Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore NID310_Unit 2-Tippawan_2563

NID310_Unit 2-Tippawan_2563

Published by Tippawan Iamchareon, 2021-05-10 09:16:13

Description: เอกสารประกอบการบรรยายหน่วยที่ 2 หลักการบริหารการพยาบาล

Search

Read the Text Version

หน่วยท่ี 2 หลักการและกระบวนการบรหิ ารการพยาบาล

3. โครงสร้างการบรหิ ารโรงพยาบาลและองค์กรพยาบาล สังเขปเนื้อหา 3.1 ความหมายขององคก์ รและองค์กรพยาบาล 3.2 รูปแบบโครงสร้างขององค์กรและองค์กรพยาบาล 4. การบรหิ ารงานในหอผูป้ ว่ ย 4.1 การจัดการหอผู้ปว่ ย 4.2 การจัดอตั รากาลัง 4.3 การจดั การพัสดุและเวชภณั ฑ์ 5. การบนั ทึกและรายงานทางการพยาบาล 5.1 องค์ประกอบและลักษณะบนั ทึกทางการพยาบาลทด่ี ี 5.2 รปู แบบของบนั ทกึ ทางการพยาบาล 5.3 ความสาคัญของบนั ทึกทางการพยาบาล

วัตถปุ ระสงค์ 1. อธบิ ายโครงสรา้ งการบริหารโรงพยาบาลและองคก์ ร การเรยี นรู้ พยาบาลได้ 2. อธิบายหลกั การ การบริหารงานในหอผปู้ ว่ ยได้ 3. บอกแนวทางการจัดการหอผู้ปว่ ยได้ 4. วิเคราะห์สถานการณแ์ ละคานวณอัตรากาลงั พยาบาล ในแตล่ ะเวรได้ 5. บอกหลกั การ การจดั การพสั ดุและเวชภณั ฑใ์ นหอผู้ปว่ ยได้ 6. บอกหลกั การ การบนั ทกึ และรายงานทางการพยาบาลที่มี คณุ ภาพได้ 7. วิเคราะหส์ ถานการณป์ ัญหาเกย่ี วกับบันทกึ ทางการ พยาบาลได้

โครงสร้างการบรหิ ารโรงพยาบาล และองคก์ รพยาบาล

ความหมายขององคก์ รและองค์กรพยาบาล โครงสรา้ งการบริหาร โรงพยาบาล องคก์ รพยาบาล หมายถงึ หนว่ ยงานที่พยาบาลวิชาชพี มาปฏิบตั งิ านรว่ มกันตง้ั แต่ 2 คนขนึ้ ไป เพ่อื การดแู ลผู้ป่วยอย่าง และองค์กรพยาบาล ตอ่ เนื่อง 24 ช่วั โมง มกี ารทางานทเ่ี ปน็ ระบบ มีกฎระเบียบใน การปฏบิ ัติงาน ภายใตก้ ารดแู ลสนบั สนุนสิ่งอานวยความสะดวก ในทกุ ๆด้านของหน่วยงาน ซึง่ มีทง้ั แบบหวังผลและไม่หวังผลกาไร (เสาวลักษณ์ จิรธรรมคณุ , 2559: 44-46; Canadian Nurse Association, 2021; Medical dictionary, 2009; Mancini and Benton, 2019; 160; Whitehead, Weiss and Tappen, 2010; 57-59)

รปู แบบโครงสร้างของ ◦ โครงสร้างตามหนา้ ที่ (Functional Structure) องคก์ รและองค์กรพยาบาล ◦ โครงสร้างตามแผนก (Divisional Structure) ◦ โครงสร้างตามกระบวนการทางาน (Process Structure) โครงสร้างขององค์กร ◦ โครงสร้างหลายมิติ (Matrix Structure) ◦ โครงสร้างตามภูมิศาสตร์ (Geographic Structure) ◦ โครงสร้างตามผลผลติ (Product Line Structure) ◦ โครงสร้างแบบผสม (Combination Structure) ◦ โครงสรา้ งแบบทมี (Team Organization) ◦ โครงสร้างแบบเครอื ข่าย (Virtual or Network Organization) ◦ โครงสร้างแบบไรข้ อบเขต (Boundaryless Organization)

โครงสรา้ งองค์กรพยาบาล โครงสรา้ งตามหนา้ ที่ (Functional Structure) โครงสรา้ งตามแผนก (Divisional Structure) โครงสร้างหลายมติ ิ (Matrix Structure) ตวั อยา่ งผังองคก์ รพยาบาล

รูปแบบโครงสรา้ ง ข้อดี ข้อจากดั 1. มคี วามเปน็ เอกลกั ษณ์ เฉพาะทาง 1. ขาดความชานาญในเรือ่ งทัว่ ๆไป มีความรอบ 2. ไมซ่ ับซ้อน เพม่ิ ประสิทธภิ าพในการ ร้ทู จ่ี ากัด จดั ทรพั ยากรได้ตามหน้าที่ 2. การตดิ ต่อส่ือสารในแนวนอนเปน็ ไปได้ยาก 3. การตัดสนิ ใจและการควบคุมขน้ึ อยู่ และช้า Functional Structure กับผบู้ รหิ าร 3. การประสานงานระหวา่ งแผนกยากมส่ ะดวก 4. สง่ เสริมและพฒั นผ้เู ช่ียวชาญเฉพาะ 4. การตัดสนิ ใจช้า และลาบาก ด้าน 5. ความจากัดของตาแหนง่ ผจู้ ดั การ 5. การประสานงานภายในหน่วยงา่ ยและ สะดวก

รปู แบบโครงสรา้ ง ข้อดี ขอ้ จากัด 1. การตดั สนิ ใจจากระดบั บนสู่ 1. การรักษาความสมดลุ ของอานาจเปน็ ไป ระดบั ล่าง ได้ยาก Division Structure 2. สามารถกาหนดกลยุท์แตกตา่ งกันได้ 2. เพิ่มข้นั ตอนของการบริการ 3. กาหนดความรับผดิ ชอบและอานาจ 3. ตอ้ งใช้กฎระเบียบการตัดสินใจ การตัดสินใจได้ 4. มคี วามซา้ ซ้อนของหนา้ ทแ่ี ละบรกิ าร 4. มกี ารกระจายอานาจการตดั สินใจ 5. มีการแขง่ ขันกนั เพ่อื แหล่งประโยชน์

รปู แบบโครงสรา้ ง ข้อดี ขอ้ จากดั 1. พัฒนาเปน็ ผ้เู ชี่ยวชาญเฉพาะด้าน 1. บรหิ ารจดั การยาก เกดิ ความขดั แย้งไดง้ ่าย 2. ใช้ผ้เู ชย่ี วชาญเฉพาะด้านได้อยา่ มี 2. ขัดต่อหลักการ “การมีผู้บังคับบัญชาเพียงคน ประสิทธภิ าพ เดยี ว” Matrix Structure 3. มีแนวทางและเปา้ หมายการปฏบิ ตั ิงาน 3. เกดิ ปัญหาเก่ยี วกับการประสานงาน หากขาด ชัดเจน ทักษะการสือ่ สารทด่ี ี 4. มีอสิ ระในการทางาน 4. ตอ้ งใชก้ ารต่อรองและกระจายหนา้ ที่ความ รบั ผิดชอบ 5.กระตนุ้ บคุ ลากรให้เกิดการพฒั นา เกิด แรงจูงใจ 5. การจัดลาดับความสาคัญของงานไมม่ ี ประสทิ ธภิ าพ 6. ช่วยในการพัฒนา สร้างสรรคแ์ ละเกิด นวตั กรรมใหม่

QUIZ

การบริหารงานในหอผู้ปว่ ย

การจัดการหอผปู้ ว่ ย หมายถึง การบริหารจดั การ การทางานในทกุ ๆด้านของหอผู้ปว่ ย ได้แก่ ดา้ นอาคารสถานทแ่ี ละสิง่ แวดล้อม ดา้ นเวลา ด้านบุคลากร และวสั ดอุ ปุ กรณ์ ทางการพยาบาล

1. การจดั การ หอผู้ป่วย 1.1 การบริหารอาคาร สถานที่และสง่ิ แวดล้อม

1. การจดั การหอผู้ปว่ ย 1.2 การบรหิ ารจัดการเวลา การจัดเวลาสาหรับการ ปฏบิ ัตงิ านและเวลาในการพกั ระหว่างปฏบิ ัตงิ าน หรือตาราง เวรในแต่ละวัน

การบรหิ ารจัดการเกีย่ วกบั จานวนคน ความรู้ 1. การจัดการ ความสามารถ หรอื คณุ ภาพของคนทปี่ ฏิบตั ิงานในหอผูป้ ว่ ย หอผปู้ ว่ ย 1.3 การจัดการ ด้านบุคลากร พยาบาล หัวหน้าวอรด์ หวั หนา้ ฝ่ายการฯ ผู้ชว่ ยพยาบาล

การจัดอตั รากาลงั หมายถงึ การจดั สรรบุคลากรการพยาบาลท่ีมีความรคู้ วามสามารถในการพยาบาล ให้มจี านวนเพียงพอต่อการดแู ลผปู้ ว่ ยในแต่ละหน่วยงาน ในแตล่ ะวัน โดยยดึ หลกั ความ ต้องการการดูแลของผปู้ ว่ ยแตล่ ะประเภทเป็นหลัก

2. การจดั อัตรากาลัง หลักการคิดอัตรากาลงั พยาบาลในหอผ้ปู ่วย 1. มจี านวนพยาบาลท่มี สี มรรถนะและทักษะทางการพยาบาลเหมาะสมกับงาน 2. มีพยาบาลที่มคี วามรูแ้ ละทกั ษะระดบั สูง (HN): พยาบาลวชิ าชีพทัว่ ไป (RN): ผู้ช่วยพยาบาล (PN) ในสดั ส่วนท่ี เหมาะสม 3. มีพยาบาลดูแลผูป้ ว่ ยอย่างต่อเนื่องและปลอดภัย 4. จดั ส่งิ แวดล้อมในการทางานใหน้ ่าอยู่และปลอดภยั ทง้ั ตอ่ พยาบาลและผปู้ ่วย 5. จดั ระดบั ความรุนแรงของผปู้ ว่ ย เพอ่ื ใหก้ ารพยาบาลอย่างเหมาะสมกับผู้ป่วย

หลกั การในการจัดอัตรากาลงั พจิ ารณาตามความตอ้ งการการพยาบาล การจดั อัตรากาลงั ของผปู้ ่วยแต่ละประเภทเปน็ หลกั (Sportman, 2019; 219-220) หลกั การจดั อตั รากาลงั American Nurse Association (ANA) เสนอใหใ้ ชห้ ลกั การพิจารณา บนพ้ืนฐานขอ้ มลู สาคญั ดงั นี้ 1. ความต้องการของผู้ปว่ ย 2. ประสบการณ์ การทางานของพยาบาล 3. สภาพแวดล้อมการทางานหรือบริบทของหน่วยงาน 4. แนวปฏิบัตทิ างการพยาบาลของเจา้ หนา้ ที่พยาบาล

หนว่ ยงาน สัดสว่ นพยาบาล : ผปู้ ่วย ผ้ปู ว่ ยนอก (OPD) (RN : Pt.) การจดั อตั รากาลัง อบุ ตั เิ หตุ-ฉุกเฉิน (ER) 1 : 100 หอผปู้ ่วยสามัญ: กุมารเวช, สูติกรรม, นรเี วช 1 : 10 สดั สว่ นพยาบาลตอ่ ผปู้ ว่ ย 1:6 ในแตล่ ะหน่วยงาน : ศลั ยกรรมทัว่ ไป, กระดกู , ประสาท, อุบตั เิ หตุ 1:5 : อายรุ กรรม, จติ เวช, ผ้ปู ่วยพเิ ศษ 1:4 1:2 หอผู้ป่วยวิกฤต (ICU) เดก็ , ผู้ใหญ่ 1:2 หน่วยบาบดั เฉพาะ(ไตเทียม, รังสีรักษา, เคมีบาบัด) 2:1 ห้องผา่ ตัด, หอ้ งคลอด

2.การจดั อตั รากาลงั วัตถุประสงคข์ องการจัดอตั รากาลัง เพือ่ ให้ผู้ปว่ ยไดร้ ับการบริการ ทางการพยาบาลท่ีมีประสิทธิภาพและเปน็ ไปอยา่ งต่อเนอ่ื งตลอด 24 ชั่วโมง บุคลากรพยาบาลในแตล่ ะระดับไดใ้ ชค้ วามรคู้ วามสามารถของตนอย่างเตม็ ที่ และมเี วลาในการปฏิบัติงานอย่างเหมาะสมเทา่ เทียมกัน



ตวั อย่างการจดั อตั รากาลงั 2.การจดั อตั รากาลงั หอผูป้ ว่ ยอายรุ กรรมสามัญ มผี ปู้ ่วยทง้ั หมด 25 เตยี ง ประเภท 1 = 5 คน ขัน้ ตอนการจัด ประเภท 2 = 8 คน ประเภท 3 = 5 คน ประเภท 4 = 4 คน อัตรากาลัง 5 ขั้นตอน ประเภท 5 = 3 คน ตวั อยา่ งท่ี 1 1. คานวณช่ัวโมงความตอ้ งการการพยาบาลของผู้ปว่ ยทั้งหมดในแต่ละวนั สตู ร: จานวนผูป้ ว่ ย x จานวนชว่ั โมงท่ผี ู้ป่วยแต่ละประเภทต้องการการพยาบาล แทนคา่ : ประเภท 1 : 5x1.5 = 7.5 ประเภท 2 : 8x3.5 = 28 ประเภท 3 : 5x5.5 = 27.5 ประเภท 4 : 4x7.5 = 30 ประเภท 5 : 3x12 = 36 รวม 129 ช่วั โมง/วนั

2. กาหนดเวลาการพยาบาลของพยาบาลใน 1 เวร = 6 ชว่ั โมง 2.การจดั อตั รากาลงั สตู ร: จานวนช่วั โมงทง้ั หมดทีใ่ ช้/วัน x ความต้องการการพยาบาล/เวร เวรเชา้ ตอ้ งการการพยาบาล 64% เวรบ่าย ตอ้ งการการพยาบาล 24% เวรดกึ ตอ้ งการการพยาบาล 12% แทนคา่ : เวรเชา้ 129 x 64/100 = 82.6 ชว่ั โมง/วนั เวรบา่ ย 129 x 24/100 = 31.0 ชั่วโมง/วัน เวรดึก 129 x 12/100 = 15.5 ช่ัวโมง/วนั

3. คานวณเวลาทผ่ี ู้ป่วยตอ้ งการการพยาบาลในแตล่ ะเวร โดยใช้เกณฑ์ของ Alexander 2.การจดั อัตรากาลงั (อรทยั รงุ่ วชริ ะ, 2559) สตู ร : ชั่วโมงความต้องการการพยาบาลของผปู้ ่วยในแต่ละเวร จานวนช่วั โมงให้การพยาบาลของพยาบาลในแต่ละเวร แทนค่า: เวรเช้า 82.6/6 = 13.8 คน = 14 คน เวรบ่าย 31.0/6 = 5.2 คน = 5 คน เวรดึก 15.5/6 = 2.6 คน = 3 คน รวมทัง้ หมด 22 คน 4. คานวณจานวนพยาบาลท่ีใชใ้ นแตล่ ะเวรและคดิ จานวนพยาบาลชดเชยกรณลี าฉุกเฉิน เพิ่มอีก 25% สตู ร: จานวนพยาบาลท่คี านวณไดท้ งั้ หมด x 25/100 แทนค่า: 22 x 25/100 = 5.5 คน = 6 คน รวมบคุ ลากร 22+6 = 28 คน

2.การจัดอตั รากาลัง 5. คดิ สัดสว่ นบคุ ลากรพยาบาลวิชาชพี (RN) : ผ้ชู ่วยพยาบาล(Non-RN) Staff mix อาจมี RN: Non-RN เป็น 100%:0, 80%:20%, 70%:30%, 65%:35% หรือ 60%:40% ก็ไดต้ ามความซับซอ้ นและความ รุนแรงของผปู้ ว่ ยทต่ี ้องการการพยาบาล (สภาการพยาบาล, 2548) Staff mix 60% : 40% เวรบ่าย พยาบาลวชิ าชีพ = 4 เวรดึก พยาบาลวชิ าชพี = 3 เวรเช้า พยาบาลวชิ าชีพ = 11 ผู้ช่วยพยาบาล = 1 ผู้ชว่ ยพยาบาล = 1 พนักงานผูช้ ่วย = 1 ผ้ชู ่วยพยาบาล = 4 พนักงานผูช้ ว่ ย = 3

สูตรการคานวณ Productivity (P) = Required Staff hours X 100 2.การจดั อัตรากาลงั Provided Staff hours การหาค่าผลผลติ ของงาน = ผลรวม (ความต้องการ ชม.การพยาบาล) X 100 (Productivity) จานวนบคุ ลากรต่อวัน (3 เวร) X ชม.การทางาน (7 ชม) ข้อมลู จากตวั อยา่ งการจัดอัตรากาลัง คา่ ความสามารถในการ แทนค่า: จานวนชว่ั โมงความต้องการการพยาบาลของผ้ปู ว่ ย = 129 ชัว่ โมง/วนั ใชท้ รพั ยากรในการสรา้ ง ผลงาน หรอื อัตราส่วน จานวนบคุ ลากรตอ่ วัน (3 เวร) = 28 คน ระหว่าง Input : Output เวลาปฏบิ ตั ิงานเวรละ 8 ชั่วโมง คิดเป็นเวลาทางานจริง 7 ชัว่ โมง พกั 1 ช่ัวโมง P = 129 X 100 = 129 X 100 = 65.8% 28 X 7 196 คา่ ผลผลิต=65.8% แสดงว่าจานวนพยาบาลในหอผปู้ ่วยมีจานวนมากเกนิ จานวนงาน

หอผูป้ ่วยศลั ยกรรมมผี ู้ปว่ ยประเภทที่ 2 จานวน 40 คน 2.การจดั อตั รากาลัง (ตอ้ งการการพยาบาล 3.5 ชม./คน/วัน) กาหนดให้คดิ เวลาปฏบิ ตั กิ าร ตวั อย่างท่ี 2 พยาบาล 6 ชม./เวร จงคานวณจานวนพยาบาลทง้ั หมด แทนคา่ จานวนพยาบาลทงั้ หมด = 40X3.5/6 = 23.3 = 23 คน/วัน คิดเพิ่มกรณลี า/ปว่ ย อีก 25% = 23X25/100 = 5.75 = 6 คน/วัน จานวนพยาบาลท้ังหมด = 23+6 = 29 คน/วนั อัตราสว่ นพยาบาล : ผชู้ ่วยพยาบาล (Staff mix 60%:40%) 29X60/100 : 29X40/100 = 17 : 12 คน

1. จดั หาใหเ้ พยี งพอต่อการใช้งานและไม่เหลอื มากเกนิ ไป 3. การจดั การพสั ดุ และเวชภณั ฑ์ “มใี ช้เพียงพอ ไมต่ อ้ งรอเมื่อฉุกเฉิน และไม่มากเกินความจาเปน็ ” หลักการจัดการพัสดุ 2. มกี ารจัดเก็บ การซอ่ มบารุงทเ่ี ป็นเปน็ ระบบ และเวชภณั ฑ์ในหอผูป้ ่วย ควรยึดหลักการ 4 ประการ จัดระบบ First-in/First-out ในการใชง้ าน, มีสมดุ ทะเบียนการรบั -จ่าย เวชภณั ฑต์ ่างๆ 3. มีฐานข้อมูลเกี่ยวกบั เครอ่ื งมือเครื่องใช้ สมุดทะเบยี นรายการเคร่อื งมอื หรือมีขอ้ มูลในระบบคอมพิวเตอร์ 4. มีการถ่ายทอดความรใู้ นการใช้งานพัสดแุ ละเวชภัณฑ์อย่างทว่ั ถงึ บรรยายหรือสาธิตเก่ียวกับวิธีการใชง้ าน, คมู่ อื การใช้งานฉบบั ยอ่ ตดิ ไวท้ ี่ เคร่ืองมือหรอื อปุ กรณ์การแพทย์

QUIZ

การบันทึก และรายงาน ทางการพยาบาล

1. องคป์ ระกอบและลกั ษณะบนั ทึกทางการพยาบาลทดี่ ี ตามประกาศของสภาการพยาบาล เรอื่ ง มาตรฐานการพยาบาล พ.ศ. 2562 มาตรฐานที่ 5 การบนั ทกึ และรายงานการ พยาบาล มขี ้อกาหนดเกีย่ วกบั ลกั ษณะบนั ทึกและรายงาน ทางการพยาบาล 4 ประการ 1. บนั ทกึ การพยาบาล ต้องมขี อ้ มลู สาคญั 4 สว่ น

2. ตอ้ งบันทกึ ข้อมลู สาคญั สอดคล้องกบั ปญั หาและความตอ้ งการ องค์ประกอบและลักษณะ ของผ้ปู ่วย ถูกต้องเปน็ จริงและตอ่ เนอ่ื ง บันทกึ ทางการพยาบาลท่ดี ี 3. ใช้สอ่ื สารในทีมการพยาบาล และระหวา่ งทมี สขุ ภาพเพอ่ื การ ดูแลผปู้ ว่ ยไดอ้ ยา่ งตอ่ เนือ่ ง 4. มีการตดิ ตามประเมนิ ผล และพฒั นาคุณภาพบนั ทกึ ทางการ พยาบาลอย่างต่อเน่อื ง

องค์ประกอบและลกั ษณะ บนั ทกึ ทางการพยาบาลที่ดี ทาไปบนั ทึกไป หรือบนั ทกึ หลังจากสน้ิ สดุ การพยาบาล ไมบ่ ันทึกไว้ล่วงหน้า

Problem-orientated record system: PORS มีทัง้ การบันทกึ การบันทึก ในกระดาษและบนั ทกึ ในระบบคอมพิวเตอร์ (จันทร์ทริ า เจยี รณัย, 2557) และรายงานทางการ วนั ท/่ี เวลา ปญั หาหรือความตอ้ งการของ กจิ กรรมการพยาบาล ประเมินผลการพยาบาล พยาบาล ผปู้ ่วย 2. รปู แบบการบนั ทึก ทางการพยาบาล 10 พ.ค. 2564 1.พรอ่ งความรู้ในการปฏบิ ตั ิตัว -แนะนาตัว สร้างสมั พันธภาพกบั ผู้คลอด -ผูค้ ลอดเขา้ ใจวิธกี ารปฏิบัตติ วั 9.00 น. ขณะรอคลอดและในระยะคลอด -ใหข้ อ้ มูลเกีย่ วกบั การปฏิบตั ิตวั ขณะนอนรอ ขณะรอคลอด : “ตอนจะคลอดจะปวดท้องมาก คลอด -ผคู้ ลอดใช้วธิ ีการผอ่ นคลาย ไหมคะ” -อธิบายแผนการดูแลขณะรอคลอด และ ความเครยี ดดว้ ยการนง่ั สมาธิ วิธีการคลอดใหผ้ ู้คลอดทราบโดยละเอียด และหายใจผ่อนคลายไดต้ าม : “หมอจะให้คลอดตรงไหน คาแนะนา เหรอคะ” -ให้ผคู้ ลอดได้ซักถามขอ้ มลู และพดู คุยระบาย -สีหน้ากงั วลลดลง บอกไดว้ ่า : G1P0 GA39+2 wks. : สหี น้ากังวลและถามถงึ การ ความรสู้ กึ วิตกกังวลต่างๆ ตอ้ งนอนรอคลอดในหอ้ งรอ คลอดบ่อยๆ -พดู คุยใหก้ าลงั ใจผู้คลอดและให้ความมน่ั ใจ คลอด และเมือ่ เขา้ ส่รู ะยะคลอด 1.PORS วา่ แพทย์และพยาบาลจะอยดู่ ูแลตลอดเวลาท่ี ต้องไปนอนคลอดบนเตียง คลอด คลอดในพน้ื ท่ีสะอาดเพ่ือไม่ให้ ตดิ เช้ือ ลงชือ่ พว.ทพิ วรรณ์

การบนั ทกึ 2. รปู แบบการบนั ทกึ ทางการพยาบาล และรายงานทางการพยาบาล

การบันทกึ และรายงานทางการพยาบาล 2. รปู แบบการบันทึกทางการพยาบาล

4.บนั ทกึ ทางการพยาบาลในระบบคอมพิวเตอร์ การบันทกึ และรายงานทางการ พยาบาล 2. รปู แบบการบันทึก ทางการพยาบาล

บันทกึ ทางการพยาบาลกับความเกยี่ วขอ้ งทางกฎหมาย การบันทึก และรายงานทางการ The most important role of documentation is to assure high quality patient care. พยาบาล 3. ความสาคัญของบนั ทึก ทางการพยาบาล

การบนั ทกึ 3. ความสาคัญของบันทึกทางการพยาบาล และรายงานทางการพยาบาล บันทึกทางการพยาบาลกับความเก่ยี วข้องทางกฎหมาย ตัวอย่างความบกพร่องที่เกี่ยวขอ้ งกบั บนั ทกึ ทางการพยาบาลท่พี บบ่อย เป็นลักษณะลักษณะการบนั ทึกที่ไมส่ มบูรณ์ โดยสรุปปัญหาที่พบ คอื “ไม่ทา ไมบ่ ันทกึ ” “บันทกึ แต่ไมท่ า” (ไสว นรสาร, 2561: 48)

ตวั อย่างท่ี 1

ตัวอย่างที่ 2 คาวินจิ ฉยั

QUIZ

THANK YOU


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook