Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore วิจัยในชั้นเรียน google classroom

วิจัยในชั้นเรียน google classroom

Description: วิจัยในชั้นเรียน google classroom

Search

Read the Text Version

กิตติกรรมประกาศ รายงานผลการจัดกิจกรรมการเรยี นออนไลนด์ ว้ ย Google classroom วชิ าศาสนาและหนา้ ที่ ผลเมอื ง สค21002 ระดบั มัธยมศึกษาตอนตน้ สำหรับนักศึกษาท้ังนผ้ี วู้ ิจัยขอบพระคุณ นายจริ พงศ์ ผลนาค ผู้อำนวยการ กศน.อำเภอสวรรคโลก รักษาการในตำแหนง่ ผ้อู ำนวยการ กศน.อำเภอทุ่งเสลยี่ มที่ใหก้ าร สนบั สนุน โดยการให้คำปรึกษาแนะนำ แนวความคดิ และใหก้ ำลังใจ และสุดท้ายต้องขอขอบใจนักศึกษา ระดับมธั ยมศึกษาตอนตน้ ที่ใหค้ วามรว่ มมือในการทำวิจัยครงั้ นี้จนสำเร็จด้วยดี ผวู้ ิจัยหวังเปน็ อย่างยงิ่ วา่ การวิจัยเร่อื งน้จี ะเป็นประโยชน์ต่อผูอ้ า่ น เป็นแนวทางในการพฒั นาการ เรียนการสอนวิชาศาสนาและหนา้ ท่ผี ลเมอื ง สค21002 ระดับมธั ยมศกึ ษาตอนตน้ ให้มีประสิทธภิ าพมากย่ิงขึ้น หากงานวิจัยน้มี ขี ้อบกพร่อง ผ้วู จิ ัยขออภยั มา ณ ที่นี้ นางสาวกัญยาวรี ์ ทับแก้ว ผวู้ ิจยั

ช่อื ผลงานวจิ ัย ผลการจดั กจิ กรรมการเรยี นรู้ออนไลนด์ ว้ ย Google classroom วิชาศาสนาและหนา้ ท่ีผลเมือง สค21002 ระดบั มัธยมศึกษาตอนตน้ เรอื่ ง ศาสนาในประเทศ ไทยและในเอเชยี สำหรบั นักศึกษาระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนต้น ช่ือผู้วจิ ัย นางสาวกญั ญาวีร์ ทับแก้ว ตำแหนง่ ครกู ศน.ตำบล สถานศึกษาท่ตี ิดตอ่ กศน.อำเภอท่งุ เสล่ียม จ.สโุ ขทัย ปีทก่ี ำการวิจัย ปกี ารศกึ ษา2/2564 ประเภทงานวิจัย วจิ ยั ในระดบั ช้ันเรียน

บทคัดยอ่ การวิจัยครงั้ นี้มวี ัตถปุ ระสงค์1)เพ่ือศกึ ษาผลสัมฤทธ์ิของการจัดกิจกรรมการเรยี นรู้ออนไลนด์ ้วย Google Classroom เร่อื ง ศาสนาในประเทศไทยและในเอเชยี สำหรับนกั ศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนตน้ 2)เพื่อศึกษาความพึงพอใจของนักศึกษาระดบั มธั ยมศึกษาตอนตน้ หลังเรียนดว้ ยการจดกั ิจกรรมการเรียนรู้ ออนไลนด์ ้วย Google Classroom เร่อื งศาสนาในประเทศไทยและในเอเชยี กล่มุ ตวั อยา่ งทใ่ี ช้ในการศกึ ษาครั้ง น้ีคอื นกั ศกึ ษาระดบั มธั ยมศึกษาตอนต้น กศน.ตำบลเขาแก้วศรีสมบรู ณ์ จำนวน 14 คน เคร่ืองมือที่ใช้ใน การศกึ ษาคร้ังน้ีประกอบด้วยยกจิ กรรมการเรยี นรู้ออนไลน์ด้วย Google Classroom แบบทดสอบวัด ผลสมั ฤทธ์ิและแบบวัดความพึงพอใจของนักศึกษา สถติ ทิ ีใ่ ช้ในการทดสอบคือค่าร้อยละค่าเฉลย่ี ค่าสว่ น เบ่ียงเบนมาตรฐาน ผลการทดสอบพบวา่ 1. คะแนนจากการเรียนด้วยการจดั กจิ กรรมการเรียนรู้ออนไลนด์ ้วย Google Classroom เรอ่ื งศาสนาในประเทศไทยและในเอเชยี มีผลสัมฤทธ์ทิ างการเรียนสูงข้ึนจากการทดสอบก่อนเรียน นกั ศึกษามี ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคิดเป็นร้อยละ ............. หลังจากที่นักศึกษาได้ใช้แบบฝึกทักษะนักศึกษามีคะแนน ทดสอบหลังเรียน ซง่ึ นกั ศึกษามผี ลสัมฤทธิ์เพ่ิมขน้ึ รอ้ ยละ ซ่งึ เป็นผลสมั ฤทธท์ิ างการเรียนท่ีสูงขน้ึ 2. ความพึงพอใจของนักศึกษาระดับชั้นมัธยมศกึ ษาปีท่ี 4 ท่ีมีต่อการจัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้แบบ ฝึกทกั ษะเรอื่ ง เซต มคี วามพงึ พอใจโดยรวมอยู่ในระดบั มาก ( X = …………, S.D. = ……………)

สารบัญ หนา้ กิตติกรรมประกาศ บทที่ 1 บทนำ บทท่ี 2 เอกสารและงานวิจยั ท่เี กย่ี วข้อง บทที่ 3 วิธดี ำเนินการวิจยั บทที่ 4 ผลการวเิ คราะห์ข้อมูล บทที่ 5 สรปุ อภปิ รายผล และข้อเสนอแนะ บรรณานกุ รม ภาคผนวก

บทที่ 1 บทนำ ความเป็นมาและความสำคัญของปัญหา เทคโนโลยีสารสนเทศและเทคโนโลยีคอมพิวเตอรก์ ้าวหน้าขนึ้ อยา่ งรวดเร็ว มีการประยุกต์ใชง้ าน อย่างกว้างขวางในหลายด้าน เทคโนโลยีคอมพวิ เตอร์และระบบสอ่ื สาร โทรคมนาคมสามารถประมวลผลขอม้ ลู ข่าวสารไดร้ วดเรว็ และส่อื สารกันไดส้ ะดวกเทคโนโลยี ดังกล่าวถกู เรียกรวมกันวา่ เทคโนโลยีคอมพวิ เตอร์และ การสอ่ื สาร หรอื เรยี กโดยยอ่ วา่ ไอซีที (Information and Communication Technology: ICT) ไอซีที การจัดการเรียนรู้โดยใช้บทเรียนออนไลน์ผ่านเว็บ เป็นวิธีการหน่ึงที่มีส่วนช่วยในการพัฒนาการ เรียนรู้ของนักศึกษา นักศึกษาสามารถใช้เวลาใดก็ได้ สถานที่ใดก็ได้ ขึ้นอยู่กับความพรอ้ มของนักศึกษา โดยไม่ จำกดั การปฏสิ ัมพนั ธไ์ ว้แตเ่ พียงในห้องเรยี น ผู้สอนสามารถให้ผลยอ้ นกลับแก่นักศกึ ษาได้ทันที โดยไม่ต้องรอให้ ถึงเวลาเรียน (พัทธพล ฟุ้งจันทึก, 2553) ซ่ึงการจัดการเรียนการสอนในปัจจุบันได้นำโปรแกรมสำเร็จรูป โปรแกรมคอมพิวเตอร์ช่วยสอน การเรียนการสอนทางไกลและ การเรียนการสอนผ่านเครือข่ายออนไลน์ (ทศิ นา แขมมณี, 2556) เขา้ มาเป็นสอ่ื ช่วยในการเรยี น การสอนใหม้ ีคณุ ภาพมากยิ่งขึ้น Google Site เป็นแอพ พลิเคชันออนไลนห์ น่ึงท่ีชว่ ยในการเรียนการสอนของครูโดยสามารถเช่ือมโยงเน้ือหา แหล่งตา่ ง ๆ ไม่ว่าจะเป็น รูปแบบไฟล์ เสียง วีดิโอ ที่นักศึกษาสามารถเข้าถึงแหล่งข้อมูลได้ง่าย และไม่ว่าจะอยู่ที่ไหน เวลาใด ก็สามารถ เกิดการเรียนรดู้ ว้ ยตนเองได้ นักการศึกษาเช่ือว่านวัตกรรมและเทคโนโลยีทางการศึกษา จะช่วยให้การจัดการเรียนการสอนมี ประสิทธภิ าพยิ่งข้ึน เพราะนวัตกรรมและเทคโนโลยีทางการศึกษาต่างก็ผ่านระบบ การผลิตท่ีมีข้ันตอนและได้ จัดระบบอย่างมีประสิทธิภาพ ท่ีสำคัญที่สุดคือนวัตกรรมและเทคโนโลยีทางการศึกษาเน้นบทบาทผู้เรียนให้ ผู้เรียนเป็นศูนย์กลางในการเรียนการสอน ในการจัดการเรียนการสอนนั้นจำเป็นอย่างย่ิงท่ีผู้สอนจะต้องมีการ วิเคราะห์ลักษณะและความต้องการของผู้เรียน แต่ละคนเพ่ือจัดกิจกรรมการเรียนการสอนให้เหมาะสมแก่ ผู้เรียนการใช้บทเรยี น e-Learning จะช่วยให้ผู้สอนสามารถแก้ปัญหาในเรื่องความแตกต่างระหว่างบุคคลได้ โดยการจัดโปรแกรม การเรียนให้สอดคล้องกับความต้องการของผู้เรียน และเปิดโอกาสให้ผู้เรียนเรียนตาม ความสามารถและความถนัดของตน ถนอมพร เลาหจรัสแสง (2545, 2) กล่าวว่า การสร้างบทเรียน อเิ ล็กทรอนิกส์บนระบบเครอื ข่ายจะช่วยให้นักศึกษาสามารถศึกษาได้ตามความต้องการ อย่างไม่จำกัดทั้งเวลา และสถานที่โดยเฉพาะอย่างย่ิงวิชาที่มีความซับซ้อนยากต่อการทำความเข้าใจในระยะเวลาอันจำกัด การ เรียนทางอิเล็กทรอนิกส์หรือ e-Learning ถือเป็นวิธีการเรียนการสอนทางเลือก (alternative way of learning) ผู้เรียนสามารถเรียนด้วยตนเองผ่านทางสื่ออิเล็กทรอนิกส์ ใช้การนำเสนอภาพกราฟิกวิดีโอ ภาพเคล่ือนไหว ภาพสามมิติ ฯลฯ นอกจากน้ียังเป็นวิธีการหน่ึงในการสร้างส่ิงแวดล้อมทางการเรียนให้มี ประสิทธิภาพย่ิงข้ึนและมีข้อได้เปรียบกว่าการเรียนรู้โดยวิธีที่ผู้สอนใช้ส่ือ การเรียนการสอนแบบเดิมที่นิยมใช้ เอกสารประกอบการบรรยายในระดับช้ันเรียน หรือการบรรยาย โดยปากเปล่าส่ือการเรียนการสอน อิเล็กทรอนิกส์ช่วยให้ผู้เรียนเข้าถึงข้อมูลได้ตลอดเวลา ตามความต้องการของผู้เรียนสามารถปฏิสัมพันธ์ได้ หลากหลายรูปแบบ เช่น e-mail, Web board เป็นต้น ในด้านผู้สอนสามารถปรับปรุงแก้ไขเนื้อหาวิชาได้

สะดวกรวดเร็วลดการใช้กระดาษเอกสารประกอบการบรรยาย ซึ่งมีผู้ศึกษาและทดลองใช้แล้วสามารถพัฒนา นักศึกษาได้เป็นอย่างดี ยุทธณา อาจหาญ (2561, 111) ได้ทำการวิจัยเร่ืองการพัฒนาบทเรียน e-Learning วชิ าศาสนาและหน้าท่ีผลเมอื ง สค21002 ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น ผลการวิจัยพบว่าผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติท่ีระดับ .01 นักศึกษาที่เรียนด้วยบทเรียน e-Learning มี ความคงทนในการเรียนรู้ และเจตคตขิ องนกั ศึกษาต่อบทเรียน e-Learning โดยรวมอยใู่ นระดับ มากทสี่ ุด จากท่ีกล่าวมาข้างต้นจะเหน็ ว่ามีผู้ท่ีทำการวิจยั การใช้บทเรยี น e-Learning ในการจัด การเรียนการ สอนหลากหลายสาขาวิชาและพบว่าบทเรียน e-Learning มีคุณค่าต่อการเรียนการสอนควรนำมาใช้เพื่อ ก่อให้เกิดการเรียนรู้และช่วยพัฒนาการเรียนการสอนให้มีประสิทธิภาพเพิ่มขึ้น ซ่ึงบทเรียน e-Learning มี ความเหมาะสมกับสภาพการเรียนการสอนในปัจจุบันเป็นอย่างยิ่งเพราะเป็นการจัดการเรียนการสอนที่ยึด ผเู้ รียนเป็นสำคญั คำนงึ ถึงความแตกต่างระหว่างบคุ คลและชว่ ยใหผ้ ลสมั ฤทธท์ิ างการเรียนสูงขึ้น จากประสบการณ์การสอนนางสาวกัญญาวีร์ ทับแก้ว ผู้ศึกษาพบว่าวิชาวิชาศาสนาและหน้าที่ผล เมอื ง สค21002 ระดับมธั ยมศึกษาตอนตน้ เป็นอีกวชิ าหนึ่งท่ีนกั ศึกษามีผลสัมฤทธ์ทิ างการเรยี นต่ำ อาจมาจาก หลายสาเหตุ เช่น สาเหตุจากครูผู้สอน จากตัวของนกั ศึกษา จากการขาดแคลนสื่อการเรียนการสอน กล่าวคือ บางคร้งั ครูผู้สอนติดประชุมจึงไม่สามารถเข้าสอนนักศึกษาได้ จำนวนนักศึกษามีจำนวนมากในแต่ละระดับช้ัน เรียน เวลาในการสอนมีจำกัด นักศึกษาบางคนเรียนรู้ช้า ไม่ได้เข้าเรียน มีพื้นฐานการเรียนน้อย นักศึกษาไม่ กลา้ คดิ ไมก่ ล้าถาม เป็นตน้ จากสาเหตุดังกล่าวผู้ศึกษาจึงได้สร้างผลการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ออนไลน์ด้วย Google classroom วิชาศาสนาและหน้าที่ผลเมือง สค21002 ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น ขึ้นเพ่ือช่วยให้นักศึกษา สามารถศึกษาเรียนรู้ได้ด้วยตนเองและเป็นไปตามความสามารถของแต่ละคน เป็นการสนองความแตกต่าง ระหว่างบุคคล นักศึกษาไม่จำเป็นต้องเรียนพร้อมกันในระดับช้ันเรียนอีกท้ังยังสามารถศึกษาหาความรู้ ใน บทเรยี นได้อยา่ งไม่จำกัดเวลา สถานที่และยังช่วยแก้ปัญหาท่ีพบในระหว่างเรียนได้ เชน่ ช่วยแบ่งเบาภาระการ สอนของครูผู้สอนในกรณที ่ีมีนักศึกษาเปน็ จำนวนมากในระดับชั้นเรยี น ช่วยให้นกั ศึกษาท่ีไม่ได้เขา้ เรียนเรยี นได้ ทันเพ่ือน ช่วยให้นักศกึ ษาที่เรยี นช้าได้เรียนรตู้ ามความสามารถของตนเอง ดังน้ัน ผ้ศู ึกษาในฐานะผู้สอนวิชา ศาสนาและหน้าที่ผลเมือง สค21002 ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น เรื่อง ศาสนาในประเทศไทยและในเอเชีย สำหรับนักศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนต้น ภาคเรียน ท่ี 2/2564 เห็นความสำคัญของผลการจัดกิจกรรมการ เรียนรู้ออนไลน์ด้วย Google classroom ที่จะทำให้ผู้เรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงขึ้นจึงได้ทำการพัฒนา ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนโดยใช้บทเรียนออนไลน์ผ่าน Google classroom สำหรับนักศึกษาระดับชั้น มัธยมศึกษาตอนต้น เพือ่ แก้ไขปญั หาดงั กลา่ ว

วัตถปุ ระสงคข์ องการวจิ ัย 1. เพ่ือเปรียบเทียบผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนในวิชาศาสนาและหน้าท่ีผลเมือง สค21002 ระดับ มธั ยมศกึ ษาตอนตน้ กศน.ตำบลเขาแกว้ ศรีสมบูรณ์ ก่อนและหลงั การจดั การเรียนรู้ 2. เพื่อศึกษาความพึงพอใจต่อการจัดการเรียนรู้โดยใช้บทเรียนออนไลน์ผ่าน Google classroom วิชา ศาสนาและหน้าที่ผลเมือง สค21002 ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น เรื่อง ศาสนาในประเทศไทยและใน เอเชีย กศน.ตำบลเขาแก้วศรสี มบูรณ์ สมมตฐิ าน 1. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนในวิชา ศาสนาและหน้าที่ผลเมือง สค21002 ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น เร่ือง ศาสนาในประเทศไทยและในเอเชีย กศน.ตำบลเขาแก้วศรีสมบูรณ์ หลังการจัดการเรียนรู้สูงกว่าก่อน ไดร้ บั การจัดการเรียนรู้ 2. นักศึกษามีความพึงพอใจตอ่ การจัดการเรียนรู้โดยใช้บทเรียนออนไลน์ผ่าน Google classroom วิชา ศาสนาและหน้าที่ผลเมือง สค21002 ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น เร่ือง ศาสนาในประเทศไทยและใน เอเชีย กศน.ตำบลเขาแก้วศรีสมบรู ณ์ อยใู่ นระดบั มาก

บทท่ี 2 แนวคิด ทฤษฎี กรอบแนวคิด ผวู้ จิ ัยได้กำหนดกรอบแนวคดิ ในการศึกษาผลสมั ฤทธท์ิ างการเรียนโดยใช้การจดั การเรียนรู้ การ จดั การเรยี นรแู้ บบทฤษฎสี รา้ งสรรคค์ วามรู้ เป็นลักษณะการเรียนการสอนที่ครอบคลุม องคป์ ระกอบสำคัญ ไดร้ ับการจัดไว้เปน็ ระเบียบ ตามหลกั ปรชั ญา ทฤษฎีหลกั การแนวคิด หรอื ความเชื่อตา่ ง ๆ โดยประกอบด้วย กระบวนการหรือข้นั ตอนสำคัญในการเรียนการสอนรวมทง้ั วิธสี อนและ เทคนิคการสอนต่าง ๆ ทส่ี ามารถชว่ ย ให้สภาพการเรียนการสอนนั้นเปน็ ไปตามทฤษฎีและหลักการ ซ่งึ การจดั การเรยี นรู้แบบทฤษฎีสร้างสรรค์ ความรู้ ประกอบดว้ ย 1) การสร้างการเรยี นรู้ 2) การเรียนรู้เปน็ ผลทเี่ กิดจากการแปลความหมายตามประสอบ การณข์ องแตล่ ะคน 3) การเรียนรเู้ กดิ จากการลงมือกระทำ 4) การเรียนรทู้ ี่เกดิ จากการร่วมมอื และ 5) การ เรยี นรทู้ เ่ี หมาะสม GOOGLE CLASSROOM ความหมายของ Google Classroom เอกวิทย์ เศรษฐบตุ ร (2558) ไดใ้ ห้ความหมายของ Google Classroom ไว้ดังน้ี Google Classroom เป็นหนึง่ ใน Google Apps ทร่ี วบรวมบรกิ ารท่ีสำคัญ ตา่ ง ๆ เขา้ ดว้ ยกัน เพอ่ื สนับสนุนธุรกิจโรงเรยี น และสถาบันตา่ ง ๆ ใหใ้ ชผ้ ลิตภัณฑ์ของ Google ไดอ้ย่างหลากหลาย “Google Classroom ถูกออกแบบมาเพ่ือช่วยให้ครสู ร้างและลดกระดาษในการจัดเก็บ รวมทั้งคณุ สมบัตทิ ่ี ชว่ ยประหยัดเวลา เชน่ ความสามารถในการสำนาเอกสาร Google ใหกบั นกั ศึกษา แต่ละคน นอกจากนี้ยัง สรา้ งโฟลเดอร์สำหรบั แต่ละบุคคลท่ีได้รบั มอบหมาย นกั ศึกษาสามารถ ติดตามงาน ที่ไจากการกำหนดบนหน้า และเรม่ิ ตน้ การทำงาน ด้วยเพียงไม่กีค่ ลิกครูสามารถ ติดตามการทำงานว่าใครยังไม่เสรจ็ ให้ตรงตามเวลายัง สามารถแสดงความคิดเหน็ แบบเรียลไทม์ และผลการเรยี นในระดับช้ันเรียน” Classroom ผสานรวม Google เอกสาร,ไดรฟ์และ gmail ไว้ดว้ ยกัน เพื่อใหค้ รูสามารถสรา้ งและรวบรวมงานโดยไมส่ ้นิ เปลืองกระดาษ ภายใน Classroom ครสู ามารถ สรา้ งงาน ใช้งานน้ันในระดับช้นั เรยี นตา่ ง ๆ ได้และเลอื กวา่ จะให้นกั ศึกษาทำอย่างไร (เชน่ นกั ศึกษา แตล่ ะคนจะรับสำเนาของตนเองหรือนกั ศึกษาทกุ คนจะทำงานในสำเนาเดียวกัน ครสู ามารถ ตดิ ตามว่านกั ศกึ ษาคนใดทำงานเสร็จแล้วบา้ งและใครยังทำงานไม่เสร็จ ตลอดจนแสดงความคิดเห็น กับ นักศกึ ษาแตล่ ะคนได้ดังภาพ

ผวู้ จิ ยั ไดก้ ำหนดกรอบแนวคดิ ผลการจดั กิจกรรมการเรยี นรู้ออนไลน์ดว้ ย Google classroom วชิ า ศาสนาและหนา้ ท่ผี ลเมือง สค21002 ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น เรือ่ ง ศาสนาในประเทศไทยและในเอเชีย กศน.ตำบลเขาแกว้ ศรสี มบูรณ์ โดยมีกรอบแนวคดิ ในการวจิ ัยดังน้ี ตัวแปรอิสระ การจดั การเรยี นร้ดู ว้ ยบทเรยี น ตวั แปรตาม บทเรียนออนไลน์ผ่าน ออนไลน์ผ่าน Google ผลสมั ฤทธ์ทิ างการเรยี นในวิชา Google classroom classroom ศาสนาและหน้าทผ่ี ลเมือง สค 21002 ระดับมัธยมศกึ ษา ตอนต้น เรื่อง ศาสนาใน ความพงึ พอใจต่อการจดั การเรียนรู้โดยใชบ้ ทเรยี นออนไลปนร์ ะเทศไทยและในเอเชีย ผา่ น Google classroom ภาพประกอบที่ 1 โครงสรา้ งกรอบแนวคิด

บทที่ 3 วิธีดำเนนิ การวิจัย ประชากรและกลมุ่ ตวั อยา่ ง ประชาการ คือ นักศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนต้น ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2564 กศน.ตำบล เขาแก้วศรีสมบรู ณ์ จำนวนผ้ลู งทะเบยี นเรยี น 14 คน กลุ่มตวั อยา่ ง คือ นกั ศกึ ษาระดับมธั ยมศึกษาตอนตน้ ภาคเรยี นที่ 2 ปีการศึกษา 2564 กศน.ตำบล เขาแก้วศรสี มบรู ณ์ จำนวนผลู้ งทะเบยี นเรียน 14 คน โดยการสมุ่ แบบง่าย (Simple random sampling) เครอ่ื งมือทใี่ ชใ้ นการทดลอง 1. บทเรยี นออนไลน์ผา่ น Google classroom วชิ า ศาสนาและหนา้ ท่ผี ลเมือง สค21002 ระดบั มัธยมศึกษาตอนตน้ เรื่อง ศาสนาในประเทศไทยและในเอเชยี กศน.ตำบลเขาแก้วศรสี มบรู ณ์ 2. แบบประเมินความพึงพอใจต่อการจดั การเรียนรู้โดยใช้บทเรยี นออนไลน์ผา่ น Google classroom วชิ า ศาสนาและหน้าที่ผลเมอื ง สค21002 ระดับมธั ยมศกึ ษาตอนต้น เรื่อง ศาสนาในประเทศไทย และในเอเชีย กศน.ตำบลเขาแกว้ ศรีสมบูรณ์ สถติ พิ ื้นฐาน ได้แก่ 1. ร้อยละ (Percentage) ใช้สูตรดังน้ี (สมบัติ ทา้ ยเรือคำ .2551 : 123) P = f  100 N เมื่อ P แทน รอ้ ยละ f แทน ความถีท่ ีต่ ้องการแปลงเปน็ ร้อยละ N แทน จำนวนความถ่ีท้งั หมด 2. คา่ เฉล่ีย คำนวณจากสตู รดังนี้ (สมบตั ิ ท้ายเรือคำ .2551 : 128) X = X N เมอื่ X แทน ค่าเฉล่ีย X แทน ผลรวมของคะแนนทั้งหมด N แทน จำนวนคนทงั้ หมด

3. สว่ นเบี่ยงเบนมาตรฐาน คำนวณจากสตู รดังน้ี (บุญชม ศรีสะอาดและคณะ. 2553 : 127) S.D. = N X2 − ( X)2 N(N −1) เมือ่ S.D. แทน ส่วนเบยี่ งเบนมาตรฐาน X แทน คะแนนแตล่ ะตัว N แทน จำนวนคะแนนในกลุ่ม  แทน ผลรวม

บทท่ี 4 ผลการวจิ ัย ผู้วิจยั ได้นำเสนอผลการวจิ ัยเป็น 2 ตอน ดังนี้ ตอนที่ 1 ผลการเปรียบเทยี บผลสมั ฤทธิท์ างการเรียนในวชิ า ศาสนาและหน้าท่ีผลเมอื ง สค21002 ระดับมธั ยมศึกษาตอนต้น เรื่อง ศาสนาในประเทศไทยและในเอเชีย กศน.ตำบลเขาแกว้ ศรสี มบูรณ์ ก่อนและ หลังการจัดการเรียนรู้ ตอนท่ี 2 ผลการศึกษาความพงึ พอใจต่อการจัดการเรียนรูโ้ ดยใช้บทเรียนออนไลน์ผ่าน Google classroom วชิ า ศาสนาและหน้าท่ีผลเมอื ง สค21002 ระดับมัธยมศึกษาตอนตน้ เร่ือง ศาสนาในประเทศไทย และในเอเชีย กศน.ตำบลเขาแกว้ ศรสี มบูรณ์ ผลการวจิ ยั ตอนท่ี 1 ผลการเปรียบเทยี บผลสมั ฤทธทิ์ างการเรียนในวิชา ศาสนาและหน้าทผี่ ลเมือง สค21002 ระดับ มธั ยมศึกษาตอนต้น เร่อื ง ศาสนาในประเทศไทยและในเอเชีย กศน.ตำบลเขาแก้วศรสี มบรู ณ์ก่อนและหลัง การจัดการเรยี นรู้ ปรากฏดังตารางท่ี 1 ตาราง การเปรียบเทียบผลสมั ฤทธท์ิ างการเรียนบทเรียนออนไลน์ผา่ น Google วชิ า ศาสนาและหน้าท่ีผล เมือง สค21002 ระดับมธั ยมศกึ ษาตอนต้น เร่ือง ศาสนาในประเทศไทยและในเอเชยี กศน. ตำบลเขาแก้วศรสี มบรู ณ์ ก่อนและหลังการเรยี น คะแนน คะแนนพฒั นา (หลังเรียน-กอ่ น นกั ศึกษาคนท่ี กอ่ นเรียน หลงั เรยี น เรียน) 1 ( 20คะแนน) ( 20คะแนน) 3 2 4 3 15 18 5 4 5 5 13 17 4 6 2 7 13 18 2 8 2 9 13 18 4 10 5 11 14 18 4 14 16 14 16 14 16 14 18 13 18 14 18

คะแนน คะแนนพัฒนา (หลังเรยี น-ก่อน นกั ศกึ ษาคนท่ี ก่อนเรียน หลังเรียน เรียน) 12 ( 20คะแนน) ( 20คะแนน) 5 13 5 14 13 18 5 รวม 13 18 55 X 13 18 3.93 S.D. 1.21 ร้อยละ 190 245 39.28 13.57 17.50 0.65 0.85 135.71 175 จากตารางพบว่า คะแนนทดสอบก่อนเรยี นและคะแนนทดสอบหลังเรียนของนกั ศึกษา ที่เรียนด้วยบทเรียนออนไลน์ผ่าน Google classroom รายวิชา ศาสนาและหน้าท่ีผลเมือง สค21002 ระดับ มัธยมศึกษาตอนต้น เรื่อง ศาสนาในประเทศไทยและในเอเชีย กศน.ตำบลเขาแก้วศรีสมบูรณ์ มีค่าคะแนน เฉลี่ยของการทดสอบก่อนเรียนเท่ากับ7.50 ส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐานเท่ากับ 0.85 คิดเป็นร้อยละ75 และ คะแนนเฉลี่ยของการทดสอบหลังเรียนเทา่ กับ 4.07.สว่ นเบี่ยงเบนมาตรฐานเท่ากบั 1.21 คิดเป็นรอ้ ยละ40.71

ตอนท่ี 2 ผลการศกึ ษาความพึงพอใจต่อการจัดการเรียนรู้โดยใช้บทเรียนออนไลน์ผา่ น Google classroom วิชา ศาสนาและหนา้ ท่ผี ลเมือง สค21002 ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น เรอื่ ง ศาสนาในประเทศไทยและใน เอเชยี กศน.ตำบลเขาแกว้ ศรีสมบูรณ์ ปรากฏผลดังตารางท่ี 2 ตารางที่ 2 ความพึงพอใจตอ่ การจดั การเรียนรโู้ ดยใช้บทเรียนออนไลน์ผา่ น Google classroom วิชา ศาสนา และหน้าทีผ่ ลเมือง สค21002 ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น เร่อื ง ศาสนาในประเทศไทยและในเอเชยี กศน. ตำบลเขาแก้วศรสี มบรู ณ์ ขอ้ ที่ รายการประเมิน ค่าเฉลยี่ S.D. ระดบั ความ X พงึ พอใจ ด้าน 1 คำแนะนำในการใชบ้ ทเรยี น 1 คำแนะนำในการใชบ้ ทเรยี นมีความชดั เจน 4.10 0.74 มาก 2 คำแนะนำในบทเรยี นสะดวกต่อการใช้ 4.25 0.70 มาก 3 คำแนะนำในบทเรยี นชว่ ยให้เข้าใจวิธกี ารเรียนเพื่อบรรลุ 4.15 0.69 มาก วัตถุประสงค์ 4.00 0.75 มาก 4 นกั ศกึ ษาเขา้ ใจการใช้บทเรยี นได้ด้วยตนเองโดยไม่ต้องมีผู้ 4.12 0.72 มาก แนะนำ ค่าเฉลย่ี รวม ตารางท่ี 2 (ต่อ) รายการประเมิน คา่ เฉลยี่ S.D. ระดบั ความ ขอ้ ที่ พึงพอใจ 0.70 ดา้ น 2 เนอ้ื หาในบทเรียน X 0.67 มาก 1 เนือ้ หามีความเหมาะสมกับนักศึกษา มาก 2 เนือ้ หาทำให้นักศึกษาสามารถเรียนไดต้ ามความแตกต่างระหวา่ ง 3.92 0.75 4.05 0.69 มาก บุคคล เช่น เรียนรชู้ ้า เรยี นรเู้ รว็ 0.70 มาก 3 ภาษาท่ีใชใ้ นบทเรยี นเข้าใจง่าย 4.00 0.74 มาก 4 เนื้อหาในบทเรยี นใหท้ ้งั ความร้แู ละความเพลิดเพลิน นา่ สนใจ 3.97 0.71 มาก 5 นักศึกษาสามารถอา่ นและทำความเขา้ ใจในเนอื้ หาได้ด้วยตนเอง 3.90 0.71 มาก 6 ความเหมาะสมของจำนวนข้อสอบและความยากงา่ ยของข้อสอบ 4.05 มาก 7 กจิ กรรมในเน้ือหามีความเหมาะสม 4.00 3.98 ค่าเฉล่ียรวม

ดา้ น 3 การออกแบบบทเรียน 4.13 0.69 มาก 1 ขนาด รปู แบบ และสขี องตัวอกั ษรมคี วามเหมาะสม 0.71 มาก 2 ภาพกราฟกิ ภาพเคลอ่ื นไหว สถานการณ์จำลองและวดี โี อ 4.05 0.71 มาก 0.73 การทดลองในบทเรียนมคี วามเหมาะสม 0.78 มาก 0.88 มาก 3 บทเรยี นช่วยเพม่ิ ทักษะในการศึกษาคน้ คว้าสำหรับนักศกึ ษา 4.05 0.93 มาก 4 นกั ศึกษาได้ลงมือปฏบิ ัติจรงิ 3.98 0.77 มาก 5 บทเรยี นช่วยแก้ปัญหาการเรียนไม่ทันเพอ่ื นได้ 4.07 1.02 มาก 0.93 6 บทเรียนช่วยแกป้ ัญหาบางเน้ือหาท่ีไมส่ ามารถมองเห็น 4.07 1.14 ปานกลาง 1.12 มาก ไดจ้ รงิ ให้สามารถมองเหน็ ไดช้ ดั เจ 0.97 มาก 1.06 7 บทเรยี นให้ความรู้เก่ียวกบั เนื้อหาไดเ้ ช่นเดียวกับการเรยี นจากครู 4.33 1.11 ปานกลาง มาก ค่าเฉลยี่ รวม 4.10 S.D. ปานกลาง ดา้ น 4 การเกบ็ บนั ทึกข้อมูลและการจัดการในบทเรยี น 3.45 1.05 ปานกลาง 1 บทเรียนทำให้นักศึกษาศึกษาค้นควา้ ด้วยตนเองมากขึน้ 0.66 0.82 ระดบั ความ 2 นักศกึ ษาสามารถเรยี นรเู้ นอื้ หาจากบทเรียนได้สะดวกรวดเร็ว 3.69 074 พึงพอใจ 0.70 3 นกั ศกึ ษาสามารถศึกษาบทเรยี นได้ทกุ สถานที่ ทุกเวลา 3.82 0.70 มาก 0.99 มาก 4 บทเรยี นชว่ ยให้นกั ศึกษามสี มาธิในการเรยี นนานขึน้ 3.18 1.20 มาก 1.43 มาก 5 กิจกรรมในบทเรียนกระต้นุ ความสนใจให้นกั ศึกษาอยากเรียน 3.60 มาก มาก 6 เรยี นแล้วเกดิ ความเข้าใจในเนื้อหาได้ง่าย 3.34 มาก มาก 7 นกั ศึกษาสามารถเลอื กเรียนเน้ือหาไดต้ ามความสนใจ 3.32 มาก ตารางที่ 2 (ต่อ) ข้อที่ รายการประเมิน คา่ เฉลี่ย 8 มคี วามสะดวกเมื่อตอ้ งการเรียนเนอื้ หาในบทเรยี นซำ้ X 9 สามารถย้อนกลบั เขา้ - ออก บทเรยี นไดง้ ่าย 10 การเรียนการสอนมีกจิ กรรมที่ม่งุ เน้นใหน้ กั ศึกษามสี ว่ นรว่ ม 4.07 11 นักศึกษาชอบกจิ กรรมในบทเรียน 4.33 12 นักศกึ ษาสามารถฝกึ ปฏิบัติตามตวั อย่างในบทเรยี นได้ 3.87 13 ตวั อยา่ งในบทเรียนช่วยใหเ้ กิดความเข้าใจได้งา่ ย 4.07 14 บทเรียนทำให้ทราบความก้าวหน้าในการเรยี นด้วยตนเอง 3.93 15 บทเรียนสามารถแจ้งผลการทำแบบฝกึ หัดได้ทันที 3.93 16 บทเรยี นทำให้นักศึกษาและครู มีปฏสิ ัมพันธต์ อ่ กันเชน่ 4.20 4.00 การตอบข้อซกั ถาม การแจ้งข่าวสาร 3.93

ขอ้ ท่ี รายการประเมนิ คา่ เฉล่ยี S.D. ระดับความ พึงพอใจ 17 นกั ศึกษาชอบส่ือการสอนในรูปแบบน้ี X 18 นกั ศึกษามีความสุข สนุก เพลดิ เพลนิ ตอ่ การเรียน มาก 19 นกั ศึกษาได้ประโยชน์จากการใชบ้ ทเรยี นน้ี 4.00 1.57 มาก 4.07 1.80 มาก ค่าเฉลยี่ รวม 3.93 0.70 มาก คา่ เฉล่ยี รวมทั้งหมด 4.03 1.82 4.04 1.27 มาก จากตาราง 2 แสดงผลการศึกษาความพึงพอใจของนกั ศึกษาทม่ี ีต่อการเรียนดว้ ยบทเรียนออนไลน์ ผ่าน Google classroom วิชา ศาสนาและหนา้ ทผี่ ลเมือง สค21002 ระดบั มัธยมศกึ ษาตอนตน้ เรื่อง ศาสนา ในประเทศไทยและในเอเชยี กศน.ตำบลเขาแกว้ ศรีสมบรู ณ์ พบวา่ ความพึงพอใจของนักศึกษาโดยรวมอยู่ใน ระดับมาก ( X = 3.68, S.D.= 0.97) เม่ือแยกเป็นรายดา้ นปรากฏผลดังนี้ ด้านที่ 1 คำแนะนำในการใช้บทเรยี น คะแนนเฉล่ียสูงสดุ คอื ข้อ 2 คำแนะนำในบทเรียนสะดวกตอ่ การใช้ ( X = 4.25, S.D.= 0.70) คะแนนเฉลีย่ ต่ำสุด คือ ข้อ 4 นักศึกษาเขา้ ใจการใช้บทเรยี นไดด้ ้วยตนเองโดยไม่ต้อง มผี ู้แนะนำ ( X = 4.00, S.D.= 0.75) ดา้ นที่ 2 เน้ือหาในบทเรียน คะแนนเฉลี่ยสงู สดุ คือ ข้อ 1 เนือ้ หามีความเหมาะสมกบั นักศึกษา( X = 4.05, S.D.= 0.74) คะแนนเฉลย่ี ต่ำสุด คือ ข้อ 5 นกั ศึกษาสามารถอ่านและทำความเข้าใจเน้ือหาได้ดว้ ยตนเอง ( X = 3.90, S.D.= 0.70) ด้านที่ 3 การออกแบบบทเรยี น คะแนนเฉลี่ยสูงสดุ คือ ข้อ 4 นกั ศึกษาไดล้ งมอื ปฏบิ ัตจิ ริง ( X = 4.40, S.D.= 0.76) คะแนนเฉล่ียต่ำสุด คือ ข้อ 5 บทเรยี นชว่ ยแก้ปัญหาการเรียนไม่ทันเพอ่ื นได้ ( X = 3.98, S.D.= 0.73) ด้านที่ 4 การเก็บบันทึกขอ้ มูลและการจัดการในบทเรยี น คะแนนเฉลย่ี สูงสุด คือ ข้อ 9 สามารถยอ้ นกลบั เขา้ - ออก บทเรยี นได้งา่ ย ( X = 4.33, S.D.= 0.66) คะแนนเฉลี่ยต่ำสดุ คอื ข้อ 10 การเรียนการสอนมีกจิ กรรมทม่ี ุ่งเน้นให้นักศึกษา มสี ่วนรว่ ม( X = 3.87, S.D.= 0.82)

บทท่ี 5 สรปุ ผลการวจิ ัย ผลการจดั กิจกรรมการเรียนรู้ออนไลนด์ ว้ ย Google classroom วชิ า ศาสนาและหนา้ ที่ผลเมือง สค 21002 ระดบั มธั ยมศึกษาตอนต้น เรอื่ ง ศาสนาในประเทศไทยและในเอเชยี กศน.ตำบลเขาแกว้ ศรีสมบรู ณ์ จำนวน 14 คน ผลการวจิ ัยพบว่า 1. ผลการเปรียบเทยี บผลสมั ฤทธ์ทิ างการเรยี น พบว่า ผลสัมฤทธิท์ างการเรียนในวชิ า ศาสนาและ หน้าทีผ่ ลเมือง สค21002 ระดับมัธยมศกึ ษาตอนต้น เร่ือง ศาสนาในประเทศไทยและในเอเชีย กศน.ตำบลเขา แก้วศรีสมบูรณ์ กอ่ นการจดั การเรียนรู้ ( X =13.57) และหลังการจดั การเรียนรู้ ( X =17.50) ซ่ึงผลสัมฤทธ์ิ ทางการเรียนหลังได้รับการจดั การเรียนรูส้ งู กวา่ ก่อนไดร้ ับการจัดการเรียนรู้ อยา่ งมีนัยสำคัญทางสถติ ิท่ีระดบั .05 ซ่งึ สอดคล้องกบั สมมติฐานที่ต้ังไว้ 2. ผลการประเมินความพงึ พอใจพบว่า ผเู้ รียนมีความพึงพอใจตอ่ บทเรยี นออนไลน์ผา่ น Google classroom วชิ า ศาสนาและหน้าทผี่ ลเมือง สค21002 ระดบั มัธยมศึกษาตอนต้น เร่อื ง ศาสนาในประเทศไทย และในเอเชยี กศน.ตำบลเขาแกว้ ศรีสมบรู ณ์ ในภาพรวมอยใู่ นระดับมาก เม่ือพจิ ารณาเป็นรายขอ้ พบว่า นักศึกษาไดล้ งมอื ปฏิบตั ิจรงิ อย่ใู นระดบั มาก ( X = 4.40, S.D.= 0.76) รองลงมาคือ สามารถยอ้ นกลับ เขา้ - ออก บทเรียนได้ง่าย ( X = 4.33, S.D.= 0.66) และคำแนะนำในบทเรียนสะดวกต่อการใช้อยูใ่ นระดบั มาก ( X = 4.25, S.D.= 0.70) อภปิ รายผลการวจิ ัย ผลการจดั กิจกรรมการเรียนรู้ออนไลนด์ ้วย Google classroom วชิ า ศาสนาและหน้าที่ผลเมอื ง สค 21002 ระดับมัธยมศกึ ษาตอนต้น เรือ่ ง ศาสนาในประเทศไทยและในเอเชีย กศน.ตำบลเขาแก้วศรสี มบูรณ์ อภปิ รายผลการวจิ ยั ไดด้ ังน้ี ผลการเปรียบเทียบผลสมั ฤทธิ์ทางการเรยี น พบว่า ผลสมั ฤทธิ์ทางการเรยี นในวชิ า ศาสนาและ หนา้ ทผี่ ลเมือง สค21002 ระดับมธั ยมศึกษาตอนต้น เรื่อง ศาสนาในประเทศไทยและในเอเชีย กศน.ตำบลเขา แก้วศรีสมบูรณ์ ก่อนการจัดการเรยี นรู้ ( X =13.57) และหลังการจัดการเรียนรู้ ( X =17.50) ซึ่งผลสัมฤทธ์ิ ทางการเรียนหลังไดร้ ับการจัดการเรียนรู้สงู กว่าก่อนไดร้ ับการจดั การเรียนรู้ อย่างมนี ัยสำคัญทางสถิติทรี่ ะดับ .05 ซ่ึงสอดคล้องกับงานวจิ ัยของ เพชราวลัย ถริ ะวณัฐพงค์ (2556) ได้พฒั นาบทเรียนอเิ ล็กทรอนิกส์ เรอื่ ง การ ใช้นวตั กรรม Google Apps. For Education มาเป็นตวั ช่วยในการเรียนการสอนคะแนนเฉลย่ี จากการทดสอบ หลงั เรียนสูงกวา่ คะแนนเฉล่ียจากการทดสอบก่อนเรียนอย่างมีนยั สำคญั ทางสถิติที่ระดับ .05 น่นั คือ บทเรยี น อิเลก็ ทรอนกิ สม์ ผี ลทำใหค้ ะแนนเฉลยี่ จากการทดสอบหลังเรียนสงู กว่าคะแนนเฉลี่ยจากการสอบก่อนเรยี น ซ่งึ จะเหน็ ได้วา่ เมื่อนำบทเรียนท่ีผา่ นส่ือออนไลน์มาใช้จะทำให้มีผลการเรียนท่เี พ่ิมสูงขน้ึ อย่างเหน็ ได้ชดั ผลการประเมินความพึงพอใจ พบว่า ความพึงพอใจของนักศึกษาทม่ี ตี ่อบทเรยี นออนไลน์ผา่ น Google classroom วิชา ศาสนาและหน้าที่ผลเมือง สค21002 ระดบั มธั ยมศึกษาตอนต้น เร่ือง ศาสนาใน ประเทศไทยและในเอเชีย กศน.ตำบลเขาแกว้ ศรสี มบรู ณ์ ในภาพรวมอยู่ในระดับมากเม่ือพจิ ารณาเปน็ รายข้อ นักศึกษาไดล้ งมือปฏิบตั ิจริง อยูใ่ นระดับมาก ( X = 4.40, S.D.= 0.76) รองลงมาคือ สามารถยอ้ นกลบั เข้า -

ออก บทเรยี นได้งา่ ย ( X = 4.33, S.D.= 0.66) และคำแนะนำในบทเรยี นสะดวกต่อการใช้อยใู่ นระดับมาก ( X = 4.25, S.D.= 0.70) เนอื่ งจากบทเรียนออนไลนผ์ ่าน Google classroom ทำให้นักศึกษาเรียนรู้เน้ือหา ได้อยา่ งมีความสุข สนกุ สนาน น่าสนใจศกึ ษาเรยี นรู้ ซ่ึงสอดคลอ้ งกับงานวิจัยของ ปริญญา อินทรา. (2556) ได้ สร้างและหาประสิทธภิ าพบทเรยี นออนไลน์ชว่ ยสอน เรอ่ื ง วงจรอิเล็กทรอนิกส์เบื้องต้น สำหรับนักศึกษาระดับ ระดบั ช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 3 พบว่า บทเรียนออนไลน์ชว่ ยสอนที่มีรูปแบบนา่ สนใจ มีความชดั เจน มีรปู แบบ ดงึ ดูดใจผูเ้ รียน จะสามารถดงึ ดดู ผู้เรยี นใหเ้ กดิ ความสนใจที่จะศึกษา และทำความเขา้ ใจในเนือ้ หาได้ดยี ่งิ ขึน้ สง่ ผลทำให้ผูเ้ รยี นเกดิ ความพึงพอใจในบทเรยี นออนไลน์ช่วยสอนอยู่ในระดับมาก ซง่ึ จะเห็นได้วา่ เม่อื มกี ารนำ สอ่ื ที่มีรปู แบบท่ีสามารถดงึ ดูดความสนใจผ้เู รียนมาใช้ประกอบการจัดการเรยี นการสอนจะทำให้ผู้เรียนมี ความสขุ และสนุกกบั การเรียนรู้อยา่ งไมเ่ บ่อื หน่าย ข้อเสนอแนะ ผลการจดั กจิ กรรมการเรยี นรู้ออนไลน์ดว้ ย Google classroom วชิ า ศาสนาและหนา้ ท่ีผลเมือง สค21002 ระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนต้น เรอ่ื ง ศาสนาในประเทศไทยและในเอเชีย กศน.ตำบลเขาแกว้ ศรสี มบรู ณ์ มีขอ้ เสนอแนะดงั น้ี 1. บทเรยี นออนไลน์ผ่าน Google classroom สามารถนำไปปรับเนื้อหาเพื่อประยุกต์ใช้ในรายวิชา อ่ืน ๆ ได้ เพ่ือดงึ ดดู ความสนใจของผู้เรยี น 2. ระบบอินเทอร์ควรมีความเร็ว 1.1 Mbps เป็นขน้ั ต่ำ เพื่อไม่ให้เกดิ ปัญหาเวลานกั ศกึ ษาเขา้ สู่ บทเรยี นออนไลน์ผ่าน Google classroom

เอกสารอา้ งองิ ถนอมพร เลาหจรัสแสง. (2545). Design e-Learning: หลกั การออกแบบและการสร้างเว็บเพอ่ื การเรียนการสอน. กรุงเทพฯ : อรุณการพิมพ.์ ทิศนา แขมมณ.ี (2556). ศาสตร์การสอน องค์ความรเู้ พื่อการจัดกระบวนการเรยี นรทู้ ่ีมีประสทิ ธภิ าพ. (พิมพ์ครงั้ ที่ 17). กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณม์ หาวิทยาลัย. บญุ ชม ศรีสะอาด. (2554). การวิจัยเบื้องตน้ (พิมพค์ ร้งั ท่ี 7). กรุงเทพมหานคร : สุวรี ยิ าสาส์น. ปริญญา อินทรา. (2556). การสร้างและหาประสิทธิภาพบทเรยี นออนไลน์ชว่ ยสอน เร่ือง วงจร อเิ ล็กทรอนิกส์เบื้องต้น สำหรบั นักศกึ ษาระดบั ระดับชน้ั มัธยมศึกษาปีท่ี 3. วทิ ยานิพนธ์ครศุ าสตร์ อุตสาหกรรมมหาบัณฑติ สาขานวัตกรรมและเทคโนโลยที างการศึกษา, คณะครุศาสตร์ อตุ สาหกรรม, มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร. พทั ธพล ฟงุ้ จันทกึ . (2553). การพฒั นาบทเรียนออนไลน์ผ่านเว็บ วชิ า ฮาร์ดแวร์และยูทิลิตี้เบอื้ งตน้ . วิทยานพิ นธ์มหาบัณฑิต. มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ, กรงุ เทพมหานคร. เพชราวลยั ถริ ะวณัฐพงศ.์ (2556). การพฒั นาบทเรียนอเิ ล็กทรอนิกส์ เรอื่ ง การใชน้ วัตกรรม Google Apps. For Education สำหรับนกั ศกึ ษาระดบั ปริญญาตร.ี สบื ค้นเม่ือวันที่ 3 ตุลาคม, 2563, จากช่อื เวบ็ ไซต์ : http://www.kmutt.ac.th/jif/public_html

ภาคผนวก



การจดั กิจกรรมการเรียนรอู้ อนไลน์ด้วย Google classroom รายวชิ า ศาสนาและหน้าท่ผี ลเมอื ง สค21002 ระดบั มัธยมศึกษาตอนตน้ เรอ่ื ง ศาสนาในประเทศไทยและในเอเชีย กศน.ตำบลเขาแก้วศรีสมบรู ณ์



แบบวัดความพึงพอใจในการเรียนรูด้ ้วยบทเรียนออนไลน์ รายวชิ า ศาสนาและหน้าทผี่ ลเมือง สค21002 ระดบั มัธยมศึกษาตอนตน้ เรอ่ื ง ศาสนาในประเทศไทยและ ในเอเชีย กศน.ตำบลเขาแก้วศรสี มบูรณ์ คำช้ีแจง 1. แบบวดั ความพึงพอใจฉบบั นี้ สร้างขน้ึ เพ่ือวัดความรู้สกึ ของนกั ศกึ ษาที่มตี ่อการจัดกิจกรรมการ เรยี นรู้คณิตศาสตรด์ ้วยแบบฝึกเสริมทกั ษะ 2. ให้นกั ศึกษาอ่านข้อความแตล่ ะข้อให้ละเอียดและพจิ ารณาอย่างรอบคอบ แล้วเลอื กคำตอบข้อท่ี ตรงกับความรู้สึกจริง ๆ ของนักศึกษา การตอบแบบวัดความพึงพอใจ ไม่มคี ำตอบใดถกู หรือผดิ เพราะแตล่ ะ คนมีความคดิ เหน็ แตกต่างกนั การเลือกตอบในแต่ละข้อจะไมม่ ีผลคะแนนของนักศกึ ษาแต่อย่างใด 3. วิธีตอบแบบวัดความพึงพอใจ ให้นักศกึ ษาอ่านข้อความแลว้ พิจารณาวา่ มีความรู้สกึ ตรงกับคำตอบ ใดใหท้ ำเครอ่ื งหมาย √ ลงในชอ่ งนัน้ คะแนน 5 หมายถึง มีความพึงพอใจมากทีส่ ุด คะแนน 4 หมายถึง มคี วามพึงพอใจมาก คะแนน 3 หมายถึง มีความพึงพอใจปานกลาง คะแนน 2 หมายถึง มีความพึงพอใจนอ้ ย คะแนน 1 หมายถึง มีความพึงพอใจน้อยที่สดุ

แบบประเมนิ ความพึงพอใจของนักศึกษา ข้อท่ี ระดับความพึงพอใจ รายการประเมิน 5 4321 ดา้ น 1 คำแนะนำในการใชบ้ ทเรียน 1 คำแนะนำในการใชบ้ ทเรียนมีความชัดเจน 2 คำแนะนำในบทเรยี นสะดวกตอ่ การใช้ 3 คำแนะนำในบทเรยี นช่วยให้เขา้ ใจวิธกี ารเรยี นเพ่ือบรรลุ วตั ถปุ ระสงค์ 4 นักศกึ ษาเข้าใจการใชบ้ ทเรยี นได้ด้วยตนเองโดยไมต่ ้องมผี ู้ แนะนำ ด้าน 2 เน้ือหาในบทเรยี น 1 เนือ้ หามีความเหมาะสมกับนักศึกษา 2 เนือ้ หาทำให้นักศึกษาสามารถเรียนได้ตามความแตกตา่ งระหวา่ ง บคุ คล เชน่ เรยี นรชู้ ้า เรยี นรู้เร็ว 3 ภาษาทใ่ี ช้ในบทเรียนเข้าใจง่าย 4 เนอื้ หาในบทเรียนให้ท้ังความร้แู ละความเพลิดเพลนิ น่าสนใจ 5 นักศกึ ษาสามารถอ่านและทำความเข้าใจในเน้ือหาไดด้ ้วยตนเอง 6 ความเหมาะสมของจำนวนข้อสอบและความยากงา่ ยของข้อสอบ 7 กิจกรรมในเนื้อหามีความเหมาะสม ดา้ น 3 การออกแบบบทเรียน 1 ขนาด รูปแบบ และสีของตวั อักษรมีความเหมาะสม 2 ภาพกราฟกิ ภาพเคลื่อนไหว สถานการณจ์ ำลองและวดี โี อ การทดลองในบทเรยี นมคี วามเหมาะสม 3 บทเรียนช่วยเพม่ิ ทักษะในการศึกษาค้นคว้าสำหรบั นักศกึ ษา 4 นักศึกษาได้ลงมือปฏบิ ตั จิ ริง 5 บทเรยี นช่วยแก้ปัญหาการเรยี นไมท่ นั เพือ่ นได้ 6 บทเรยี นช่วยแกป้ ญั หาบางเนื้อหาที่ไม่สามารถมองเห็น ไดจ้ รงิ ใหส้ ามารถมองเหน็ ได้ชัดเจน 7 บทเรยี นใหค้ วามรูเ้ กยี่ วกบั เนื้อหาไดเ้ ชน่ เดียวกับการเรยี นจากครู ดา้ น 4 การเก็บบันทกึ ข้อมูลและการจัดการในบทเรยี น 1 บทเรยี นทำให้นักศึกษาศึกษาค้นคว้าด้วยตนเองมากข้นึ 2 นกั ศึกษาสามารถเรียนรเู้ นอื้ หาจากบทเรยี นได้สะดวกรวดเร็ว

ขอ้ ที่ ขอ้ ท่ี ระดับความพึงพอใจ รายการประเมนิ 5 4321 3 นักศึกษาสามารถศึกษาบทเรยี นได้ทุกสถานที่ ทุกเวลา 4 บทเรยี นชว่ ยให้นักศกึ ษามสี มาธิในการเรียนนานข้ึน 5 กจิ กรรมในบทเรยี นกระตนุ้ ความสนใจให้นักศกึ ษาอยากเรียน 6 เรียนแล้วเกิดความเข้าใจในเน้ือหาได้ง่าย 7 นกั ศกึ ษาสามารถเลอื กเรยี นเนือ้ หาได้ตามความสนใจ 8 มคี วามสะดวกเม่ือตอ้ งการเรียนเนือ้ หาในบทเรียนซ้ำ 9 สามารถยอ้ นกลบั เขา้ - ออก บทเรยี นได้ง่าย 10 การเรียนการสอนมกี จิ กรรมท่ีมุ่งเน้นให้นักศึกษามีสว่ นรว่ ม 11 นักศึกษาชอบกจิ กรรมในบทเรียน 12 นกั ศึกษาสามารถฝึกปฏิบัติตามตัวอย่างในบทเรยี นได้ 13 ตัวอยา่ งในบทเรียนช่วยให้เกิดความเขา้ ใจได้งา่ ย 14 บทเรยี นทำให้ทราบความก้าวหนา้ ในการเรียนดว้ ยตนเอง 15 บทเรียนสามารถแจ้งผลการทำแบบฝกึ หดั ได้ทนั ที 16 บทเรียนทำให้นักศึกษาและครู มปี ฏสิ ัมพันธต์ ่อกนั เช่น การตอบข้อซกั ถาม การแจง้ ข่าวสาร 17 นักศกึ ษาชอบส่ือการสอนในรูปแบบน้ี 18 นักศึกษามีความสขุ สนุก เพลิดเพลินตอ่ การเรยี น 19 นักศึกษาไดป้ ระโยชน์จากการใชบ้ ทเรยี นน้ี


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook