Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore หนังสือเรียนธรรมศึกษาตรีพระธีรวัฒน์ จนฺทโสภโณ

หนังสือเรียนธรรมศึกษาตรีพระธีรวัฒน์ จนฺทโสภโณ

Published by suttasilo, 2021-06-26 01:06:06

Description: หนังสือเรียนธรรมศึกษาตรีพระธีรวัฒน์ จนฺทโสภโณ

Keywords: หนังสือเรียน,ธรรมศึกษาตรี,พระธีรวัฒน์ จนฺทโสภโณ

Search

Read the Text Version

50 วิธีปฏบิ ัตเิ ก่ียวกบั ความเกดิ ความตาย และสขุ ทกุ ข พวกทถ่ี อื วา ตายแลวเกิดอีก เขาใจวาประพฤติอยางไรจะไดไปเกิดในสวรรค และสุคติ ก็ ประพฤติอยา งน้ัน พวกทถ่ี ือวา ตายแลว สญู ก็ประพฤติมุง แตเพยี งเอาตัวรอดในปจจบุ ัน ไมกลัวแตความเกิดในนรก และทคุ ติ พวกท่ถี ือวา จะไดส ขุ หรือทุกขก ไ็ ดเ อง สขุ ทุกขไมม เี หตุปจ จัย ก็ไมมกี ารขวนขวาย ไดแ ต คอยเสีย่ งสุขเส่ียงทุกขไปวัน ๆ พวกที่ถอื วา สุขทุกขม ีมาเพราะเหตปุ จ จัยภายนอก กบ็ วงสรวงเทวดาขอใหช วยบา ง ขวนขวาย ในทางอ่นื บา ง พวกทถ่ี ือวา สุขทุกขมมี าเพราะเหตปุ จ จัยภายใน คอื กรรม เหน็ วากรรมใดเปน เหตุแหง ทุกข กเ็ วน กรรมนน้ั เสีย ไมท ำ เห็นวากรรมใดเปน เหตแุ หงสขุ กท็ ำกรรมน้นั ปริจเฉทที่ ๒ สกั กชนบท และศากยวงศ สกั กชนบท ตงั้ อยูในชมพูทวีปตอนเหนอื ทไี่ ดช อ่ื อยา งนนั้ เพราะตั้งขึ้นในดงไมสกั กะ สว น กษตั รยิ ผปู กครองสกั กชนบทนน้ั เรียกวา ศากยะ ท่ไี ดช ือ่ อยางน้นั เพราะสามารถต้งั บานเมืองและต้ังวงศ ไดต ามลำพงั แหงโอรสของพระเจาโอกากราช ดงั มีประวัตยิ อวา พระเจา โอกากราช ไดครองราชสมบัติในพระนครตำบลหน่งึ ทรงมพี ระโอรส ๔ พระองค พระธดิ า ๕ พระองค วนั หน่ึงทรงพล้ังพระโอษฐพ ระราชทานพระนครใหก บั พระโอรสท่ีเพ่ิงประสูติจากพระ มเหสอี ีกพระองคห นง่ึ จงึ ตอ งรบั สง่ั ใหพ ระโอรสและพระธดิ าเหลานนั้ ไปต้งั เมืองใหม ทั้งหมดไดไ ปตง้ั อยทู ่ีดง ไมสักกะประเทศหมิ พานต สักกชนบทนนั้ มีเมอื งหลวงชื่อวา กบลิ พัสดุ เพราะสถานท่ีนัน้ เคยเปน สถานทอี่ ยขู องกบลิ ดาบ สมากอ น และเพราะถูกสรางขน้ึ ตามคำแนะนำของกบลิ ดาบส ศากยวงศ พระราชบุตร และพระราชบุตรขี องพระเจา โอกากราชสมรสกันเอง มีเชอ้ื สายสบื สกลุ ลงมาเปน พวกศากยะ แตบางแหงกแ็ บง เรียกสกลุ พระเชษฐภคนิ ีวา พวกโกลิยะ สกุลพระศาสดา ครองนครกบิลพัสดุ สบื เชอ้ื สายลงมาโดยลำดับจนถงึ พระเจาชยเสนะ พระ เจาชยเสนะ น้นั มพี ระราชบตุ รพระนามวา สีหนุ มพี ระราชบตุ รีพระนามวา ยโสธรา คร้ันพระเจาชยเสนะทิวงคตแลว สีหหนกุ มุ ารไดทรงครองราชยส ืบพระวงศต อมา ทาวเธอทรงมี พระมเหสีพระนามวา กญั จนา ซึง่ เปนกนษิ ฐภคินีของพระเจาอัญชนะ เจา ผูครองเทวทหนคร พระธีรวัฒน์ จนฺทโสภโณ : วดั ไผ่เงินโชตนาราม | ธรรมช้ันตรี 50

51 พระเจา สีหนุและพระนางกญั จนา มีพระราชบุตร ๕ พระองค คือ สทุ โธทนะ ๑ สกุ โกท นะ ๑ อมิโตทนะ ๑ โธโตทนะ ๑ ฆนิโตทนะ ๑ และ มพี ระราชบตุ รี ๒ พระองค คือ ปมิตา ๑ อมิตา ๑ สวนพระนางยโสธรา ผเู ปนกนิษฐภคินขี องพระเจาสีหนุน้ัน ไดเปน มเหสขี องพระเจาอัญชนะ มีพระราชบตุ ร ๒ พระองค คอื สปุ ปพุทธะ ๑ ทัณฑปาณิ ๑ พระราชบตุ รี ๒ พระองค คือ มายา ๑ ปชาบดี ๑ พระผมู ีพระภาคเจา ผูพระศาสดาของเราทง้ั หลายไดเ สด็จมาอบุ ตั ขิ นึ้ ในพวกอริยกชาติ ใน จงั หวดั มชั ฌิมชนบท ชมพทู วีป แควน สักกะ ในสกลุ กษัตริยพ วกศากยะผูโคตมโคตร เปนพระโอรสของ พระเจา สทุ โธทนศากยะเจากรุงกบลิ พสั ดุ กับพระนางมายา เมอ่ื กอนพทุ ธศก ๘๐ ป ปรจิ เฉทท่ี ๓ พระศาสดาประสูติ เม่ือพระเจา สุทโธทนะกับพระนางมายา ทรงอภเิ ษกสมรสกนั ตอมา พระศาสดาของเรา ทั้งหลาย ไดท รงถือปฏิสนธิในพระครรภข องนางมายา ในวันจะประสูตพิ ระโอรส พระนางไดเ สด็จ ประพาสอุทยานลุมพินวี นั ทรงประชวรพระครรภ ประสตู ิพระโอรสใตร ม ไมส าละ เม่ือวนั ศกุ ร เพ็ญ เดือนวสิ าขะ ปจ อ กอนพุทธศก ๘๐ ป เวลาใกลเ ท่ยี ง ขณะประสูติ พระนางสิรมิ หามายาประทับยืนจับ กง่ิ สาละ พระโอรสพอประสตู แิ ลว ดำเนนิ ไปได ๗ กาว เปลงอาสภวิ าจา อันเปน บพุ พนิมิตแหงการตรัสรู อสิตดาบสเขา เยยี่ ม ฝา ยอสติ ดาบส (อกี อยา งหน่ึงเรียก กาฬเทวิลดาบส) ผเู ปนทนี่ บั ถือของราชสกุล ไดท ราบขา วจึง เขา ไปเยี่ยม พระเจาสทุ โธทนะ ทรงอมุ พระราชโอรสออกมาเพือ่ จะใหน มัสการพระดาบส พระดาบสเหน็ พระโอรสนั้นมลี ักษณะตอ งดวยตำหรบั มหาบรุ ษุ ลกั ษณะ มีความเคารพนบั ถือในพระราชโอรสนนั้ มาก จงึ ลุกขึ้นกราบลงทพ่ี ระบาทท้ังสองของพระโอรสน้นั ดว ยศีรษะของตน พรอมกลา วคำทำนายลักษณะของพระ ราชโอรสแลว ถวายพระพรลากลับไปอาศรมแหง ตน ทำใหราชสกุลท้ังหลายเกดิ ความนับถอื ใน พระโอรส ถวายโอรสของตนเปน บริวารสกุลละองค ประสตู ไิ ด ๕ วัน ทำนายลกั ษณะ ขนานพระนาม เม่อื พระราชกุมารประสูติได ๕ วัน พระเจาสทุ โธทนะโปรดใหช มุ นุมพระญาติวงศและเสนา มาตยพรอ มกนั เชิญพราหมณรอยแปดคนมาฉันโภชนาหารแลวทำนายพระลักษณะวา พระกมุ ารมีคตเิ ปน ๒ คอื ถาไดค รองฆราวาส จกั ไดเปน พระเจาจกั รพรรดิราช ครองแผนดนิ มสี มทุ รสาคร ๔ เปนขอบเขต ถา ออกทรงผนวช จักไดต รัสรูเ ปนพระอรหันตสมั มาสมั พทุ ธเจา พระศาสดาเอกในโลก และขนานพระ นามวา สทิ ธัตถกมุ าร แตม หาชนมกั เรยี กตามพระโคตรวา โคตมะ พระธีรวฒั น์ จนฺทโสภโณ : วัดไผ่เงินโชตนาราม | ธรรมช้ันตรี 51

52 ประสูตไิ ด ๗ วนั พระมารดาสิ้นพระชนม ฝา ยพระนางเจามายาผเู ปน พระมารดา พอประสตู ิพระโอรสได ๗ วัน ก็สนิ้ พระชนม พระเจา สุทโธทนะจงึ ทรงมอบพระราชโอรสน้ันแกพระนางปชาบดโี คตมี พระมาตจุ ฉาเลีย้ งตอ มา ภายหลังพระนางน้นั มพี ระราชบุตรพระองคหนงึ่ ทรงพระนามวา นันทกุมาร มีพระราชบุตรี พระองคห นึ่งทรงพระนามวา รูปนนั ทา พระชนมายุ ๗ ป ขดุ สระโบกขรณี ๓ สระ เม่ือสทิ ธตั ถกุมารทรงเจรญิ พระชนมายไุ ด ๗ พรรษา พระราชบดิ าตรัสใหข ดุ สระโบกขรณใี น พระราชนเิ วศน ๓ สระ ปลกู อบุ ลบัวขาบสระ ๑ ปลูกปทมุ บวั หลวงสระ ๑ ปลูกบุณฑรกิ บัวขาวสระ ๑ ใหเ ปน ท่เี ลนสำราญพระหฤทัยพระราชโอรส คร้ังพระราชกมุ ารมีพระชนมเจรญิ ควรจะศกึ ษาศิลปวิทยาได จึงทรงพาไปมอบไวในสำนกั ครูวิ ศวามิตร พระราชกมุ ารทรงเรียนไดว องไว จนสน้ิ ความรขู องอาจารยแลวไดแ สดงใหป รากฏแกหมพู ระญาติ ไมมีพระกุมารอน่ื จะเทยี มถึง พระชนมายุ ๑๖ พรรษา อภิเษกพระชายา เม่ือพระราชกุมารทรงพระเจรญิ วัย มีพระชนมายไุ ด ๑๖ ป ควรมีพระเทวไี ดแ ลว พระราช บิดาตรสั ส่ังใหสรา งปราสาท ๓ หลงั เพอ่ื เปน ที่เสด็จอยูแหง พระราชโอรส ใน ๓ ฤดู คอื ฤดูหนาว ฤดู รอน ฤดฝู น แลว ไดตรัสขอพระนางยโสธรา (บางแหงเรียกพมิ พา) พระราชบุตรีของพระเจาสปุ ปพุทธะ ในเทวทหนคร อนั ประสตู ิแตน างอมิตาพระกนษิ ฐภคนิ ีของพระองคม าอภิเษกเปนพระชายา ฝายพระราชกนษิ ฐภาดา ของพระเจาสทุ โธทนะนัน้ สกุ โกทนศากยะ มีโอรสองคหนึง่ ทรงนามวา อานนท อมิโตทนศากยะ มโี อรส ๒ องค ทรงนามวา มหานามะ ๑ อนรุ ุทธะ ๑ มีธดิ า ๑ องค ทรงนามวา โรหณิ ี นางอมติ าพระราชกนิษฐภคินี เปนพระมเหสขี องพระเจา สุปปพทุ ธะ ประสตู ิราชบตุ รองค ๑ ทรงนามวา เทวทตั ราชบตุ รอี งค ๑ ทรงนามวา ยโสธรา หรอื พมิ พา พระชายาของสทิ ธตั ถกุมาร พระกมุ ารและพระกุมารีในศากยวงศทัง้ ๒ สายนน้ั เจรญิ ขนึ้ โดยลำดบั ดังนีแ้ ล ปริจเฉทท่ี ๔ เสดจ็ ออกบรรพชา สิทธัตถกุมาร เสด็จอยูครองฆราวาสสมบัติ ตราบเทา พระชนมายุ ๒๙ พรรษา มีพระโอรส ประสตู แิ ตพ ระนางยโสธราพระองคหน่งึ ทรงพระนามวา ราหลุ กมุ าร วนั หน่งึ ไดท อดพระเนตรเห็นเทวทูต ๔ คือ คนแก คนเจบ็ คนตาย และสมณะ อนั เทวดา แสรางนริ มติ ไวใ นระหวางทาง เมอ่ื เสด็จประพาสพระราชอทุ ยาน ๔ วาระโดยลำดับกนั ทรงสังเวชเหตไุ ด เหน็ เทวทตู ๓ ขางตน ยังความพอพระหฤทยั ในบรรพชาใหเกิดข้ึนเพราะไดเห็นสมณะ ในเวลากลางคืน พระธีรวฒั น์ จนฺทโสภโณ : วัดไผ่เงินโชตนาราม | ธรรมช้ันตรี 52

53 ทรงมากณั ฐกะ มนี ายฉันนะตามเสดจ็ ถึงฝง แมน้ำอโนมา ตรสั สัง่ นายฉันนะใหน ำมาพระท่ีนงั่ กลบั คนื พระ นครแลว ทรงตดั พระเมาลดี วยพระขรรค อธษิ ฐานเพศเปน บรรพชิต ณ ทนี่ ้ัน สวนไตรจีวรและบาตร ฆฏิ การพรหมนำมาถวาย ปรจิ เฉทที่ ๕ ตรัสรู พระมหาบุรุษทรงบรรพชาแลว เสดจ็ ประทบั แรมอยทู ีอ่ นปุ ยอมั พวนั แขวงมัลลชนบท ชว่ั เวลา ราว ๗ วัน ไดเสดจ็ ผา นกรงุ ราชคฤห พระเจาพิมพิสารพระเจามคธ ไดเ สดจ็ มาพบเขา ตรสั ถามถงึ ชาติ สกลุ แลว ตรสั ชวนใหอยู จะพระราชทานอิสรยิ ยศยกยอง พระองคไมทรงรบั แสดงพระประสงควา มุงจะ แสวงหาพระสัมมาสมั โพธญิ าณ พระเจา พิมพิสารทรงอนุโมทนาแลวตรัสขอปฏิญญาวา ตรสั รูแ ลวขอให เสดจ็ มาเทศนาโปรด ตอจากน้ัน พระมหาบุรษุ ไดเ สด็จไปอยใู นสำนกั อาฬารดาบส กาลามโคตร และอุทกดาบส รามบุตร ซงึ่ มหาชนนับถือวา เปนคณาจารยใหญ ขอศกึ ษาลทั ธิสมยั ของทานท้ังสอง ไดท รงทำทดลองใน ลทั ธนิ ั้นทกุ อยางแลว เหน็ วาไมใชทางพระสัมมาสมั โพธิญาณ จงึ เสด็จจารกิ ไปในมคธชนบท บรรลุถงึ ตำบล อุรเุ วลาเสนานคิ ม ทรงพระดำริเหน็ วาประเทศนัน้ ควรเปน ทีต่ ้งั ความเพียรของกลุ บตุ รผมู ีความตองการดวย ความเพียรได จึงเสดจ็ ประทบั อยู ณ ที่น้นั ทรงบำเพญ็ ทุกรกิริยา ทรมานพระกายใหล ำบากเปน กิจยากท่ี จะกระทำได ทกุ รกิรยิ า ๓ วาระ วาระแรก ทรงกดพระทนตด วยพระทนต กดพระตาลุดว ยพระชิวหาไวใ หแ นน จนพระเสโท ไหลออกจากพระกัจฉะ ไดเสวยทกุ ขเวทนาอนั กลา ครน้ั ทรงเห็นวา การทำอยา งน้นั ไมใชท างตรัสรู จึงทรง เปลีย่ นอยางอ่นื วาระท่ี ๒ ทรงผอ นกลั้นลมอสั สาสะ ปสสาสะ ไมใหล มหายใจเดนิ สะดวกทางชอ งพระนาสกิ และชอ งพระโอษฐ ไดเ สวยทกุ ขเวทนาอยา งแรงกลา ก็ไมไ ดต รัสรู จึงทรงเปลยี่ นอยา งอืน่ อกี วาระท่ี ๓ ทรงอดพระอาหาร ผอนเสวยแตวันละนอ ย ๆ บาง เสวยพระอาหารละเอียด บา ง จนพระกายเห่ยี วแหง พระฉวีวรรณเศรา หมอง พระอัฐปิ รากฏท่ัวพระกาย ภายหลังทรงลงสนั นษิ ฐานวา การทำทกุ รกริ ยิ าไมใ ชท างตรัสรูแนแลว ไดท รงเลิกเสยี ดวย ประการทัง้ ปวง กลับเสวยพระอาหารโดยปกติ ไมท รงอดอกี ตอไป อปุ มา ๓ ขอ ปรากฏ คร้ังนน้ั อปุ มา ๓ ขอ ท่ีพระมหาบุรษุ ไมเคยทรงสดับมาปรากฏแจมแจง แกพระองคว า ๑. ไมสดทช่ี ุมดวยยาง แชอ ยใู นนำ้ จะเอามาสีกนั เพือ่ ใหเ กิดไฟยอ มไมไ ด เหมือนสมณ พราหมณบางพวก ตัวก็ยงั หมกอยูใ นกาม ใจกย็ ังรกั ใครใ นกาม พากเพียรพยายามอยา งไรก็คงไมตรัสรู พระธีรวฒั น์ จนฺทโสภโณ : วัดไผ่เงินโชตนาราม | ธรรมช้ันตรี 53

54 ๒. ไมสดท่ีชุม ดว ยยาง แมจ ะไมไดแชอยูในน้ำ กไ็ มสามารถสีใหเกดิ ไฟได เชนเดียวกัน เหมือนสมณพราหมณบางพวกแมมีกายหลกี ออกจากกามแลว แตใ จยังรักใครใ นกาม จะพยายามอยา งไรก็ คงไมส ามารถตรัสรไู ด ๓. ไมแหง ที่วางไวบนบก ไกลนำ้ สามารถสีใหเ กดิ ไฟได เหมอื นสมณพราหมณบ างพวก มีกายหลีกออกจากกาม ใจก็ละความรักใครใ นกาม สงบดีแลว หากพากเพียรพยายามอยา งถูกตอ ง ยอม สามารถตรัสรูไ ด อปุ มาทัง้ ๓ ขอนี้ ทำใหพระองคเ กดิ พระสติหวนระลกึ ถงึ ความเพยี รทางใจวา จกั เปนทางตรสั รูไดกระมงั ใครจ ะตงั้ ความเพียรทางจิต ทรงคดิ เห็นวาคนซบู ผอมเชนน้ีไมสามารถทำได จำเราจะกินอาหาร แขน คือ ขาวสกุ ขนมกุมาส ใหมีกำลังกอน จึงกลบั เสวยพระอาหารโดยปกติ ปญ จวคั คียหนี ฝา ยปญจวคั คยี  คือ บรรพชติ ๕ รูป ชอ่ื โกณฑญั ญะ ๑ วัปปะ ๑ ภัททิยะ ๑ มหานามะ ๑ อัสสชิ ๑ ซง่ึ พากันออกบวชตามพระมหาบุรุษคอยเฝาปฏบิ ัตทิ ุกเชา ค่ำ ดวยหวังวา พระองคไ ดบ รรลุ ธรรมใด จกั ทรงสงั่ สอนตนใหบรรลธุ รรมน้นั บา ง ครนั้ เหน็ พระองคทรงละทกุ รกิรยิ า มาเสวยพระอาหาร เขาใจวา คงไมอ าจบรรลุธรรมพิเศษไดแ ลว จึงพากนั หนีไปอยทู ีป่ า อิสปิ ตนมฤคทายวัน แขวงเมืองพาราณสี ความเพียรทางจิตทำใหบ รรลธุ รรม ฝายพระมหาบุรุษเสวยอาหารแขน ทำพระกายใหก ลบั มพี ละกำลงั ไดอ ยา งเดมิ ทรงเริ่มความ เพยี รทางจิตตอไป นับแตบรรพชามา ๖ ปลวงแลว ในเวลาเชาวันเพญ็ วิสาขมาส ทรงรับถาดขา ว มธปุ ายาสจากนางสชุ าดา เสด็จไปสทู าแมน ้ำเนรัญชรา เสวยแลวทรงลอยถาดในกระแสน้ำ ทรงรบั หญาคา ของคนหาบหญา ชื่อ โสตถิยะ ในระหวางทาง ทรงลาดหญาตา งบลั ลังก ณ ควงพระมหาโพธ์ดิ า นบรู พาทศิ แลว เสดจ็ น่ังขัดสมาธิ ผินพระพกั ตรทางบูรพาทิศ ทรงอธษิ ฐานพระหฤทยั วา ยงั ไมล ุพระสมั มาสัมโพธิญาณเพียงใด จกั ไมเสดจ็ ลุกขึน้ เพยี งนั้น แมพ ระมังสะและพระ โลหติ จะเหอื ดแหงไป เหลอื แตพ ระตจะ พระนหารุ และพระอฐั ิ ก็ตามที ทรงชนะมาร ในสมัยนัน้ พญามารเกรงวา พระมหาบุรุษจะพนจากอำนาจแหง ตน จึงยกพลเสนามาผจญ แสดงฤทธ์ิมปี ระการตา ง ๆ เพอื่ จะยังพระมหาบุรษุ ใหต กพระหฤทยั กลัวแลวจะเสด็จหนีไป พระองคท รงนึกถงึ พระบารมี ๓๐ ทัศ ทีไ่ ดทรงบำเพญ็ มา ต้ังมหาปฐพีไวใ นทเี่ ปน พยาน แลว ทรงตอสูพระบารมี ๓๐ ทศั นนั้ เขา มาชว ยผจญ ยังพญามารกับเสนาใหป ราชัย แตใ นเวลาพระอาทติ ยยังไม อสั ดงคตแลว บรรลุบพุ เพนวิ าสานสุ สตญิ าณในปฐมยาม ไดจ ุตูปปาตญาณในมัชฌิมยาม ทรงใชพระปญญา พิจารณาปฏจิ จสสมุปบาท ทั้งฝายเกดิ ฝายดบั สาวหนาสาวกลับไปมาในปจ ฉิมยาม ก็ไดต รัสรูพระ สมั มาสัมโพธิญาณ คือ อาสวกั ขยญาณ ในเวลาอรุณข้นึ พระธีรวฒั น์ จนฺทโสภโณ : วัดไผ่เงนิ โชตนาราม | ธรรมช้ันตรี 54

55 พระผูมพี ระภาคเจา ไดพระปญญาตรสั รธู รรมพเิ ศษเปนเหตุถงึ ความบริสุทธิ์จากกิเลสาสวะ จงึ ไดพระนามวา อรหํ และตรสั รูชอบโดยลำพงั พระองคเ อง จึงไดพ ระนามวา สมมฺ าสมพฺ ทุ ฺโธ ๒ บทนี้ เปนพระนามใหญข องพระองคโดยคณุ นิมติ อยางนแ้ี ล ปฐมโพธกิ าล ปรจิ เฉทท่ี ๖ ปฐมเทศนา และปฐมสาวก เสวยวมิ ตุ ตสิ ขุ ใตร ม มหาโพธิ์ ๗ วนั พระสมั มาสัมพุทธเจาตรัสรธู รรมพิเศษแลว เสดจ็ ประทบั อยูภายใตร ม ไมมหาโพธ์นิ ้ัน เสวย วิมตุ ตสิ ุขสิ้นกาล ๗ วัน ทรงพิจารณาปฏจิ จสมปุ บาท คือ ธรรมที่อิงอาศัยกนั เกิดขึ้น ท้ังขางเกดิ (อวิชชา เปน เหตใุ หเกดิ สังขาร สังขารเปน เหตุใหเกดิ วญิ ญาณ เปนตน ) ทงั้ ขา งดับ (เพราะอวิชชาดบั สงั ขารจึงดับ เปนตน) ใตร มอชปาลนโิ ครธ ๗ วัน จากตนมหาโพธ์ินนั้ เสดจ็ ไปยงั ภายใตร มไมไทร ชือ่ วา อชปาลนิโครธ เสวยวิมุตตสิ ุข ๗ วัน ทรงแสดงธรรมแกพราหมณผ มู กั ตวาดผอู น่ื วา หึ หึ วา ผูมบี าปธรรมอันลอยเสียแลว ไมมกี เิ ลสเปนเหตขุ ูผอู ่นื วา หึ หึ ควรกลาวถอยคำวา ตนเปน พราหมณโดยธรรม ใตร มมุจจลนิ ท ๗ วัน จากตนอชปาลนิโครธนัน้ ไดเสดจ็ ไปยงั ตนไมจกิ ชอื่ วา มุจจลินท เสวยวิมตุ ตสิ ขุ ๗ วนั ทรงเปลง อุทานวา ความสงัดเปน สขุ ของบคุ คลผมู ธี รรมไดสดับแลวยินดีอยูในท่ีสงัด รเู ห็นตามเปน จริง ฯ ความไมเบียดเบียน คือ ความสำรวมในสตั วท ัง้ หลาย และความปราศจาก กำหนดั คือ ความกาวลว งกามทง้ั หลายเสยี ได ดว ยประการท้ังปวง เปนสุขในโลก ความกำจดั อัสมิมานะ คือ ถอื วาตวั ตนใหหมดไดเ ปนสุขอยา งย่งิ ใตร ม ราชายตนะ ๗ วนั จากตน มจุ จลินทน ั้น ไดเสด็จไปยงั ตน ไมเ กต ชอ่ื วา ราชายตนะ เสวยวิมุตติสขุ ๗ วัน สมัย น้ันพานชิ ๒ คน คือ ตปสุ สะ ๑ ภลั ลิกะ ๑ เดนิ ทางมาจากอุกกล -ชนบท นำขา วสัตตุผง ขา วสัตตุ กอน เขาไปถวายแลว กราบทลู แสดงตนเปนอบุ าสก อางพระองคกับพระธรรมเปนสรณะ เปนปฐมอุบาสก ในพุทธกาลแลว หลีกไป (เทวฺ วาจกิ อบุ าสก) ทรงตดั สินพระทัยแสดงธรรม พระธรี วัฒน์ จนฺทโสภโณ : วัดไผ่เงนิ โชตนาราม | ธรรมช้ันตรี 55

56 จากรม ไมราชายตนะนนั้ เสดจ็ กลับไปประทับ ณ รมไมอชปาลนิโครธอกี ทรงพิจารณาถึงธรรม ท่ที รงตรสั รูวา เปน คุณอันลึกซงึ้ ยากทผ่ี ูยินดีในกามคณุ จะตรสั รตู ามได จึงไมคิดจะทรงสง่ั สอนใคร แตใ น ท่ีสุดทรงคิดวามนุษย กเ็ หมือนดอกบวั ๓ ชนดิ คือ บางชนดิ ยังจมอยูใ นน้ำ บางชนิดตง้ั อยเู สมอนำ้ บางชนดิ ตั้งข้ึนพนน้ำ ดอกบัวที่ตั้งขน้ึ พนน้ำแลว น้ัน คอยสัมผัสรัศมีพระอาทติ ยอยู จักบาน ณ วนั นี้ ดอกบัวทตี ้งั อยเู สมอนำ้ จักบาน ณ วนั พรุงนี้ ดอกบัวที่ยงั ไมข ้นึ จากนำ้ ยงั ต้งั อยภู ายในนำ้ จกั บาน ณ วันตอ ๆ ไป ดอกบวั ทยี่ ังจมอยูในโคลนตม อันเปน ภกั ษาแหงปลาและเตาฉิบหายเสยี ดอกบัวทจ่ี ะบานมีตา งชนดิ ฉนั ใด เวไนยสตั วกม็ ตี า งพวกฉันน้นั ผมู ีกเิ ลสนอย มีอินทรยี  (สัทธา วิรยิ ะ สติ สมาธิ ปญญา) กลา ก็อาจจะรูธรรมพิเศษนัน้ ไดฉ บั พลัน ผูม ีคุณสมบตั เิ ชน นั้นเปน ประมาณกลาง ไดร ับอบรมในปฏปิ ทาเปนบุพพภาค จนมีอุปนสิ ยั แก กลา กส็ ามารถจะบรรลุธรรมพเิ ศษนั้นดจุ เดียวกัน ผมู ีคณุ สมบตั ิเชนนัน้ ยังออ น หรอื หาอปุ นิสยั ไมไดเลย กย็ งั ควรไดรบั แนะนำในธรรมเบ้อื งตำ่ ไป กอนเพื่อบำรุงอุปนิสยั เพราะฉะนนั้ พระธรรมเทศนาคงไมไ รผล คงสำเรจ็ ประโยชนแกคนทกุ เหลา เวน แตจำพวกที่ ไมใ ชเ วไนย คือ ไมรับแนะนำ ท่เี ปรยี บดว ยดอกบัวอนั เปน ภักษาแหง ปลาและเตาฉิบหายเสีย ทรงพระดำรหิ าคนผูสมควรรับเทศนา ครนั้ พระองคท รงตัดสนิ พระหฤทัย เพ่ือจะแสดงพระธรรมเทศนาอยา งน้ันแลว ครง้ั แรก ทรง คดิ ถงึ อาฬารดาบสและอุทกดาบส ซง่ึ เปนผูฉ ลาด ท้ังมีกิเลสเบาบาง แตทง้ั สองทา นส้ินชพี เสียแลว ตอจากนัน้ ทรงรำลึกถงึ ปญจวคั คยี  และไดตดั สินพระหฤทยั วา จะแสดงธรรมแกพวกเขา จงึ เสด็จออก จากตน อชปาลนโิ ครธ ทรงพระดำเนินทางไปยังเมอื งพาราณสี อรรถกถากลาววา ในเชาวนั ขนึ้ ๑๔ คำ่ เดอื น ๘ ระหวา งแหงแมน ้ำคยากบั แดนมหาโพธติ อ กัน ทรงพบอุปกาชวี ก เขาเหน็ สพี ระฉววี รรณ ของพระองคผดุ ผอง นึกประหลาดใจ จึงทลู ถามถึงศาสดาของพระองค ทรงตอบวา พระองคเปนสยัมภู คือ เปนเองในทางตรสั รู ไมมใี ครเปน ครูสอน อุปกาชวี ก กลา ววา ขนาดน้ันเชยี วหรอื สน่ั ศีรษะ แลวหลกี ไป ทรงแสดงปฐมเทศนา เมอ่ื พระผูม พี ระภาคเจาเสด็จถงึ ปา อสิ ปิ ตนมฤคทายวนั แขวงเมืองพาราณสี ไดเสด็จเขาไป หาปญจวคั คียท ัง้ ๕ แตพ วกเขาแสดงความไมเคารพ พูดออกพระนามและใชคำวา อาวุโส พระองคท รง หามแลวตรัสบอกวา เราไดต รัสรอู มฤตธรรมโดยชอบเองแลว พระธีรวฒั น์ จนฺทโสภโณ : วดั ไผ่เงินโชตนาราม | ธรรมช้ันตรี 56

57 ปญจวคั คยี ไ มเ ช่ือ กลา วคดั คานวา อาวุโสโคดม แมท านทำทกุ กรกิริยาอยางหนกั ทานยังไม บรรลธุ รรมพิเศษอะไร บัดน้ี ทานมาปฏบิ ตั ิเพ่ือความเปนคนมกั มากเสียแลว เหตุไฉนจะบรรลุธรรมพิเศษ ไดเ ลา พวกเธอคดั คา นอยางน้นั ถึง ๒ – ๓ ครั้ง พระองคจ ึงทรงตรสั เตือนพวกเธอใหระลกึ ถงึ ความหลังวา ทา นทง้ั หลายจำไดอยหู รอื วา วาจา เชน นเี้ ราไดเคยพูดแลว ในปางกอ นแตก าลนี้ ปญจวัคคียน กึ ไดวา วาจาเชน น้ไี มเ คยมเี ลย จึงมีความสำคัญในอันทจ่ี ะฟงพระองคทรงแสดง ธรรม ครั้นเมอ่ื พระสัมมาสมั พุทธเจา ตรัสเตือนปญจวัคคียใ หต ั้งใจฟงธรรมไดแลว รงุ ขึ้นวนั อาสาฬหบุรณมี ไดตรสั ปฐมเทศนามใี จความโดยยอวา ทสี่ ุด ๒ อยา ง ไดแก กามสุขัลลกิ านุโยค คือ การประกอบตนใหพ ัวพนั ดวยสุขในกาม ๑ อตั ตกลิ มถานโุ ยค คือ การประกอบความเหน็ดเหนอื่ ยแกต น เปลา ๑ อันบรรพชิตไมค วรเสพ (ประพฤติ) บรรพชิตควรเสพมชั ฌิมาปฏิปทา คือ ขอ ปฏบิ ัติเปน ทาง กลาง ไดแก ทางมีองค ๘ อนั นำผูปฏิบตั ิใหเ ปน อรยิ ะ คอื ปญ ญาอันเหน็ ชอบ ๑ ความดำริชอบ ๑ วาจาชอบ ๑ การงานชอบ ๑ เล้ยี งชีพชอบ ๑ ความเพียรชอบ ๑ ระลึกชอบ ๑ ตง้ั ใจชอบ ๑ ทรงแสดงอริยสัจ ๔ คอื ๑. ทุกข ไดแ ก ความเกดิ ความแก ความเจ็บ ความตาย เปน ตน ๒. สมทุ ยั เหตุใหท ุกขเ กดิ ไดแ ก ตณั หา ๓ คือ กามตณั หา ภวตัณหา วิภวตัณหา ๓. นิโรธ ไดแก ความดบั ทุกข คอื ความสละ ละ วาง ไมพวั พนั ติดอยกู บั ตณั หาท้งั ๓ นั้น ๔. มรรค ไดแ ก ทางท่ที ำใหถึงความดบั ทกุ ข คอื ทางมีองค ๘ อนั นำผูปฏบิ ัตใิ หเ ปน อริยะ ดังกลาวแลว เม่อื พระสมั มาสมั พุทธเจา ตรัสพระธรรมเทศนาอยู ธรรมจักษุ คือ ดวงตาอันเหน็ ธรรม ปราศจากธุลมี ลทิน ไดเกิดข้นึ แกทานโกณฑัญญะวา สิ่งใดสิ่งหนึง่ มีความเกดิ ข้ึนเปนธรรมดา สิง่ นั้นท้งั หมด มีความดบั เปน ธรรมดา พระองคท รงทราบวา ทา นโกณฑญั ญะไดเ หน็ ธรรมแลว จึงทรงเปลงอทุ านวา โกณฑัญญะไดรู แลว หนอ โกณฑญั ญะไดรแู ลว หนอ เพราะอุทานวา อญญาสิ อญญาสิ ทเ่ี ปน ภาษามคธ แปลวา ไดรู แลว ๆ คำวา อญั ญาโกณฑญั ญะ จงึ ไดเปน ชอ่ื ของทา นต้งั แตก าลนนั้ มา ฝา ยทา นโกณฑัญญะไดเหน็ ธรรมแลว จงึ ทูลขออปุ สมบทในพระธรรมวินยั พระองคทรง อนญุ าตใหท า นเปน ภิกษุดวยพระวาจาวา ทานจงเปนภกิ ษมุ าเถิด ธรรมอันเรากลาวดแี ลว ทานจงประพฤติ พรหมจรรย เพ่อื ทำทสี่ ุดทกุ ขโ ดยชอบเถดิ พระวาจานน้ั ใหส ำเร็จการอุปสมบทแกท า น ตอจากนนั้ ทรงจำพรรษาอยูท่ีปาอสิ ิปตนมฤคทายวนั ทรงสัง่ สอนบรรพชิตทงั้ ๔ รูปดว ยพระ ธรรมเทศนาเบด็ เตล็ดตามสมควรแกอัธยาศัย ทานวัปปะและภทั ทยิ ะ ไดดวงตาเห็นธรรม จงึ บวชใหพ รอ ม กนั ตอ มา ทานมหานามะและอสั สชิ ไดด วงตาเหน็ ธรรม จึงบวชใหพ รอมกนั ทัง้ ๔ ทา นบวชวิธเี ดยี วกบั ทา นโกณฑญั ญะ ปญจวัคคยี บ รรลพุ ระอรหันต เมอ่ื ภิกษุปญจวัคคยี  ต้งั อยูใ นทีส่ าวกแลว มอี ินทรยี  คือ ศรทั ธาเปนตน แกก ลา ควรเจรญิ วิปส สนาเพ่อื วิมตุ ตแิ ลว ครน้ั วันแรม ๕ คำ่ เดอื น ๙ ตรัสพระธรรมเทศนาอนตั ตลกั ขณสูตรสง่ั สอน ใจความ พระธีรวฒั น์ จนฺทโสภโณ : วัดไผ่เงนิ โชตนาราม | ธรรมช้ันตรี 57

58 โดยยอวา รปู เวทนา สัญญา สังขาร และวญิ ญาณ เปน อนัตตา คือ บังคับบัญชาไมไดว า จงเปน อยา งน้ีเถดิ อยาเปน อยางนัน้ เลย ไดต รัสถามปญจวคั คียวา รูป เวทนา สัญญา สังขาร และวิญญาณ เท่ยี ง เปนสุข เปนอัตตา หรือไมเ ที่ยง เปน ทกุ ข เปนอนัตตา ทูลตอบวา ไมเ ท่ยี งเปน ทุกข เปน อนัตตา จึงตรัสใหล ะความถือม่ันในรปู เวทนา สัญญา สงั ขาร และวญิ ญาณนน้ั เสีย แลว ถอื ดว ยปญญา ตามความจริงวา น่ันไมใชข องเรา นน่ั ไมใ ชเปน เรา นั่นไมใชตนของเรา เมือ่ พระศาสดาตรัสพระธรรมเทศนาแสดงอนตั ตาลักษณะอยู จติ ของภิกษปุ ญจวคั คีย ผู พิจารณาภูมธิ รรมตามกระแสเทศนานัน้ พนแลว จากอาสวะท้ังหลาย ไมถ อื มั่นดวยอปุ าทาน ครง้ั น้ัน มพี ระอรหันตขนึ้ ในโลก ๖ องค คอื พระศาสดา ๑ สาวก ๕ ดว ยประการฉะนี้ ปรจิ เฉทที่ ๗ สง สาวกไปประกาศพระศาสนา สมัยนั้น พระศาสดาเสด็จจงกรมอยใู นท่แี จง ในเวลาจวนใกลร งุ ทรงไดยนิ เสยี งยสกุลบตุ รออก อทุ านวา ท่นี ่ีวุน วายหนอ ทน่ี ขี่ ดั ของหนอ เดินมายังท่ใี กล จึงตรสั เรียกวา ท่นี ไ้ี มวุนวาย ทีน่ ไ่ี มข ดั ของ ทา นมาน่เี ถิด นัง่ ลงเถดิ เราจกั แสดงธรรมแกทาน ยสกุลบตุ รไดยินอยางนน้ั แลว คิดวา เขาวาที่น่ีไมว ุนวาย ทนี่ ี่ไมขดั ขอ ง จึงถอดรองเทา เขา ไป หา ไหวแลว นัง่ ณ ทสี่ มควรขา งหนึง่ พระศาสดาตรัสเทศนาอนปุ ุพพกี ถา คือ ถอยคำทีก่ ลา วโดยลำดับ ไดแก ทาน ศลี สคั คะ คอื สวรรค กามาทีนพ โทษแหงกาม เนกขมั มานสิ งส อานิสงคแหง การออก จากกาม (บวช) ฟอกจิตของเขาใหห างไกลจากความยนิ ดใี นกามแลวจึงทรงแสดงอรยิ สจั ๔ คือ ทุกข สมุทยั นโิ รธ และมรรค ดังไดก ลาวแลว ในปฐมเทศนา ยสกุลบุตรไดด วงตาเห็นธรรม ณ ทีน่ ง่ั นัน้ แลว ภายหลงั พจิ ารณาภมู ิธรรมท่พี ระศาสดาตรสั สอนเศรษฐีผเู ปน บิดาอกี วาระหน่งึ จติ พน จากอาสวะ ไม ถือมนั่ ดวยอุปาทาน (บรรลพุ ระอรหัต) ฝา ยมารดาของยสกุลบุตร เวลาเชาข้ึนไปบนเรอื นไมเห็นลูก จงึ บอกแกเ ศรษฐผี สู ามี เศรษฐีให คนออกตามหาท้งั ๔ ทิศ ตนเองก็ออกติดตามดว ย เผอญิ ไปทางปา อสิ ปิ ตนมฤคทายวนั เหน็ รองเทา ของลูกจึงตามเขา ไปหา พระศาสดาไดต รัสอนุปพพีกถาและอรยิ สจั แกเ ขา เมอื่ จบเทศนาเขาไดแสดงตนเปน อบุ าสกถึงพระรตั นตรัยทง้ั ๓ เปนสรณะ เปน อุบาสกคนแรกในพระพุทธศาสนา แลวไดก ลาวกบั บุตรชายวา พอยสะ มารดาของเจาเศราโศกพิไรรำพัน เจาจงใหชีวิตแกมารดาของเจา เถิด พระศาสดาจึงตรัสใหเศรษฐที ราบวา ยสกุลบุตรไดบ รรลพุ ระอรหตั แลว ไมม ีการกลบั คนื ไป ครองฆราวาสอกี เศรษฐีเขาใจดี จึงทูลอาราธนาพระศาสดาพรอมกับ ยสกุลบุตรเพอ่ื ทรงรับภตั ตาหารในเชาวนั น้ัน พระศาสดาทรงรบั ดว ยพระอาการดุษณีภาพ เศรษฐี ทราบแลวจงึ ไดอภิวาททลู ลากลบั ไป เมือ่ เศรษฐกี ลบั ไปแลว ยสกุลบตุ รไดทลู ขออุปสมบท พระศาสดาทรงอนุญาตใหเปน ภิกษุ เหมือนท่ีทรงอนุญาตแกพ ระโกณฑัญญะ ตางกนั ตรงที่ไมตรสั วาเพอ่ื ทำท่สี ดุ ทกุ ขโดยชอบ เพราะพระยสะ ไดบรรลุพระอรหันตแ ลว พระยสะจึงเปน องคท่ี ๗ ในโลก พระธีรวัฒน์ จนฺทโสภโณ : วัดไผ่เงนิ โชตนาราม | ธรรมช้ันตรี 58

59 ในเวลาเชาวันนน้ั พระศาสดาพรอมกับพระยสะ ไดเสดจ็ ไปยงั เรือนของเศรษฐีนนั้ มารดาและ ภรรยาเกา ของพระยสะมาเฝา ทรงแสดงอนปุ พพกี ถาและอริยสัจ ๔ แกพ วกเขาใหเห็นธรรมแลว ไดแสดง ตนเปน อุบาสิกาถึงพระรตั นตรยั เปนสรณะ คนแรกในโลก สหายพระยสะ ๕๔ คนบวช ฝายสหายของพระยสะ ๔ คน ช่ือ วิมละ ๑ สุพาหุ ๑ ปุณณชิ ๑ ควมั ปติ ๑ เปน บตุ รเศรษฐีในเมอื งพาราณสไี ดท ราบขาววา ยสกุลบุตรออกบวชแลว คิดวา ธรรมวนิ ัยน้นั คงเปนสิง่ อนั ประเสริฐ จึงพรอมกนั ไปหาพระยสะ พระยสะกพ็ าสหายทงั้ ๔ คนนน้ั ไปเฝา พระศาสดา พระพุทธองค ทรงแสดงธรรมใหกุลบุตรท้ัง ๔ เห็นธรรมแลว ประทานใหเ ปน ภกิ ษุแลว ทรงส่ังสอนใหบรรลพุ ระอรหัตผล ยังมีสหายของพระยสะ เปนชาวชนบทอีก ๕๐ คน ไดท ราบขาวนน้ั แลว คิดเหมอื นหนหลงั พากนั บวชตามแลว ไดสำเรจ็ พระอรหัตผลดว ยกนั สนิ้ โดยนยั กอ น รวมกันเปนพระอรหนั ต ๖๑ องค พระศาสดาทรงสงสาวก ๖๐ รูป ไปประกาศพระศาสนาดวยพระดำรสั วา ทานท้งั หลาย จงเทีย่ วไปในชนบทเพอ่ื ประโยชนแ ละความสุขแกมหาชน และอยาไปรวมกัน ๒ รูป ผรู ทู ั่วถงึ ธรรมคงมี อยู แตท ่ีเส่ือมจากคณุ พิเศษ เพราะโทษท่ีไมไ ดฟงธรรม แมเรากจ็ ะไปยงั ตำบลอรุ เุ วลาเสนานิคมเพื่อแสดง ธรรม ทรงประทานวิธีอุปสมบทแกส าวก ในสมยั นน้ั พระศาสดาทรงประทานวธิ ีอุปสมบทแกพระสาวกผไู ปประกาศศาสนาวา พึงใหผ ู อุปสมบทปลงผมและหนวด ใหค รองผายอมดวยนำ้ ฝาด น่ังกระโหยงประนมมือ ไหวเ ทาภิกษุท้ังหลาย แลวสอนใหว าตามวา พุทธฺ ํ สรณํ คจฉฺ ามิ ธมมฺ ํ สรณํ คจฺฉามิ สงฺฆํ สรณํ คจฺฉามิ ทุตยิ มฺป ฯลฯ ตติยมฺป ฯลฯ การบวชวธิ นี ้ีเรยี กวา ติสรณคมนูปสัมปทา ทรงโปรดภทั ทวคั คยี สหาย ๓๐ คน ครนั้ พระศาสดาประทับอยใู นเมอื งพาราณสีพอควรแกพ ระประสงคแลว เสด็จดำเนินไปยงั ตำบล อรุ ุเวลา ในระหวางทางเขา ไปพักอยูทไี่ รฝ าย ทรงนงั่ ในรมไมต ำบลหน่ึง ไดตรัสอนบุ ุพพีกถาและอริยสจั ๔ โปรดภทั ทวคั คียสหาย ๓๐ คน ใหไ ดบ รรลพุ ระอรหตั ประทานอุปสมบทใหแลว ทรงสง ไปเพือ่ ประกาศ พระศาสนาเหมือนนยั หนหลัง ทรงโปรดชฏลิ ๓ พี่นอง สว นพระพทุ ธองคเสด็จไปยังตำบลอรุ ุเวลา ซง่ึ เปนท่ีอยูแหงชฏลิ ๓ พนี่ อง คือ อรุ ุ เวลกสั สปะ นทกี สั สปะ และคยากัสสปะ ทรงชแี้ จงใหอ ุรุเวลกัสสปะเหน็ วาลทั ธขิ องเขาไมม ีแกน สาร จนอุรุ เวลกสั สปะมคี วามสลดใจ เลกิ ละลัทธินั้น ลอยบรขิ ารของชฏลิ ในแมน ำ้ แลว ทูลขออปุ สมบท กท็ รงประทาน อปุ สมบท อนุญาตใหเปนภิกษุทัง้ ส้นิ ฝา ยนทีกัสสปะเหน็ บรขิ ารของพ่ชี ายลอยไปตามกระแสน้ำ สำคัญวาเกดิ อันตราย พรอมทง้ั บริวารรีบมาถงึ เหน็ พ่ชี ายถือเพศเปน ภกิ ษุ ถามทราบความแลว ไดทูลขอบวชพรอ มทั้งบริวาร พระธรี วัฒน์ จนฺทโสภโณ : วดั ไผ่เงนิ โชตนาราม | ธรรมช้ันตรี 59

คยากัสสปะนอ งชายเลก็ พรอมทั้งบรวิ าร 60 นทกี สั สปะผพู ีช่ าย ก็ไดไ ปเฝาพระพุทธเจาและขอบวชทำนองเดียวกบั ทรงแสดงอาทติ ตปรยิ ายสูตร พระศาสดาประทับอยูทต่ี ำบลอุรุเวลา ตามสมควรแกพ ทุ ธอธั ยาศัยแลว พรอมดว ยภิกษหุ มชู ฏิล เหลานน้ั เสดจ็ ไปยังตำบลคยาสสี ะ ใกลแ มนำ้ คยา ทรงแสดงธรรมวา ดูกอ นภกิ ษทุ ง้ั หลาย ตา หู จมูก ล้นิ กาย ใจ เปนของรอน รอ นเพราะอะไร อะไรมาเผาใหรอน เรากลาววา รอนเพราะไฟราคะ ไฟโทสะ ไฟโมหะ รอ นเพราะความเกดิ ความแก ความตาย ความโศก ความรำพนั ความเจบ็ ไข ความ เสียใจ ความคับใจ เมอื่ พระศาสดาตรัสพระธรรมเทศนานี้จบลง จิตของภิกษเุ หลานน้ั พนจากอาสวะทงั้ หลาย ไมถอื ม่ันดวยอุปาทาน (สำเรจ็ พระอรหันต) พระธรรมเทศนานชี้ ื่อวา อาทิตตปริยายสตู ร ปรจิ เฉทท่ี ๘ เสด็จกรุงราชคฤหแ ควน มคธและไดอคั รสาวก ครน้ั พระพุทธองคเสดจ็ อยู ณ ตำบลคยาสสี ะตามควรแกอ ัธยาศยั แลว พรอ มดว ยหมภู ิกษุ สาวกนนั้ เสดจ็ ไปยงั กรุงราชคฤห ประทบั อยู ณ ลฏั ฐิวนั สวนตาลหนมุ กิตติศัพทข องพระองคข จรไป ทั่วทศิ วา พระสมณโคดม โอรสแหง ศากยะเปนพระอรหนั ตต รสั รูเองโดยชอบ ขณะน้ีประทบั อยทู ี่ลัฎฐิวัน พระเจาพมิ พสิ าร พระเจาแผน ดนิ มคธไดท รงทราบกติ ตศิ พั ทนนั้ จึงพรอ มดวยราชบรพิ ารเสดจ็ ไปเฝา ทรงนมัสการแลว ประทบั นัง่ ณ ทอ่ี นั สมควร สวนราชบรพิ ารของพระองคมอี าการทางกาย วาจาตาง ๆ กนั เปน ๕ พวก คอื ๑. บาง พวกถวายบังคม ๒. บางพวกเปน แตก ลาววาจาปราศรยั ๓. บางพวกเปนแตป ระณมมือ ๔. บางพวก รอ งประกาศช่อื และโคตรของตน ๕. บางพวกน่งิ อยู ท่ีเปนเชนน้ีเพราะความไมแนใจวา อุรเุ วลกัสสปะ ของพวกตนกับพระสมณโคดมใครเปนใหญกวากัน พระอรุ เุ วลกสั สปะ จงึ ลกุ ข้ึนจากท่นี ง่ั ทำผาหมเฉวียงบา ขา งหน่ึง ซบศรี ษะลงทพี่ ระบาทพระ ศาสดา ทูลประกาศวา พระองคเปนศาสดาของขา พเจา ขาพเจา เปน สาวกผฟู งคำสอนของพระองค และ ทูลประกาศความไมม ีแกน สารแหงลทั ธเิ ดิม ราชบรพิ ารจึงนอมจิตเช่ือถือพระศาสดา ตั้งโสตคอยฟงพระ ธรรมเทศนา พระศาสดาทรงแสดงอนุปพพกี ถาและอริยสัจ ๔ พระเจาพมิ พสิ ารและราชบริพารแบงเปน ๑๒ สวน ๑๑ สว นไดจ ักษเุ หน็ ธรรม สว น ๑ ต้ังอยใู นไตรสรณคมน ความปรารถนา ๕ ประการของพระเจา พิมพสิ าร ๕ เมอ่ื คร้งั ยังเปน ราชกุมาร ยังไมไ ดรับอภเิ ษก พระเจาพิมพิสารไดตั้งความปรารถนาไว อยา ง คอื ๑. ขอใหข าพเจาไดร ับอภิเษกเปน พระเจาแผนดนิ มคธน้ี พระธีรวัฒน์ จนฺทโสภโณ : วดั ไผ่เงินโชตนาราม | ธรรมช้ันตรี 60

61 ๒. ขอใหท า นผเู ปน พระอรหนั ต ผรู เู อง เห็นเอง โดยชอบ พึงมายังแวนแควน ของขาพเจา ผู ไดร ับอภเิ ษกแลว ๓. ขอใหข าพเจาพงึ ไดเขา ไปน่ังใกลพระอรหันตนนั้ ๔. ขอใหพระอรหันตนนั้ พึงแสดงธรรมแกขาพเจา ๕. ขอใหขาพเจาพึงรทู ั่วถึงธรรมของพระอรหันตน ั้น บัดนี้ความปรารถนาทง้ั ๕ อยา งของพระองคสำเรจ็ บริบูรณท ุกอยางแลว จงึ ไดท รงกราบทลู ให พระศาสดาทรงทราบ ความปรารถนาของพระเจาพมิ พสิ ารอนั เกีย่ วกบั พระอรหนั ต ทำใหเ ขา ใจไดว า คำวา อรหันต เปน ของเกา และผเู ปนพระอรหันตเปน ที่เคารพนับถอื ของคนทุกชัน้ วรรณะ แมแ ตพระมหากษัตริย ทรงอนญุ าตใหภ กิ ษรุ บั อาราม พระเจา พมิ พสิ ารครัน้ กราบทลู ความสำเรจ็ พระราชประสงคท้ัง ๕ แลว ไดแสดงพระองคเปน อุบาสก จากน้ันไดก ราบทูลเชญิ เสด็จพระศาสดาพรอ มทงั้ หมสู าวก เพอื่ เสวยที่พระราชนิเวศนใ นวนั รงุ ข้นึ วนั รุงขนึ้ พระศาสดาพรอมดวยพระสาวกไดเ สด็จไปยงั พระราชนิเวศน พระเจาพิมพิสารทรง องั คาสภกิ ษุสงฆม พี ระพทุ ธเจา เปนประธานแลว ทรงพระราชดำริถงึ สถานควรเปน ทีเ่ สดจ็ อยแู หง พระ ศาสดา ทรงเหน็ วา พระราชอทุ ยานเวฬุวันสวนไมไผเ หมาะสมทส่ี ดุ ทรงจบั พระเตาทองเตม็ ดวยนำ้ หลั่ง ลงถวายพระราชอทุ ยานเวฬวุ นั น้ันแกภ ิกษสุ งฆ มีพระพทุ ธเจาเปน ประธาน พระศาสดาทรงรับแลวเสด็จไป ประทับอยู ณ ทน่ี นั้ พระพทุ ธองคทรงปรารภเหตุนั้น จึงประทานพระพทุ ธอนุญาตใหภ ิกษรุ บั อารามท่ที ายกถวาย ตามปรารถนา การถวายอารามเกิดขนึ้ เปนครงั้ แรกในกาลนน้ั และเวฬวุ ันกเ็ ปนอารามของสงฆเปนแหง แรก ในพระพุทธศาสนา ทรงไดพ ระอคั รสาวก วันหนง่ึ พระอสั สชิหนึง่ ในปญ จวัคคีย เขาไปบิณฑบาตในเมืองราชคฤห สารบี ตุ รปริพพา ชกเหน็ ทา นมีกิรยิ าอาการที่นา เลอ่ื มใส จึงติดตามไป ครั้นเห็นทา นกลับจากบิณฑบาต จงึ หาโอกาสเขาไป ถามวา ใครเปนศาสดาของทาน ทานชอบใจธรรมของใคร ไดร ับคำตอบวา พระมหาสมณะ โอรสของเจา ศากยะออกบวชจากศากยสกุล เปนศาสดาของเรา เราชอบใจธรรมของพระองค “พระศาสดาของทา นสอนวา อยา งไร ?” “ธรรมใดเกิดแตเหตุ พระศาสดาทรงแสดงเหตุแหงธรรมนนั้ และความดับแหงธรรมน้ัน พระ ศาสดาทรงสอนอยางน”ี้ สารีบตุ รไดฟงธรรมนัน้ กท็ ราบไดท นั ทีวา พระศาสดาทรงสอนใหปฏิบัตเิ พ่อื ระงบั ดบั เหตุแหงธรรม เปนเครอื่ งกอ ใหเกดิ ทกุ ข ไดด วงตาเห็นธรรมวา ส่ิงใดสิ่งหนงึ่ มีความเกิดขึ้นเปน ธรรมดา ส่งิ นนั้ ทัง้ หมดตอ ง มคี วามดบั เปน ธรรมดา แลว ถามวา “พระศาสดาของเราเสด็จอยทู ีไ่ หน” “เสดจ็ ประทบั อยทู ี่เวฬุวัน ผมู อี าย”ุ พระธรี วัฒน์ จนฺทโสภโณ : วัดไผ่เงินโชตนาราม | ธรรมช้ันตรี 61

62 “ถาอยางนัน้ พระผเู ปน เจาไปกอนเถดิ ขาพเจา จะกลับไปบอกสหายแลว จะพากนั ไปเฝาพระ ศาสดา” สารีบุตรไดก ลับไปยังทอ่ี ยขู องตน บอกความทไี่ ปพบพระอัสสชิ และแสดงธรรมนั้น แกโ มค คัลลานปรพิ พาชกใหไดด วงตาเห็นธรรม แลว ไปลาอาจารยส ัญชยั แมจะถกู หามปรามขอรอ งก็ไมฟง พา บริวารของตนไปเฝา พระศาสดาท่เี วฬวุ นั ทูลขออปุ สมบท พระองคทรงอนุญาตใหเ ปนภกิ ษุดวยกนั ทงั้ ส้ิน ทา นกลา ววา ภกิ ษุผูเปน บรวิ ารสำเร็จพระอรหนั ตกอ น ฝายพระโมคคลั ลานะ บวชได ๗ วนั ไปทำความเพียรอยทู ่ีกลั ลวาลมุตตคาม แขวงมคธ ถกู ถนี มทิ ธะครอบงำน่งั โงกงวงอยู พระศาสดาไดเ สด็จไปยงั สถานทนี่ ้นั ทรงแสดงอบุ ายระงับความโงกงว ง แลวใหโอวาทวา ดกู อ นโมคคัลลานะ เธอจงจำใสใ จวา เราจกั ไมช ูงวงเขาไปสสู กลุ เราจกั ไมพ ดู คำซ่ึงเปนเหตุ เถียงกนั เราจกั ยนิ ดที น่ี อนท่นี ัง่ อันสงัด ทรงสอนถงึ ขอ ปฏิบตั ิทท่ี ำใหสิ้นตัณหาวา บรรดาธรรมทงั้ ปวงไมควรยดึ มน่ั ควรพจิ ารณาใหเ ห็น วาไมเ ทยี่ งนา เบื่อหนาย ลว นมีความแตกดับยอ ยยบั ควรปลอยวางเสีย พระโมคคัลลานะปฏบิ ตั ิตามพระ โอวาทน้ัน กไ็ ดส ำเร็จพระอรหันตในวนั น้ัน (คอื วันท่ี ๗) พระสารบี ตุ ร เม่อื บวชได ๑๕ วัน พระศาสดาประทบั อยูท ่ีถ้ำสกุ รขาตา ทรงแสดงธรรมแก ปริพาชกผูหน่ึงชือ่ ทฆี นขะ อัคคเิ วสนโคตร ผูมที ิฏฐิแรง ชอบขดั แยง กบั ผอู ่นื ซง่ึ เขา ไปเฝา เพ่ือทลู ถาม ปญ หา วา ดกู อน อัคคิเวสนะ ผรู ูพิจารณาเหน็ วา ถา เราจกั ถือม่ันทฏิ ฐิอยางใดอยางหนงึ่ วา ส่ิงนีเ้ ทา นน้ั จริง สง่ิ อ่นื เหลวไหลหาความจริงไมได ก็จะตองถือผิดไปจากคนอนื่ ทีม่ ีทฎิ ฐิไมเหมอื นกบั ตน ครัน้ ความถือ ผิดกนั มขี นึ้ ความววิ าทเถียงกนั ก็มีข้ึน คร้นั ความววิ าทมีขึ้น ความพฆิ าตหมายมั่นกม็ ีขึ้น คร้นั ความพฆิ าตมี ขนึ้ ความเบยี ดเบยี นกนั ก็มีขึ้น ผูรทู านเห็นอยา งนี้ คร้นั รูแลว ยอมละทิฎฐนิ นั้ เสยี ดวย ไมทำทฎิ ฐอิ น่ื ให เกิดขน้ึ ดว ย การละทฏิ ฐิยอ มมีดว ยอุบายอยา งน้ี ทรงแสดงอบุ ายเครอื่ งไมถ ือมั่นตอ ไปวา อัคคเิ วสนะ กายคอื ประชุมมหาภูต รูป ๔ (ดิน น้ำ ลม ไฟ) มีมารดาบิดาเปนแดนเกดิ เตบิ โตเพราะขา วสุกและขนมตาง ๆ ไมเ ทย่ี ง เปนทุกข เปน ของวางเปลาไมใ ชต น เวทนาทง้ั ๓ คือ สุข ทุกข และไมท กุ ขไ มส ขุ ไมเ ทย่ี ง ปจจยั แตงข้ึนมคี วามส้ินไป เส่อื มไป ดบั ไปเปน ธรรมดา อริยสาวก ไดฟง อยา งน้ี ยอมเบอ่ื หนา ย คลาย กำหนดั ไมถือม่นั ดวยอุปาทาน ชื่อวาเปนผหู ลุดพน ผูหลดุ พนแลวอยา งน้ี ยอมไมว ิวาทโตเ ถียงกับ ผใู ดดวยทิฏฐิของตน โวหารใดเขาพดู กันอยูในโลก กพ็ ูดตามโวหารอยา งนน้ั แตไ มถือม่ันดว ยทฏิ ฐิ สมัยนัน้ พระสารบี ุตรน่ังถวายงานพัดอยู ณ เบือ้ งพระปฤษฎางคแหงพระศาสดา ไดฟงพระ ธรรมเทศนานน้ั คิดวา พระศาสดาตรัสสอนใหละการถือมน่ั ธรรมเหลานั้นดวยปญญาอนั รยู ง่ิ เม่ือทา น พิจารณาอยูอยา งน้ัน จิตกพ็ น จากอาสวะ ไมถ ือมั่นดว ยอุปาทาน (บรรลุพระอรหัต) หลงั จากบวชได ๑๕ วนั สว นทฆี นขปรพิ าชก เปนแตไดดวงตาเห็นธรรมแสดงตนเปน อบุ าสก ถึงพระรัตนตรัยเปน สรณะตลอดชีวิต พระธรี วัฒน์ จนฺทโสภโณ : วัดไผ่เงนิ โชตนาราม | ธรรมช้ันตรี 62

63 พระสารีบุตรเถระ และพระโมคคลั ลานเถระ ครั้นสำเร็จเปนพระอรหนั ตแ ลว พระสารีบตุ รได เปน อัครสาวกเบ้อื งขวา เลิศทางปญ ญา พระโมคคลั ลานะ ไดเปน พระอคั รสาวกเบ้อื งซา ย เลิศทางมีฤทธิ์ เปน กำลงั สำคัญในการชวยพระศาสดาประกาศพระศาสนา พระศาสดา ทรงประดษิ ฐานพระพุทธศาสนาในแควนมคธอยา งน้แี ลว เสด็จจาริกไปมาใน ชนบทนัน้ ๆ ทรงแสดงธรรมเทศนาสงั่ สอนประชมุ ชนใหไดค วามเช่อื ความเลอ่ื มใส แลวปฏบิ ตั ติ าม ออก บวชในพระธรรมวินยั เปน ภกิ ษุบาง เปนภกิ ษณุ บี าง คงอยใู นฆราวาสเปนอบุ าสกบา ง อุบาสกิ าบาง รวมเขา เปนพุทธบรษิ ัท ๔ เหลา ประกาศพระศาสนาใหแพรห ลายเพือ่ สมพทุ ธปณธิ านทไ่ี ดทรงต้งั ไวเดมิ มัชฌิมโพธิกาล ปรจิ เฉทที่ ๙ ทรงบำเพ็ญพุทธกิจในมคธชนบท ประทานอุปสมบทแกพระมหากสั สปะ คราวหน่ึง พระศาสดาเสดจ็ จารกิ โปรดประชาชนในมคธชนบท ประทับอยูทใ่ี ตรมไทร เรียกวา พหปุ ุตตกนโิ ครธ ระหวางกรุงราชคฤหแ ละเมืองนาลนั ทาตอ กัน ในเวลาน้นั ปปผลิมาณพ กัสสปโคตร มีความเบือ่ หนา ยในการครองเรือน ละฆราวาสถอื เพศเปนบรรพชติ ออกบวชอทุ ิศพระอรหันตในโลก จาริกมาถึงท่นี นั้ เห็นพระศาสดา มีความเลอื่ มใสเขา ไปเฝา รับเอาพระองคเ ปนศาสดาของตน ทรงรบั เปน ภิกษใุ นพระธรรมวินยั ดว ย ประทานโอวาท ๓ ขอ วา ๑. กัสสปะ ทานพึงศกึ ษาวา เราจักเขาไปตง้ั ความละอายและความยำเกรงในภิกษุ ทงั้ ที่ เปน ผูเฒา ท้ังที่เปนผใู หม ทง้ั ทเี่ ปนปานกลาง อยา งแรงกลา ๒. เราจะฟง ธรรมอยา งใดอยางหนง่ึ ซง่ึ ประกอบดว ยกุศล เราจักเงยี่ หลู งฟงธรรมนั้น พจิ ารณาเนื้อความแหงธรรมนน้ั ๓. เราจะไมละสติไปในกาย คือ พจิ ารณารางกายเปน อารมณ (กายคตาสต)ิ พระมหากสั สปะไดฟงพุทธโอวาทน้ันแลว บำเพ็ญเพียรปฏบิ ัติตามในวนั ที่ ๘ แตอุปสมบทได สำเรจ็ พระอรหัต มหาสนั นบิ าตแหง มหาสาวก คร้งั พระศาสดาเสด็จประทับ ณ กรุงราชคฤห พระนครหลวงแหงมคธ ไดม กี ารประชมุ แหง พระ สาวกคราวหนึ่ง เรียกวา จาตรุ งคสันนิบาต แปลวา การประชุมมีองค ๔ คอื ๑. พระสาวกผเู ขา ประชุมกนั นั้น ลวนเปนพระอรหนั ตอยจู บพรหมจรรยแลว ๒. พระสาวกเหลาน้นั ลวนเปน เอหภิ กิ ขุ สาวกครั้งแรกที่พระศาสดาประทานอปุ สมบทเอง ๓. พระสาวกเหลานน้ั ไมไดน ัดหมาย ตางมาพรอ มกนั เขา เอง ๑,๒๕๐ องค ๔. พระศาสดาประทานพระบรมพทุ โธวาท ซง่ึ เรยี กวา โอวาทปาฏิโมกข ยอ หัวใจ พระพุทธศาสนาแสดง พระธรี วัฒน์ จนฺทโสภโณ : วดั ไผ่เงนิ โชตนาราม | ธรรมช้ันตรี 63

64 มหาสนั นิบาตนี้ ไดม ขี ้นึ ทเี่ วฬวุ นาราม ในวันมาฆปุรณมี ดถิ ีเพ็ญมาฆมาส คือ เดือน ๓ เวลา บาย การประชมุ น้มี ชี ือ่ เลาลอื มาในพระศาสนา จึงยกขนึ้ กลาวเปนพระเกยี รติของพระศาสดาในมหาปทาน สูตร และเปน อภริ ักขิตสมยั ทีท่ ำบูชาของวัดทัง้ หลาย เรยี กวา มาฆบูชา โอวาทปาฏโิ มกขค ำสอนหลกั ของศาสนา โอวาทปาฏิโมกขนั้น เปน คำประพันธ ๓ คาถาก่ึง คาถาท่ี ๑ แสดงวา ขนั ติ คอื ความอดทน เปน ตบะอยางยอด ทานผรู กู ลาวนพิ พานวา เปน ยอด บรรพชติ ผูฆา ผเู บยี ดเบยี นสตั วอ่ืน ไมช ือ่ วาเปน สมณะ คาถาที่ ๒ แสดงวา การไมทำบาปทั้งปวง การยงั กศุ ลใหบ ริบูรณ การยังจติ ของตนใหผ อ งใส เปน คำสอนของพระพทุ ธเจาท้งั หลาย คาถาที่ ๓ แสดงวา การไมพ ูดขอนขอดกนั การไมป ระหดั ประหารกนั ความสำรวมในพระปาฏิโมกข ความรูจ กั ประมาณในอาหาร ความเสพทนี่ อนท่ีนง่ั อนั สงดั ความประกอบความเพยี รทางใจอยา งสูง เปนคำสอนของพระพทุ ธเจาท้ังหลาย การแสดงโอวาทปาฏโิ มกขข องพระศาสดา กเ็ พือ่ พระสาวกผูเทยี่ วสอนในพระพทุ ธศาสนา จะได ยกเอาธรรมขอใดขอ หน่งึ ข้ึนแสดงโดยเหมาะสมแกบรษิ ัท ทานกลาววา โอวาทปาฏิโมกขนี้ พระศาสดา เองกต็ รัสแกภิกษสุ งฆในอุโบสถทุกก่งึ เดือน มางดเสยี เม่อื ไดท รงอนุญาตใหภิกษุสงฆเอาสิกขาบทท่ที รง บญั ญัติไวม าสวดในทีป่ ระชุมแทน เรยี กวา สวดพระปาฏิโมกข ทรงอนุญาตเสนาสนะ ในคราวเสดจ็ กรุงราชคฤหค ร้ังแรก พระเจาพิมพิสารทรงถวายเวฬุวนารามเปน ท่ีประทบั พรอ ม ดวยภกิ ษุสงฆ สถานที่นั้นคงเปน ปาไผ ไมมอี าคารแตอยา งใด สมดวยขอ ความในเสนาสนะขันธกะวา คร้ัง พระศาสดายงั ไมไดอ นญุ าตเสนาสนะ ภิกษุทงั้ หลายอยูก ันในปาบา ง โคนไมบา ง บนภูเขาบา ง ซอกเขาบา ง ในถำ้ บา ง ปา ชาบาง ท่ีสุมทุมพุมไมบาง ที่แจงบาง ลอมฟางบาง วนั หนง่ึ ราชคหกเศรษฐไี ปอุทยานแตเ ชา เหน็ ภิกษุทง้ั หลายออกจากสถานท่เี หลาน้ัน ดว ย กริ ิยาอาการนา เลอ่ื มใส จงึ ถามวา ถา เขาทำวหิ ารถวาย จะอยใู นวิหารไดไ หม ภกิ ษุท้ังหลายตอบวา พระ ศาสดายงั ไมทรงอนุญาต เขาขอใหกราบทูลถามแลวบอกแกเขา ภิกษทุ ้ังหลายไดท ำตามน้นั พระศาสดา ทรงอนญุ าตทนี่ ั่งทน่ี อน ๕ ชนดิ คือ วิหาร ๑ อทั ฒโยค ๑ ปราสาท ๑ หมั มิยะ ๑ คุหา ๑ พระธรี วฒั น์ จนฺทโสภโณ : วดั ไผ่เงินโชตนาราม | ธรรมช้ันตรี 64

65 วิหาร คอื กฏุ ธิ รรมดา อทั ฒโยค คือ เพิง ปราสาท คอื เรอื นชัน้ เชน ตึกแถว หมั มิยะ คอื ท่อี ยกู อ ดวยอิฐหรอื ดินเหนียว โดยหาส่ิงอื่นมาทำหลังคา คุหา คือ ถำ้ ท่ัวไป ทรงแสดงวธิ ที ำปพุ พเปตพลี พระเจาพมิ พิสาร ทรงทำปพุ พเปตพลี คอื การทำบุญอุทิศบรรพบุรุษ ภายหลังจากพระองค ทรงนบั ถอื พระพทุ ธศาสนาแลว ในวันทรงทำปพุ พเปตพลี ทรงทลู เชญิ สมเดจ็ พระศาสดาพรอมดวย พระภกิ ษสุ งฆไปทรงองั คาสทพี่ ระราชนิเวศน พระสงฆฉ นั เสร็จแลว ทรงบรจิ าคไทยธรรมตาง ๆ รวมทั้ง ผาดว ยแกพ ระภิกษุสงฆ แลวทรงอุทิศบรุ พบดิ ร คือ บรรพบรุ ุษผลู ว งลับวายชนม พระศาสดาทรงอนุโมทดว ยคาถา มคี ำวา อทาสิ เม อกาสิ เม เปนตน แปลวา ญาตกิ ็ ดี มิตรกด็ ี ระลึกถงึ อุปการะอนั ทา นทำแลว ในกาลกอ นวา ทา นไดใหส่งิ นี้แกเรา ไดท ำส่งิ น้ีแกเรา เปน ญาติ เปน มติ ร เปน สขา (สหาย) ของเรา พึงใหท กั ษณิ า เพือ่ ชนผูล วงลับไปแลว ไมพงึ ทำการรอ งไห เศรา โศก รำพันถึง (เพยี งอยา งเดียว) เพราะการอยางนนั้ ไมเ ปน ไปเพือ่ ประโยชนแกญ าติผูล ว งลบั ไป แต ญาติทง้ั หลายกม็ กั เปนอยางน้ี (คอื รอ งไห เปน ตน ) สว นทักษณิ าน้ที ่ที านทง้ั หลายบรจิ าคในสงฆ ยอ ม สำเร็จประโยชนแ กญ าติผูลวงลบั ไปแลว นน้ั โดยพลนั ทานทัง้ หลาย (ชอ่ื วา) ไดแสดงออกซ่ึงญาติธรรม ดวย ไดทำบูชาญาตผิ ลู ว งลับอยา งย่ิงดว ย ไดเ พิ่มกำลังใหแกภกิ ษุท้งั หลายดวย เปนอนั ไดบ ญุ ไมน อยเลย การทำปุพพเปตพลี ยอ มบำรุงความรกั ความนบั ถือ ในบรรพบรุ ุษของตน ใหเ จริญกุศล สว น กตญั กู ตเวทติ าเปนทางมาแหงความรงุ เรืองแหง สกลุ วงศ พระศาสดาจงึ ไดทรงอนุมัติ ดวยประการฉะนี้ ทรงมอบใหสงฆเ ปนใหญใ นกจิ วันหนึง่ พระศาสดาประทบั อยทู ว่ี ิหารเชตวัน อารามของอนาถปณฑิกเศรษฐี เมืองสาวตั ถี แควนโกศล มีพราหมณช ราคนหนึ่งศรัทธามาขอบวช จึงทรงมอบใหพ ระสารบี ุตรบวชให โดยทำพิธเี ปน การสงฆ ในมธั ยมชนบทตอ งประชมุ ภกิ ษุ ๑๐ รูป ในปจ จันตชนบทมีพระนอ ยประชุมภกิ ษุ ๕ รูป ภิกษุรูปหนง่ึ เปนพระอุปช ฌาย คอื เปนผูรับรอง (รับผิดชอบ) ผูจะอปุ สมบท รูปหนึ่งประกาศสงฆใ หร ูเรอ่ื ง แตใ นปจจุบนั น้นี ิยมใช ๒ รูป เรยี กวา กรรมวาจาจารย กบั อนุสาวนาจารย แตชาวบานมักเรยี กวา คสู วด คร้ันประกาศสงฆใหร เู รือ่ ง ๓ ครั้ง ถา ไมมีภิกษุคัดคาน ผูน น้ั ชอ่ื วา เปน ภิกษุ ถา ถกู คัดคานแม เสยี งเดยี วเปน อันไมย อมรบั อุปสมบทชนดิ น้เี รียก ญัตตจิ ตุตถกรรมอุปสัมปทา แปลวา อปุ สมบทดวยการ สงฆ มีวาจาประกาศเปน ท่ี ๔ เมอ่ื ทรงอนุญาตวิธอี ปุ สมบทนี้แลว ทรงยกเลิกการอุปสมบทแบบไตรสรณ คมนทที่ รงอนญุ าตไวเ ดมิ ทรงสอนพระศาสนาผอนลงมาถงึ คดีโลก วนั หน่ึง พระศาสดาเสด็จไปบิณฑบาตในพระนครราชคฤห พบชายหนมุ คนหนงึ่ ชอื่ สิงคาร มาณพ กำลังไหวท ศิ อยจู ึงตรัสถาม เขาทูลวา ไหวทศิ พระเจาขา บดิ าของขาพระองคกอ นตายไดสง่ั เอาไว ขาพระองคเคารพคำส่ังของทา นจึงไหวทิศ พระธรี วฒั น์ จนฺทโสภโณ : วัดไผ่เงินโชตนาราม | ธรรมช้ันตรี 65

66 พระพุทธองคตรัสแกเขาวา ในแวดวงของอารยชน เขาไมไหวท ศิ ตะวันออก ทศิ ตะวันตก เปน ตน อยา งน้หี รอก เขาไหวท ิศ ๖ แตกอนจะไหวท ิศตอ งทำกจิ เบ้อื งตนใหสมบูรณด ว ย คือ ตอ งเวนกรรม กเิ ลส ๔ ไมท ำบาปกรรมเพราะอคติ ๔ และไมเกีย่ วขอ งกับอบายมขุ ๖ ตอ จากน้ันจึงไหวทศิ ๖ คอื ๑. ทศิ บูรพา อันเปนทศิ เบ้อื งหนา ไดแ ก มารดา บดิ า ๒. ทิศทักษิณ อนั เปน ทิศเบอ้ื งขวา ไดแก อาจารย ๓. ทิศปจจิม อนั เปนทิศเบอ้ื งหลัง ไดแ ก บุตรภรรยา ๔. ทศิ อดุ ร อันเปนทิศเบื้องซา ย ไดแก มิตรอมาตย ๕. ทิศเบอื้ งลาง ไดแ ก บาวและลูกจาง ๖. ทิศเบอ้ื งบน ไดแ ก สมณพราหมณ สวนความละเอยี ดแหง เทศนาน้ี มอี ยูในวชิ าธรรมแผนกคหิ ิปฏิบัติ ทรงแสดงวิธีทำเทวตาพลี ครัง้ หนงึ่ พระศาสดาเสดจ็ จาริกไปถงึ บา นปาฏลคิ าม แควนมคธ คราวนนั้ สนุ ีธพราหมณ และวสั สการพราหมณ มหาอำมาตยม คธ มาอยูทน่ี น่ั กำลงั สรางนครเพอ่ื ปองกนั ชาววัชชี สองอำมาตยนัน้ มาเฝา เชิญเสด็จรบั ภัตตาหารทเ่ี มืองใหมนั้น พรอ มดวยภกิ ษุสงฆ เม่ือพระสงฆฉ ันเสรจ็ แลว พระศาสดา ทรงอนุโมทนาดวยคาถา มีคำวา ยสฺมึ ปเทเส กมฺเปติ วาสํ ปณฺฑติ ชาตโิ ย เปน ตน มีความวา กลุ บตุ ร ผมู ชี าติแหงบัณฑติ สำเรจ็ การอยใู นประเทศใด พึงนมิ นตพรหมจารี ผมู ีศลี สำรวมดีใหฉนั ณ ทนี่ นั้ แลว อุทศิ ทักษิณาเพ่ือเทวดาผูสถติ ย ณ ท่นี นั้ เทวดาท้งั หลายน้นั อันกลุ บตุ รนน้ั บชู าแลว ยอมบชู าตอบ อนั กลุ บตุ รนน้ั นับถอื แลว ยอมนับถือตอบ แตน ัน้ ยอมอนุเคราะหกลุ บุตรนน้ั ดวยเมตตา ดุจมารดากับบตุ ร กุลบุตรน้ันอันเทวดาอนเุ คราะหแลว ยอมเห็น (ได) ผลอนั เจริญทุกเมือ่ ปจ ฉิมโพธิกาล ปลงอายุสงั ขาร เมื่อพระศาสดาตรัสรแู ลว และไดเสดจ็ พระพุทธดำเนินสัญจรส่ังสอนเวไนยสตั วในคาม นคิ ม ชนบท ราชธานี มีเมืองราชคฤห แควน มคธ เปน ตน จนประดษิ ฐานพระพทุ ธศาสนามี ภิกษุ ภิกษณุ ี อุบาสก และอบุ าสิกา ซึง่ เรยี กวา บริษัท ๔ นบั เวลาแตอภสิ มั โพธิสมยั ลว งได ๔๔ พรรษา ครน้ั ณ พรรษากาลที่ ๔๕ เสด็จจำพรรษา ณ บา นเวฬวุ คาม เขตพระนครไพสาลี ทรงบำเพ็ญพทุ ธกจิ จนเวลา ลวงไปถงึ เดอื นท่ี ๓ แหง ฤดเู หมันต อันไดแ ก มาฆมาส (เดอื น ๓) วันบุรณมี ทรงปลงอายุสงั ขาร ณ ปาวาลเจดยี ว า อกี ๓ เดอื นตอแตน ้ไี ปตถาคตจักปรนิ ิพพาน ทรงแสดงอภิญญาเทสิตธรรม เม่อื พระศาสดาประทับอยทู กี่ ฏู าคารศาลาปามหาวนั ตรัสประทานโอวาทสอนภิกษุสงฆดว ย อภญิ ญาเทสิตธรรมวา ธรรมทั้งหลายที่เราแสดงดวยปญ ญายง่ิ คือ สติปฏ ฐาน ๔ สัมมปั ปธาน พระธีรวัฒน์ จนฺทโสภโณ : วดั ไผ่เงินโชตนาราม | ธรรมช้ันตรี 66

67 ๔ อิทธิบาท ๔ อนิ ทรีย ๕ พละ ๕ โพชฌงค ๗ มรรคมีองค ๘ ชอื่ อภิญญาเทสติ ธรรม ทาน ทั้งหลายพึงเรยี นใหด ี และสอ งเสพเจริญทำใหม ากในสันดานเถดิ ทรงแสดงอรยิ ธรรม ๔ ประการ เมื่อพระศาสดาประทบั อยู ณ บานภณั ฑุคาม ทรงแสดงธรรมแกภิกษุสงฆวา เพราะไมหยั่งรู ธรรม ๔ ประการ คือ ศีล สมาธิ ปญญา และวิมตุ ติ อันเปน อรยิ ธรรม น้แี ลเปน เหตุ เราและทานท้ังหลาย จึงไดทองเทย่ี วไปในกำเนดิ และคติ สนิ้ กาลนานนักอยา ง น้ี แตบัดน้เี ราและทานทั้งหลายไดตรสั รูธรรมทง้ั ๔ นน้ั แลว ตัดตัณหาได ภพใหมจึงไมมี ทรงแสดงมหาปเทส ฝา ยพระสตู ร ๔ เมื่อพระศาสดาประทับอยู ณ อานนั ทเจดยี  ในเขตโภคนคร ตรสั เทศนามหาปเทส ๔ ฝายพระสตู รวา ถามีผูม าอา งพระศาสดา สงฆ คณะ หรือบคุ คล แลว แสดงวานธี้ รรม นวี้ นิ ัย น้ีสัตถุ ศาสน อยาดว นรบั หรือปฏิเสธ พงึ สอบดูกับพระสตู รและพระวนิ ยั ถาไมต รงกัน พึงเขาใจวานัน่ ไมใ ชคำ สอนของพระผมู พี ระภาคเจา ถา ตรงกนั พงึ ทราบวา นนั่ เปนคำสอนของพระผมู พี ระภาคเจา มหาปเทส แปลวา ทอ่ี างใหญ นายจุนทะถวายปจ ฉมิ บิณฑบาต ครนั้ ใกลถ ึงวนั ปรินพิ พาน ตามทที่ รงปลงอายุสังขารไว สมเด็จพระโลกนาถพรอมภิกษุสงฆ พทุ ธบริวาร ไดเ สดจ็ ถงึ ปาวานคร ประทับอยู ณ อัมพวัน สวนมะมวงของนายจุนทะ บุตรชา งทอง นายจนุ ทะทราบขาว จึงไปเฝา ฟงธรรมเทศนาแลว กราบทลู เชิญเสดจ็ เพอ่ื ทรงรบั ภัตตาหารในวันรุงขึน้ ทรงรบั นมิ นตและเสด็จไปตามน้นั ซึ่งวันนน้ั เปน วนั กอนวนั ปรนิ พิ พานหนึง่ วัน (ข้ึน ๑๔ คำ่ ) นายจนุ ทะได ถวายสกู รมทั วะแกพ ระศาสดา ทรงรับสัง่ ใหถ วายเฉพาะพระองคเ ทาน้นั สวนภิกษุสงฆใ หถ วายอาหารอยา ง อน่ื และใหเ อาสกู รมัทวะทีเ่ หลอื จากท่เี สวยฝงเสยี ในบอ หลงั จากทรงเสวยสกู รมทั วะไดท รงประชวรลงพระ โลหิต เกดิ เวทนากลา ใกลตอมรณทกุ ข จึงตรสั เรียกพระอานนทมาวา จักเสด็จเมอื งกุสนิ ารา พระอานนท ไดปฏบิ ัติตามนน้ั ผิวกายพระตถาคตผองใสยงิ่ ๒ กาล ระหวางทางเสด็จไปเมอื งกสุ นิ ารา บุตรแหงมลั ลกษัตรยิ น ามวา ปุกกุสะ เปนสาวกของอาฬา รดาบส กาลามโคตร ไดถวายผาคสู ิงควิ รรณ ตรสั ใหถวายพระอานนทผ นื หนึ่ง เมื่อปกุ กุสะหลีกไปแลว พระอานนทไดถ วายผา ของทานแกพระศาสดา ทรงนงุ ผนื หน่ึง หมผืนหน่งึ พรรณแหงผิวพระกายผดุ ผองย่งิ นกั สมดังท่ีตรสั วา ดกู อ นอานนท กายแหงพระตถาคตยอมบริสทุ ธ์ิ ผวิ พรรณผดุ ผองย่ิง ๒ เวลา คือ ใน ราตรีทีจ่ ะตรัสรู ๑ ในราตรที จ่ี ะปรินพิ พาน ๑ บิณฑบาตทาน ๒ คราว มีผลเสมอกนั พระธรี วฒั น์ จนฺทโสภโณ : วัดไผ่เงนิ โชตนาราม | ธรรมช้ันตรี 67

68 ลำดบั นนั้ พระผมู ีพระภาคเจา ไดตรสั แกพ ระอานนทวา ดกู อนอานนทบณิ ฑบาต ๒ อยา งนี้ มี ผลเทากนั มอี านสิ งสมากกวาบณิ ฑบาตอยางอนื่ คือ บณิ ฑบาตทีต่ ถาคตบรโิ ภคแลว ไดตรสั รู ๑ บิณฑบาตที่ตถาคตบรโิ ภคแลว ปรินิพพาน ๑ ประทมอนุฏฐานไสยา ครั้งนั้น สมเด็จพระผูมีพระภาคเจา พรอมดว ยภกิ ษุสงฆ เสดจ็ พทุ ธดำเนินขามแมน ้ำหิรญั ญว ดี ถึงเมอื งกุสินาราบรรลุถึงสาลวนั ตรสั ส่ังพระอานนทวา เธอจงแตงต้ังปลู าดซึ่งเตียง ใหมีเบอ้ื งศรี ษะ ณ ทศิ อุดร ณ ระหวางแหงไมร ังทั้งคู เราเปน ผูเหนด็ เหนือ่ ยนกั จกั นอนระงบั ความลำบาก พระเถระไดทำตาม พุทธอาณตั โิ ดยเคารพ สมเด็จพระผมู ีพระภาคเจา ทรงสำเร็จสีหไสยาโดยขางเบอื้ งขวา ตั้งพระบาทเหล่ือม ดว ยพระบาท มีสติสัมปชญั ญะ แตม ิไดมีอุฏฐานสญั ญามนสิการ เพราะเหตุเปนไสยาอวสาน เรยี กวา อนฏุ ฐานไสยา ขอ สังเกต อนฏุ ฐานไสยา การนอนโดยไมม ีสญั ญามนสิการวา จะเสดจ็ ลกุ ข้ึน อุฏฐานไสยา การนอนโดยมสี ัญญามนสกิ ารวา จะเสดจ็ ลุกข้นึ ทรงประทบั โดยขางเบอ้ื งขวา ต้ังพระบาทเหลอ่ื มกันทั้ง ๒ อยา ง ไมม ีความตางกัน ทรงปรารภสกั การบชู า สมยั นนั้ เทวดาท้ังหลายไดบชู าสักการะพระศาสดา ดว ยเครอ่ื งบูชา มีดอกไม ของหอม ดนตรีทพิ ย สงั คีตทพิ ย เปนตน มากมาย ทรงทราบดว ยจกั ษุทพิ ยและทพิ ยโสต จึงตรัสแกพระอานนทวา พระตถาคตเจา ไมช ื่อวาอันบรษิ ทั สกั การะนบนอบ นับถือ บชู า คำนบั ดว ยสกั การะพิเศษเพียงเทา น้ี แต ภิกษุ ภิกษณุ ี อุบาสก อุบาสกิ า ผปู ฏิบตั ิสมควรแกธ รรม ปฏิบตั ิชอบยง่ิ ประพฤตธิ รรมสมควรแลว จงึ ช่อื วา สกั การะ เคารพ นบนอบ นับถอื พระตถาคตเจาดวยบูชาอยา งย่ิง ทรงแสดงสงั เวชนยี สถาน ๔ ตำบล ครัง้ นน้ั พระโลกนาถทรงแสดงสถาน ๔ ตำบลแกพระอานนทวา เปนทีค่ วรจะดู ควรจะเห็น คือ ๑. สถานทีพ่ ระตถาคตประสูติ ๒. สถานที่พระตถาคตตรัสรู ๓. สถานท่พี ระตถาคตแสดงพระธรรมจักร ๔. สถานทีพ่ ระตถาคตปรนิ พิ พาน ทรงแสดงถูปารหบคุ คล ๔ สมเด็จพระผมู ีพระภาคเจาทรงแสดงถูปารหบคุ คล คอื ผคู วรแกการประดษิ ฐานพระสถูป ๔ ประเภท คอื ๑. พระอรหันตสมั มาสมั พทุ ธเจา พระธรี วฒั น์ จนฺทโสภโณ : วัดไผ่เงินโชตนาราม | ธรรมช้ันตรี 68

69 ๒. พระปจเจกพทุ ธเจา ๓. พระอรหนั ตสาวก ๔. พระเจาจักรพรรดริ าช โปรดสภุ ทั ทปริพาชก สมยั น้ัน ปริพาชกผูหนึ่งช่อื สุภัททะ อาศัยอยู ณ เมอื งกุสินารา มีความสงสัยมานานวา ครูทง้ั ๖ คือ ปรู ณกัสสป มักขลิโคศาล อชิตเกสกมั พล ปกทุ ธกจั จายนะ สญั ชยเวลัฎฐบตุ ร นิครนถ นาฏบุตร ซง่ึ คนเปนอนั มากสมมตกิ ันวา เปน ผปู ระเสรฐิ ทัง้ ๖ ทา นไดตรัสรจู ริงหรอื ไม จึงเขา ไปเฝาพระ ศาสดาเพอ่ื ทลู ถามปญ หานั้น พระผูมีพระภาคเจาตรัสแกเขาวา อริยมรรคมอี งค ๘ ไมมีในธรรมวินยั ใด สมณะที่ ๑ (คอื พระโสดาบัน) สมณะที่ ๒ (คอื พระสกิทาคาม)ี สมณะที่ ๓ (คอื พระอนาคามี) สมณะท่ี ๔ (คอื พระอรหนั ต) ยอมไมมใี นธรรมวินยั นน้ั สุภัททปรพิ าชกไดทลู ขออุปสมบท จงึ ทรงมอบหมายใหพ ระอานนทวา ถากระนั้น ทา น ทง้ั หลายจงใหส ุภัททะบวชเถดิ พระอานนทไ ดทำตามพุทธประสงค สุภัททปริพาชก ชอ่ื วาไดอ ปุ สมบทใน สำนกั แหง พระผมู พี ระภาคเจา ไมนานนักกไ็ ดบรรลอุ รหัตผล ทรงต้ังพระธรรมวินัยเปน ศาสดา ลำดบั น้ัน สมเด็จพระผมู พี ระภาคเจา ตรัสเรยี กพระอานนทใ หเ ปนผูรบั เทศนา ประทานโอวาท แกภกิ ษบุ รษิ ัท เพ่อื จะใหมคี วามเคารพตอพระธรรมวินยั ต้ังไวในที่แหงพระศาสดาวา ดูกอนอานนท ความดำริดงั นี้ จะพงึ มีบางแกท านทง้ั หลายวา ศาสนามีศาสดาลวงแลว พระศาสดาแหง เราท้งั หลายไมมี ดกู อ นอานนท ทา นทงั้ หลายไมพงึ เห็นอยางนนั้ ธรรมกด็ ี วนิ ยั ก็ดี อันใด อันเราไดแสดงแลว ได บญั ญตั ิไวแลว แกท านทงั้ หลาย ธรรมและวินยั น้ัน จักเปนศาสดาแหงทานทงั้ หลาย โดยกาลทลี่ ว งไปแลว แหงเรา ปจ ฉิมโอวาท ลำดับน้ัน สมเด็จพระผูมีพระภาคเจาตรัสเรยี กภกิ ษุท้งั หลายมา ประทานปจ ฉิมโอวาทวา ดูกอนภิกษทุ ั้งหลาย บัดน้เี ราขอเตอื นท้งั หลายวา สังขารทง้ั หลายมีความเส่อื มความส้นิ ไปเปนธรรมดา ทา นทง้ั หลายจงยังกิจทัง้ ปวงอันเปนประโยชนต นและประโยชนผ ูอน่ื ใหบ รบิ รู ณด ว ยไมประมาทเถดิ พระ วาจาน้เี ปนทสี่ ดุ ของพระตถาคตเจา ซ่งึ รวมเอาพระโอวาทท่ไี ดประทานแลวตลอด ๔๕ พรรษา ไวใน ความไมป ระมาท ปรินพิ พาน หลังจากตรัสปจ ฉิมโอวาทแลว พระองคไ มไ ดตรัสอะไรอีกเลย ทรงทำปรนิ ิพพานบริกรรม (เตรียมปรินิพพาน) ดว ยอนุปุพพวิหารสมาบตั ทิ ้งั ๙ คือ รปู ฌาณ ๔ อรปู ฌาณ ๔ สญั ญาเวทยิตนิ พระธรี วัฒน์ จนฺทโสภโณ : วัดไผ่เงนิ โชตนาราม | ธรรมช้ันตรี 69

โรคสมาบัติ ดับจติ สังขาร คอื สัญญาและเวทนา ๑ พระพุทธองคไ ดเสดจ็ ดบั ขนั ธปรินพิ พาน 70 ปจ ฉิมยามแหง ราตรีวิสาขปรุ ณมดี ิถเี พญ็ กลางเดอื น ๖ ใน อปรกาล ถวายพระเพลิงพระพุทธสรรี ะ เมื่อพระศาสดาปรนิ พิ พานได ๗ วนั มลั ลกษรั ยิ ท ้งั หลายไดอ ัญเชิญพระสรีระไปประดษิ ฐาน ณ มกฏุ พนั ธนเจดีย เพอื่ ทจ่ี ะทำการถวายพระเพลิง เมือ่ พระมหากสั สปะซ่ึงเปน สังฆเถระมาถึง จงึ ไดถ วาย พระเพลิง ในการถวายพระเพลิงนั้น หนงั เนื้อ เอ็น ไขขอ ถกู เพลิงเผาไหมหมดสิ้น สว นพระอฐั ิ พระเกสา พระโลมา พระนขา พระทันตา ทั้งหมดยังเหลืออยู กบั ผาคูหน่ึงเหลือเปนปกติอยู เพอ่ื เปน เครอ่ื งหอพระบรมสารรี ิกธาตุ แจกพระบรมสารีรกิ ธาตุ พระบรมสารรี ิกธาตขุ องพระสมั มาสัมพทุ ธเจา มี ๓ ขนาด ขนาดใหญเทากับเมลด็ ถว่ั เขียว แตก (คร่งึ ) ขนาดกลางเทา กับเมล็ดขา วสารแตก ขนาดเลก็ เทากับเมล็ดผักกาด ขนาดใหญ ๕ ทะนาน ขนาดกลาง ๕ ทะนาน ขนาดเลก็ ๖ ทะนาน โทณพราหมณ ไดแบงใหกษัตริยและพราหมณ ท่มี าขอทา นละ ๒ ทะนาน เอาไปประดษิ ฐานในสถปู ณ เมืองของตน ๘ แหง คือ ๑. พระนคร ราชคฤห ๒. พระนครเวสาลี ๓. พระนครกบิลพสั ดุ ๔. อัลลกัปปนคร ๕. รามคาม ๖. นครเวฏฐ ทปี กะ ๗. นครปาวา ๘. นครกสุ ินารา ฝายโทณพราหมณก ไ็ ดเ ชิญตุมพะ คือ ทะนานตวงพระธาตไุ ปกอพระสถูปบรรจุไว มชี ือ่ วา ตุมพสถูป กษตั รยิ เมืองปป ผลิวัน เชญิ พระองั คาร คอื เถาถานทถี่ วายพระเพลิงไปทำพระสถูปบรรจไุ ว มีช่ือวา พระองั คารสถปู จงึ รวมพระสถูปเจดียสถานเม่ือปฐมกาล ๑๐ แหงดวยประการฉะน้ี ประเภทแหง เจดยี  ในปฐมกาล หลงั จากพระศาสดาเสดจ็ ดับขนั ธปรินิพพานใหม ๆ คงมเี จดีย ๒ ประเภท คือ ๑. พระสถูปที่บรรจุพระบรมสารรี กิ ธาตุ ๘ สวน ทีโ่ ทณพราหมณแ บงให เรียกวา ธาตุ เจดยี  ๒. ตมุ พสถปู องั คารสถูป และสังเวชนียสถาน ๔ ตำบล เรยี กวา บริโภคเจดยี  ครนั้ ตอ มา พระพุทธศาสนาแผก วางออกไป พุทธศาสนิกชนหาพระธาตไุ มได จงึ ไดสรางสถูป แลวนำเอาคัมภีรพ ระธรรมไปบรรจุไว เรียกวา ธรรมเจดยี  ตอมา เมื่อโลกเจริญขึน้ จึงมกี ารสรางพระพทุ ธรปู ขน้ึ กราบไหวบชู า เรยี กวา อุทเทสิกเจดีย รวมท้งั หมดจึงเปน เจดยี  ๔ ประเภท เปนทเ่ี คารพนบั ถือบชู าแทนองคพ ระศาสดา แหง พุทธศาสนกิ ชน พระธีรวฒั น์ จนฺทโสภโณ : วัดไผ่เงนิ โชตนาราม | ธรรมช้ันตรี 70

71 ความเปนมาแหง พระธรรมวินัย สงั คายนาคร้ังท่ี ๑ เพราะพระสมั มาสมั พุทธเจา ไดตรสั วา ดกู อ นอานนท ธรรมกด็ ี วนิ ัยกด็ ี อนั ใด อนั เราแสดง แลวบัญญัติไวแลว แกท า นทัง้ หลาย ธรรมและวนิ ยั นั้นจกั เปน ศาสดาแหงทานทง้ั หลาย โดยกาลท่ลี ว งไป แลวแหงเรา ดังนั้น การสงั คายนา คือ รวบรวมพระธรรมวินัยทพ่ี ระองคทรงแสดงไวในทนี่ นั้ ๆ ตลอดเวลา ๔๕ ป ใหเปน หมวดหมู เพ่ือเปน หลกั ฐานในการประพฤติปฏบิ ัติ จงึ เปน เรอ่ื งท่จี ำเปน เมื่อถวายพระเพลงิ พระสรีระของพระศาสดาแลว ทานพระมหากสั สปะไดนำเรื่องหลวงตาสุภทั ทะกลา วลวงเกนิ พระธรรมวินัยวา บดั นพ้ี ระสมณโคดมนิพพานแลว พวกเราอยากจะทำอะไรกท็ ำ พดู เหมือนกับไมเ คารพพระธรรมวนิ ยั ปรารถนาจะทำอะไรตามใจตนเอง โดยไมตองปฏิบตั ิตามพระธรรมวินัย เปน สญั ญาณบง บอกถงึ อันตรายท่ีจะเกิดแกพ ระพทุ ธศาสนา พระมหากัสสปะ จงึ ชกั ชวนภกิ ษุท้ังหลายใหท ำการสังคายนาพระธรรมวนิ ยั ไดคดั เลอื กภิกษุ สงฆองคอ รหันต ๕๐๐ รปู ไปทำสังคายนาทถี่ ำ้ สตั ตบรรณคูหา ขา งภเู ขาเวภารบรรพต แขวงเมืองรา ชคฤห เปน สงั คายนาคร้ังแรก เมอ่ื พระศาสดาปรินพิ พานได ๓ เดือน โดยมีพระเจาอชาตศัตรูเปนองค อุปถมั ภ กระทำอยู ๗ เดือนจึงสำเรจ็ สังคายนาคร้ังท่ี ๒ เม่อื พระศาสดาปรนิ พิ พานได ๑๐๐ ป ภิกษวุ ชั ชีบุตร ชาวเมอื งเวสาลี แสดงวัตถุ ๑๐ ประการ อันผิดพระธรรมวินยั มีทั้งบรรพชิตและคฤหัสถเ หน็ ดีเหน็ ชอบดว ยจำนวนมาก ยากท่ีจะแกไ ข องคพ ระอรหันต ๗๐๐ รูป มีพระยสกากัณฑกบุตรเปนประธาน ไดประชุมกันท่วี าลกิ าราม เมืองเวสาลี ชำระวัตถุ ๑๐ ประการ ประดิษฐานธรรมวงศใ หบริสุทธสิ์ บื มา ทำอยู ๘ เดอื นจงึ สำเร็จ สังคายนาครั้งท่ี ๓ เมอ่ื พระศาสดาปรนิ ิพพานได ๒๑๘ ป ในรชั สมัยของพระเจาอโศกมหาราช แหงปาฏลีบุตร เดียรถียป ลอมบวชในพระพทุ ธศาสนาจำนวนมาก ประพฤติผดิ แปลกแตกตางไปจากพระธรรมวนิ ัย พระ โมคคัลลีบตุ รตสิ สเถระ ไดพ่ึงราโชปถัมถในพระเจาอโศกมหาราช กำจดั เดยี รถยี เหลา นั้นออกจากสงั ฆ มณฑล แลว พรอมดวยพะอรหนั ต ๑,๐๐๐ องค ชำระวาทะซง่ึ เปนมลทินแหง พระธรรมวินัยออกไดแลว ประดษิ ฐานธรรมวงศใหด ำรงสบื มา กระทำอยู ๙ เดือนจึงสำเร็จ พระธีรวฒั น์ จนฺทโสภโณ : วดั ไผ่เงินโชตนาราม | ธรรมช้ันตรี 71

72 เบญจศีล เบญจธรรม คำปรารมภ มนษุ ยผ เู กิดมาในโลกนี้ มรี ปู พรรณสัณฐานทเี่ ลอื กตามใจหวงั ไมไ ดแ ลวแตเหตจุ ะแตงมา ให เปนผูมีรปู รางงามบา ง เลวทรามบางตา ง ๆ กัน ผใู ดมรี ูปงามกเ็ ปน ทนี่ ิยมชมช่ืนของผทู ไี่ ดเห็น เปน ดุจ ดอกไมท ม่ี ีสีสัณฐานงาม ผูใ ดมรี ปู เลวทรามกไ็ มเ ปน ที่ชวนดขู องผแู ลเห็น เชน กบั ดอกไมม สี สี ัณฐานไมงาม รปู งามมีประโยชนเพยี งใหเ ขาชมวาสวย ไมเปนคุณอะไรอีก ถา ดอกไมม ีท้ังสีสณั ฐานก็งามท้ังกลิ่นก็หอม ยอมเปนท่ีพอใจรกั ใครข องประชมุ ชน ถามีแตสแี ละสณั ฐานงาม แตหากกล่นิ หอมมไิ ด จะสู ดอกไมซ ึง่ มกี ล่นิ หอม แมมีสัณฐานไมงาม กไ็ มไ ด ถา มกี ลนิ่ เหม็นก็ย่งิ ซ้ำราย ถึงจะมสี ัณฐาน งาม ก็ไมเปน ทป่ี รารถนาของใคร ๆ ขอนม้ี อี ุปมาฉนั ใด คนผูมีรปู รางงดงามมีใจดี ยอมเปนท่นี ยิ ม นับถือของประชุมชน ถงึ จะมรี ูปรา งงาม แตป ราศจากคณุ ธรรมในใจ จะสคู นทีป่ ระกอบดวยคณุ ธรรม แม มีรูปรา งเลวทราม ก็ไมได ถา มใี จรายกาจ กย็ ่ิงซำ้ รา ย ไมมใี ครพอใจจะสมาคม ถึงจะมรี ูปรางงามสกั ปานใด ก็ชวยแกไขไมไ ด ขอ นมี้ อี ุปไมยฉนั นน้ั รปู พรรณสัณฐานของมนุษยเปนมาอยา งใด ก็ตอ งเปน ไปอยา งนัน้ จะแกไ ขเปล่ยี นแปลงไมได สว นใจน้ันกม็ กั เปน ไปตามพน้ื เดมิ ถึงอยางน้ันก็ยงั มที างแกไ ขใหดไี ดดวยความตง้ั ใจอนั ดี จงดูตวั อยางของที่ ไมหอมมาแตเ ดมิ เขายงั อบใหหอมได แตธรรมดาใจน้นั มกั ผนั แปรไมแ นไ มน อนมน่ั คงลงได นักปราชญม ี พระพทุ ธเจา เปน ตน ผูสั่งสอนใหคนตั้งอยใู นคณุ ธรรม จงึ ไดก ำหนดวางแบบแผนแหงความประพฤตไิ วเปน หลกั ฐาน การตัง้ ใจประพฤตติ ามบัญญัตินน้ั ช่อื วาศลี ๆ น้นั เปนบรรทัดสำหรับใหคนประพฤตคิ วามดีให คงที่ เปรียบเหมือนผแู รกจะเขียนหนงั สือ ตองอาศัยเสนบรรทดั เปน หลกั เขยี นไปตามนนั้ หนังสอื ท่เี ขยี น จงึ จะมีบรรทัดอันตรง ถาหาไมตัวก็จะคดขึ้นคดลงดังงูเลือ้ ย เมือ่ ชำนาญแลว ก็เขยี นไปได ไมตอ งมี บรรทัดฉนั ใด คนแรกจะประพฤติความดี ไมไดถอื อะไรเปน หลัก ใจไมม่นั คงอาจเอนเอยี งลงหาทจุ รติ แม เพราะโมหะครอบงำ เมือ่ บำเพญ็ ศีลใหบ ริบรู ณจนเปนปกติ มารยาทไดแลว จึงจะประพฤติคณุ ธรรมอยา ง อนื่ กม็ ักยงั่ ยืนไมผันแปร ขอ น้แี ลเปน ประโยชนแหง การบญั ญตั ิศีลขึน้ ความเบียดเบยี นกนั ในโลก ซง่ึ เปนไปโดยกายทวารยนลงเปน ๓ ประการ คอื เบยี ดเบยี นชวี ิต รา งกายประการหนงึ่ เบียดเบียนทรพั ยสมบตั ิ ประการหนง่ึ เบียดเบียนประเวณี คอื ทำเช้อื สายของผอู ่นื ให ผิดลำดับสบั สนประการหน่งึ และความประพฤติเสียดวยวาจา มมี ุสาวาทกลา วคำเทจ็ เปน ที่ตั้ง คนจะประพฤตดิ งั นนั้ ก็เพราะความประมาท และความประมาทน้ัน ไมมีมูลอ่ืนจะสำคญั ยิ่งกวา ดืม่ น้ำเมา ซ่งึ ทำใหค วามคดิ วปิ รติ ลงทนั ที เหตุน้นั นักปราชญทั้งหลาย มพี ระพุทธเจาเปนประธานเลง็ เหน็ เหตุการณ ดังนี้ จึงปญ ญัตศิ ลี มอี งค ๕ คือ ๑. เวน จากการฆา สตั วม ีชีวิต ๒. เวนจากการถอื เอาส่ิงของท่ีเจาของไมไดใหด วยอาการเปน โจร ๓. เวนจากการประพฤตผิ ิดในกาม พระธีรวัฒน์ จนฺทโสภโณ : วดั ไผ่เงินโชตนาราม | ธรรมช้ันตรี 72

73 ๔. เวนจากกลาวคำเท็จ ๕. เวนจากการดม่ื น้ำเมา คอื สรุ าและเมรัย องคแ หงศีลอยางหนง่ึ ๆ เรียกวา สกิ ขาบท ศลี มอี งค ๕ จึงเปนสิกขาบท ๕ ประการ รวม เรยี กวาเบญจศลี ๆ นท้ี า นบญั ญตั ขิ ้ึนโดยถูกตองตามคลองธรรม ดวยคดิ จะใหเ ปนประโยชนแ กกันและกนั จึง ไดช่ือวา เปนบญั ญตั อิ ันชอบธรรม เปนคำสอนมีอยใู นศาสนาทีด่ ี เบญจศลี น้มี กี ัลยาณธรรมเปนคกู นั แสดงไวในพระบาลที ่ีสรรเสรญิ ความประพฤตขิ องกลั ยาณชน วา เปน คนมีศลี มีกัลยาณธรรม ดังน้ี กลั ยาณธรรมในท่ีนี้ ไดแ กค วามประพฤตทิ ่ีเปนสวนดงี าม มีเครอ่ื ง อดุ หนุนศลี ใหยอ ใสยงิ่ ขึน้ ไดในสิกขาบททงั้ ๕ นี้เอง ๑. เมตตากรณุ า ไดในสกิ ขาบทท่ตี น ๒. สมั มาอาชีวะ หม่ันประกอบการเล้ียงชีพในทางทช่ี อบ ไดในสกิ ขาบทท่ี ๒ ๓. ความสำรวมในกาม ไดในสิกขาบทท่ี ๓ ๔. มีความสัตย ไดในสิกขาบทที่ ๔ ๕. ความมีสตริ อบคอบ ไดในสกิ ขาบทคำรบ ๕ เมอ่ื จดั วิภาค ศลี ไดแ กกริ ิยาทเ่ี วนตามขอหาม กัลยาณธรรม ไดแ กประพฤติธรรมที่ชอบ มี เปนคกู นั มาฉะน้ี ในท่นี ี้ จะยกคณุ ๒ ขอ นต้ี ัง้ เปนกระทู และพรรณนาความไปตามลำดับดงั ตอ ไปนี้ เบญจศีล ในสกิ ขาบทท่ี ๑ แกด ว ยขอ หาม ๓ ประการ คือการฆา ๑ การทำรายรางกาย ๑ การ ทรกรรม สตั วใหลำบาก ๑ เพื่อสมแกเ หตุแหง บัญญตั ิสิกขาบทนีข้ ้นึ ดว ยเพงเมตตาจิตเปน ใหญ ในสิกขาบทที่ ๒ แกด วยขอ หา ม ๓ ประการ คอื โจรกรรมประพฤตเิ ปนโจร ๑ ความเลย้ี ง ชีพอนโุ ลมโจรกรรม อนั เปนอบุ ายอุดหนนุ โจรกรรม ๑ กิรยิ าเปน ฉายาโจรกรรมประพฤติเคลือบแฝง เปน อาการแหง โจร ๑ เพ่อื สมแกเหตแุ หงบัญญตั ิสิกขาบทน้ีขึ้น ดว ยเพงความประพฤตชิ อบธรรมในทรัพย สมบตั ิของผูอน่ื เปนใหญ ในสกิ ขาบทที่ ๓ แกด ว ยขอ หามไมใหป ระพฤติผดิ ในกามท้ังฝายชายฝายหญงิ และประพฤตผิ ิด ธรรมดา เพอ่ื สมแกเหตแุ หงบัญญตั สิ กิ ขาบทน้ขี นึ้ ดว ยเพงความประพฤติไมผิดประเวณเี ปน ใหญ ในสกิ ขาบทที่ ๔ แกด วยขอหา ม ๓ ประการ คือ มุสา กลาวคำเท็จ ๑ อนุโลมมุสา กลา ววาจาท่เี ปนตามมุสา ๑ ปฏสิ สวะ รับแลว ไมทำตามรบั ๑ เพื่อสมแกเ หตแุ หง บญั ญตั สิ กิ ขาบทน้ีขน้ึ ดว ยเพง ความสตั ยเปน ใหญ ในสิกขาบทคำรบ ๕ แกดวยขอหา ม ๒ ประการ คอื ด่ืมน้ำเมk คือสุราและเมรัย ๑ เสพฝน กญั ชา และของเมาอยา งอนื่ อกี ๑ เพอื่ สมแกเ หตุแหงบญั ญัติสิกขาบทนข้ี น้ึ ดวยเพงจะ ไมใหเสียความสำราญและความดี พระธรี วัฒน์ จนฺทโสภโณ : วัดไผ่เงินโชตนาราม | ธรรมช้ันตรี 73

74 วริ ัติ ในบทนี้ แกดว ยวริ ัติ คอื ความละเวน ขอหาม ๓ ประการ คือ สมั ปต ตวริ ัติ ความเวนจากวัตถุ ที่จะพึงลวงไดอ นั มาถึงเฉพาะหนา ๑ สมาทานวริ ตั ิ ความเวนดว ยอำนาจการถือเปน กจิ วตั ร ๑ สมจุ เฉท วริ ตั ิ ความเวนดว ยตัดขาดมอี ันไมทำอยางนน้ั เปนปกติ ๑ ตามภมู ิของคนผูปฏบิ ัติ กัลยาณธรรม ในสิกขาบทท่ี ๑ แกด วยเมตตากบั กรณุ า ที่ผมู ศี ีลจะพึงแสดงเปนพิเศษ ในการเผือ่ แผใ ห ความสุขและชว ยทุกขข องผอู ืน่ ในสิกขาบทที่ ๒ แกดว ยสัมมาอาชวี ะ ความหมัน่ ประกอบการหาเลีย้ งชพี ในทางทช่ี อบ อันเปนเครือ่ งอุดหนุนผมู ศี ลี ใหม ่นั คงอยใู นศลี ในสกิ ขาบทที่ ๓ แกดว ยความสำรวมในกาม ๒ ประการ คอื สทารสนั โดษ ความยินดดี ว ยภรรยาของตน สำหรบั ชาย ๑ ปติวตั รความจงรักในสามี สำหรบั หญิง ๑ อนั เปน ขอปฏบิ ตั อิ กุ ฤษฏยิง่ ขน้ึ ไปกวาศลี ในสิกขาบทที่ ๔ แกดว ยความมีสตั ย ตางโดยอาการ ๔ สถาน คอื ความ เทย่ี งธรรมในกิจการอันเปน หนาที่ ๑ ความซอื่ ตรงตอมติ ร ๑ ความสวามิภักดใิ์ นเจา ของตน ๑ ความ กตญั ูในทา นผูมีบญุ คุณแกต น ๑ อันอดุ หนุนผูม ีศีลใหบ ริบรู ณดวยคณุ สมบตั ยิ ่งิ ขึ้น ในสิกขาบทที่ ๕ แกด ว ยความมสี ตริ อบคอบ ตางโดยอาการ ๔ สถาน คอื ความรูจัก ประมาณในอาหารทจี่ ะพึงบริโภค ๑ ความไมเลนิ เลอในการงาน ๑ ความมีสัมปชญั ญะในการประพฤติตัว ๑ ความไมประมาทในธรรม ๑ อนั เปนคุณพิเศษประดับผมู ศี ีลใหมคี วามประพฤตดิ งี ามขนึ้ ขอเหลา นม้ี พี รรณนาโดยพสิ ดารไปตามลำดับในบทขางหนา เบญจศลี ปาณาตปิ าตา เวรมณี สิกขาบทท่ี ๑ สิกขาบทน้ี ( ปาณาตปิ าตา เวรมณี ) แปลวา เวนจากการทำสัตวมีชีวติ ใหตกลว ง คอื เวน จากการฆา สตั วม ชี ีวติ สัตว ประสงคท ั้งมนษุ ยและเดยี รฉานท่ียังเปนอยตู งั้ แตอ ยูในครรภจ นถึงแกเฒา สกิ ขาบทนี้ บญั ญตั ขิ น้ึ ดว ยหวังจะใหปลูกเมตตาจิตในสตั วทกุ จำพวก เม่อื เพง เมตตาจติ เปน ใหญ ดังนน้ั จงึ ไมใชเฉพาะการฆาใหตายเทาน้นั แมก ารทำรายรางกาย และการทรกรรม ก็ถกู หามตามสกิ ขาบทน้ีดวย พระธรี วฒั น์ จนฺทโสภโณ : วดั ไผ่เงินโชตนาราม | ธรรมช้ันตรี 74

75 การฆา การฆา ไดแกการทำใหตาย โดยวตั ถุ คอื ผถู กู ฆา มี ๒ อยาง คือ ฆามนุษย ๑ ฆาเดยี รฉาน ๑ โดยเจตนา คอื ความตั้งใจของผูฆา มี ๒ อยาง คือ จงใจฆา ๑ ไมจ งใจฆา ๑ การฆา สำเรจ็ ดวยประโยค ( ความพยายาม ) ๒ อยา ง คือ ฆา เอง ๑ ใชใหผอู น่ื ฆา ๑ การใชใหผูอน่ื ฆา ทง้ั ผูใช และผรู ับใชม ีโทษ ( ความผดิ ) ฐานฆา ทงั้ ฝา ยศาสนาและฝาย อาณาจักร กรรมหนกั หรือกรรมเบา การฆา จดั เปนกรรมหนกั หรือเบา เพราะวัตถุ เจตนา และประโยค วัตถุ คอื ผูถูกฆา การฆาผบู รสิ ุทธิ์ไมม ีความผดิ และผมู คี ุณตอ ตน เชนบดิ ามารดาหรือผมู ี คุณธรรมตอสงั คม เชนพระพุทธเจา เปนตน มีโทษมาก เจตนา คอื ความต้ังใจของผูฆา การฆา ดวยอำนาจของกเิ ลส เชน มจิ ฉาทิฏฐิ ไมเชอื่ วา บาปมี จรงิ ฆาดวยอำนาจความโลภ เชน รบั จางฆาคน ฆา ดวยอำนาจความพยาบาท เชน โกรธพอ แม แลว ฆาเด็กไรเดยี งสา ฆา ไมมีเหตผุ ล เชน โกรธนักเรียนคนหน่งึ ตอ มาพบนกั เรยี นโรงเรยี นนน้ั ซึง่ เขาไม รเู รอ่ื งอะไร กฆ็ าเขา เปน ตน มีโทษมาก ประโยค คอื ความพยายามในการฆา การทรมานใหไ ดรบั ความเจ็บปวดมาก ๆ แลวจึงฆา ให ตาย ทเ่ี รียกวา ฆาใหตายทลี ะนอย มีโทษมาก การทำรา ยรา งกาย การทำรา ยรางกาย หมายถึง การทำรา ยผอู ่นื โดยการทำใหพ กิ าร เสยี โฉม หรือเจ็บลำบาก แตไ มถึงแกชวี ติ ทำใหพกิ าร คอื ทำใหเสยี อวยั วะเปนเครื่องใชการ เชน ทำใหเสียนยั นตา เสยี แขน เสียขาเปน ตน ทำใหเ สยี โฉม คือ ทำรางกายใหเ สียรปู เสยี งาม ไมถ ึงพกิ าร เชนใชมีดหรือไมกรีดหรอื ตที ี่ ใบหนา ใหเปนแผลเปน เปนตน ทำใหเจ็บลำบาก คอื ทำรายไมถงึ เสยี โฉม เปนแตเ สียความสำราญ การทำรายรางกายท้งั หมดน้ี เปน อนโุ ลมปาณาตบิ าต ถูกหามดว ยสกิ ขาบทนี้ ทรกรรม ขอนี้ จะกลาวเฉพาะเดยี รฉาน เพราะมนุษยไมเ ปนวตั ถอุ ันใคร ๆ จะพงึ ทรกรรมไดท ัว่ ไป ทรกรรม หมายความวา ประพฤติเหยี้ มโหดแกส ตั ว ไมปราณี ดังจะชต้ี ัวอยางใหเห็น ตามทีจ่ ัดเปน แผนกดังนี้ พระธรี วฒั น์ จนฺทโสภโณ : วัดไผ่เงินโชตนาราม | ธรรมช้ันตรี 75

76 ใชก าร หมายถึงใชสัตวไมมีปราณี ปลอ ยใหอดอยากซูบผอม ไมใ หกนิ ไมใ หนอน ไมให หยดุ พกั ผอนตามกาล ขณะใชง านก็เฆ่ียนตี ทำรา ยรางกายโดยไมม ีเมตตาจติ หรือใชก ารเกินกำลังของ สัตว เชน ใหเ ข็นภาระอันหนักเหลอื เกิน เปน ตน จัดเปน ทรกรรมในการใชก าร กักขงั หมายถงึ กกั ขังใหอ ดอยาก อิดโรย หรือผกู รดั ไวจ นไมส ามารถจะผลดั เปลี่ยนอิรยิ าบถ ได จัดเปน ทรกรรมในการกกั ขัง นำไป พงึ เหน็ ในการผูกมดั เปด ไก สุกร ห้ิวหามเอาศรี ษะลง เอาเทาข้ึน ผทู ำเชน นี้ จดั เปนทรกรรมในการนำไป เลนสนุก พึงเห็นในการทง้ึ ปก ทึ้งขาของสัตว มตี ก๊ั แตน และจิง้ หรีด เปนตน เพอ่ื ความสนกุ ของตน ผจญสัตว พึงเห็นในการชนโค ชนกระบือ ชนแพะ ชนแกะ ตีไกก ัดปลา กัดจิ้งหรดี เปน ตน การทรกรรมสัตวท ุกอยา ง จัดเปนอนโุ ลมปาณาติบาต ถูกหามดว ยสกิ ขาบทน้ี เชนกัน อทนิ นาทานา เวรมณี สิกขาบทท่ี ๒ สิกขาบทนี้ ( อทนิ นาทานา เวรมณี ) แปลวา เวน จากถอื เอาสิ่งของทเ่ี จาของไมไ ดให กริ ิยาทถ่ี ือเอา หมายความวา ถือเอาดวยอาการเปนโจร สง่ิ ของทเี่ ขาไมไดให หมายความวา สิ่งของทมี่ ีเจาของท้ังทเี่ ปนสวญิ ญาณกทรัพย ทงั้ ที่เปน อวญิ ญาณกทรพั ยอนั ผเู ปนเจาของไมไ ดย กใหเปน สทิ ธิข์ าด หรอื ส่ิงของทไี่ มใ ชข องใคร (โดยเฉพาะ) แตม ี ผูรักษาหวงแหน ไดแก สิง่ ของที่อุทศิ บชู าปชู นยี วัตถใุ นศาสนาน้ัน ๆ ของกลางในชมุ ชน ของสงฆแ ละของ มหาชนในสโมสรสถานนนั้ ๆ สิกขาบทนี้ บัญญัติขน้ึ ดว ยหวงั จะใหเล้ียงชวี ติ ในทางทชี่ อบ เวนจากการเบยี ดกันและกัน คือไมเ บยี ดเบยี นทรพั ยสินผอู นื่ เม่อื เพง ความประพฤตชิ อบธรรมในทรพั ยส มบัติของผอู นื่ เปนใหญ ดังน้นั จึงไมใชแตโจรกรรม เทาน้ัน แมค วามเลย้ี งชพี อนุโลมโจรกรรม และกิริยาเปนฉายาโจรกรรมก็ถกู หา มตามสิกขาบทนดี้ วย โจรกรรม โจรกรรม ไดแ ก กิริยาทถี่ อื เอาส่ิงของที่ไมมีผูให ดวยอาการเปน โจร เชน ปลน สะดม ลัก ขโมย ตชี ิงวงิ่ ราว กรรโชค คอื ใชอาชญาขมขู และทุจริตคอรปั ช่นั เปน ตน พระธีรวฒั น์ จนฺทโสภโณ : วดั ไผ่เงนิ โชตนาราม | ธรรมช้ันตรี 76

77 ความเล้ยี งชีพอนโุ ลมโจรกรรม อนโุ ลมโจรกรรม ไดแก กิรยิ าท่ีแสวงหาทรัพยพัสดใุ นทางไมบ รสิ ุทธิ์อันไมถ ึงเปนโจรกรรม ตัวอยา งเชน สมโจร ไดแ กกิรยิ าที่อดุ หนุนโจรกรรม เชนรบั ซอ้ื ของโจร เปน ตน ปอกลอก ไดแ กกริ ยิ าทค่ี บคนดว ยอาการไมซ่ือสตั ย มงุ หมายจะเอาแตทรพั ยส มบัติของเขา ถา ยเดียว เมอ่ื เขาหมดตวั แลว กท็ งิ้ ไป รับสินบน ไดแ กก ิรยิ าท่ีถอื เอาทรพั ยพัสดทุ ี่เขาให เพือ่ ชวยทำธุระใหแ กเขาในทางท่ีผิด เชน เจาหนาทรี่ ับสนิ บนจากผูรา ยแลวปลอยใหพนความผดิ เปน ตน ทรพั ยพ ัสดุทไ่ี ดมาดวยมิจฉาชีพเชน น้ี กเ็ ปนดจุ เดยี วกันกบั ของทไ่ี ดมาดว ยโจรกรรมไมท ำความสขุ ใหเกิดแกผไู ด กลบั เปน ปจจยั แหง ความเส่อื มของผนู ัน้ ใหเ สียทรัพย เสียช่อื เสียง เสยี ยศศกั ด์ิผูรักตัวควรเวน ความหาเลย้ี งชีพอนโุ ลมโจรกรรมนเ้ี สยี แสวงหาทรพั ยพ ัสดุเลี้ยงตนและคนที่ควรจะเล้ียงในทางที่ชอบดว ย น้ำพกั นำ้ แรงของตนเอง กิรยิ าเปนฉายาโจรกรรม ขอน้ี ไดแ กกิริยาท่ีทำทรัพยพสั ดขุ องผอู น่ื ใหสูญเสีย และเปน สนิ ใชตกอยูแกต น มปี ระเภทดังน้ี ผลาญ ไดแก กิรยิ าทำอันตรายแกทรัพยพสั ดุของผูอนื่ เชน เผาบา นเผารถยนต เผาไร เผานา หรอื แกลง ตดั เงินเดอื นและคาจาง เปนตน หยบิ ฉวย ไดแ กกิรยิ าทีถ่ ือเอาทรพั ยพ ัสดขุ องผูอื่นดวยความงาย เชน บุตรหลาน ผปู ระพฤติเปน พาล เอาทรพั ยข องมารดา บิดา ปูย า ตายายไปใชเ สยี ญาติมิตร เอาทรัพยข องญาติมิตรไปใช โดย มิไดบ อกใหเจา ของรู เปนตน ผูหวงั ความสวสั ดแี กตน พึงเวน กริ ยิ าที่เปนฉายาโจรกรรมเชนนน้ั เสยี นับถือกรรมสทิ ธิข์ องผูอืน่ ในความเปนเจา ของพัสดุ ใหเหมอื นตนประสงคจ ะใหผ อู นื่ เขานบั ถือตนฉะนั้น กรรมหนกั หรือกรรมเบา เมื่อกลาวโดยความเปน กรรม อทนิ นาทาน จัดเปนโทษหนกั เปน ชั้นกันโดยวตั ถุ เจตนา และ ประโยค โดยวัตถนุ ัน้ ถาของที่ทำโจรกรรมมรี าคามาก ทำฉบิ หายใหแกเ จา ของทรัพยมาก ก็มีโทษ มาก โดยเจตนานน้ั ถาถือเอาดวยโลภเจตนากลา กม็ ีโทษมาก โดยประโยคน้ัน ถาถือเอาดวยฆาหรอื ทำรา ยเจาของทรัพย หรอื ประทษุ ราย เคหะสถาน และพสั ดขุ องเขา กม็ โี ทษหนกั พระธีรวัฒน์ จนฺทโสภโณ : วัดไผ่เงินโชตนาราม | ธรรมช้ันตรี 77

78 กาเมสุมิจฉาจารา เวรมณี สิกขาบทที่ ๓ สกิ ขาบทน้ี (กาเมสมุ ิจฉาจารา เวรมณี ) แปลวาเวน จากประพฤติผิดในกามทั้งหลาย คำวา กาม ในท่ีนี้ ไดแก กิริยาที่รกั ใครก นั ในทางประเวณี ขอน้ี บัญญตั ิข้นึ ดวยหวงั จะปอ งกนั ความแตกรา วในหมูมนษุ ย และทำเขาใหไ วว างใจกันและกนั เม่อื เพง ความไมป ระพฤตผิ ิดเปนใหญ จงึ ไดหญิงเปนวตั ถุทีห่ า มของชาย ๓ จำพวก คอื ภรรยาทาน ๑ หญงิ ผอู ยูในพิทักษรักษา เชน หญิงอยูใ นปกครองของบดิ ามารดาหรือญาติทง้ั หลายผูอยูใ น ฐานะเชนน้นั ๑ หญงิ ท่ีจารีตหา ม เชน แมชี หรือทกี่ ฎหมายบานเมืองหาม เปน ตน ๑ หญงิ ๓ จำพวกน้ี จะมีฉนั ทะรว มกัน หรือมริ ว มกนั ไมเปนประมาณชายรวมสังวาสดวย ก็คง เปน กาเมสมุ จิ ฉาจาร ชายผูขมขนื หญิงนอกนี้ คงไมพ นกาเมสมุ ิจฉาจาร เชนเดียวกนั สวนชายกเ็ ปน วตั ถทุ หี่ า มของหญงิ เหมอื นกนั เม่อื ยกขนึ้ กลาวก็ได ๒ จำพวก คอื ชายอ่นื จากสามีเปนวัตถทุ ี่หา มของหญงิ มีสามี ชายท่จี ารติ หามเชน นกั บวช นกั พรต เปนตน เปน วตั ถุที่หามของหญิง ทัง้ ปวง มุสาวาทา เวรมณี สกิ ขาบทท่ี ๔ สกิ ขาบทนี้ (มุสาวาทา เวรมณี) แปลวา เวน จากมุสาวาท ความเท็จไดช ่ือวา มสุ า กริ ยิ าทพี่ ูดหรือแสดงอาการมสุ า ไดช่ือวามุสาวาทในทีน่ ี้ ขอ นี้ บญั ญตั ิขน้ึ ดวยหวังจะหา มความตัดประโยชนท างวาจา เพราะคนทัง้ หลายยอ มชอบและ นบั ถือความจริงดว ยกันทุกคน ผูพูดมสุ าแกคนอนื่ จงึ เปนการตัดประโยชนท า น จัดวา เปนบาป เมอื่ เพงความจรงิ เปนใหญ ดังนัน้ จึงมใิ ชแ ตมุสาเทานั้น แมอนโุ ลมมุสาและปฎิสสวะ ก็ถกู หามตามสิกขาบทนี้ดวย มุสา ขอนี้พงึ กำหนดรูด ว ยลกั ษณะอยา งนี้ วัตถุ (เรอื่ ง) ทีจ่ ะกลา วน้นั ไมเ ปน จริง ผูกลาวจงใจกลาว และกลาวใหคลาดเคล่อื นจากความเปนจรงิ เพอื่ ผูฟ งเขา ใจผดิ การแสดงความเท็จ เพื่อผูอ นื่ เขาใจผิดนน้ั ไมเฉพาะดวยวาจาอยางเดยี ว แมก ารเขียนหนังสือ การใชม ือใหส ัญญาณ การสัน่ ศรี ษะ เปน ตน ก็จดั เปนมุสาวาทได มสุ าน้ัน มปี ระเภทท่จี ะพึงพรรณนาใหเหน็ เปนตวั อยาง ดังน้ี ปด ไดแกม สุ าจัง ๆ ไมอ าศยั มลู เลย เชนเห็นแลวบอกวา ไมเห็นเปนตน เรยี กช่ือตางกันตาม ความมงุ หมายของผูพูด เชนเพื่อยุใหเขาแตกกัน เรียกวาสอ เสยี ด เพ่ือจะโกงทานเรียกวา หลอก เพื่อจะ ยกยอ ง เรียกวา ยอ พดู ไวแลวไมรบั คำ เรียกวา กลบั คำ เปน ตวั อยาง พระธีรวัฒน์ จนฺทโสภโณ : วัดไผ่เงนิ โชตนาราม | ธรรมช้ันตรี 78

79 ทนสาบาน ไดแก กิรยิ าท่เี ส่ยี งสัตยว า จะพดู หรอื จะทำตามคำสาบานแตไมไดต ั้งใจจริงดงั นัน้ เชนพยานทนสาบานแลว เบิกคำเท็จ เปนตวั อยา ง ทำเลห กระเทห ไดแ ก กริ ิยาทีอ่ วดอา งความศกั ดิส์ ทิ ธิ์ อันไมเ ปน จริง เชน อวดรูวิชาคง กระพนั วา ฟน ไมเขา ยิงไมอ อก เปนตน เพอื่ ใหค นหลงเชอ่ื ถอื และพากันนยิ มในตัว เปนอุบายหาลาภ มารยา ไดแ กกริ ยิ าทแ่ี สดงอาการใหเ ขาเห็นผดิ จากที่เปน จริง เชน เปน คนทศุ ลี ทำทาทางให เขาเหน็ วา เปน คนมศี ีล ทำเลศ ไดแ กพูดเลนสำนวน เชนเดนิ ไปพบคนหนึง่ สวนทางมา แลวเดินเลยไปจากท่ีพบนนั้ สมมติวา ๒๐ วา มีคนมาถามวา เห็นคนหนึ่งสวนทางไปไหม ตอบวา ขาพเจาเดินมาตรงนไี้ มเห็นใคร เลยนอกจากผถู าม เสรมิ ความ ไดแกพดู มสุ าอาศยั มูลเดมิ แตเ สริมใหม ากกวา ท่ีเปนจริง เชน โฆษณาเครอ่ื งด่มื หรอื อาหารเสรมิ บางอยางวา เปน ยาชูกำลงั หรอื รักษาโรคมะเร็งได เปน ตวั อยา ง อำความ ไดแกพ ดู มุสาอาศัยมูลเดิม แตตัดขอ ความทไ่ี มป ระสงคจะใหร อู อกเสีย เพ่ือทำ ความเขาใจใหเ ปน อยา งอ่นื เชน นกั เรยี นกลบั จากโรงเรียนแลวไปบา นเพือ่ น ผนู สิ ัยเหมือนกนั แลวพา กันไปเทยี่ วแหลงอบายมุข กลับบานผดิ เวลา บดิ า มารดาถามวา เหตุไฉนจึงกลับบานเชา เขาตอบวาไป บานเพื่อน เปน ตวั อยา ง กรรมหนกั หรอื กรรมเบา เมื่อกลาวโดยความเปนกรรม มุสาวาท จดั วามีโทษหนกั เปนช้นั กนั โดยวตั ถุ เจตนา และ ประโยค โดยวัตถุ ไดแกกลาวมสุ าแกทานผมู ีคณุ แกต น คอื พอ แม ครู เจานาย และผมู ีคุณตอ สวนรวม คอื ผมู ศี ลี ธรรมมีโทษหนกั โดยเจตนา คอื ถา ผพู ูดคดิ ใหร ายแกท า น เชน ทนสาบานเบิกความเทจ็ กลาวใสความทาน หลอกลวงเอาทรพั ยทาน เปนตน มีโทษหนัก โดยประโยค คือ ถาผพู ูดพยายามสรางเรอ่ื งเท็จ เชน มุสาวา จะสรา งวัด แลว พมิ พใ บฎีกาเร่ียไร อางสถาบนั อา งองคก รการกศุ ลตาง ๆ มาหลอกลวงทรพั ย สนิ เงินทองชาวบา นมีโทษหนกั อนโุ ลมมสุ า ขอน้ีพึงกำหนดรูดวยลักษณะอยา งน้ี วัตถุ (เร่อื ง) ท่ีจะกลาวนน้ั ไมเ ปน จริง แตผ ูกลาวไมจงใจ จะกลาวใหผูฟง เขาใจผิด มีประเภทที่จะพึงพรรณนาใหเห็นเปน ตัวอยา ง ดังน้ี เสียดแทง ไดแ กก ิริยาท่วี าผอู ื่นใหเจ็บใจ ดว ยอา งวตั ถุทีไ่ มเปนจริง กลาวยกใหสูงกวาพืน้ เพ ของเขา เรียกวา ประชด หรอื กลาวทำใหเ ปน คนเลวกวา พน้ื เพของเขา เรียกวาดา สับปลบั ไดแกพดู ปดดว ยความคะนองวาจา แตผ ูพดู ไมไดจ งใจจะใหเขา เขาใจผดิ เชน รับปาก หรือปฏเิ สธใครงาย ๆ แลวไมปฏบิ ัติตามที่รับหรือปฏิเสธน้ัน พระธีรวฒั น์ จนฺทโสภโณ : วดั ไผ่เงนิ โชตนาราม | ธรรมช้ันตรี 79

80 ปฏสิ สวะ ปฏิสสวะ คอื เดมิ รับทา นดว ยเจตนาบริสทุ ธิ์ คิดจะทำตามรบั ไวจ รงิ แตภายหลังหาทำอยางนน้ั ไม พึงเห็นตัวอยา งดังน้ี ผิดสญั ญา ไดแกท ้ังสองฝายทำสัญญาแกกันไววา จะทำเชนน้ัน ๆ แตภ ายหลังฝายใดฝา ยหนง่ึ ไมทำตามขอ ทส่ี ญั ญาไว เสียสัตย ไดแกใหส ัตยแ กท านฝา ยเดยี ว วา จะทำหรอื ไมทำเชน นัน้ แตภายหลังไมทำตามนั้น เชนใหส ัตยว าจะเลกิ คายาบา แตพ อไดโอกาสก็คาอกี เปนตน คนื คำ ไดแ กร ับปากทา นวาจะทำสิง่ นั้นสิ่งนี้ แตไมทำตามพดู เชน รับปากจะใหส่ิงนัน้ ๆ แก ทา นแลว หาใหไ ม สุราเมรยมชั ชปมาทฎั ฐานา เวรมณี สิกขาบทคำรบ ๕ สิกขาบทนี้ (สุราเมรยมัชชปมาทัฎฐานา เวรมณ)ี แปลวา เวนจากดื่มนำ้ เมา คอื สรุ าและเมรัย อันเปน ทต่ี ้งั แหง ความประมาท โทษของสุราและส่งิ มนึ เมา สุราทำ ใหเกดิ ความเมา ความเมา ทำใหขาดสติ ความขาดสติ ทำใหหลงผิด ความหลงผิด เปน เหตุใหพดู ผิดและทำผิด ผพู ูดผดิ ทำผดิ ทคุ ติเปนอนั หวงั ได เพราะฉะนนั้ สรุ าและสิ่งมึนเมาทุกชนิด จึงไมควรดื่ม และไมควรเสพ แตนักด่ืม และนกั เสพส่ิงเสพติดท้งั หลายมกั จะเห็นผดิ เปนชอบ มองเห็นสิง่ ทีม่ โี ทษวามคี ุณ มองสุราวาทำใหลมื ความทกุ ขได จึงตัง้ ชือ่ วา บรมสรางทุกข มองฝนวาเสพแลวทำใหเปนคนอารมณเ ยอื ก เยน็ ไมอาทรรอนใจอะไร จงึ ตง้ั ชอ่ื ใหวา สุขไสยาศน มองกญั ชาวา สบู แลว ทำใหจ ิตไรว ิตกกังวล นอน หลับไดส นทิ จึงต้ังชื่อใหวา เทวราชบรรทม แตความจริงไมไดเปน เชนนัน้ การที่เขาลมื ความทุกขก็ดี การ ทเ่ี ขานอนอยางมคี วามสขุ กด็ ี การทจ่ี ิตใจของเขาไรค วามวติ กกังวลกับส่งิ ตาง ๆ กด็ ี ลว นเปน ผลมาจากการ เมาสรุ าและยาจนขาดสตสิ ัมปชญั ญะ ท่จี ะรสู ึกถงึ ความผิดชอบชว่ั ดที ัง้ สิ้น เมื่อฤทธ์ิสรุ าและยาหมดไป จิตใจก็กลับทุกขอ ยา งเดมิ ตองเสียทรพั ยไ ปซอื้ หาสิง่ เหลา น้นั มาเสพอีก ทงั้ ทำใหเ ปนคนเกียจคราน ไม ประกอบอาชพี การงาน มแี ตลางผลาญทรพั ยอ ยา งเดียว ดังนน้ั ที่ถกู สรุ าควรต้งั ชอื่ วา บรมสรางทุกข ฝน ควรต้ังชอื่ วาสุขพินาศ กญั ชาควรตั้งช่ือวา ปศ าจนบ รรทม รวมสุราและยาเสพตดิ ทุกอยางควรต้ังชือ่ วา บรมลา งผลาญ เพราะผลาญทรพั ยสนิ เงนิ ทอง เกยี รติยศช่อื เสยี ง และคณุ งามความดี จนหมดส้ิน เพราะฉะน้ัน สุราและสิ่งเสพตดิ ท้งั หลายจึงเปน สง่ิ ทไ่ี มค วรด่ืม ไมควรเสพ หรือแมแ ตเพยี งจะทดลอง พระธีรวฒั น์ จนฺทโสภโณ : วัดไผ่เงินโชตนาราม | ธรรมช้ันตรี 80

81 วริ ตั คิ ือความละเวน บคุ คลผูเวน จากขอ หา มในสกิ ขาบท ๕ ประการนัน้ ไดช ื่อวา ผมู ีศลี กิริยาท่เี วน เรียกวา วริ ตั ินนั้ มี ๓ ประเภท คอื ๑. สมั ปต ตวริ ตั ิ ๒. สมาทานวริ ตั ิ ๓. สมจุ เฉทวิรัติ ๑. สมั ปตตวิรตั ิ แปลวา ความละเวนจากวัตถอุ นั ถึงเขา โดยไมไดต ั้งสตั ยป ฏญิ าณไวลวงหนา แตบ คุ คลนน้ั พิจารณาเห็นการท่ที ำดังนนั้ ไมสมควรแกต นโดยชาติตระกูล ยศศกั ด์ิ ทรัพย บรวิ าร ความรู หรอื มใี จเมตตาปรานี คิดถงึ เราบาง เขาบาง มหี ิริ คอื ความละอายแกใจ มีโอตตัปปะ คือ ความ เกรงกลวั จะไดบาป หรอื คิดเห็นประโยชนในการเวนอยางอืน่ ๆ อีก และเขาไมก ระทำกรรมเห็นปานนนั้ สวนบุคคลผูไ มม ีโอกาสจะทำ เชน คนหวั ขโมยยังไมไดท ว งที ยงั ลักของเขาไมไ ด จึงเวนไวกอ น ดงั นี้ ไมจ ัดวาเปนวิรัติเลย ๒. สมาทานววิ ตั ิ แปลวา ความละเวนดวยการสมาทาน ไดแ กค วามละเวนของพวกคนจำ ศีล เชน ภกิ ษุ สามเณร อบุ าสก และอุบาสิกา เปน ตน การงดเวน จากวัตถอุ นั ถงึ เขา ดว ยเห็นวา ไมสมควรจะทำ และการงดเวน ดวยการสมาทาน คือ การไมลว งขอ หา มของนักบวช นกั พรตทงั้ หลาย นอกจากจะจัดเปน วตั แิ ลว ยงั จัดเปนพรต คอื ขอ ควรประพฤติของเขาดว ย ๓. สมุจเฉทวริ ตั ิ แปลวา ความละเวนดว ยตดั ขาด ไดแก ความเวน ของพระอริยเจา ผมู ี ปกติไมประพฤติลวงขอหามเหลาน้ันจำเดมิ แตทา นไดเ ปน พระอริยเจา ศลี ๕ ประการนี้ เปนวนิ ยั ในพระพทุ ธศาสนา สาธารณะแกบรรพชติ และคฤหัสถทง้ั สอง ฝาย ผูถ อื พระพุทธศาสนาแทจรงิ ยอมรักษายง่ิ บา ง หยอ นบา ง ตามภมู ขิ องเขา ฝายผไู มไ ดร กั ษาเสียเลย จะเปน ไดดีท่ีสุดก็แตเ พียงผูสรรเสริญพระพุทธศาสนาเทาน้ัน เบญจกลั ยาณธรรม ผูเวนจากขอหา มทั้ง ๕ ดงั กลาวมา ไดช่อื วา เปนผูมีศลี ผมู ศี ีลยอมไมทำหรอื พูดอะไรทส่ี ราง ความทุกข ความเดอื ดรอนใหแกตนเอง และผอู น่ื แตจ ะไดชื่อวา มกี ัลยาณธรรมทว่ั ทุกคน หามิได ตาง วาคนมศี ีลผูห นึ่ง พบคนเรอื ลม วา ยนำ้ อยเู ขาสามารถจะชวยได แตหามีจิตกรณุ าชว ยเหลอื ไม และคนนั้น ไมไดความชวยเหลอื จึงจมนำ้ ตาย เชน น้ี ศีลของเขาไมข าด แตปราศจากกรุณา ยังเปน ทน่ี าตเิ ตยี น เพราะสว นน้ัน จะจัดวาเขามีกัลยาณธรรมไมได ถาเขาเหน็ ดังน้นั แลว มกี รณุ าเตือนใจ หยดุ ชว ยคนน้นั ใหพ น อนั ตรายเชน นี้ จึงไดชือ่ วา มี ทง้ั ศีล มีท้ังกัลยาณธรรม กลั ยาณธรรมนั้น แปลวา ธรรมอันงาม กลา วโดยความก็คอื ขอ ปฏิบัตพิ ิเศษยง่ิ ขนึ้ ไปกวาศีล ไดใ นสิกขาบทนนั้ ๆ เอง ในสกิ ขาบทที่ ๑ ไดก ลั ยาณธรรม คือ เมตตากบั กรณุ า ในสิกขาบทท่ี ๒ ไดกัลยาณธรรม คอื สัมมาอาชวี ะ ในสกิ ขาบทท่ี ๓ ไดกลั ยาณธรรม คอื ความสำรวมในกาม ในสกิ ขาบทที่ ๔ ไดก ลั ยาณธรรม คือ ความมสี ตั ย พระธรี วฒั น์ จนฺทโสภโณ : วัดไผ่เงินโชตนาราม | ธรรมช้ันตรี 81

82 ในสิกขาบทที่ ๕ ไดก ัลยาณธรรม คือ ความมีสติรอบคอบ กลั ยาณธรรมในสิกขาบททตี่ น เมตตา ไดแก ความคิดปรารถนาจะใหเขาน้นั เปน สขุ ตนไดส ุขสำราญแลว กอ็ ยากใหผ อู ่ืนได บา ง คุณขอ นเี้ ปน เหตุใหสัตวคดิ เกอ้ื กลู กนั และกนั วดั โรงเรยี น โรงพยาบาล โรงเลีย้ งเด็ก สถานสงเคราะหต าง ๆ มูลนิธกิ ารกศุ ลตา ง ๆ เปน ตน ลวนเกดิ มาจากความคดิ เผื่อแผความสุขใหแกผอู นื่ ท้งั สนิ้ จึงไดบ ริจาคทรัพยข องตนสราง ปฏสิ ังขรณห รือทำนุบำรุง สถานทน่ี ัน้ ๆ สำหรับผอู น่ื ไดร ับประโยชนบาง ผใู ด ถงึ เวลาที่ผอู ่นื ควรจะไดเมตตาจากตวั อาจอยแู ละหาเหตขุ ดั ขอ งมไิ ด แตห าแสดงไม เชนมี ลูกแลว ยังไมเ อาเปน ธรุ ะเล้ียงดูรักษา พบคนขัดสนอดขา วไมมจี ะบริโภคมาถงึ เฉพาะหนาและตนอาจอยู แต หาใหไ ม ผูน้นั ไดช อื่ วา คนใจจืด เห็นแตป ระโยชนสวนตวั มีหนขี้ องโลกติดตัวอยเู พราะไดรับอุปการะของโลก มากอ นแลว เม่อื ถงึ เวลาเขาบา งไมตอบแทน กรุณา ไดแก ความคิดปรารถนาจะใหเ ขาปราศจากทกุ ข เมอ่ื เหน็ ทกุ ขเ กิดแกผูอื่น ก็ พลอยหวั่นใจไปดว ย คุณขอนเ้ี ปนเหตใุ หสัตวคิดชว ยทกุ ขภยั ของกันและกนั การแสดงกรณุ าน้ี เปน หนา ที่ของมนษุ ยท ุกคนควรกระทำ เพราะตนเองกเ็ คยไดรบั กรณุ าแต ทา นผอู ืน่ มาแลว เปนตน วา เมื่อยังเลก็ มารดา บดิ า หรอื ทา นผอู นื่ ผบู ำรุงเล้ยี งก็คอยปองกันอนั ตรายตา ง ๆ ที่จะพงึ มีมา เชน เจ็บไขก ็ขวนขวายหาหมอรักษา เปนตน และตนเองกย็ งั หวังกรุณาดงั น้ันของทา น ผอู ื่นตอ ไปขา งหนา อีก เม่ือถงึ เวลาท่ีจะตอ งแสดงกรุณาแก ผอู ื่นเชนน้ันบา ง จึงควรทำ ผใู ดอาจอยแู ตห าแสดงไม เชน เหน็ คนเรอื ลมท่ีนา กลวั จะเปน อันตรายถึงชวี ติ และไมช วยดังแสดง มาแลว ในหนหลัง หรอื พบคนเจบ็ ไขตามหนทางไมม ีใครอุปถัมภผ านไปดว ยไมสมเพชและไมขวนขวายอยา ง หน่ึงอยา งใด ผนู นั้ ไดช ือ่ วา คนใจดำ มีแตเอาเปรยี บโลก มีแตห วังอุปการะของโลกขา งเดยี ว เมื่อถึงเวลา เขาบา ง เฉยเสียไมต อบแทน การชวยเหลอื ผูประสบภัย การไถชวี ติ สัตวจากโรงฆา สัตว การปลอ ยนกปลอ ยปลาเปนตน ลว นเกิดจากจติ ใจทม่ี ีความกรุณาทั้งส้นิ ความมีเมตตากรุณาแกก ันและกนั เปน ธรรมอันงามก็จริง ถงึ อยา งนั้น ผูจะแสดงควรเปนคน ฉลาดในอบุ าย ประโยชนจงึ จะสำเรจ็ ถา ไมฉลาด มุงแตจะเมตตากรุณาอยางเดยี ว บางอยา งกเ็ กิดโทษ ได เชน เห็นเขาจับผรู ายมา คิดแตจ ะใหผูรายรอดจากอาญาแผน ดนิ และเขาแยงชงิ ใหห ลุดไปดังนี้ เปน การเมตตากรุณาทผ่ี ิด และเปนการกระทำท่ีผิดกฎหมายอกี ดว ย จึงเปนกิจท่ไี มสมควรทำ ในสถานการณ เชนน้ี ควรต้ังอยใู นอุเบกขา ถือเสียวา เขามีกรรมเปน ของเขา การแสดงเมตตากรณุ านี้ บุคคลประกอบใหถกู ทแ่ี ลว ยอ มอำนวยผลอนั ดใี หแกผปู ระกอบและผู ไดร ับ ทำความปฏบิ ัตขิ องผมู ศี ีลใหง ามขน้ึ เหมอื นดงั เรือนแหวน ประดบั หัวแหวนใหงามขนึ้ ฉะนั้น จึงได ชอ่ื วา เปน กัลยาณธรรม ในสกิ ขาบทท่ีตน พระธีรวฒั น์ จนฺทโสภโณ : วัดไผ่เงนิ โชตนาราม | ธรรมช้ันตรี 82

83 กลั ยาณธรรมในสกิ ขาบทท่ี ๒ สมั มาอาชวี ะ ไดแกค วามเพียรเลย้ี งชีวิตในทางทีช่ อบ คุณขอ น้ี อดุ หนนุ ผูมีศลี ใหสามารถรกั ษา ศลี ใหมัน่ คง แทจ รงิ ผูมศี ลี แมเวน การหาเลย้ี งชีวิต โดยอุบายทีผ่ ิดแลว กย็ ังตองประกอบดวยกริ ยิ าที่ ประพฤตเิ ปน ธรรม ในการหาเลย้ี งชีวติ ดว ย กริ ิยาท่ปี ระพฤตเิ ปนธรรมในการหาเลี้ยงชวี ติ น้ี พงึ เหน็ ในกิจการในบุคคล และในวตั ถุดงั จะ พรรณนาไปตามลำดบั ความประพฤติเปน ธรรมในกิจการนัน้ เชน ผูใด เปน ลกู จางก็ดี หรอื ไดรบั ผลประโยชนเ พราะทำ กิจการอยา งใดอยางหนึ่งกด็ ี ผูน้ัน ยอ มทำการอนั เปนหนา ท่ีของตนนน้ั ดว ยความอุตสาหะเอาใจใส และ ดวยความต้ังใจจะใหก ารน้นั สำเร็จดว ยดี และ การทำเตม็ เวลาที่กำหนดไวส ำหรับทำการ มาเชากอน กำหนด เลกิ ทีหลงั กำหนด และในกำหนดทีท่ ำกไ็ มบดิ พลว้ิ หลีกเล่ยี งจากการงาน ดงั นีไ้ ดชอื่ วา ประพฤตเิ ปนธรรมในกจิ การ ความประพฤตเิ ปน ธรรมในบคุ คลนน้ั เชน บุคคลไดเ ปน ผูด ูการ มีผูอ่ืนเปนลูกมอื อยูใ ตบ ังคบั ผู นน้ั เม่ือจบั จา ยคา จา ง ยอมใหต ามสญั ญา หรอื ตามแรงของเขา อีกอยา งหน่ึง เชนผูขายของ เมือ่ ซื้อ สินคา แลว กำหนดวา จะเอากำไรรอ ยละเทาไรแลว และกำหนดราคาสิ่งของลงไวผ ูใด ผหู นึ่งมาซ้อื เปน ผูมีบรรดาศักดิ์สูงกต็ าม เปนคนสามญั ก็ตาม กข็ ายเทาราคานัน้ ย่งั ยนื เสมอไป ไมป ระพฤตเิ ปนคนเห็น แกไ ด เชน เห็นคนเซอะซะมา ไมรูร าคาส่ิงของก็บอกผา นราคาแพง ๆ ถา เหน็ คนซ้อื มีไหวพรบิ กข็ ายตามตรง ดงั น้ีไดช ่ือวา ประพฤติเปน ธรรมในบคุ คล ความประพฤติเปนธรรมในวตั ถุนั้น เชนคนขายของ ขายส่งิ อะไร เชน นม เนย น้ำผ้ึง ขีผ้ ้ึง เปนตน เปนของแทหรอื ของปน กบ็ อกตามตรงไมขายของปนอยางของแท การขายของปลอม เชนนีไ้ มเ ปนเพียงลวงใหผซู ้อื เสียทรพั ยเตม็ ราคา ยังหักประโยชนข องผูซื้อใหเสยี ดวย เชน จะตอ งการนำ้ ผึ้ง แทไ ปทำยา ไดน้ำผ้งึ ปนมาทรพั ยก ต็ อ งเสยี เทา ราคาน้ำผ้ึงแท และน้ำผงึ้ ปนนั้น กเ็ ปนกระสายยาไมดี มิ เหมอื นนำ้ ผงึ้ แท อน่งึ ของกินที่ลว งเวลาเปน ของเสียแลว จะใหโ ทษแกผ ูก นิ ก็ไมแตง ปลอมเปน ของดีขาย ขายของเชนนร้ี า ยกวาขางตน อาจทำใหผูก ินเสียชีวติ หรอื เจ็บไขไดทกุ ข ขอนีพ้ งึ เห็นตัวอยา งในแกงทีค่ า ง คืนบูดแลว อุนขายอีก อกี อยา งหนงึ่ เชนทำสญั ญารับจะสรา งเรอื น และมีกำหนดวา จะใชของชนิดน้ัน ๆ ก็ทำตรง ตามสญั ญา ไมยกั เยือ้ งไมผอนใชของชน้ั ท่ี ๒ แทนของชั้นท่ี ๑ ดังนี้ ชอื่ วา ประพฤติเปนธรรมในวัตถุ ควรเวนการงานอนั ประกอบดวยโทษ ผจู ะเลอื กหาการงาน ควรเวน การงานอนั ประกอบดวยโทษเสยี แมเปน อบุ ายจะไดท รัพยม าก เหตทุ รัพยท ีเ่ กดิ เพราะการงานประกอบดวยโทษนน้ั ไมย ังประโยชนข องทรัพยใหส ำเร็จเต็มท่ี อีกขอหน่งึ การงานทตี่ อ งเสีย เชน การพนัน กไ็ มควรเลือก เหตุวา พลาดทาก็ฉบิ หาย ถา ได ทรัพยน ั้นก็ไมถาวรดวยเหตุ ๒ ประการ (๑) เปน ของไดม างาย ความเสียดายนอ ย จบั จา ยงาย เก็บไมค อ ยอยู (๒) ความอยากไดไ มมีท่สี ุด ไดม าแลวก็คงอยากไดอ กี เคยไดใ นทางใด ก็คงหาในทาง น้นั อีก เมื่อลงเลนการพนันไมห ยดุ จะมีเวลาพลาดทา ลงสักคราวหน่งึ กเ็ ปนได พระธรี วฒั น์ จนฺทโสภโณ : วัดไผ่เงนิ โชตนาราม | ธรรมช้ันตรี 83

84 เหตดุ ังน้ัน ควรเลือกหาการงานท่จี ะตอ งออกกำลังกาย กำลังความคิดหรอื ออกทรัพยท ีใ่ หผนู ั้น รูสึกวา ตอ งลงทุน เมอ่ื ไดท รัพยมาจะไดรจู ักเสยี ดาย ไมใชสอยสรุ ุยสุรา ยเสยี ควรรักษาทรัพยใหพ น อนั ตรายและใชจ า ยพอสมควร ทรพั ยท่ไี ดมาดวยความหมั่นทำการงานนัน้ จะเจรญิ ม่ังคง่ั กเ็ พราะเจาของเอาใจใสรักษาใหพน อนั ตรายตา ง ๆ ทเ่ี กดิ แตเ หตุภายในคอื ตนเอง หรือบุตรภรรยาใชสอยใหส้ินเสีย เพราะเหตุไม จำเปน และเกิดแตเหตภุ ายนอก เชน โจรนำไปเสยี หรือไฟผลาญเสีย เปนตน และเจา ของควรจบั จา ยใชสอยแต พอสมควรไมฟมู ฟายเกินกวา ท่ีหาได หรือเกนิ กวาที่ตองการ และไมเบยี ดกรอจนถึงกบั อดอยาก ขยนั ทำงานสนบั สนุนการรักษาศีล ผูประกอบการงาน พึงมีอุตสาหะอยา ทอถอย จงดเู ยี่ยงแมลงผึ้งบินหาเกสรดอกไม นำมาทีละ นอ ย ๆ ยังอาจทำน้ำผ้ึงไวเล้ยี งตัว และลูกนอยไดตลอดฤดูหนาวท่กี นั ดารดวยดอกไม เม่อื เขาหมัน่ ทำการ งาน ไดทรพั ยมาจับจายเล้ียงตนและครอบครัวบา ง เกบ็ ไวเ พอ่ื เหตุการณขา งหนาบางเสมอไป ถึงไมม าก แตเพยี งคราวละนอย ๆ กพ็ อจะทำตนใหเปน สุขสำราญ และไมต อ งประกอบการทจุ รติ เพราะความเลี้ยง ชวี ิตเขา บีบคน้ั เปน อันรักษาศลี ใหบ รสิ ุทธไ์ิ ด ดังนีแ้ ล สัมมาอาชวี ะ เปน คณุ อดุ หนุนศลี ใหบรสิ ุทธม์ิ น่ั คงจึงไดชื่อวาเปนกัลยาณธรรมใน สิกขาบทท่ี ๒ กลั ยาณธรรมในสกิ ขาบทท่ี ๓ ความสำรวมในการนน้ั ไดแกกริ ิยาทร่ี ะมดั ระวัง ไมป ระพฤติมักมากในกามคณุ ขอน้สี องความ บริสุทธิผ์ องใสของชายหญิง ใหกระจางแจมใส เพราะชายหญงิ ผเู วนจากกาเมสุมิจฉาจารแลว แตยัง ประพฤตมิ กั มากอยูใ นกาม ยอ มไมมีสงา ราศรตี กอยใู นมลทนิ ไมพ น จากความติฉนั ไปได ธรรมขอน้แี ยกตามเพศของคน ดังน้ี สทารสันโดษ คือ ความสนั โดษดวยดวยภรรยาของตน เปน คณุ สำหรบั ประดับชาย ปตวิ ตั ร คอื ประพฤตเิ ปนไปในสามีของตน เปน คุณสำหรบั ประดบั หญงิ ชายไดภรรยาแลว มคี วามพอใจดว ยภรรยาของตน ชวยกนั หาเล้ยี งชีวิต เลี้ยงดกู นั ไปไมละทง้ิ ไมผ ูกสมคั รรักใครกบั หญงิ อื่นอกี ตอไป ดังน้ี ไดชอื่ วา สันโดษดว ยภรรยาของตนเปนอยา งอกุ กฤษฏ ฝายหญงิ ไดสามแี ลว เอาใจใสบ ำเรอสามีของตนทกุ อยา งตามที่ภรรยาจะทำใหดีท่ีสุด ผกู สมัครรักใครแ ตในสามขี องตน ท่สี ุดสามีของตนตายไปกอนแลว ดว ยอำนาจความรักใครนบั ถอื ในสามีผตู าย ไปแลว เขาคงตัวเปน หมา ยอยูด งั น้ันไมม สี ามีใหม ไมผกู สมคั รรกั ใครในชายอน่ื ดว ยความปฏพิ ทั ธอ กี ตอไป หญิงผนู ้ี ไดช อื่ วา มปี ตวิ ตั ร ประพฤติเปน ไปในสามีของตน ความสำรวมในกาม สองความประพฤติดงี ามของชายหญงิ ยิ่งขึ้น จึงไดช ่อื วา กลั ยาณธรรมใน สิกขาบทที่ ๓ พระธรี วฒั น์ จนฺทโสภโณ : วัดไผ่เงนิ โชตนาราม | ธรรมช้ันตรี 84

85 กลั ยาณธรรมในสกิ ขาบทที่ ๔ ความมีสตั ยนั้น ไดแกก ริ ิยาทป่ี ระพฤติตนเปน คนตรงมีอาการทีจ่ ะพึงเหน็ ในขอ ตอไปนี้ ความเที่ยงธรรม คอื ประพฤตเิ ปน ธรรมในกจิ การอันเปนหนา ทขี่ องตน ไมท ำใหผ ิดกจิ ดว ย อำนาจอคติ ๔ ประการ คอื ฉนั ทาคติ ความเหน็ แกก ัน ๑ โทสาคติ ความเกลยี ดชงั กนั ๑ โมหาคติ ความหลงไมร ทู ัน ๑ ภยาคติ ความกลวั พึงเหน็ ตัวอยางผูพพิ ากษา ผวู ินจิ ฉัยอรรถคดีโดยเท่ียงธรรม เปน ตน ความซื่อตรง คอื ความประพฤติตรงตอ บุคคลผเู ปน มติ ร ดวยการอุปการะเกอื้ หนนุ รวมสุขรวม ทกุ ข คอยตักเตอื นใหส ติ แนะนำส่ิงท่เี ปน ประโยชน มีความรกั ใครกนั จรงิ ไมค ิดรายตอมติ ร เชน ปอกลอกเอาทรพั ยส ินเงนิ ทองเปนตน มิตรเชนนไ้ี ดชอื่ วา ซื่อตรงตอ มติ ร ความสวามภิ ักดิ์ คอื ความรกั ในเจา (เจานายผใู หญ) ของตน เมือ่ ไดยอมยกบุคคลใดเปน เจาของตนแลว ก็ประพฤติซอื่ สตั ยไ มค ดิ คดตอ บุคคลน้ัน มีใจจงรัก เปน กำลังในสรรพกิจ และปองกัน อันตราย แมชีวติ ก็ยอมตายแทนได ความกตัญู คือ ความรอู ุปการะที่ทา นไดทำแลวแกตน เปน คกู ับความกตเวที คือ ความ ตอบแทนใหท า นทราบวา ตนรอู ปุ การะที่ทานไดท ำแลว บคุ คลผไู ดร ับอุปการะจากทานผใู ดแลว ยกยอ งนับถอื ทานผูน้ัน ต้ังไวในท่ีผูม ีบุญคณุ เชน มารดา บดิ า อาจารย เจา นายเปนตน ไมแสดงอาการลบหลู และยกตนเทียบเสมอ ไดชอ่ื วาคน กตัญู ความมสี ตั ย ทำผมู ศี ีลใหบริบรู ณดว ยคณุ สมบัตยิ ง่ิ ขึ้น ดังน้ี จงึ ไดชื่อวา เปนกัลยาณธรรมใน สิกขาบทท่ี ๔ กัลยาณธรรมสิกขาบทคำรบ ๕ ความมสี ตริ อบคอบนัน้ ไดแ กความมีสติ ตรวจตราไมเลินเลอ มีอาการทจ่ี ะพึงเหน็ ในขอตอไปน้ี ๑. ความรจู กั ประมาณในอาหารท่จี ะพึงบรโิ ภค หมายถึง รจู ักเวน อาหารทีแ่ สลงโรค บรโิ ภคอาหารแตพ อดี และรูจกั ประมาณในการจับจา ยหาอาหาร บริโภคแตพอสมควรแกกำลงั ทรัพยท หี่ าได ๒. ความไมเลินเลอในการงาน คอื ไมทอดธรุ ะเพกิ เฉยเสีย เอาใจใสคอยประกอบใหช อบ แกกาลเทศะ ไมปลอ ยใหอ ากลู เสือ่ มเสีย เชน ทำนาก็ตอ งทันฤดู คาขายกต็ อ งรูคราวทค่ี นตอ งการหรอื ไม ตองการของน้ัน ๆ รับราชการกต็ องเขา ใจวิธดี ำเนินและรกั ษาระเบียบ เปน ตน ๓. ความมีสติสมั ปชัญญะในการประพฤติตัว หมายถึงความรอบคอบ รูจ กั ระวังหนาระวงั หลัง จะประกอบกจิ ใด ๆ ก็ตรติ รองใหเ หน็ กอนวา จะมคี ุณหรอื มีโทษ จะมีประโยชนหรือจะเสีย ประโยชน อนั จะควรทำหรือไมควรทำ ถาเห็นวา ไมควรทำก็งดเสียถาเห็นวาควรทำ จึงทำ ถึงจะพดู อะไรก็ระวงั วาจา ลัน่ ออกมาแลวไมตองคนื คำ และไมใหนำแตความเสยี หายมาใหตวั และผูอน่ื ถงึ จะคิดอะไรกอ็ าศัยหลกั ฐาน ไมป ลอยใหพ ลานไปตามกำลังความฟุง พระธรี วฒั น์ จนฺทโสภโณ : วัดไผ่เงินโชตนาราม | ธรรมช้ันตรี 85

86 บคุ คลมสี ัมปชัญญะ ตรวจทางไดทางเสียกอนแลวจึงทำกจิ น้นั ๆ เชนนี้ ยอ มมีปกติทำอะไรไม ผดิ ในกจิ ท่ีเปนวิสัยของคน ๔. ความไมประมาทในธรรมะ หมายถึงไมป ระมาทในธรรม คือสภาวะอนั เปน อยูตาม ธรรมดาของโลก อธิบายวา กริ ิยาท่รี า งกายวิปรติ แปรผัน จากหนุมสาวมาเปน ผมหงอก ฟนหลดุ เนื้อหนัง หยอนเปน เกลียว ตกกระ หลงั โกง ตามืด หตู งึ ใจฟน เฟอนหลงใหล มกี ำลงั นอ ยถอยลง ชอ่ื วาชรา ความไมผ าสุกเจ็บไขไ ปตาง ๆ ของสงั ขารรางกาย ชอ่ื วา พยาธิ กิริยาท่ีธาตุท้งั ๔ ชราพยาธิ และ มรณะท้งั ๓ นี้ เปนสภาวะของสังขารอยางหนึง่ ซง่ึ มนุษยย งั ไมมีอบุ ายแกไขใหไมแกไ มเจ็บ ไมต าย ตงั้ แตกาลนานมา จนถึงปจ จบุ นั น้ี ผูห ย่งั รูธรรมดาของสังขารเชน น้แี ลว ไมเลนิ เลอมวั เมาในวัย ในความสำราญ และในชีวติ เตรียมตัวท่ีจะรบั ทกุ ข ๓ อยา งน้ี อนั จะมาถงึ เมอ่ื ยงั เปนเดก็ รบี ศกึ ษาแสวงหาวิชาความรไู วเ ปน เครื่องมอื เติบใหญห มนั่ ทำการงาน สงั่ สมเมือ่ ชรา พยาธิ ครอบงำ ไมอ าจทำการหาเล้ียงชีพได กจ็ ะ ไดอ าศยั ทรัพยแ ละชือ่ เสียงคุณความดี ที่ไดสั่งสมไวเล้ยี งชพี ใหต ลอดไปโดย ผาสุข เม่ือมรณะมาถงึ ก็จะไดไมห วงใยพะวักพะวน สงิ่ ใดสงิ่ หนึ่ง ซง่ึ เปนอาการของคนหลงตายเชน นี้ ไดชือ่ วา ไมป ระมาทในธรรม คือสภาวะอนั เปนอยูตามธรรมดาของโลก อกี ประการหนงึ่ ทจุ ริต คือ ความประพฤติชวั่ ดว ย กาย วาจา และใจ ยอ มให ผลแก ผูกระทำ ลวนแตเปน สว นท่ีไมน า ปรารถนา รกั ใคร พึงใจใคร ๆ จะเลนิ เลอเสยี วา ตนทำแตเ ลก็ นอ ยไม เปน ไร ไมพอจะใหผลทำใหต นเสีย ดงั นัน้ ไมช อบ มากมาแตไหน กม็ าแตน อ ยกอ น เขาทำทลี ะนอ ยยาม ใจเขา ความชว่ั กส็ ะสมมากข้ึน อีกอยา งหนึ่ง สุจรติ คอื ความประพฤติชอบดวยกาย วาจา ใจ ยอ มใหผลแกผทู ำ ลว น แตสวนทน่ี า ใหป รารถนา รักใคร พงึ ใจ ใคร ๆ จะเห็นวา ทำแตเ พียงเลก็ นอย ทีไ่ หนจะใหผ ล ดังน้ี แลว จะทอ ถอยและทอดธุระเสีย ไมสมควร แตหมั่นทำบอ ย ๆ เขา ความดกี ็ สะสมมากข้ึน นำ้ ฝนทต่ี กทลี ะหยาด ๆ ยังเต็มภาชนะทรี่ องได ควรถือเปน เยี่ยงอยา ง ผไู มว างธุระ คอยระวงั ตวั ไมใหเ กลอื กกลัว้ ดวยทจุ ริต หมัน่ สง่ั สมสจุ ริต เชน น้ีก็ไดช ือ่ วา ไมป ระมาทในธรรมที่เปนกุศลและอกุศล อกี ประการหนงึ่ คนทง้ั หลายผูเกดิ มา ไดชื่อวา ทีอ่ งเท่ียวอยูใ นสังสารวฏั ก็เปน ธรรมดาทจ่ี ะได พบเห็นสิ่งตาง ๆ เปน ท่นี า ปรารถนาบาง ไมป รารถนาบา ง เรียกวา โลกธรรม แปลวา ธรรมสำหรบั โลก สวนท่นี าปรารถนา คอื ไดล าภ ไดยศ ไดความสรรเสรญิ ไดสุข สวนทไ่ี มน า ปรารถนา คอื ขาด ลาภ ขาดยศ ไดนนิ ทา ไดทกุ ข เปรียบเหมือนคนเดินทางไปไหน ๆ ก็ยอมจะไดพ บส่ิงตา ง ๆ ในระหวาง ทางทน่ี า ดูนาชมบา ง ไมนาดูไมน าชมบา ง โลกธรรมน้ีเปนสง่ิ ทจ่ี ะพึงประสบช่วั เวลา ไมควรจะเกบ็ เอามาเปนทกุ ขเปนเหตทุ ะเยอทะยาน หรอื ซบเซาดวยอำนาจความยินดียินรา ยใหเกินกวาที่ควรจะเปน เชน แสดงอาการดวยกายหรือวาจาให ปรากฏ เมอื่ ทำเชน น้ันไป กแ็ สดงความมีใจออ นแอของตนเองหาสมควรไม ผไู มเลนิ เลอ คอยระวังไมใ หโลกธรรมครอบงำใจ จนถงึ แสดงวิการใหปรากฏ เชน นี้ไดช อื่ วา ไม ประมาทในธรรมที่มสี ำหรบั โลก ความมีสติรอบคอบประดบั ผูมศี ีล ใหม คี วามประพฤติดงี ามข้นึ จึงไดช ่ือวา เปนกลั ยาณธรรมในสิกขาบทคำรบ ๕ พระธรี วัฒน์ จนฺทโสภโณ : วัดไผ่เงินโชตนาราม | ธรรมช้ันตรี 86

คนผตู ัง้ อยูใ นกัลยาณธรรม ไดช ื่อวา กลั ยาณชน คือคนมีความประพฤติดงี าม 87 นยิ มนบั ถือ และเปนเยยี่ งอยางของคนทัง้ ปวง ควรเปนท่ี พระธรี วัฒน์ จนฺทโสภโณ : วัดไผ่เงนิ โชตนาราม | ธรรมช้ันตรี 87