ การเจริญเตบิ โตของเมฆทางด้านเหนือลมของพืน้ ที่ เปา้ หมายอีกดว้ ย เมือ่ เมฆเร่ิมเกิดมีการกอ่ รวมตัวและเจริญเตบิ โตทางตงั้ แลว้ จงึ ใชส้ ารเคมีที่ให้ ปฏิกริ ิยาคายความรอ้ นโปรยเป็นวงกลมหรือเป็นแนว ถัดมาทางใต้ลมเป็นะระยทางสั้น ๆ เข้าสู่ก้อน เมฆ เพือ่ กระตนุ้ ให้เกิดก้อนเมฆเป็นกลุม่ แกนร่วมในบรเิ วณพืน้ ที่ปฏิบัติการ สำ�หรับใชเ้ ป็นแกนกลาง ในการสร้างกลุ่มเมฆฝนในระยะต่อมา

7 การวางแผนปฏบิ ตั กิ ารฝนหลวงในขัน้ แรกนี้ กอ่ นดำ�เนนิ การจะต้องทำ�การศกึ ษาข้อมลู สภาพ อากาศและกำ�หนดพืน้ ที่เปา้ หมายในแต่ละวันโดยใชท้ ิศทางและความเร็วของลมเปน็ ตัวกำ�หนด บรเิ วณหรือแนวพิกัดทีจ่ ะโปรยสารเคมี อณุ หภมู ิและความชืน้ ของบรรยากาศ แตล่ ะระดบั จะถกู นำ� มาคำ�นวณและวเิ คราะห์ตามวชิ าการทางอุตุนยิ มวิทยา เพือ่ หาสาเหตุที่ขดั ขวางการก่อตวั ของเมฆ ที่อาจเกิดข้ึนระหวา่ งดำ�เนนิ การ เช่น ปรมิ าณความชืน้ ที่ต่ำ�เกินไป อากาศเกนิ ภาวะสมดลุ ระดับทีค่ วามชื้นอ่ิมตวั ระดบั ทีเ่ มฆฝนเรมิ่ ก่อตัว ระดับทีห่ ยุดย้งั การเจริญเตบิ โตของยอดเมฆ ขอ้ มูลอื่น ๆ ทีต่ ้องนำ�มาพจิ ารณาประกอบดว้ ย คือ สภาพภมู ิประเทศ เช่น แนวเขา ป่าไม้ แหล่งความชืน้ ฯลฯ ลกั ษณะของเมฆที่สังเกตเห็น ข้อมูล แผนที่ทางอากาศ พายุโซนร้อนและเหตุอื่น ๆ ทีอ่ าจจะมีอิทธิพลตอ่ สภาพอากาศในพื้นที่เปา้ หมาย ท้ังหมดของขอ้ มลู และสาเหตตุ ่าง ๆ นี้ มีความสำ�คัญต่อการกำ�หนดชนดิ และปรมิ าณของสาร เคมีทีจ่ ะนำ�มาใช้ในการทำ�ฝนหลวง ซึ่งจะตอ้ งกระทำ�ดว้ ยความชำ�นาญควบคไู่ ปกบั การคำ�นงึ ถึงระดบั ความสงู ผนวกกบั อัตราการโปรยสารเคมี รวมถึงลกั ษณะของแนวโปรยสารเคมีด้วย หากแต่ละวันมี ลกั ษณะข้อมูลที่แตกต่างกนั ออกไป ก็ยอ่ มทำ�ใหต้ อ้ งมีการปรบั เปลี่ยนแผนปฏบิ ัตงิ านแต่ละครง้ั ด้วย

ขั้นตอนที่ 2 เลี้ยงให้อ้วน 8 เปน็ ข้ันตอนสำ�คญั มากในการปฏบิ ตั ิการฝนหลวง เนื่องจากเปน็ ระยะทีเ่ มฆกำ�ลงั ก่อตัวเจรญิ เตบิ โต จึงใช้ความรู้ทางเทคโนโลยีและประสบการณผ์ สมผสานกลยุทธในเชิงศลิ ปะแห่งการทำ�ฝนหลวง ควบค่ไู ปพรอ้ มกนั เพื่อตัดสินใจโปรยสารเคมีฝนหลวงที่ทรงค้นควา้ ขึน้ มา โดยไมม่ ีสารอนั เปน็ พิษต่อมนษุ ย์และส่งิ แวดลอ้ ม การปฏบิ ัติงานตอ้ งพิจารณาอยา่ งถอ่ งแท้ว่าจะใชส้ ารเคมีชนดิ ใด และอัตราใดจงึ จะเหมาะสมในการตัดสนิ ใจโปรยสารเคมีฝนหลวง ณ ทีใ่ ดของกลมุ่ ก้อนเมฆ เพื่อให้ สัมฤทธิผลที่จะทำ�ให้ก้อนเมฆขยายตวั หรืออว้ นข้นึ และปอ้ งกนั มใิ ห้ก้อนเมฆสลายตัวให้จงได้ การ วางแผนปฏบิ ตั กิ ารในขั้นตอนนี้จำ�ตอ้ งอาศัยขอ้ มูล และความตอ่ เนือ่ งจากขั้นตอนที่หนึ่งประกอบ การพิจารณาด้วย การสงั เกตถงึ ความเปลี่ยนแปลงของสภาพเมฆที่เกิดขน้ึ จึงกลา่ วได้วา่ ขน้ั ตอน นีก้ ารวางแผนปฏบิ ตั กิ ารอยา่ งตอ่ เนือ่ งตลอดเวลาใหท้ ันตอ่ ความเปลี่ยนแปลงของเมฆที่เกดิ ข้ึนมี ความสำ�คญั ย่งิ สารเคมีที่ใช้ในข้ันตอนนี้มกั ไดแ้ ก่ เกลือแกง สารประกอบสตู ร ท. 1 (เป็นสารละลายเขม้ ข้นที่ได้จาก กระบวนการอิเลคโตรไลซิส ซง่ึ เป็นผลงานค้นคว้าของ ม.ร.ว.เทพฤทธิ์ เทวกุล) สารยเู รีย สาร แอมโมเนียไนเตรท แข็งแห้ง และบางครง้ั อาจใช้สารแคลเซียมคลอไรดร์ ว่ มดว้ ย โดยพิจารณา ลักษณะการเติบโตของเมฆ บรเิ วณเมฆและการเกดิ ฝนในวนั นั้น ๆ เป็นหลกั

9 ขั้นตอนที่ 3 โจมตี เมื่อกล่มุ เมฆฝนมีความหนาแน่นมากพอทีจ่ ะสามารถตกเปน็ ฝนได้ โดยภายในกลุ่มเมฆจะมีเม็ดน้ำ� ขนาดใหญม่ ากมาย โดยภายในกลุม่ เมฆจะมีเมด็ นำ้ �ขนาดใหญม่ ากมาย สงั เกตไดห้ ากเครือ่ งบนิ เข้าไปในกลมุ่ เมฆฝนนีแ้ ล้ว จะมีเม็ดนำ้ �เกาะตามปีกและกระจังหนา้ ของเครือ่ งบิน ดังนน้ั ข้ันตอน สดุ ทา้ ยจงึ มีความสำ�คญั อยา่ งย่ิงยวดเพราะจะตอ้ งอาศยั ความชำ�นาญและประสบการณเ์ ปน็ อยา่ ง มากเหนือสง่ิ อื่นใดต้องรจู้ กั ใชเ้ ทคนิคในการทำ�ฝนหลวงซ่ึงพระองค์ท่านทรงใหข้ ้อคดิ ว่าจะต้อง พิจารณาจดุ มงุ่ หมายของการทำ�ฝนหลวงด้วยว่า ในการทำ�ฝนหลวงของแต่ละพื้นทีน่ ้ันต้องตอบ สนองความตอ้ งการอนั แทจ้ ริงของราษฎรใน 2 ประเดน็ คือ เพื่อเพิม่ ปริมาณฝนตกให้กับพื้นที่ (Rain Enhancement) และเพื่อให้เกิดการกระจายการตกของฝน (Rain Distribution) ซง่ึ ทั้ง 2 วตั ถุประสงคน์ ีไ้ ดเ้ ป็นแนวทางในการบำ�บัดทกุ ขบ์ ำ�รุงสขุ ของพสกนิกรใหค้ ลายความเดด็ ร้อนยาม ขาดแคลนน้ำ�เรือ่ ยมาตราบเท่าทุกวนั นี้ เพราะความตอ้ งการนำ้ �ของมนษุ ยชาตนิ ับวันแต่จะทวีขน้ึ อย่างเกดิ คาด สืบเนือ่ งมาจากผลกระทบทีเ่ กดิ จากปฏิกิรยิ าเรือนกระจกของโลก (Green House Effect) ทำ�ให้ฝนไม่ตกตอ้ งตามฤดกู าลดังเชน่ เคยในอดีต

ฝนหลวงกับการบรรเทาความเดือดร้อนของประชาชน 10 หลังจากทีท่ รงประสบผลสำ�เรจ็ และมีการยอมรบั จากทั้งภายในและต่างประเทศแล้วนัน้ ปรมิ าณ ความตอ้ งการฝนหลวงเพื่อชว่ ยพืน้ ที่เกษตรกรรม และการขาดแคลนนำ้ �เพื่อการอุปโภคและ บริโภคไดร้ บั การรอ้ งเรียนขอความช่วยเหลือเพ่ิมมากขนึ้ เหน็ ไดช้ ัดในช่วงระหว่าง พ.ศ. 2520 - 2534 มีการรอ้ งเรียนขอฝนหลวงเฉลีย่ ถึงปีละ 44 จงั หวัด ซงึ่ ทรงพระเมตตาอนเุ คราะห์ชว่ ยเหลือ เกษตรกรไทยในการรรเทาการสญู เสียทางเศรษฐกจิ ใหป้ ระสบความเสียหายน้อยทีส่ ุด นอกจากนี้ ประโยชน์สำ�คญั ทีค่ วบคไู่ ปกบั การปฏบิ ัติการฝนหลวงเพือ่ เกษตรกรรม และการอุปโภคบริโภค ก็ คือ เป็นการชว่ ยเพ่มิ ปริมาณน้ำ�ต้นทนุ ใหแ้ กอ่ ่างและเขือ่ นกักเกบ็ นำ้ �เพือ่ การชลประทาน และผลิต กระแสไฟฟา้ แหลง่ น้ำ�และต้นน้ำ�ลำ�ธารธรรมชาติ อีกทัง้ ยงั เปน็ การช่วยทำ�นบุ ำ�รุงปา่ ไม้ โดยเฉพาะ ในช่วงฤดูแล้งความชุ่มชืน้ ที่ได้รบั เพ่มิ ขน้ึ จากฝนหลวงจะช่วยลดการเกดิ ไฟป่าไดเ้ ปน็ อย่างมาก ฝน หลวงได้เข้ามามีส่วนช่วยแกไ้ ขปญั หาสงิ่ แวดล้อมในการบรรเทามลภาวะทีเ่ กดิ ขน้ึ ในบา้ นเมืองของ เราหลายประการ อาทิ ช่วยแกไ้ ขปัญหาน้ำ�เน่าเสียในแม่นำ้ �ลำ�คลอง โรคระบาด อหวิ าตกโรค การ ระบาดของศตั รูพืชบางชนดิ เช่น เพลีย้ ต๊กั แตกปาทังกา้ เหลา่ นี้เปน็ ต้น ซึ่งลว้ นแตไ่ ดร้ บั ความ สำ�เรจ็ อย่างดีเยีย่ มตลอดมา พระบาทสมเดจ็ พระปรมนิ ทรมหาภูมพิ ลอดลุ ยเดช บรมนาถบพติ รทรงได้รบั ความร่วมมือจากเหล่า พสกนิกรทั่วประเทศที่เห็นคุณคา่ ของฝนหลวง ดงั จะเหน็ ได้จากการทีป่ ระชาชนในหลายจงั หวดั ไดร้ ่วม กันทูลเกล้าทูลกระหมอ่ มถวายเงินโดยเสดจ็ พระราชกุศลในการจดั ซือ้ เครือ่ งบนิ สำ�หรับทำ�ฝนหลวงเป็น จำ�นวนมาก เช่น เครือ่ งบินแอรท์ รคั ซง่ึ ราษฎรจงั หวัดกาญจนบุรีไดร้ ่วมกันจัดซื้อเมือ่ พ.ศ. 2515 นับ เป็นเครื่องแรกทีไ่ ดน้ ำ�ขน้ึ น้อมเกลา้ ฯ ถวายเพื่อใชใ้ นกจิ กรรมคน้ คว้าทดลองปฏิบัติการ ต่อมาราษฎร จงั หวัดสุพรรณบุรี ไดร้ ่วมกนั จดั ซื้อเครือ่ งบนิ แอรท์ วั เรอร์นอ้ มเกลา้ น้อมกระหมอ่ มถวาย เพือ่ ใช้ในการ บินอำ�นวยการทดลองปฏบิ ตั ิการฝนหลวงอีกเครือ่ งหน่งึ ดว้ ย นอกจากนี้ยงั มีราษฎรจัดงหวัดขอนแกน่ ชลบุรี และกาญจนบุรี ไดร้ ว่ มกนั จัดซือ้ เครือ่ งบินปอร์ตเตอร์น้อมเกล้าฯ ถวายใช้ในงานฝนหลวง ความ สำ�คญั ในพระองค์ทา่ นนัน้ เห็นไดช้ ัดเจนซง่ึ จากการทีพ่ ระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมพิ ลอดลุ ยเดช บรมนาถบพิตรพระราชทานพระบรมราโชวาทให้ผู้วา่ ราชการจงั หวัดจันทบรุ ี นำ�ชาวสวนจงั หวัดจันทบรุ ี เฝา้ ทูลละอองธุลีพระบาททลู เกลา้ ทลู กระหม่อมถวายเงนิ ซ่งึ ไดร้ ่วมกันบรจิ าคโดยเสจ็ พระราชกุศลในการ จัดซือ้ เครื่องบินสำ�หรับโครงการการทำ�ฝนเทียม และนอ้ มเกลา้ ฯ ถวายผลไมท้ ีร่ อดพน้ จากความเสีย หายอนั เนือ่ งมาจากภัยแล้ง ณ ศาลาดุสิดาลยั สวนจติ ลดา เมื่อวนั ที่ 23 พฤศจิกายน พ.ศ. 2515 ใน โอกาสนี้ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภมู ิพลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร ได้พระราชทานพระราช ดำ�รัสแกช่ าวสวนจังหวดั จนั ทบุรีความว่า

11 เสรมิ สร้างเส้นทางคมนาคมทางน้ำ� เมื่อการขาดปริมาณน้ำ�เกดิ ขึน้ ดจุ ภาวะลกู โซ่เช่นนี้ กส็ ่งผลมา ถงึ ระดบั น้ำ�ในแมน่ ้ำ�ลดตำ่ �ลงบางแห่งตื้นเขนิ จนไมส่ ามารถสญั จรไปมาทางเรือได้ เช่น ทางน้ำ�ใน แมน่ ้ำ�เจ้าพระยาบางตนในปัจจบุ ันการทำ�ฝนหลวงเพื่อเพมิ่ ปรมิ าณนำ้ �ให้กับบรเิ วณดังกลา่ วจงึ นบั เป็นส่งิ สำ�คญั ยิง่ เพราะการขนสง่ สนิ คา้ ทางน้ำ�เสียคา่ ใชจ้ ่ายนอ้ ยกวา่ ทางอื่น และการจราจรทาง บกนบั วนั จะมีปัญหารุนแรงมากขนึ้ ทกุ ขณะ ปอ้ งกันและบำ�บดั ภาวะมลพิษของส่งิ แวดล้อม หากนำ้ �ในแมน่ ้ำ�เจ้าพระยาลดน้อยลงเมื่อใด นำ้ � เคม็ จากทะเลอ่าวไทยกจ็ ะไหลหนนุ เนือ่ งเข้าไปแทนทีท่ ำ�ให้เกดิ น้ำ�กรอ่ ยขึ้น และเกิดความเสียหาย แกเ่ กษตรกรเป็นจำ�นวนมาก จงึ จำ�เปน็ ที่ตอ้ งมีการปล่อยน้ำ�จากเขือ่ นภมู ิพล เพื่อผลกั ดันนำ้ �เค็ม มใิ ห้หนุนเข้ามาทำ�ความเสียหายต่อการอุปโภค บรโิ ภคหรือเกษตรกรรม รวมทัง้ สงิ่ ทีเ่ ราอาจไม่ คาดคดิ มาก่อนว่า ฝนหลวง ไดบ้ รรเทาภาวะส่ิงแวดลอ้ มที่เปน็ พษิ อนั เกดิ จากการระบายนำ้ �เสียทิ้ง ลงสแู่ มน่ ำ้ �เจ้าพระยาและขยะมูลฝอยที่ผู้คนทงิ้ ลงในสายนำ้ �กนั อยา่ งมากมายนน้ั ปริมาณนำ้ �จาก ฝนหลวงจะชว่ ยผลกั ดนั ออกสู่ท้องทะเล ทำ�ให้ภาวะมลพิษจากนำ้ �เสียเจือจางลง ซึ่งสงั เกตเหน็ ได้ ชัดเจนจากขยะมลู ฝอยและกระแสน้ำ�เสียตา่ งสีในบรเิ วณปากนำ้ �จนถงึ เกาะล้านเมืองพัทยา

12 เพมิ่ ปริมาณนำ้ �ในเขื่อนภมู พิ ลและเขื่อนสิริกิติ์เพือ่ ผลติ แระแสไฟฟา้ บ้านเมืองของเราประสบปญั หา การขาดแคลนพลังงานไฟฟ้าข้นึ ทกุ ขณะ เนื่องจากมีความต้องการใช้ไฟฟ้าในปรมิ าณสงู มากจาก การขยายตัวทางเศรษฐกจิ อตุ สาหกรรม เมื่อเกดิ ภาวะวิกฤตริ ะดบั นำ้ �เหนือเขือ่ นมีระดับตำ่ �มาก จนไม่เพียงพอตอ่ การใชพ้ ลังงานน้ำ� ไม่สามารถผลิตกระแสไฟฟ้าส่งใหผ้ ใู้ ชไ้ ดอ้ ย่างท่วั ถงึ จนถึง ขนาดเกรงกนั ว่าอาจจำ�เป็นต้องใชม้ าตรการตา่ ง ๆ ในการประหยดั พลังงานไฟฟ้ากนั บา้ งเพือ่ แกไ้ ข ปญั หาสถานการณท์ ีเ่ กิดขนึ้ การทำ�ฝนหลวงเพือ่ เพมิ่ ปริมาณนำ้ �เหนือเขือ่ นภมู พิ ล ซึง่ เกดิ วกิ ฤติขาดแคลนน้ำ�อย่างรนุ แรงที่สุด เปน็ ประวัติการณ์ จึงเป็นภารกิจสำ�คัญย่ิงทีเ่ ริม่ ดำ�เนนิ การเมื่อวันที่ 18 สงิ หาคม พ.ศ. 2536 ถึง วันที่ 2 พฤศจิกายน พ.ศ 2536 ฝนหลวงได้มีส่วนในการเพิ่มปรมิ าณน้ำ�ให้เพียงพอตอ่ การใชพ้ ลัง น้ำ�เพื่อผลิตกระแสไฟฟา้ มิใหก้ ารพัฒนาด้านตา่ ง ๆ เกดิ การสะดุดหยุดชะงักและสามารถดำ�เนนิ การไปได้อย่างราบรืน่ มน่ั คง ในปีนีส้ ามารถเพม่ิ ปรมิ าณนำ้ �ในเขื่อนภูมพิ ลได้ถงึ 5,274.63 ลา้ น ลกู บาศก์เมตร โดยที่ปรมิ าณนำ้ �ก่อนปฏิบตั กิ ารฝนหลวงเหลือเพียง 4,037.30 ล้านลกู บาศก์เมตร ซง่ึ นับวา่ ทำ�ให้กำ�ลังผลติ สำ�รองกระแสไฟฟ้าทีใ่ ช้ได้ในปีนีอ้ ยใู่ นเกณฑ์ทีเ่ พียงพอ

13 ฝนหลวงในอนาคต การทำ�ฝนหลวงในปจั จบุ นั โดยใชว้ ิธีการโปรยสารเคมีจากเครื่องบินเพื่อเรง่ หรือเสรมิ การกอ่ ตัวและ การเจริญเติบโตของเมฆ และโจมตีกลุม่ เมฆฝนให้เกดิ ฝนตกลงส่พู ื้นทีเ่ ป้าหมายทีต่ อ้ งการนนั้ บาง ครง้ั กป็ ระสบปญั หาทีไ่ ม่สามารถปฏิบตั ติ ามข้ันตอนกรรมวิธีให้ครบถ้วนสมบรู ณ์ เช่น ในขึน้ โจมดี ใหฝ้ นตกลงสพู่ ืน้ ทีเ่ ป้ามหายไม่กระทำ�ไดเ้ นื่องจากฝนตกปกคลุมสนามบินเกิดลมพายุปั่นปว่ นและ รุนแรง เครื่องบนิ ไมส่ ามารถขั้นปฏิบัติการไดท้ ำ�ใหก้ ลมุ่ เมฆเคลื่อนทีพ่ ้นพืน้ ทีเ่ ป้าหมาย จากปัญหา ต่าง ๆ เหล่านี้จึงไดม้ ีการค้นควา้ วิจัยทดลองกรรมวธิ ีทำ�ฝนขึ้น เพื่อพฒั นาใหก้ า้ วหน้ายิ่งข้ึนซึ่ง พระบาทสมเด็จพระปรมนิ ทรมหาภูมิพลอดลุ ยเดช บรมนาถบพิตรทรงกรุณาพระราชทานแนวทาง คิดในการวจิ ัยพฒั นาฝนหลวงเพือ่ เกษตรกรหลายประการ คือ ประการแรก สร้างจรวดฝนเทียมบรรจสุ รรเคมีจากพื้นดนิ เขา้ สเู่ มฆหรือยิงจากเครือ่ งบินซึ่ง ไดม้ ีการทดลองแลว้ มีความกา้ วหน้าข้ึนมาเป็นลำ�ดับขณะนีก้ ำ�ลังอยู่ในขน้ั ทำ�การผลติ จรวดเชิง อตุ สาหกรรมและคาดว่าอีกไม่นานเกินรอ ไทยเราก็คงได้เปน็ ผูน้ ำ�ของการทำ�ฝนหลวงในภมู ิภาคนี้ อีกครั้งหนึ่ง พระบาทสมเดจ็ พระปรมนิ ทรมหาภูมิพลอดุลยเดช บรมนาถบพติ รทรงพระกรุณาพระราชทานแนวความ คดิ ในการวิจยั เพือ่ แกไ้ ขปญั หาในการใชเ้ ครื่องบนิ ทำ�ฝนหลวง ด้วยการให้ทำ�การวจิ ยั สรา้ งจรวดบรรจุ สารเคมียิงจากพื้นดนิ เข้าสกู่ ้อนเมฆ หรือยิงจากเครื่องบนิ จงึ ได้มีการเร่ิมวจิ ยั ประดษิ ฐ์จรวดทำ�ฝนรว่ ม กับกรมสรรพาวุธทหารบก เมื่อ พ.ศ. 2515 - 2516 จนกา้ วหนา้ ถงึ ระดบั ทดลองประดิษฐจ์ รวด เพือ่ ทำ�การยงิ ในเบือ้ งตนแล้ว แต่ตอ้ งหยุดชะงกั ดว้ ยความจำ�เปน็ บางประการของกรมสรรพาวธุ ทหารบก จนถึง พ.ศ. 2524 คณะกรรมการสภาวจิ ัยแหง่ ชาติได้แตง่ ตงั้ คณะทำ�งานพัฒนาและวจิ ัยจรวดฝนเทียม ข้ึนประกอบดว้ ยผู้เชี่ยวชาญด้านจรวดของกองทพั บก กองทัพเรือ กองทพั อากาศ นกั วิชาการจาก สภาวจิ ัยแห่งชาตแิ ละนกั วิชาการฝนหลวง ซงึ่ ไดร้ ว่ มทำ�การวจิ ยั คน้ ควา้ และพฒั นาจรวดตน้ แบบขัน้ เพือ่ ทำ�การทดลองยงิ และถงึ ข้ึนบรรจสุ ารเคมีเพื่อทดลองยิงเขา้ สู่ก้อนเมฆจริงแล้วตง้ั แตป่ ี พ.ศ. 2530 ใน ขณะนีจ้ งึ อยู่ระหว่างข้นั ทำ�การผลิตจรวดเชิงอุตสาหกรรมในลำ�ดับต่อมา

14 ประการทีส่ อง คือ การใชเ้ ครื่องพ่นสารเคมีอัดแรงกำ�ลังสูจ่ ากยอดเขาสู่ฐานของก้อนเมฆโดยตรง เพือ่ ชว่ ยให้เมฆทีต่ ามปกติมกั ลอยปกคลุมอย่เู หนือยอดเขาสามารถรวมตัวหนาแนน่ จนเกิดฝน ตกลงสูบ่ รเิ วณภเู ขาหรือพื้นทีใ่ ตล้ มของภเู ขา หากผลการทดลองลลุ ว่ งเรียบร้อยเมือ่ ใดกค็ งไดน้ ำ�ไป ใช้กันอยา่ งท่วั ถงึ ประการสดุ ท้าย คือ การทำ�ฝนในเมฆเยน็ จัด (Super Cooled Cloud) โดยใชส้ ารที่ทำ�ใหเ้ กดิ ฝน ในกลุม่ เมฆเยน็ จดั (ที่อยู่สงู เกนิ กวา่ 18,000 ฟุต) ใหส้ ารนีเ้ ป็นตัวเกิดหรือเร่งเร้ากระตนุ้ กลไก ของการเกิดผลึกนำ้ �แข็งในก้อนหรือกลมุ่ เมฆนนั้ การวจิ ยั นีอ้ ยูภ่ ายใตโ้ ครงการวจิ ยั ทรพั ยากร บรรยากาศประยุกต์ซ่งึ เป็นโครงการร่วมมือของรัฐบาลไทยและอเมริกาตงั้ แต่ปี 2531 เป็นตน้ มา ฝนหลวง จึงนบั วา่ เป็นที่พึ่งของเกษตรกรยามเกิดภัยแล้งได้อย่างแทจ้ รงิ และไดก้ ้าวเขา้ มามีสว่ น ชว่ ยเหลือประเทศชาตินานาประการจนมอิ าจกลา่ วได้หมดสนิ้ วนั นี.้ ..สภาพความแหง้ แลง้ อันเปน็ ภยั พบิ ตั จิ ากธรรมชาต.ิ ..ไดก้ ลบั พลกิ ฟืน้ คืนสู่สภาพทีส่ ดใสขึ้น อีกครง้ั หนึง่ บนผืนแผ่นดนิ ไทยโดยพระราชดำ�ริ ฝนหลวง อนั เกดิ จากน้ำ�พระราชหฤทยั ทีเ่ ปี่ยม ด้วยพระเมตาและพระกรุณาธิคณุ แห่งพระบาทสมเดจ็ พระปรมนิ ทรมหาภูมพิ ลอดุลยเดช บรมนาถ บพติ ร....ผทู้ รงสอดส่องดแู ลทกุ ขส์ ุขและหว่ งใยทุกชีวิตโดยแท.้ ..

15 จากการทีโ่ ปรดเกล้าฯ ใหม้ ีการปฏบิ ัตกิ ารฝนหลวงพเิ ศษกู้ภยั แลง้ พ.ศ. 2542 อยา่ งสมั ฤทธ์ิ ผล นอกจากจะโปรดเกลา้ ฯ ใหฟ้ ื้นฟูทบทวนประสบการณ์และเทคนิคพระราชทานทีเ่ คยปฏบิ ตั ิ การไดผ้ ลมาแล้วในอดีตมาใช้ปฏบิ ตั กิ ารในครง้ั นีแ้ ล้ว ยงั โปรดเกลา้ ฯ ใหม้ ีการพัฒนาเทคโนโลยี และเทคนคิ ควบค่กู นั ไปดว้ ย ซ่ึงทรงสามารถพัฒนากรรมวธิ ีการทำ�ฝนหลวงให้ก้าวหน้าข้นึ อีก ระดบั หนงึ่ คือ เปน็ การปฏบิ ัติการฝนหลวงโดยการดัดแปรสภาพอากาศให้เกดิ ฝนโดยเทคโนโลยี ฝนหลวงจากท้งั เมฆอนุ่ และเมฆเยน็ พร้อมกนั (เดิมเป็นกิจกรรมทำ�ฝนจากเมฆอนุ่ เพียงอย่าง เดียว) ด้วยพระปรีชาสามารถ ทรงพัฒนาเทคนิคการโจมตีเมฆอ่นุ และเมฆเย็นพรอ้ มกันในกล่มุ เมฆเดียวกัน ซง่ึ โปรดเกลา้ ฯ ใหเ้ รียกเทคนิคการโจมตีทีท่ รงประดิษฐค์ ดิ ค้น ขึ้นมาเปน็ นวตั กรรม ใหม่ล่าสุดวา่ SUPER SANDWICH TECHNIC ทรงสรุปข้ันตอนกรรมวธิ ีโดยทรงประดิษฐข์ ้ึนเป็น แผนภาพการต์ ูนโดยคอมพิวเตอร์ดว้ ยพระองคเ์ อง พระราชทานใหใ้ ช้เปน็ ตำ�ราฝนหลวง เพื่อให้ เปน็ แบบอย่างใชใ้ นการปฏบิ ัตกิ ารฝนหลวงให้เป็นไปในทางเดียวกัน แผนภาพฝีพระหัตถดงั กลา่ ว ประมวลความรู้ทางวิชาการเทคนิคและกระบวนการขั้นตอนกรรมวิธีในการปฏิบตั ิการฝนหลวง อย่างครบ ถ้วนทั้งเทคโนโลยีฝนหลวงไว้ในหนึง่ หนา้ กระดาษไดอ้ ย่างสมบรู ณง์ ่ายต่อความเขา้ ใจ และการถือปฏบิ ตั ิ

16 กระบวนการดดั แปรสภาพอากาศใหเ้ กดิ ฝนโดยเทคโนโลยีฝนหลวงเป็นนวตั กรรมใหมล่ ่าสุดที่ทรง ประดิษฐค์ ดิ คน้ ขึน้ มา พระราชทานใหใ้ ช้ปฏิบตั กิ ารในประเทศไทยเป็นประเทศแรก ยงั ไม่มีประเทศใดในโลกเคยปฏิบตั ิ ดว้ ยเทคโนโลยีนี้มากอ่ นอย่างแนน่ อน พระบาทสมเดจ็ พระปรมนิ ทรมหาภมู พิ ลอดลุ ยเดช บรมนาถบพติ ร ทรงประดษิ ฐ์ภาพ “ตำ�ราฝน หลวง” ด้วยคอมพิวเตอร์ แสดงขน้ั ตอน และกรรมวิธีการดดั แปรสภาพอากาศ ให้เกดิ ฝนจากเมฆ อุ่น และเมฆเย็น และพระราชทานแก่ นกั วชิ าการฝนหลวง ถือปฏบิ ตั ใิ นแนวทางเดียวกัน เมื่อวนั ที่ 21 มีนาคม 2542

ID : 089-74521 FB : makinnaja


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook