โครงงาน เรือ่ ง เครอ่ื งเกบ็ ขยะในนำ้ แบบเคลอ่ื นท่ไี ด้ ด้วยพลังงานแสงอาทติ ย์ 1. นายพีรวิชญ์ เหราบัตย์ รหัสนกั ศกึ ษา 6012000389 ระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนต้น 2. นางสาวขนิษฐา ทนั ปรีชา รหสั นักศึกษา 6122002606 ระดบั มัธยมศกึ ษาตอนต้น 3. นายไพรชั ทองประศรี รหสั นักศึกษา 6113002844 ระดบั มัธยมศึกษาตอนปลาย รายงานฉบบั นีเ้ ปน็ สว่ นหน่ึงของการประกวดโครงงานวทิ ยาศาสตร์ สำหรับนักศึกษา กศน. ระดับประเทศ ดา้ นการใชแ้ ละการอนุรกั ษพ์ ลังงานไฟฟ้าเพ่ือชวี ติ และสังคม ประจำปี พ.ศ. 2562 ณ ศนู ยว์ ิทยาศาสตรเ์ พอ่ื การศกึ ษา (เอกมยั )
สารบญั หนา้ ก บทคัดย่อ ข กติ ตกิ รรมประกาศ 1 บทที่ 1 บทนำ 1 2 1.1 ทมี่ าและความสำคัญของโครงงาน 2 1.2 วัตถุประสงค์ 2 1.3 สมมตฐิ าน 2 1.4 ตัวแปรทศ่ี ึกษา 2 1.5 ขอบเขตการศึกษา 3 1.6 ประโยชน์ทค่ี าดว่าจะไดร้ ับ 4 1.7 นยิ ามปฏบิ ัติการ 4 บทที่ 2 เอกสารท่เี กีย่ วข้อง 5 2.1 พลงั งานหมุนเวยี น 5 2.2 โชล่าเซลล์ 5 2.3 ไดนาโม 6 2.4 มอเตอร์ 7 2.5 ขยะ 7 บทท่ี 3 วิธีดำเนนิ การ 8 3.1 วัสดุอุปกรณ์ 9 3.2 วธิ ดี ำเนนิ การ 20 บทที่ 4 ผลการศกึ ษา 20 บทท่ี 5 สรปุ ผล อภปิ รายผลขอ้ เสนอแนะ 20 5.1 สรุปผล 20 5.2 อภิปรายผล 21 5.3 ขอ้ เสนอแนะ 22 บรรณานกุ รม 23 ภาคผนวก 24 ภาคผนวก ก ภาพประกอบ ภาคผนวก ข ภาพประกอบ
สารบญั ตาราง หน้า ตารางท่ี 1 เปรยี บเทยี บระยะเวลาการใช้งานพลงั งานไฟฟ้าอย่างตอ่ เนอ่ื ง 18 ตารางที่ 2 เปรียบเทียบการใชแ้ รงงานคนเก็บขยะในนำ้ กบั การใชง้ านเครื่องเก็บขยะในนำ้ 19 แบบเคลือ่ นทไ่ี ด้ดว้ ยพลงั งานแสงอาทิตย์
สารบญั ภาพ หนา้ ภาพที่ 1 ชุดต่อโครงสร้างเก็บขยะ 9 ภาพท่ี 2 ชดุ ตวั โครงสรา้ งเครอ่ื งเก็บขยะ 9 ภาพท่ี 3 ทาสีโครงสรา้ ง 10 ภาพที่ 4 ทาสีโครงสรา้ ง 10 ภาพที่ 5 ตดิ ต้งั ระบบทุ่นนำ้ หนัก 11 ภาพท่ี 6 การยดึ ทุน่ ลอยนำ้ ตดิ กบั โครงสร้าง 11 ภาพท่ี 7 การติดตงั้ ชดุ เก็บขยะ 12 ภาพที่ 8 การตดั สว่ นอปุ กรณเ์ กินในการติดตง้ั 12 ภาพท่ี 9 การติดต้งั แผงโซลา่ เซลล์ 13 ภาพท่ี 10 ทดลองการปรบั องศา 13 ภาพที่ 11 ชดุ มอเตอร์พร้อมหางเสือทีส่ ำเร็จ 14 ภาพที่ 12 การติดตั้งชุดหางเสอื 14 ภาพท่ี 13 การยดึ และปรับตำแหน่งชุดหางเสือ 14 ภาพท่ี 14 การตดิ ตง้ั ชุดควบคุมมอเตอร์ 15 ภาพท่ี 15 การตอ่ วงจรบังคบั เลย้ี วซา้ ย-ขวา 15 ภาพท่ี 16 เครอื่ งเก็บขยะในน้ำเคลื่อนท่ีได้ 16 ภาพท่ี 17 ทดสอบการใช้งานเคร่ืองเก็บขยะ 17 ภาพท่ี 18 ทดสอบการใช้งานเคร่ืองเกบ็ ขยะ 17 ภาพท่ี 19 สเตอรม์ อเตอร์ไซด์ 23 ภาพท่ี 20 แผงโซลา่ เซลล์ 23 ภาพที่ 21 สเตอร์เล็ก/ใหญก่ ับโซ่มอเตอรไ์ ซด์ 23 ภาพที่ 22 กลอ่ งไฟควบคมุ ชุดบังคบั 24 ภาพท่ี 23 ชดุ ขับเคล่ือนตัวเกบ็ ขยะ 24 ภาพท่ี 24 เจาะตดิ ตัง้ กลอ่ งควบคุม 24 ภาพที่ 25 ทดลองการใช้ตาข่ายในการทำ 25 ระบบลำเลยี งการเกบ็ ขยะลงถงั 25 ภาพที่ 26 การติดตัง้ โครงสร้างระบบเกบ็ ขยะ
สารบญั ภาพ หนา้ 26 ภาพท่ี 27 การติดตัง้ ระบบเดินหน้าถอยหลงั และชุดควบคมุ ความเร็วมอเตอร์ชดุ เกบ็ ขยะ 26 ภาพท่ี 28 การตดิ ต้ังระบบเดนิ หนา้ ถอยหลงั และชดุ ควบคุมความเร็วมอเตอรช์ ดุ เกบ็ ขยะ
ก โครงงาน เครอื่ งเกบ็ ขยะในน้ำแบบเคลอื่ นทไี่ ด้ดว้ ยพลังงานแสงอาทิตย์ ผจู้ ดั ทำโครงงาน 1. นายพรี วิชญ์ เหราบตั ย์ 2. นางสาวขนิษฐา ทันปรีชา 3. นายไพรชั ทองประศรี อาจารยท์ ่ีปรกึ ษา อาจารย์ ชญานุช ช้ินจิ้น อาจารย์ สาวิตรี มมุ สิน สถานศกึ ษา ศูนย์การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั อำเภอสามพราน บทคัดย่อ เคร่อื งเกบ็ ขยะในนำ้ แบบเคลื่อนทไี่ ด้ด้วยพลงั งานแสงอาทิตย์ มีวัตถุประสงค์ 1) เพ่ือพัฒนาและประดิษฐ์เครื่องเก็บ ขยะในน้ำแบบเคลื่อนที่ได้ด้วยพลังงานแสงอาทิตย์ 2) เพื่อเปรียบเทียบระยะเวลาในการใช้งานเครื่องเก็บขยะในน้ำแบบ เคลื่อนที่ได้ดว้ ยพลังงานแสงอาทิตยต์ ่อการชารจ์ แบตเตอรี่หนึ่งครั้งเม่ือมีสภาพภูมิอากาศต่างกัน 3) เพื่อเปรียบเทียบการใช้ แรงงานคนเกบ็ ขยะในน้ำกับการใชง้ านเคร่ืองเก็บขยะในน้ำแบบเคล่ือนท่ีได้ด้วยพลงั งานแสงอาทิตย์ มีวธิ กี ารดำเนินการดังนี้ 1) วางแผนและจำกดั ขอบเขตการทำโครงงานเคร่ืองเก็บขยะในนำ้ แบบเคลอ่ื นที่ได้ด้วยพลังงานแสงอาทิตย์ 2) จดั เตรียมวัสดุ ที่ใช้ประกอบเครือ่ งเก็บขยะในน้ำแบบเคลื่อนที่ได้ด้วยพลังงานแสงอาทิตย์ เช่น การตัดเหล็กที่กำหนด 3) ทำการประกอบ สว่ นประกอบของตัวเครือ่ งโดยการเชอ่ื มเหล็กตามแบบทตี่ ้องการและประกอบส่วนตา่ ง ๆ เข้าดว้ ยกัน 4) ตกแตง่ ใหเ้ รยี บรอ้ ยได้ เครื่องเก็บขยะในนำ้ แบบเคลื่อนที่ได้ด้วยพลังงานแสงอาทิตย์อย่างเสร็จสมบรู ณ์ 5) ทำการทดสอบการใช้งานของเครื่องเก็บ ขยะในน้ำแบบเคล่ือนทไี่ ดด้ ้วยพลังงานแสงอาทิตย์ 6) ทดลองเปรยี บเทียบระยะเวลาในการใชง้ านเครื่องเก็บขยะในน้ำแบบ เคลื่อนทไ่ี ด้ด้วยพลังงานแสงอาทิตยต์ ่อการชาร์จแบตเตอร่ีหนงึ่ ครัง้ เมอ่ื มีสภาพภูมิอากาศตา่ งกัน 7) ทดลองเปรียบเทยี บการใช้ แรงงานคนเกบ็ ขยะในนำ้ กับการใชง้ านเครือ่ งเกบ็ ขยะในนำ้ แบบเคลื่อนทีไ่ ด้ดว้ ยพลงั งานแสงอาทติ ย์ และสรุปผลการศึกษาพบวา่ ผลการศึกษาจากโครงงาน เครือ่ งเก็บขยะในน้ำแบบเคลอื่ นท่ไี ดด้ ้วยพลงั งานแสงอาทิตย์ สามารถสรุปไดด้ งั นี้ 1) การพฒั นาและประดิษฐ์เคร่ืองเกบ็ ขยะในน้ำแบบเคลื่อนที่ไดด้ ้วยพลังงานแสงอาทติ ย์ พบว่า เครื่อง เก็บขยะในนำ้ แบบเคลื่อนทไี่ ด้ดว้ ยพลังงานแสงอาทติ ย์ สามารถจัดเกบ็ ขยะในแหลง่ น้ำได้เฉลีย่ ช่ัวโมงละ 83 ชิ้น แสดงเคร่ือง เกบ็ ขยะในนำ้ แบบเคลื่อนท่ีได้ด้วยพลังงานแสงอาทิตย์สามารถทำงานได้อยา่ งมีประสิทธภิ าพ 2) การเปรียบเทียบระยะเวลา ในการใช้งานเคร่ืองเก็บขยะในน้ำแบบเคลื่อนทไ่ี ดด้ ้วยพลังงานแสงอาทิตยต์ ่อการชาร์จแบตเตอร่ีหนึ่งครั้งในสภาพภูมิอากาศ ต่างกัน พบว่า การใช้งานเครื่องเก็บขยะในน้ำแบบเคลื่อนที่ได้ด้วยพลังงานแสงอาทิตย์ ที่ใช้แบตเตอรี่ที่ชาร์จในสภาพ ภูมอิ ากาศแดดจดั สามารถใช้งานได้ในระยะเวลาที่นานกว่าท่ใี ช้แบตเตอร่ีท่ีชาร์จในสภาพภูมิอากาศแดดอ่อน แสดงว่า สภาพ ภูมิอากาศ ทำให้การชาร์ตกระแสไฟฟา้ แต่ละครั้งในเวลาที่เท่ากัน ให้พลังงานที่แตกต่างกัน โดยสภาพภูมิอากาศแดดจัดให้ พลงั งานมากกวา่ สภาพภมู ิอากาศแดดออ่ น 3) การเปรยี บเทยี บการใช้แรงงานคนเก็บขยะในนำ้ กับการใชง้ านเครื่องเก็บขยะใน น้ำแบบเคลื่อนท่ีไดด้ ว้ ยพลังงานแสงอาทติ ย์ พบวา่ ปริมาณขยะทจี่ ดั เก็บโดยเครื่องเก็บขยะในน้ำแบบเคลื่อนทไ่ี ด้ด้วยพลังงาน แสงอาทิตย์ได้ปริมาณมากว่าขยะที่จัดเก็บโดยคนเก็บขยะในน้ำในเวลาที่เท่ากัน แสดงว่า การใช้เครื่องเก็บขยะในน้ำแบบ เคล่อื นที่ไดด้ ้วยพลังงานแสงอาทิตย์ มปี ระสทิ ธิภาพมากกว่าการใชค้ นเกบ็ ขยะในนำ้
ข กิตติกรรมประกาศ กกกกกกกโครงงานเรอื่ ง เคร่ืองเกบ็ ขยะในน้ำแบบเคลื่อนที่ได้ด้วยพลงั งานแสงอาทิตย์ ท่สี ำเร็จลุล่วง ไปด้วยดีก็เพราะได้รับการช่วยเหลือจากอาจารย์ชญานุช ชิ้นจิ้น อาจารย์สาวิตรี มุมสิน และ อาจารย์อานนท์ สริ สิ นั ต์วชิระ ครู ค.ศ. 2 ชำนาญการ สังกัดโรงเรียนวัดท่าพูด (นครผลประชานกุ ลู ) สำนกั งานเขตพน้ื ทีก่ ารศกึ ษาประถมศึกษา นครปฐม เขต 2 ที่ไห้คำปรกึ ษาและคำแนะนำตลอดเวลา เวลาของการดำเนินงานขอขอบคุณ ที่ให้ความร่วมมือในการเก็บรวบรวมข้อมูลจนทำโครงงานบรรลุ วตั ถปุ ระสงคท์ ี่ได้กำหนดไว้ กกกกกกกคณะผจู้ ดั ทำขอขอบพระคณุ ทา่ นท่ีไห้ความชว่ ยเหลอื ในเรอ่ื งตา่ งๆละหวังอยา่ งยง่ิ ว่าโครงงาน เร่อื งเครอ่ื งเก็บขยะในน้ำแบบเคลือ่ นท่ีได้ด้วยพลงั งานแสงอาทติ ย์เรื่องน้ีจะเกดิ ประโยชน์ ต่อวงการศกึ ษา คณะผจู้ ดั ทำ
1 บทท่ี 1 บทนำ 1.1ที่มาและความสำคัญของโครงงาน กกกกกกกปจั จบุ ันความก้าวหนา้ ทางเทคโนโลยไี ด้พัฒนาไปอยา่ งมาก เนื่องจากการนำความร้ทู างวทิ ยาศาสตร์ นำมาประยุกตใ์ ช้เพ่อื อำนวยความสะดวกใหก้ ับมนษุ ย์ จึงเกดิ เทคโนโลยีใหม่ๆ มามากมาย แต่สิง่ ทท่ี ำใหเ้ กิดผล เสียตามมาคือ ปัญหาของขยะทั้งจากกระบวนการผลิต หรือขยะเกิดจากผู้ใช้ แล้วขยะเหล่านั้นเราจะนำไป กำจดั กนั ไดอ้ ยา่ งไร เพราะขยะมีเป็นจำนวนมาก แม้จะมีหนว่ ยงานจัดเก็บขยะท่ไี ด้ปฏบิ ัตหิ น้าที่ไดอ้ ย่างดีเยี่ยม แลว้ แตก่ ย็ งั มขี ยะตา่ งๆ มากมายท้ังเกล่อื นกลาดไมเ่ ปน็ ท่ี เช่น ตามขา้ งถนนท่ีเป็นปา่ ขยะที่ลอยอยู่ในน้ำ เปน็ ต้น ปัญหาเหล่าน้ีจงึ ทำใหเ้ กิดมลภาวะทางอากาศ เพราะขยะบางชนิด เมื่อมีการเผาก็จะทำให้เกิดกล่ินเหม็น หรอื แม้แต่ มลภาวะทางนำ้ เพราะเกดิ จากการทมี่ นษุ ย์ท้ิงขยะ ลงในแมน่ ้ำตา่ งๆทง้ั คลองหรอื ในแมน่ ำ้ ก็ตาม กกกกกกกการที่เกิดมลภาวะต่าง ๆ เหล่านี้ทำให้เกิดผลเสียต่อระบบนิเวศเป็นอย่างมาก โดยเฉพาะทางนำ้ เพราะเมื่อมีขยะเป็นจำนวนมากลอยอยูบ่ นผิวน้ำ จะทำใหน้ ้ำในคูคลอง หรือแมน่ ำ้ เนา่ เสียได้ เพราะนำ้ ที่เน่า เสียคือน้ำทม่ี กี ๊าซออกซิเจนอยู่นอ้ ยมากๆ จึงทำให้สง่ิ มชี วี ิตที่อาศยั อยู่ในน้ำไมส่ ามารถดำรงชวี ิตอยู่ได้ จึงทำให้ หว่ งโซอ่ าหารของสตั วท์ ีอ่ ยใู่ นนำ้ เสยี สมดลุ ปลาไมส่ ามารถทีจ่ ะขยายพันธ์ุ ไม่สามารถล่าเหย่อื และหาอาหารได้ หรือแมแ้ ตส่ ตั ว์อืน่ ๆ สตั วเ์ ลก็ สตั วน์ ้อยกไ็ มส่ ามารถอาศัยอยไู่ ด้ กกกกกกกเน่ืองจากแหลง่ น้ำมีบริเวณกวา้ ง ทำให้เกิดปญั หาในการท่ีจะเกบ็ ขยะท่ลี อยอย่บู นนำ้ หากจะนั่งเรือ พายก็คงจะเก็บขยะไดจ้ ำนวนน้อยเม่อื เทยี บกัน 1 ช่วั โมงไดเ้ พยี งไม่ก่ีชน้ิ หรอื จะนง่ั เรืออาศัยเครอ่ื งยนต์ไปเก็บ ขยะก็คงจะต้องสิ้นเปลืองพลังงานโดยเฉพาะนำ้ มัน ซึ่งจะไมค่ ุ้มกับขยะที่เก็บได้กับค่านำ้ มันที่เราต้องจา่ ยไป ดังนั้นเพื่อให้ระบบนิเวศในแหล่งน้ำไม่เสียสมดุลและไม่ให้เกิดมลภาวะทางน้ำ จึงจำเป็นจะต้องประดิษฐ์ เครอ่ื งมอื ท่ีสามารถเก็บขยะในแหล่งนำ้ และสามารถทุ่นแรงของพนกั งานทจ่ี ะไปเก็บขยะในนำ้ อีกทงั้ จะตอ้ งใช้ พลังงานหมุนเวียน เช่น พลังงานแสงอาทิตย์ พลังงานน้ำ พลังงานลม หรืออยา่ งใดอย่างหนึ่งมาใช้ในการเก็บ ขยะ โดยจะไม่ใช้แหล่งพลังงานท่ีมีจำกัด เช่น น้ำมัน ถ่านหิน เพราะจะเป็นการสิ้นเปลอื งพลังงานเป็นอย่าง มาก และจะต้องเก็บขยะไดเ้ ปน็ จำนวนมากเม่ือเทียบกับการเก็บขยะโดยใชส้ วิงและนัง่ เรือพายหรอื เรือท่ีอาศัย เครอื่ งยนต์ในการขับเคลอ่ื นไปเก็บขยะ การประดิษฐเ์ ครื่องเกบ็ ขยะในน้ำแบบเคลือ่ นที่ได้ดว้ ยพลังงานแสงอาทติ ย์ จะเป็นเคร่ืองมือในการ เก็บขยะที่ลอยอยู่ในน้ำไดอ้ ยา่ งดี ประสทิ ธิภาพของการทำงานของเครื่องเกบ็ ขยะจะทำให้สามารถเก็บขยะได้ เป็นปริมาณมาก อีกทั้งยังใช้พลังงานหมุนเวียนที่ใช้แล้วไม่มีวันหมด คือ พลังงานแสงอาทิตย์แล้วนำมา เปล่ยี นเป็นพลงั งานไฟฟา้ เกบ็ ไวใ้ นแบตเตอรี่ ซ่งึ จะทำให้เครื่องหมนุ มอเตอรเ์ ปน็ พลงั งานกลสามารถเกบ็ ขยะตอ่ การชาร์จไฟต่อ 1 ครงั้ ไดเ้ ป็นจำนวนมาก
2 1.2 วัตถปุ ระสงค์ กกกกกกกในการศกึ ษาครั้งนี้ ผจู้ ัดทำไดก้ ำหนดวัตถุประสงคไ์ ว้ดังนี้ กกกกกกก1.2.1 เพื่อพฒั นาและประดษิ ฐ์เครื่องเกบ็ ขยะในน้ำแบบเคลื่อนที่ไดด้ ว้ ยพลงั งานแสงอาทิตย์ กกกกกกก1.2.2 เพื่อเปรียบเทยี บระยะเวลาในการใชง้ านเคร่อื งเก็บขยะในน้ำแบบเคลื่อนท่ีไดด้ ว้ ยพลงั งาน แสงอาทติ ยต์ ่อการชารจ์ แบตเตอรหี่ นึง่ ครั้งเมอื่ มสี ภาพภูมิอากาศตา่ งกนั กกกกกกก1.2.3 เพ่อื เปรยี บเทียบการใชแ้ รงงานคนเก็บขยะในน้ำกับการใช้งานเครอื่ งเกบ็ ขยะในน้ำแบบ เคลือ่ นที่ไดด้ ว้ ยพลงั งานแสงอาทติ ย์ 1.3 สมมตฐิ าน กกกกกกก13.1.เคร่ืองเกบ็ ขยะในนำ้ แบบเคลอื่ นทไี่ ด้ด้วยพลงั งานแสงอาทติ ย์ สามารถทำงานไดอ้ ย่างมี ประสิทธิภาพ 1.3.2 เครื่องเกบ็ ขยะในนำ้ แบบเคลื่อนที่ไดด้ ว้ ยพลังงานแสงอาทิตย์ ที่ใช้แบตเตอรี่ท่ีชาร์จในสภาพ ภมู อิ ากาศแดดจัดสามารถใช้งานได้ในระยะเวลาทน่ี านกว่าท่ีใชแ้ บตเตอรี่ที่ชารจ์ ในสภาพภมู ิอากาศแดดอ่อน 1.3.3 ปริมาณขยะที่จัดเก็บโดยเครื่องเก็บขยะในน้ำแบบเคลื่อนที่ได้ด้วยพลังงานแสงอาทิตย์ ได้ ปรมิ าณมากวา่ ขยะทจ่ี ัดเก็บโดยคนเก็บขยะในนำ้ 1.4 ตัวแปรการศึกษา กกกกกกก1.4.1 ตัวแปรตน้ เคร่อื งเกบ็ ขยะในนำ้ แบบเคล่อื นทไ่ี ด้ด้วยพลังงานแสงอาทติ ย์ กกกกกกก1.4.2 ตัวแปรตาม ปริมาณขยะในการเกบ็ เวลาใชง้ าน กกกกกกก1.4.3 ตวั แปรควบคุม แผงโซล่าเซลล์ จำนวน 2 แผ่นๆละ 10 วัตต์ แบตเตอร่ี 45 แอมแปร์ แรงดัน 12 โวลล์ จำนวน 2 กอ้ น ความเรว็ ในการเคลื่อนทีข่ องเคร่ืองเกบ็ ขยะในน้ำแบบเคลอื่ นทไ่ี ด้ ดว้ ยพลงั งานแสงอาทติ ย์ 1.5 ขอบเขตการศึกษา ในการศึกษาคร้งั นี้ มขี อบเขตของการศึกษาดงั น้ี กกกกกกก1.5.1 สง่ิ ที่ศกึ ษา เคร่ืองเกบ็ ขยะในนำ้ แบบเคล่อื นท่ไี ดด้ ้วยพลงั งานแสงอาทิตย์ กกกกกกก1.5.2 ระยะเวลา เดอื นกรกฎาคม พ.ศ. 2561 – เดอื นมถิ ุนายน 2562 กกกกกกก1.5.3 สถานที่ แหล่งน้ำหน้าวัดนครช่นื ชุ่ม ตำบลกระทมุ่ ลม้ อำเภอสามพราน
3 1.6 ประโยชน์ท่คี าดว่าจะได้รับ กกกกกกก1.6.1 เครอื่ งเกบ็ ขยะในนำ้ แบบเคลอ่ื นทีไ่ ดด้ ้วยพลังงานแสงอาทิตยส์ ามารถใชง้ านไดอ้ ย่างมี ประสทิ ธิภาพ กกกกกกก1.6.1 ลดการใช้ไฟฟ้าทีม่ จี ำนวนจำกัด กกกกกกก1.6.2 การลดปริมาณขยะในคคู ลองทำใหไ้ มเ่ กดิ มลภาวะทางน้ำ 1.7 นยิ ามปฏิบตั ิการ กกกกกกก1.7.1 พลังงานหมุนเวียน คือ การนำพลังงานแสงอาทิตย์ เปลี่ยนเป็นพลังงานไฟฟ้าเก็บไว้ใน แบตเตอรี่แล้วจา่ ยไฟให้กับมอเตอรเ์ ปน็ พลงั งานกล กกกกกกก1.7.2 เวลาใช้งาน คอื เวลาการใช้งานของเวลาใช้งานของเครอ่ื งเกบ็ ขยะในนำ้ แบบเคลื่อนที่ได้ด้วย พลงั งานแสงอาทติ ย์ กกกกกกก1.7.3 ขยะ คือ ปรมิ าณของสิ่งปฏกิ ูลท่ีอย่ใู นแหล่งนำ้
4 บทที่ 2 เอกสารท่ีเก่ยี วขอ้ ง กกกกกกกในการศึกษาโครงงาน เรือ่ ง เคร่อื งเก็บขยะในนำ้ แบบเคลอ่ื นทไ่ี ด้ดว้ ยพลงั งานแสงอาทิตย์ คณะผู้ศึกษา ได้ค้นคว้า รวบรวมข้อมูลจากเอกสารที่เกี่ยวข้องและจากเว็บไซต์บนเครือข่ายอินเตอร์เน็ต โดยขอนำเสนอ ตามลำดบั ดังน้ี 2.1 พลังงานหมนุ เวยี น กกกกกกก2.1.1 พลังงานหมุนเวียน คือ การนำพลังงานหมุนเวียนท่ีสามารถนำกลับมาใช้อย่างไม่มีทีส่ ิ้นสดุ และสามารถนำมาต่อยอดกับสิ่งประดษิ ฐ์ แล้วไม่มีผลเสยี ต่อมลภาวะของโลก ในปัจจุบันเรื่องพลังงานเป็น ปัญหาใหญ่ของโลก และนับวันจะมีผลกระทบรุนแรงต่อมวลมนุษยชาติมากข้ึนทุกที การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแหง่ ประเทศไทยก็เป็นอีกหนง่ึ หน่วยงานท่ใี ห้ความสำคัญในการร่วมหาหนทางแก้ไข ทำการศกึ ษา ค้นคว้า สำรวจ ทดลอง ติดตามเทคโนโลยีอย่างจริงจังและต่อเนื่องมาโดยตลอด เพื่อเตรียมพร้อมสำหรับการนำพลังงาน ทดแทนและเทคโนโลยใี หม่ๆในด้านพลังงานทดแทนเขา้ มาใชใ้ นประเทศไทยตอ่ ไป โดยคำนึงถงึ ทรพั ยากรและ สิง่ แวดลอ้ มซ่งึ พอจะจำแนกประเภทของพลังงานหมุนเวยี นไดด้ งั น้ี กกกกกกก2.1.2 พลังงานแสงอาทติ ย์ คอื พลงั งานท่เี กิดจากแสง รปู แบบการนำพลงั งานของแสง อาทติ ย์ มา ใช้งาน แบ่งอย่างกวา้ ง ๆ เป็น 2 รปู แบบ ขึ้นอยกู่ บั วิธีการในการจับพลังงานแสง การแปรรปู ให้เปน็ พลังงานอีก รปู หน่งึ และการแจกจา่ ยพลังงานท่ไี ดใ้ หม่นน้ั รปู แบบแรกเรยี กว่า แอคทีพโซลาร์ เป็นการใชว้ ธิ ีการของ โฟโต โวลตาอิคส์ หรอื solar thermal เพื่อจบั และเปล่ียนพลงั งานของแสงอาทติ ยใ์ หเ้ ปน็ พลงั งานไฟฟ้าหรอื พลงั งาน ความร้อนโดยตรง อีกรูปแบบหนึ่งก็คือ พาสซีฟโซลาร์ เป็นวิธีการใช้ประโยชน์ทางออ้ ม ได้แก่ การออกแบบ อาคารในประเทศหนาวให้รับแสงแดดได้เต็มที่ หรือ การติดตั้งวัสดุที่ไวต่ออุณหภูมิ thermal mass เพื่อปรบั สมดุลของอากาศในอาคาร หรือติดตั้งวัสดุที่มีคุณสมบัติกระจายแสง หรือการออกแบบพื้นที่ว่างให้ อากาศ หมุนเวยี นโดยธรรมชาติ กกกกกกก2.1.3 การผลิตไฟฟ้าจากพลังงานความร้อนของแสงอาทิตย์ เป็นการใช้พลังงานของ แสงอาทิตยเ์ ชน่ กัน เพียงแตใ่ ชก้ ระจกหรือเลนสร์ วมแสงหรือรางรูปพาลาโบลิค เพอื่ เพิ่มปริมาณความร้อนแล้ว โฟกัสให้แสงไปท่จึ ดุ ใดจุดหน่ึง (concentrated solar power or CSP) พลังงานความรอ้ นนจี้ ะถูกเปล่ียนเป็น พลังงานไฟฟ้าโดยตรงหรือไปเก็บไว้ในสารเคมีบางอย่างที่สามารถเก็บความร้อนได้เช่นสารละลายเกลือ (molten salt) จากนั้นคอ่ ยเปล่ียนพลังงานความร้อนไปเป็นพลังงานไฟฟ้าอีกที ดังนั้นโรงไฟฟ้าประเภทนี้ จงึ สามารถจ่ายพลังงานไฟฟ้าได้ 24 ชม. ตามภาพประกอบด้านบน ปัจจุบัน มีโรงไฟฟ้าประเภทนี้อยู่ใน ประเทศ สเปน และสหรัฐ เป็นต้น ขนาดใหญ่ที่สุดอยู่ในทะเลทรายโมฮาวี รัฐแคลิฟอเนีย เริ่มผลิตมาตัง้ แต่ปี 1985 มี กำลงั การผลิต 385 MW ขนาดท่ีใหญก่ วา่ นีร้ ะดบั GW กอ็ ย่รู ะหว่างการกอ่ สรา้ ง แตเ่ น่อื งจากค่าใช้จ่ายในการ ผลิตเซลล์แสงอาทิตย์ได้ลดลงอยา่ งมาก ทำให้การก่อสร้างโรงไฟฟา้ ประเภทนี้อาจคุ้มทุนช้ากวา่ การผลิตดว้ ย เซลลแ์ สงอาทติ ย์
5 2.2 โซลา่ เซลล์ (solar cell) หรอื ทีเ่ รยี กกันวา่ เซลล์โฟโตโวลตาอิก (Photovoltaic cell) คอื การผลติ ไฟฟ้าจากแสงทต่ี กกระทบ วตั ถทุ ี่สามารถเปล่ียนพลงั งานแสงเปน็ พลังงานไฟฟา้ ได้ หรอื ไฟฟ้าทมี่ าจากเเสงนัน่ เองโซลารเ์ ซลล์ (Solar Cell) มอี ายุการใชง้ านประมาณ 20-25 ปี และจะผลิตไฟฟา้ ในขณะทม่ี ีเเดดตอนกลางวัน เกบ็ ไวใ้ นเเบตเตอร์ร่ี ซงึ ไฟฟา้ ทผ่ี ลิตไดจ้ ากโซลารเ์ ซลล์ (Solar Cell) จะเปน็ ไฟฟา้ กระเเสตรง หากนำมาใช้งานในรปู ของไฟฟา้ กระเเสสลบั 220V จะต้องใช้ Inverter เพอื่ ทำการแปลงค่า และเมื่อไฟฟา้ จาก โซลารเ์ ซลล์ (Solar Cell) ถกู เเปลงเปน็ กระเเสสลบั 220 V แลว้ สามารถนำมาใช้งานกบั เคร่ืองใชไ้ ฟฟ้าภายในบา้ น เช่น ทีวี ตูเ้ ย็น พัดลม คอมพิวเตอร์ หลอดไฟ เครอ่ื งชารต์ โทรศพั ท์ เป็นตน้ ส่วนจะใชไ้ ดน้ านเเคไ่ หนขึ้นอยู่กับ ปริมาณไฟฟ้าทโ่ี ซลาร์ เซลลผ์ ลติ ได้ และ อตั ราการใช้ไฟฟา้ ของเคร่ืองมือ เคร่ืองใช้ แตล่ ะชนิด 2.3 ไดนาโม เปน็ อปุ กรณท์ ี่ทำหนา้ ทเ่ี ปลย่ี นพลงั งานกลใหเ้ ป็นพลังงานไฟฟา้ มีสว่ นประกอบสำคญั ได้แก่ ขดลวดท่ี พนั อยูร่ อบแกน เรียกว่า อาเมเจอร์ (armature) แม่เหลก็ 2 แท่ง หันข้ัวต่างกันเขา้ หากนั เพื่อใหเ้ กดิ สนามแมเ่ หลก็ โดยจะมเี ส้นแรงแมเ่ หลก็ พงุ่ จากขั้วเหนอื ไปยงั ขัว้ ใต้ และบรเิ วณข้วั จะมีความเขม้ ของ สนามแมเ่ หลก็ มากกวา่ บรเิ วณอืน่ ๆ 2.4 มอเตอร์ มอเตอร์ไฟฟา้ (electric motor) เปน็ อปุ กรณ์ไฟฟ้าท่ีแปลงพลงั งานไฟฟ้าเป็นพลงั งานกล การทำงานปกติของมอเตอรไ์ ฟฟา้ ส่วนใหญเ่ กดิ จากการทำงานรว่ มกันระหว่างสนามแมเ่ หล็กของแม่เหลก็ ในตัว มอเตอร์ และสนามแมเ่ หล็กท่ีเกิดจากกระแสในขดลวดทำให้เกิดแรงดดู และแรงผลกั ของสนามแมเ่ หล็กทัง้ สอง ในการใช้งานตวั อย่างเช่น ในอตุ สาหกรรมการขนสง่ ใช้มอเตอร์ฉดุ ลากเปน็ ต้นมอเตอร์ไฟฟา้ ถกู นำไปใชง้ านที่ หลากหลายเช่น พดั ลม เครอื่ งเป่า ป๊มั เครอื่ งมอื เคร่อื งใชใ้ นครัวเรือน และดสิ ก์ไดรฟ์ มอเตอร์ไฟฟา้ สามารถ ขบั เคลอื่ นโดยแหล่งจ่ายไฟกระแสตรง (DC) เช่น จากแบตเตอรี่, ยานยนตห์ รือวงจรเรียงกระแส หรอื จาก แหล่งจ่ายไฟกระแสสลับ (AC) เชน่ จากไฟบ้าน อินเวอรเ์ ตอร์ หรือ เครื่องปนั่ ไฟ มอเตอร์ขนาดเล็กอาจจะพบใน นาฬกิ าไฟฟา้ มอเตอรท์ วั่ ไปทมี่ ขี นาดและคุณลักษณะมาตรฐานสงู จะใหพ้ ลังงานกลทส่ี ะดวกสำหรบั ใช้ใน อตุ สาหกรรม มอเตอรไ์ ฟฟา้ อาจจำแนกตามประเภทของแหลง่ ทมี่ าของพลงั งานไฟฟ้าหรอื ตามโครงสร้าง ภายในหรือตามการใช้งานหรอื ตามการเคลอ่ื นไหวของเอาตพ์ ุต และอืน่ ๆอปุ กรณเ์ ชน่ ขดลวดแม่เหลก็ ไฟฟา้ และ ลำโพงท่ีแปลงกระแสไฟฟ้าใหเ้ ป็นการเคลื่อนไหว แต่ไมไ่ ดส้ รา้ งพลงั งานกลทีใ่ ชง้ านได้ จะเรียกถกู วา่ actuator และ transducer ตามลำดับ คำว่ามอเตอร์ไฟฟา้ นนั้ ตอ้ งใช้สร้างแรงเชิงเสน้ (linear force) หรือ แรงบิด (torque) หรอื เรยี กอกี อย่างว่า หมนุ (rotary) เท่านน้ั
6 2.5 ขยะ กกกกกกก2.5.1 ขยะ คือ สิ่งต่าง ๆ ที่ผู้คนไม่ต้องการ และทิ้งไป ขยะมีมากมายหลายรูปแบบ ทั้งที่เป็น ของแข็ง ของเหลว ขยะทย่ี อ่ ยสลายได้และท่ยี ่อยสลายไม่ได้ ของทใ่ี ช้ประโยชนไ์ ด้และที่ใช้ประโยชน์ไมไ่ ด้ และ ขยะมพี ษิ ต่อมนุษย์และส่งิ แวดลอ้ ม ซึ่งแยกประเภทได้ดงั นี้ กกกกกกก2.2.1 - ขยะที่สามารถนำมาใชป้ ระโยชนไ์ ด้ หรอื ขยะรไี ซเคลิ เช่น ขวดแก้ว พลาสติก โลหะ และ กระดาษ กกกกกกก2.2.1 - ขยะธรรมชาติ หรอื ขยะที่ย่อยสลายได้ เชน่ เศษผัก เศษใบไมใ้ บหญา้ เศษอาหาร ซงึ่ สามารถนำไปหมักทำปุย๋ ได้ กกกกกกก2.2.1 – ขยะที่ใช้ประโยชน์ไม่ได้ เป็นขยะที่ย่อยสลายยาก และไม่คุ้มค่าในการนำไปรีไซเคิล เช่น ซองบะหมี่สำเร็จรูป เปลือกลูกอม ถุงขนม ถุงพลาสติก รวมถึงขยะมีพิษที่ต้องเก็บรวบรวมแล้วนำไป กำจดั อยา่ งถกู วิธี เช่น กระปอ๋ งยาฆา่ แมลง หลอดไฟ ถ่านไฟฉาย เป็นตน้
บทที่ 3 7 วิธกี ารดำเนนิ การ จำนวน 1 ตัว 3.1วัสดุอุปกรณ์ จำนวน 5 เสน้ กกกกก1. แผงโซล่าเซลล์ จำนวน 2 ตัว จำนวน 1 ถงุ 2. เหลก็ กลอ่ ง0.5 นว้ิ จำนวน 2 ทุ่น 3. แบตเตอร่ี 12 โวลต์ จำนวน 2 ตัว 4. สายลัดท่อ PVC จำนวน 1 แผน่ 5. ทุ่นลอยนำ้ ขนาด 8 นิ้ว จำนวน 1 ตัว 6. มอเตอร์ 12 โวลล์ จำนวน 1 ตัว 7. ตาข่ายพลาสติก ยาว 3 เมตร กวา้ ง 80 เซนตเิ มตร จำนวน 1 เสน้ 8. สเตอร์ใหญ่ จำนวน 3 เมตร 9. สเตอรเ์ ลก็ จำนวน 1 ตัว 10. โซ่มอเตอรไซค์ จำนวน 1 ตวั 11. สายไฟ จำนวน 1 แผ่น 12. เลคคเู ลเตอร์ไฟ จำนวน 1 ตวั 13. ตัวลดรอบมอเตอร์dc จำนวน 1 ตวั 14. ตะแกรงเหลก็ ยาว 3 เมตร กว้าง 80 เซนติเมตร จำนวน 1 ตวั 15. ตเู้ ช่ือม จำนวน 1 ตวั 16. สว่านไฟฟ้า จำนวน 1 ชดุ 17. หินเจียร จำนวน 1 ชดุ 18. เคร่อื งไฟเบอร์ จำนวน 2 กระป๋อง 19. หางเสือ จำนวน 4 หุน 20. ชุดบงั คบั จำนวน 15 ชุด 21. สกี ระป๋อง 22. ข้อตอ่ 3 ทาง PVC 23. น๊อตตัวผ้ตู ัวเมีย เบอร์ 14
8 3.2 วธิ กี ารดำเนินการ กกกกก1. วางแผนและจำกดั ขอบเขตการทำโครงงานเครอื่ งเกบ็ ขยะในนำ้ แบบเคลอ่ื นที่ไดด้ ว้ ยพลงั งาน แสงอาทิตย์ กกกกก2. จัดเตรยี มวัสดทุ ใี่ ช้ประกอบเครอ่ื งเกบ็ ขยะในนำ้ แบบเคลอ่ื นทไ่ี ด้ด้วยพลงั งานแสงอาทิตย์ เชน่ การตดั เหล็กทก่ี ำหนด กกกกก3. ทำการประกอบส่วนประกอบของตัวเครอ่ื งโดยการเช่ือมเหลก็ ตามแบบทตี่ อ้ งการและประกอบสว่ น ต่าง ๆ เข้าด้วยกัน กกกกก3. 3.1 จัดเตรียมเหล็กขนึ้ โครงสร้าง กกกกก3. 3.2 พน่ สโี ครงสร้าง กกกกก3. 3.3 ติดต้งั ระบบทุน่ น้ำหนกั กกกกก3. 3.4 การติดตง้ั ตาข่าย กกกกก3. 3.5 ติดต้งั แผงโซลา่ เซลล์ 3.6 ติดตั้งชดุ หางเสอื และใบพดั 3.7 ติดตั้งแผงควบคมุ ชุดบงั คับ กกกกก4. ตกแต่งใหเ้ รียบร้อยได้เครอ่ื งเกบ็ ขยะในน้ำแบบเคลอื่ นทไ่ี ด้ดว้ ยพลงั งานแสงอาทิตย์ อยา่ งเสรจ็ สมบรู ณ์ กกกกก5. ทำการทดสอบการใชง้ านของเครือ่ งเกบ็ ขยะในน้ำแบบเคลื่อนทีไ่ ด้ดว้ ยพลงั งานแสงอาทติ ย์ กกกกก6. ทดลองเปรียบเทียบระยะเวลาในการใช้งานเครอื่ งเกบ็ ขยะในนำ้ แบบเคลือ่ นท่ไี ด้ด้วยพลงั งาน แสงอาทิตย์ กบั การชารจ์ แบตเตอรต่ี อ่ ครง้ั ในสภาพภมู ิอากาศต่างกนั กกกกก7. ทดลองเปรียบเทยี บการใชแ้ รงงานคนเกบ็ ขยะในนำ้ กับการใชง้ านเคร่ืองเกบ็ ขยะในนำ้ แบบเคล่ือนท่ีได้ ด้วยพลงั งานแสงอาทติ ย์
9 บทท่ี 4 ผลการศึกษา การพัฒนาและประดษิ ฐเ์ คร่ืองเก็บขยะในนำ้ แบบเคลอ่ื นทีไ่ ด้ดว้ ยพลงั งานแสงอาทติ ย์ ผจู้ ัดทำได้พฒั นาและประดษิ ฐ์เคร่อื งเกบ็ ขยะในนำ้ แบบเคลอ่ื นทไ่ี ด้ดว้ ยพลงั งานแสงอาทิตย์ ตามลำดบั ดังนี้ กกกกก1. วางแผนและจำกดั ขอบเขตการทำโครงงานเครอ่ื งเก็บขยะในนำ้ แบบเคลอ่ื นทีไ่ ดด้ ว้ ยพลงั งาน แสงอาทิตย์ กกกกก2. จัดเตรยี มวัสดทุ ใ่ี ช้ประกอบเครอ่ื งเกบ็ ขยะในนำ้ แบบเคลอื่ นทไ่ี ด้ดว้ ยพลงั งานแสงอาทิตย์ เช่น การตัด เหลก็ ท่ีกำหนด กกกกก3. ทำการประกอบส่วนประกอบของตวั เครอื่ งโดยการเชอื่ มเหล็กตามแบบที่ตอ้ งการและประกอบส่วน ต่าง ๆ เขา้ ด้วยกัน กกกกกกก3.1. จัดเตรยี มเหลก็ ขึ้นโครงสรา้ ง กก กก กกก ชดุ ต่อโครงสร้างเก็บขยะ ชุดตัวโครงสรา้ งเครอ่ื งเกบ็ ขยะ ภาพที่ 1 ภาพท่ี 2
10 3.2 ทาสีโครงสร้าง ทาสีโครงสรา้ ง ภาพท่ี 3 ทาสีโครงสรา้ ง ภาพท่ี 4
11 3.3 ติดตั้งระบบทนุ่ นำ้ หนัก ตดิ ต้งั ระบบทนุ่ นำ้ หนัก ภาพท่ี 5 กกกกก การยึดทนุ่ ลอยนำ้ ติดกับโครงสรา้ ง ภาพท่ี 6
12 3.4 การตดิ ต้ังตาขา่ ย การติดตั้งชดุ เกบ็ ขยะ ภาพท่ี 7 ภาพที่5 การตัดส่วนอุปกรณ์เกินในการติดตงั้ ภาพท่ี 8
13 ก3.5 ตดิ ตงั้ แผงโซลา่ เซลล์ การติดตั้งแผงโซลา่ เซลล์ ภาพที่ 9 ทดลองการปรบั องศา ภาพท่ี 10
14 3.6 ติดต้ังชุดหางเสือและใบพดั ชดุ มอเตอรพ์ รอ้ มหางเสือทีส่ ำเรจ็ ภาพท่ี 11 การติดต้ังชุดหางเสือ การยึดและปรบั ตำแหน่งชดุ หางเสือ ภาพท่ี 12 ภาพที่ 13
15 3.7 ตดิ ต้ังแผงควบคมุ ชดุ บังคบั การติดตั้งชดุ ควบคุมมอเตอร์ ภาพที่ 14 การต่อวงจรบงั คบั เลี้ยวซา้ ย-ขวา ภาพท่ี 15
16 4. ตกแตง่ ใหเ้ รยี บร้อยไดเ้ ครื่องเก็บขยะในนำ้ แบบเคลอื่ นทไ่ี ด้ด้วยพลังงานแสงอาทิตย อยา่ งเสรจ็ สมบูรณ์ เคร่อื งเก็บขยะในนำ้ แบบเคลือ่ นที่ได้ดว้ ยพลงั งานแสงอาทติ ย์ ภาพท่ี 16 ผู้จัดทำได้นำเครื่องเกบ็ ขยะในนำ้ แบบเคลอ่ื นท่ีได้ดว้ ยพลงั งานแสงอาทิตย์ไปทดลองใชใ้ นแหลง่ น้ำหน้า วัดนครชนื่ ชุม่ ตำบลกระทมุ่ ลม้ อำเภอสามพราน จงั หวดั นครปฐม พบว่า เคร่ืองเกบ็ ขยะในน้ำแบบเคลอ่ื นท่ีได้ ดว้ ยพลังงานแสงอาทติ ย์สามารถจดั เกบ็ ขยะในแหลง่ นำ้ ได้เฉลยี่ ช่วั โมงละ 83 ชนิ้ แสดงวา่ เครือ่ งเก็บขยะในน้ำ แบบเคล่อื นทีไ่ ดด้ ้วยพลงั งานแสงอาทิตยส์ ามารถทำงานได้อย่างมปี ระสทิ ธภิ าพ 5. ทำการทดสอบการใชง้ านของเคร่อื งเกบ็ ขยะในนำ้ แบบเคลอ่ื นท่ไี ด้ด้วยพลังงานแสงอาทิตย์ ทดสอบการใชง้ านเครือ่ งเก็บขยะในนำ้ แบบเคล่ือนที่ได้ดว้ ยพลังงานแสงอาทิตย์ ภาพที่ 17
17 ทดสอบการใชง้ านเคร่ืองเกบ็ ขยะในนำ้ แบบเคล่ือนทไ่ี ดด้ ว้ ยพลงั งานแสงอาทิตย์ ภาพที่ 18 6. ทดลองเปรยี บเทยี บระยะเวลาในการใช้งานเครอื่ งเก็บขยะในนำ้ แบบเคลื่อนท่ีไดด้ ว้ ยพลงั งาน แสงอาทิตย์กบั การชารจ์ แบตเตอร่ีตอ่ ครั้งในสภาพภมู ิอากาศต่างกนั ผู้จัดทำโครงงานได้ทดลองเปรียบเทียบระยะเวลาในการใชง้ านเคร่ืองเก็บขยะในนำ้ แบบเคลื่อนที่ได้ ด้วยพลงั งานแสงอาทิตย์กับการชาร์จแบตเตอรตี่ ่อคร้ังในสภาพภูมอิ ากาศต่างกัน ผลการทดลองดังนี้ ตารางที่ 1 เปรียบเทียบระยะเวลาการใช้งานพลงั งานไฟฟา้ อยา่ งตอ่ เน่ือง การชารจ์ แบตเตอร่ตี ่อครงั้ แดดจดั เวลาใชง้ าน แดดอ่อน เวลาใชง้ าน 8 นาที 5 นาที 12 นาที 5 นาที 15 นาที 22 นาที 10 นาที 25 นาที 10 นาที 29 นาที 15 นาที 40 นาที 15 นาที 20 นาที 51 นาที 20 นาที
18 การชาร์จแบตเตอร่ีต่อหนึง่ ครง้ั 60 คร้ัง 5นาที 10นาที 50 15นาที 20นาที 40 30 20 10 0 แดดน้อย แดดจดั ผลการทดลอง พบว่า การใช้งานเครื่องเก็บขยะในน้ำแบบเคลื่อนที่ได้ด้วยพลังงานแสงอาทิตย์ ที่ใช้ แบตเตอรี่ที่ชาร์จในสภาพภูมิอากาศแดดจัดสามารถใช้งานได้ในระยะเวลาที่นานกว่าท่ีใช้แบตเตอรี่ท่ีชาร์จใน สภาพภูมิอากาศแดดอ่อน แสดงวา่ สภาพภูมิอากาศ ทำใหก้ ารชาร์ตกระแสไฟฟ้าแตล่ ะครง้ั ในเวลาท่เี ท่ากัน ให้ พลงั งานทแี่ ตกต่างกัน โดยสภาพภูมอิ ากาศแดดจัดให้พลงั งานมากกว่าสภาพภูมิอากาศแดดอ่อน 7. ทดลองเปรยี บเทียบการใชแ้ รงงานคนเกบ็ ขยะในนำ้ กับการใชง้ านเคร่ืองเกบ็ ขยะในนำ้ แบบเคล่ือนทีไ่ ด้ ดว้ ยพลังงานแสงอาทิตย์ ผ้จู ดั ทำโครงงานได้ทดลองเปรยี บเทียบการใชแ้ รงงานคนเก็บขยะในนำ้ กับการใชง้ านเครอ่ื งเกบ็ ขยะใน น้ำแบบเคล่ือนท่ไี ดด้ ้วยพลังงานแสงอาทิตย์ ผลการทดลองดังนี้ ตารางที่ 2 เปรียบเทียบการใชแ้ รงงานคนเกบ็ ขยะในนำ้ กบั การใชง้ านเครอ่ื งเก็บขยะในนำ้ แบบเคลอ่ื นท่ไี ด้ด้วยพลงั งานแสงอาทิตย์ ระยะเวลา ปริมาณขยะทจ่ี ดั เกบ็ โดยคนเก็บขยะในน้ำ ปรมิ าณขยะทจี่ ัดเก็บโดยเคร่อื งเกบ็ ขยะในนำ้ ทดสอบ แบบเคล่อื นที่ไดด้ ้วยพลงั งานแสงอาทติ ย์ ครั้งท่ี 1 ครั้งท่ี 2 ครั้งที่ 3 เฉลย่ี 15 นาที 25 27 26 26 คร้งั ท่ี 1 ครัง้ ที่ 2 ครงั้ ที่ 3 เฉล่ยี 30 นาที 50 54 52 52 50 54 52 52 45 นาที 55 58 56 56 60 64 62 62 60 นาที 60 62 62 61 70 74 74 72 84 84 84 83
19 กราฟเปรยี บเทยี บการใชแ้ รงงานคนเกบ็ ขยะในนำ้ กับการใช้เครือ่ งเกบ็ ขยะในนำ้ แบบเคลอื่ นที่ได้ด้วยพลังงานแสงอาทติ ย์ 100 15 90 30 80 45 70 60 60 50 ค่าเฉล่ยี ปริมาณเครื่องจดั เก็บ 40 30 20 10 0 ค่าเฉลี่ยปริมาณคนจดั เก็บ ผลการทดลองเปรียบเทยี บการใช้งานเครือ่ งเก็บขยะในน้ำแบบเคลื่อนทีไ่ ดด้ ้วยพลังงานแสงอาทิตย์กบั การใช้คนเก็บขยะในน้ำ พบว่า ปริมาณขยะที่จัดเก็บโดยเครื่องเก็บขยะในน้ำแบบเคลื่อนที่ได้ด้วยพลังงาน แสงอาทิตย์ไดป้ ริมาณมากว่าขยะท่จี ดั เก็บโดยคนเกบ็ ขยะในนำ้ ในเวลาทเ่ี ทา่ กนั โดย การใช้งานเครื่องเกบ็ ขยะ ในน้ำแบบเคลื่อนทีไ่ ดด้ ้วยพลังงานแสงอาทิตย์สามารถจดั เกบ็ ขยะได้เฉลี่ยชั่วโมงละ 83 ชิ้น ขณะที่ใชค้ นเก็บ ขยะในน้ำ สามารถจัดเกบ็ ขยะได้เฉลี่ยชั่วโมงละ 61 ชิ้น แสดงว่า การใช้เครือ่ งเก็บขยะในน้ำแบบเคลื่อนท่ีได้ ด้วยพลังงานแสงอาทติ ย์มปี ระสิทธิภาพมากกวา่ การใช้คนเก็บขยะในน้ำ
20 บทท่ี 5 สรปุ ผลการศึกษา อภิปรายผลและขอ้ เสนอแนะ 5.1 สรุปผลการศกึ ษา กกกกกกกผลการศึกษาจากโครงงาน เครื่องเก็บขยะในน้ำแบบเคลื่อนที่ได้ด้วยพลังงานแสงอาทิตย์สามารถ สรปุ ได้ดงั นี้ กกกกกกก1. การพัฒนาและประดิษฐ์เครื่องเก็บขยะในน้ำแบบเคลื่อนที่ได้ด้วยพลังงานแสงอาทิตย์ พบว่า เครอ่ื งเก็บขยะในน้ำแบบเคลอื่ นทไ่ี ดด้ ้วยพลงั งานแสงอาทิตย์สามารถจัดเก็บขยะในแหล่งน้ำได้เฉล่ียชั่วโมงละ 83 ชิ้น แสดงว่า เครื่องเก็บขยะในน้ำแบบเคลื่อนที่ได้ด้วยพลังงานแสงอาทิตย์สามารถทำงานได้อย่างมี ประสิทธภิ าพ กกกกกกก2. การเปรียบเทียบระยะเวลาในการใช้งานเครื่องเก็บขยะในน้ำแบบเคลื่อนที่ได้ด้วยพลังงาน แสงอาทิตย์กับการชาร์จแบตเตอรตี่ อ่ ครง้ั ในสภาพภูมอิ ากาศต่างกัน พบว่า การใชง้ านเครอื่ งเก็บขยะในน้ำแบบ เคลื่อนที่ได้ด้วยพลังงานแสงอาทิตย์ที่ใช้แบตเตอรี่ที่ชาร์จในสภาพภูมิอากาศแดดจัดสามารถใช้งานได้ใน ระยะเวลาท่ีนานกว่าท่ีใช้แบตเตอรี่ท่ีชาร์จในสภาพภูมิอากาศแดดอ่อน แสดงว่า สภาพภูมิอากาศ ทำให้การ ชาร์ตกระแสไฟฟ้าแตล่ ะครั้งในเวลาทเี่ ทา่ กนั ให้พลงั งานทแี่ ตกต่างกัน โดยสภาพภมู ิอากาศแดดจดั ให้พลังงาน มากกวา่ สภาพภูมอิ ากาศแดดออ่ น กกกกกกก3. การเปรียบเทียบการใชแ้ รงงานคนเกบ็ ขยะในนำ้ กบั การใชง้ านเครื่องเกบ็ ขยะในน้ำแบบเคลื่อนท่ี ไดด้ ว้ ยพลังงานแสงอาทิตย์ พบว่า ปริมาณขยะที่จดั เก็บโดยเครื่องเกบ็ ขยะในนำ้ แบบเคล่อื นที่ได้ด้วยพลังงาน แสงอาทติ ย์ไดป้ รมิ าณมากวา่ ขยะท่ีจดั เกบ็ โดยคนเก็บขยะในน้ำในเวลาท่ีเทา่ กนั แสดงวา่ การใช้เครอ่ื งเก็บขยะ ในนำ้ แบบเคลื่อนทไี่ ดด้ ้วยพลงั งานแสงอาทิตย์มีประสิทธภิ าพมากกว่าการใช้คนเก็บขยะในนำ้ 5.2 อภปิ รายผล กกกกกกกเครือ่ งเก็บขยะในน้ำแบบเคลื่อนที่ได้ด้วยพลังงานแสงอาทิตย์สามารถนำไปใช้จัดเก็บขยะในน้ำได้ อย่างมีประสทิ ธิภาพ สามารถไปใช้ไดอ้ ย่างต่อเนื่องในบริเวณทีเ่ รากำหนด โดยการจดั เกบ็ พลังงานหมุนเวียน และนำกลับมาใชใ้ หม่ โดยไม่ส่งผลกระทบต่อระบบนเิ วศและส่งิ แวดลอ้ ม และยงั มีประสิทธิภาพมากกว่าการใช้ บุคลากรในการจดั เกบ็ 5.3 ขอ้ เสนอแนะ กกกกกกก1. ควรศึกษาอุณหภูมหิ รือสภาพอากาศในแตล่ ะพ้นื ท่มี ีความแตกตา่ งกนั อยา่ งใด 2. ควรพัฒนาเครอื่ งเกบ็ ขยะในนำ้ แบบเคลื่อนท่ไี ดด้ ้วยพลงั งานแสงอาทิตย์ใหส้ ามารถนำไปใช้ได้จรงิ ในชมุ ชน
21 บรรณานุกรม ท่ีมาhttp://www.publichot.net/Campus/ViewNews.aspx?NewsID=9520000065705 ที่มา http://oknation.nationtv.tv/blog/energyclinic/2008/10/08/entry-1 ทีม่ า https://th.wikipedia.org/wiki/
22 ภาคผนวก
23 ภาคผนวก ก ภาพประกอบ สเตอร์มอเตอร์ไซด์ แผงโซลา่ เซลล์ ภาพที่ 19 ภาพท่ี 20 สเตอร์เล็ก/ใหญ่กบั โซม่ อเตอรไ์ ซด์ ภาพท่ี 21
24 ภาคผนวก ข ภาพประกอบ กลอ่ งไฟควบคุมชดุ บงั คับ ภาพที่ 22 ชุดขบั เคลือ่ นตัวเก็บขยะ ภาพที่ 23 เจาะตดิ ต้งั กล่องควบคมุ ภาพที่ 24
25 ภาคผนวก ข ภาพประกอบ ทดลองการใชต้ าขา่ ยในการทำระบบลำเลยี งการเกบ็ ขยะลงถัง ภาพที่ 25 การตดิ ตั้งโครงสร้างระบบเก็บขยะ ภาพท่ี 26
26 ภาคผนวก ข ภาพประกอบ การติดต้ังระบบเดินหนา้ ถอยหลงั และชุดควบคมุ ความเรว็ มอเตอรช์ ดุ เก็บขยะ ภาพท่ี 27 การติดตัง้ ระบบเดินหนา้ ถอยหลงั และชุดควบคมุ ความเร็วมอเตอร์ชดุ เกบ็ ขยะ ภาพที่ 28
Search
Read the Text Version
- 1 - 35
Pages: