General Safety Education โดย แผนกความปลอดภยับริษทั คริสเตียนีและนีลเสน็ (ไทย)จากดั (มหาชน) 1
ความปลอดภยั อาชีวอนามยั และสภาพแวดล้อมในการทางานหมายถงึ การทางานทม่ี คี วามปลอดภยั คนไมบ่ าดเจบ็ ทรพั ยส์ นิ ไมเ่ สยี หาย คนมสี ขุ ภาพดี ไมเ่ จบ็ ปว่ ย ไมเ่ ป็นโรค มสี ภาพแวดลอ้ มในการทางานทด่ี ี “ ไมท่ างานอยใู่ นสภาวการณ์ท่ี อนั ตราย ” ถา้ จาเป็นต้อง อนั ตราย กม็ ี ความเสีย่ ง ในระดบั ยอมรบั ได้ 2
อนั ตราย1. อาจจะเกิด อบุ ตั ิเหตจุ ากการทางาน2. อาจจะเกิด อบุ ตั ิเหตรุ ้ายแรงจากการทางาน3. อาจจะเกิด โรคจากการทางาน 3
หมายถงึเหตกุ ารณ์ท่ีไม่พึงประสงค์ เกิดขึน้โดยไม่ได้คาดคิด และไม่ได้ควบคมุไว้ก่อน เม่ือเกิดขึน้ แล้วมีผลทาให้เกิดการบาดเจบ็ พิการ หรอืทรพั ยส์ ินเสียหาย 4
การปฏิบตั ิงานที่ไมป่ ลอดภยั (Unsafe Acts) เป็นสาเหตใุ หญ่ท่ีก่อให้เกิดอบุ ตั ิเหตุ คิดเป็นจานวน 85% ของการเกิดอบุ ตั ิเหตทุ งั้ หมด สภาพการทางานที่ไม่ปลอดภยั (Unsafe Conditions) เป็นสาเหตรุ อง คิดเป็น 15% เท่านัน้ Unsafe Conditions, 15%Unsave Acts, 85% 5
การใช้เครอื่ งจกั ร เคร่อื งกล หรืออปุ กรณ์ต่างๆ โดยพลการ ซ่อมแซมหรอื บารงุ รกั ษาเครอ่ื งจกั รในขณะที่กาลงั ทางานอยู่ ถอดอปุ กรณ์ความปลอดภยั จากเคร่ืองจกั รโดยไม่มีเหตอุ นั ควร ไม่ใส่ใจต่อการห้ามเตือนต่างๆ เล่นตลกคะนองในขณะทางาน ใช้เคร่อื งมือชารดุ และไม่ถกู วิธี ไม่สวมใส่อปุ กรณ์ค้มุ ครองความปลอดภยั ที่จดั ให้ 6
ไม่มีครอบหรอื เซฟการด์ ส่วนของเคร่อื งจกั รที่เป็นอนั ตราย เคร่ืองจกั ร เคร่ืองมือที่ใช้ออกแบบไม่เหมาะสม บริเวณพืน้ ที่ทางานลื่น ขรขุ ระ สถานท่ีทางานสกปรก รกรงุ รงั วางของไม่เป็นระเบียบ กองวสั ดสุ งู เกินไป และการซ้อนวสั ดไุ ม่ถกู วิธี แสงสว่างไม่เหมาะสม เช่น แสงไม่เพียงพอ หรือจ้าเกินไป ไม่มีระบบระบายและถ่ายเทอากาศท่ีเหมาะสม ไม่มีระบบเตือนภยั ที่เหมาะสม 7
ความสญู เสียทางตรง : ค่ารกั ษาพยาบาล ค่าทดแทน ค่าทาขวญั ทาศพความสญู เสียทางอ้อม : ค่าเสียเวลา ค่าเสียโอกาส ค่าเสียขวญั และกาลงั ใจ ค่าฝึ กอบรมใหม่ ค่าซ่อมแซม ค่าวตั ถดุ ิบ ค่าผลผลิต ค่าเสียชื่อเสียง ภาระสงั คม *ความสญู เสียทางอ้อมประมาณ 2.3 - 101 เท่า ของความสญู เสียทางตรง* 8
ความสญู เสียจากอบุ ตั ิเหตุ ความสญู เสียทางตรง • ค่ารกั ษาพยาบาล1 • ค่าเงินทดแทน • ค่าประกนั2.3 - 101 ความสญู เสียทางอ้อม • อาคาร/อปุ กรณ์/เคร่ืองมอื ชารดุ • ผลิตภณั ฑแ์ ละวตั ถดุ ิบเสียหาย • การผลิตล่าช้าหรือหยดุ ชะงกั • ค่าใช้จ่ายในการส่งของฉุกเฉิ น • ค่าเช่าเครอ่ื งจกั ร • ค่าเสียเวลาหวั หน้างาน/เสียเวลาในการสอบสวน • เงินค่าจา้ งสญู เปล่า/ค่าใช้จ่ายทางกฏหมาย • ผลผลิตที่ลดลงจากการเกิดเหตุ • เสียชื่อเสียง • ค่าใช้จา่ ยเบต็ เตลด็ อ่ืนๆ
การป้ องกนั และควบคมุ ก่อนเกิดเหตุ มีผลมากท่ีสดุ ในการสร้างมาตรฐาน พฒั นาโครงการและการป้ องกนั การเกิดอบุ ตั ิเหตุ การป้ องกนั และควบคมุ ขณะสมั ผสั กบั อนั ตราย ลดความรนุ แรงท่ีอาจ ก่อให้เกิดอนั ตรายให้ลดลง การป้ องกนั และควบคมุ ภายหลงั ที่อนั ตรายเกิดขึน้ ควบคมุ สถานการณ์ต่าง ๆ ให้อย่ใู นสภาวะท่ีปกติหลงั จากเกิดเหตุ ไม่อาจป้ องกนั อบุ ตั ิเหตไุ ด้ แต่ ช่วยลดความเสียหายให้น้อยลง
การกาหนดนโยบายในการทางาน การฝึ กอบรมผบู้ ริหารในสถานประกอบกิจการ การวางแผนการตรวจความปลอดภยั การวิเคราะหง์ านและการจดั ทามาตรฐานการปฏิบตั ิงาน กาหนดกฎระเบยี บด้านความปลอดภยั ในการทางาน การฝึ กอบรมพนักงานทกุ ระดบั การป้ องกนั และควบคมุ ด้านสขุ ภาพอนามยั ของผปู้ ฏิบตั ิงาน
การสวมใส่อปุ กรณ์ค้มุ ครองความปลอดภยั ส่วนบคุ คล เพื่อลดการบาดเจบ็จากการสมั ผสั กบั พลงั งานให้น้อยท่ีสดุ อนั เป็นการลดความเสี่ยงหรอื ความรนุ แรงขณะที่มีการสมั ผสั กบั พลงั งานนัน้
การตอบโต้เหตฉุ ุกเฉิ น จดั ให้มีแผนฉุกเฉินและจดั ให้มีผรู้ บั ผิดชอบในกรณี เกิดสภาวะฉุกเฉิ น การสอบสวนอบุ ตั ิเหตแุ ละเหตกุ ารณ์ผิดปกติ เพื่อค้นหาสาเหตทุ ่ีแท้จริง การวิเคราะหอ์ บุ ตั ิเหตแุ ละอบุ ตั ิการณ์ นาผลจากการสอบสวนมาวิเคราะห์ เพ่ือกาหนดวิธีการแก้ไขปัญหา
จบบทที่ 1 แล้ว อย่าลมื !!!ประเมินความรู้หลงั การเรียนกนั ด้วยนะครับ
Search
Read the Text Version
- 1 - 14
Pages: