Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore KMภาค64LPQR

KMภาค64LPQR

Published by nudyna, 2021-08-04 03:55:19

Description: KMภาค64LPQR

Search

Read the Text Version



ssssssขssssss คาํ นํา ศูนยศึกษาและพัฒนาชุมชนลําปาง ไดรับมอบหมายใหดําเนินโครงการตลาดนัดความรูงาน พัฒนาชุมชน (KM Market)ประจําปงบประมาณ พ.ศ.2564 กิจกรรมที่ 2 เสริมสรางการเรียนรูและสราง แรงจูงใจในการจัดการความรู (Capture & Learn) กิจกรรมยอ ยท่ี 2.2 เวทีชุมชนนักปฏิบัติระดับภาค วันท่ี 9 กรกฎาคม พ.ศ. 2564 ณ ศูนยศึกษาและพัฒนาชุมชนลําปาง มีครัวเรือนเปาหมายเขารวมตามโครงการ ตลาดนัดความรูงานพัฒนาชุมชน (KM Market) จํานวน 20 ครัวเรือน อยูในพ้ืนที่ 3 จังหวัด ประกอบดวย ลําปาง 10 ครวั เรือน ลําพนู 5 ครวั เรอื น และเชยี งราย 5 ครวั เรือน ศนู ยศึกษาและพัฒนาชุมชนลาํ ปาง ไดจัดทําเอกสารสรุปผลการแลกเปล่ียนเรียนรู กิจกรรมยอ ย ท่ี 2.2 เวทชี ุมชนนกั ปฏิบัตริ ะดับภาค ใหผ ูสนใจไดเรยี นรูและเปนเอกสารเผยแพรต อ ไป ศูนยศึกษาและพฒั นาชมุ ชนลําปาง สิงหาคม ๒๕๖๔

ssssssssssคss สารบญั เรอื่ ง หนา กจิ กรรมท่ี ๑ เรอ่ื งเลา เรา พลัง ๑ กจิ กรรมท่ี ๒ การแลกเปล่ียนเรียนรูและสรา งองคความรูใหม 10 กิจกรรมที่ ๓ การแลกเปลี่ยนเรยี นรู วางแผนพัฒนาและตอยอดองคความรูในการพัฒนาพ้ืนท่ีจังหวดั 11 กจิ กรรมที่ ๔ การทบทวนหลงั ปฏบิ ัตงิ าน (After Acction Review : AAR ) ๑2 ภาคผนวก - รายชอื่ กลุม เปา หมาย - รูปภาพประกอบกิจกรรม

๑ โครงการตลาดนัดความรงู านพัฒนาชมุ ชน (KM Market) ประจาํ ปงบประมาณ พ.ศ.2564 กจิ กรรมท่ี 2 เสริมสรางการเรียนรแู ละสรางแรงจงู ใจในการจดั การความรู (Capture & Learn) กจิ กรรมยอยที่ 2.2 เวทีชุมชนนกั ปฏิบัติระดับภาค วนั ที่ 9 กรกฎาคม 2564 ณ ศนู ยศึกษาและพฒั นาชุมชนลําปาง มีครัวเรือนเปาหมายเขารวมตาม จํานวน 20 ครัวเรือน อยูในพ้ืนท่ี 3 จังหวัด ประกอบดวย ลําปาง 10 ครัวเรือน ลําพูน 5 ครัวเรือน และเชียงราย 5 ครัวเรือน กิจกรรมท่ีจะดําเนินการประกอบดวย กิจกรรมดงั น้ี วันที่ 9 กรกฎาคม พ.ศ.2564 ณ หองประชมุ ลีลาวดี ศูนยศกึ ษาและพฒั นาชุมชนลาํ ปาง -เวลา 08.00 -08.30 น. รายงานตวั ครวั เรือนเปา หมายจํานวน 20 คน -เวลา 08.30 -09.30 น. กิจกรรมการทําความรจู ักคุนเคย ดังนี้ 1. คลิปแนะนํา ศพช.ลาํ ปาง ทา นผอู ํานวยการ/ผแู ทน ศพช.ลาํ ปาง กลาวตอ งรับ 2. แนะนาํ ตัวทมี การจัดการความรู (KM Team) และทีมจัดการความรู ศพช.ลาํ ปาง 3. ชแ้ี จงรายละเอยี ด วัตถปุ ระสงค เปา หมายของโครงการฯ 4. จัดกจิ กรรมสรางความคนุ เคย โดยมแี นวทาง ดังน้ี 4.1 เกมละลายพฤติกรรม เพ่ือสรางความรูจัก คุนเคย และกลาเปดเผยตนเอง เชน การ ปรบมอื สามระดบั เพลงสวสั ดี เพลงปลกู ปา ๕ ระดบั เกมแนะนาํ ตัว เกมหนาใคร ฯลฯ 4.2 วิดิทัศนเกี่ยวกับการพัฒนาพื้นที่ตนแบบในความรับผิดชอบ ของศูนยศึกษาและพัฒนา ชุมชนลําปาง เพ่ือแสวงหาจุดเหมือนของครัวเรอื นทีเ่ ขารวมกิจกรรม และกระตุนใหเกิดการแสดงความคิดเห็น เพอ่ื เขาสูภาควชิ าการ เริม่ ดวยกิจกรรม ดังน้ี กิจกรรมที่ ๑ เรื่องเลาเราพลังหัวขอ“การพัฒนาพ้ืนท่ีของตนเอง” ครัวเรือนเปาหมายมีเวลา พูดคยุ คนละ 5-10 นาที โดยถา ยทอดประสบการณ“ การพฒั นาพื้นทีข่ องตนเอง” ประกอบดว ย 1.1 ขอ มลู ทว่ั ไปของครวั เรือน (ที่อยูของแปลง/ขนาดพ้ืนที)่ 1.2 การพฒั นาพื้นท่ี (การเริ่มตน/ข้นั ตอน/วิธกี าร) 1.3 เทคนิค/เคล็ดลับของการพฒั นาพ้ืนท่ี 1.4 ความภาคภมู ิใจในการพฒั นาพืน้ ทีข่ องตนเอง

มีอาชีพรับจางทั่วไป สามีเสียชีวิตตองเลย้ี งคนในครอบครัว 4 ๒ คนมีลกู 2 คน เร่มิ ทาํ อาชพี เพาะเหด็ ฟาง เห็ดนางฟา พออยูพอกนิ ในป 2559 เร่ิมหันมาทําเศรษฐกิจพอเพียง ทําไรนาสวนผสม เล้ียงไก นางบุปผา พ้นื บาน ไกไ ข ไกช น แพะ และมีพื้นทีท่ ํานาขนาด 1 ไร ผลิตขาวไดป ละ หมดดี 20 กระสอบ ค รั ว เ รื อ น ต น แ บ บ H LM ป 2564 ไดเขารวมโครงการโคก หนอง นา พช. ขนาด 1 ไร ปรบั รูปแปลงนาตามภูมิสังคม หมดิน ปรงุ ดินเพ่ิมความอุดมสมบูรณกับ 167 หมู 9 ตําบลบาน พ้นื ทมี่ ากขึน้ ขอ อาํ เภอเมอื งปาน จ. ลาํ ปาง เคล็ดลับ ทําใหพ้ืนท่ีเกิดประโยชนสูงสุด สรางรายไดรายวัน/ สัปดาห/เดือน/ป ทําศูนยเรียนรูใหคนในชุมชนมีสวนรวม รวมถึงภาคี หมายเลขโทรศพั ท: ภาคราชการตางๆที่สามารถเขา มาสนบั สนนุ แลกเปลยี่ นเรียนรู 093 3137987 ความภาคภูมิใจ สามารถขยายผลการดําเนินงาน โคก หนอง นา พช. สคู รวั เรือนในชุมชน ตาํ บล อาํ เภอ และจงั หวดั คติ มีความรกั ความสุข สนกุ กับงานทที่ าํ ผดิ พลาดไมโ ทษใคร. นายเดชา เคยเปน นักการเมืองมากอ น และทําอาชีพทาํ เมี่ยง ชา ทําทัวรเ ม่อื เกดิ โรคระบาดโควิค ๑๙ จึงหันมาทาํ เกษตรผสมผสาน เขารวมโครงการ เตมิยะ โคก หนอง นา พช.ในท่ีดิน สค.๑ ขนาด ๓ ไร เปนทรี่ าบเชิงเขาดินเปน ทรายและ ตองปรบั พืน้ ท่ีหมดินกันดินไหลปลกู พชื ยดึ หนาดิน ค รั ว เ รื อ น ต น แ บ บ H LM เคล็ดลับ อยาทําในสงิ่ ท่ีไมมี ใหมองในส่ิงที่เรามีอยูและใชใหคมุ คา 174 หมู 7 ตําบลดอย รจู ักแบงปน ไมค ดิ ถึงแตกําไร ชวยเหลือกนั ฮาง อําเภอเมอื ง จ. เชยี งราย ความภาคภูมิใจ ไดศึกษาศาสตรข องพระราชา ในหลวง ร.๙ และ ไดนาํ มาปฏิบัติอยา งจรงิ จัง ทําใหเกิดผล เห็นผลที่ย่ังยนื ไมจําเปนตองพึง หมายเลขโทรศัพท: พาหาอาหารจากภายนอก มีโอกาสทําก็ทาํ อยา งเต็มท่ีฝากไวใหลูกหลาน - เปน แบบอยางไดท ําตาม คติ ชวี ติ งายๆ สไตล โคก หนอง นา พช.

นายธวัชชยั ๓ ชัยวรรณ เปนเกษตรกรต้ังแตเกิด ทําเกษตรในพื้นที่ตนเองขนาด ๑๔ ไร ในป ๒๕๕๙ ไดห นั มาศกึ ษาและทาํ การเกษตรผสมผสาน ปลกู ค รั ว เ รื อ น ต น แ บ บ H LM พืช เลี้ยงสัตวจ นหนวยงานราชการเห็นความจริงจังไดเขามาสงเสริม สนับสนุน ในป ๒๕๖๔ ไดมีโอกาสเขารวมโครงการ โคก หนอง นา ๖๔ หมู ๑ ตาํ บลบา นออน พช. ขนาดพืน้ ท่ี ๓ ไร ในพ้นื ทที่ าํ นาเดมิ เพอ่ื เปนตนแบบของชุมชน อาํ เภองาว จ.ลาํ ปาง เคล็ดลับ การทําการเกษรตองมีการแปรรูปผลผลิตเพ่ือ หมายเลขโทรศพั ท: เพ่ิมมูลคาและสามารถเก็บรักษาไดนาน เชน แปรรูปปลา กลวย และ นาํ สินคาท่ีแปรรูปไปข้นึ ทะเบยี นเปน สนิ คา OTOP ๐๘๖ ๑๑๖๒๔๒๕ ความภาคภูมิใจ ไดเปนแบบอยางใหคนในชุมชนเขามา เปนสมาชิก และเกิดภาคีเครือขายท้ังในและนอกชุมชน ทําให หนวยงานราชการเห็นถึงความเขมแข็งไดเ ขา มาสง เสริมและสนับสนุน อยา งตอ เนื่อง อดีต เมื่อ ๒๖ ปกอนไดรับคัดเลือกเปนเยาวชนของ นายธรกร กรมการพัฒนาชุมชน มีโอกาสไดมาอบรมที่ ศพช.เขตที่ ๕ ลําปางทํา ใหไดค วามรูและแนวคิดในการดําเนินชีวิตท่ีจะเดินตามทางที่พอหลวง โชคชดั ชาญพัฒนา ร.๙ ไดสอนสั่นและกรมการพัฒนาชุมชนไดหลอหลอมจิตวิญญานทํา ใหป ระสบความสําเร็จในทกุ วันน้ี ค รั ว เ รื อ น ต น แ บ บ H LM เมื่อกรมการพัฒนาชุมชนประกาศรับสมัครครัวเรือน ๒๒4 หมู ๙ ตนแบบ โคก หนอง นา พช.ก็ไดไปสมคั ร ในขนาดพ้ืนที่ ๓ ไร ไดไปเขา ตาํ บลแมค าํ อบรมที่ดอยอินทรีย จบการอบรมก็เริ่มขุดคลองไสไกทันที ทั้งท่ีไมมี อาํ เภอแมจนั อุปกรณตองยืมจอบของเพ่ือนบาน จนคนรอบขางหาวาบาที่ขุดคลอง จ.เชียงราย ในฤดูแลง และเมื่อไดงบมาขุดก็ทําตามแปลนที่วางไวจนสําเร็จ วันน้ีมี นาํ้ เตม็ คลอง หนอง และนาไมม ีใครวาบาอีก หมายเลขโทรศัพท: เคล็ดลับ ครอบครัวตองมีใจเดียวกัน พื้นท่ีนอย มาก 0๘๘ ๕๖๖๙๓๓๐ ไมใ ชป ญหา สติปญญากับความเพียรของเราจะบงบอกถึงความสําเร็จ ยดึ ม่นั ยืนหยดั เปน ตัวอยา ง คติ ยึดหลัก ๔ มี คือมีน้ํา มีปลา มีนา มีผัก ๓ไม คือไม เผา ไมฆาจุลินทรีย ไมใชสารเคมี ๒ ใหคือ ใหครอบครัว ใหชุมชน/ ประเทศชาติ และ ๑ หามคอื หามผดิ สจั จะ

นายทนง ๔ ชา งฆอ ง เปนผูดํารงชีวิต โดยยึดหลักเศรษฐกิจพอเพียงตามท่ีพอหลวง ร.๙ ไดส อน และทรงปฏิบัตเิ ปนแบบอยางมาตลอดรัชกาลของพระองค ค รั ว เ รื อ น ต น แ บ บ H LM ไดเขารวมโครงการ โคอง นา พช. ขนาดพื้นท่ี ๓ ไร ไดไปอบรมเพ่ิม ความรูท่ีดอยอินทรีย ฝกตัว และไดออกแบบพื้นที่ตามภูมิสังคม พื้นที่ ๖๙ หมู ๑ ตาํ บลแมตํ๋า ตนแบบไดข ุดในชวงฤดูแลง จึงเห็นสภาพดินวาตองปรับปรุงดินใหมีความ อําเภอพญาเม็งราย จ. เหมาะสมกบั การปลูกพืช เชียงราย เคลด็ ลบั ไดเ ร่ิมจากการหมดนิ ดวยฟางขา ว ใสป ยุ อนิ ทรีย รดนา้ํ หมายเลขโทรศัพท: (แหงชาม น้ําชาม) ตอดวยการปลูกตนกลวยเพื่อชวยดึงความชื้น และ ปลูกพืชผักอายุสั้นสรางรายไดแกครอบครัว ปจจุบันมีน้ําเต็มพ้ืนท่ีและ ๐๙๑ ๘๕๗๑๘๙๕ สามารถเกบ็ กกั นํ้าใหไดม ากท่ีสุดเพื่อนําไปใชใ นฤดูแลงไดอยางเพียงพอ ความภาคภูมิใจ เปนสวนหนึ่งที่ไดชวยขับเคลื่อนศาสตร พระราชา และจะมุงม่ันทําใหเปนศูนยเรียนรูเปนประโยชนกับคนใน ชุมชน ในป ๒๕๕๘ ไดเริ่มลงมือทําตามศาสตรของพระราชา นายจาํ รสั ดวยการตัดหญามาหมดิน และไดเขารวมกับหนวยงานเกษตรใน โครงการตา งๆท่ีไมใชส ารเคมี เพราะในพื้นทส่ี วนใหญจะใชปุยเคมีและ ฟอ งวาริน สารเคมีกําจัดศัตรูพืช ทําใหดินเสื่อมโทรม และคนในชุมชนมีสารพิษ ตกคา งในรางกายสงู ค รั ว เ รื อ น ต น แ บ บ H LM ในฐานะประธานศูนยเ รียนรูดานการใชส ารอนิ ทรยี ในการ ๑๕๕/๑ หมู ๑๑ ตาํ บล บํารุงและปองกันศัตรูพืช จึงไดเขารว มโครงการ โคก หนอง นา พช.ใน แมตนื อาํ เภอล้ี จ. ขนาดพ้ืนที่ ๑ ไรแ ละจะขยายผลใหส มาชกิ ไดปฏบิ ตั ติ ามตอ ไป ลาํ พูน เคล็ดลับ การพัฒนาพื้นที่ตนแบบฯตองทํารวมกับ อบต. หมายเลขโทรศัพท: ตองทําความเขาใจกับชางใหรจู ักบรบิ ทของพื้นท่ีตนแบบฯจะทําใหการ บริหารจัดการพ้ืนที่เปนไปดวยความเรียบรอยและสําเร็จตามความ ๐๙๓ ๒๘๑๑๔๓๙ ตองการของเจาของแปลง

นายภัทราวุธ ๕ ชุมอนิ จักร เร่ิมทําการเกษตรในพ้ืนท่ี ๑๗ ไร ไดแบงพ้ืนที่เปน ๓ สวน คือ ค รั ว เ รื อ น ต น แ บ บ H LM พนื้ ที่สว นที่ ๑ สรา งบาน โรงเรอื นเก็บวสั ดุการเกษตร สวนที่ ๒ ขุดทาํ บอ เลี้ยงปลา ๓ บอ และสวนท่ี ๓ ขนาด ๗ ไร ไวทํานา ชวงฤดูแลงจะมี ๙ หมู ๑๕ ตาํ บลสนั ปญ หานาํ้ ในบอ ปลาไมเพยี งพอเกิดการแยง นาํ้ กันในชุมชนตลอดทุกป กลาง อําเภอพนา จ. เชยี งราย ไดเขารวมโครงการ โคก หนอง นา พช. ไดแ บงพน้ื ทีน่ ามา ๓ ไร ไดด ําเนินการตามโครงการฯและจะเกบ็ น้ําไวใ หมากท่สี ดุ เพ่ือแกไขปญหา หมายเลขโทรศพั ท: ขาดแคลนน้าํ ในฤดแู ลง ซ้ําซาก 0๖๓ ๑๐๙๒๔๗๐ เคล็ดลับ ครอบครัวมองเปาหมายเดียวกัน ถึงจะเห็นผลชาแต ม่ันคงเพราะไดน อมนาํ หลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี งมาใช คติ ถาจะพัฒนาประเทศตองพัฒนาที่คน จะพัฒนาคนตอง พฒั นาที่จติ ใจ จะพฒั นาใครตองพัฒนาทต่ี นเองกอน เดิมพื้นท่ีไดวงแผนปลูกปา ๕ ระดับ เพ่ือคืนความ นายบรรจง สมบูรณใหกับพื้นท่ี และจะเปดแหลงอาหารของครอบครัวและ ชุมชน เชนเก็บเห็ดปา และไดเตรียมเพาะพันธไมปาไวแลวเชน ทะไชย ยางนา พยงุ ตะเคียน มะคาโม ผกั หวานปา ค รั ว เ รื อ น ต น แ บ บ H LM ไดนําพ้ืนที่เขารวมโครงการ ขนาด ๓ ไร ปรับพ้ืนที่ ตามภูมิสังคมใหสอดรับกับการปลูกปาท่ีไดวางแผนไว ใชปุย 1๙ หมู ๑๐ ตาํ บลครึง่ อินทรียในการปรับปรุงดินที่ขุดใหม ปลูกหญาแฝกปองกันดิน อาํ เภอเชียงของ จ. พังทลาย เชยี งราย เคล็ดลับ เพื่อเปนการทําใหตนไมโตเร็วและออก หมายเลขโทรศัพท: ดอกผลเกิดประโยชนสูงสุด จะเล้ียงผ่ึงโพรง(ผึ้งโกรน )เพื่อชวยการ ติดดอกออกผลของตนไมและไดผลผลิตจากนํา้ ผ้งึ โพรงซ่งึ มีราคาท่ี 0๙๓ ๓๑๗๐๙๘๑ สงู กวาผ้ึงเล้ยี งทวั่ ไป ความภาคภูมิใจ ทําใหเพ่ิมแหลงนํ้าในการปลูกพืช และเลย้ี งสตั ว เกดิ ศนู ยเ รียนรูแหงใหมข องชมุ ชน คติ วถิ ีพอเพยี ง ขยัน อดทน ไมอ ดตาย

นายสิงหชยั ๖ กันใจรส พัฒนาตนเองมาโดยตลอดจนไดรับเลือกปนผูใหญบาน การเปนผูนําจะตองเปนแบบอยางตองเริม่ ทํากอนการพฒั นาพื้นที่ตาม ค รั ว เ รื อ น ต น แ บ บ H LM หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงเปนเปาหมายสําคญั ของชุมชน จึง ไดสมคั รเขารวม โครงการ โดก หนอง นา พช. ในพื้นท่ี ๑ ไร ปจจุบัน ๑๓๖ หมู ๔ ตําบลวอแกว อยใู นระหวางดําเนินการปรับแปลงใหไดตามบรบิ ทภูมสิ ังคมทีต่ องการ อําเภอหา งฉตั ร จ.ลาํ ปาง มีการวางแผนขยายผลการเอามื้อในพ้นื ทไี่ วแลว หมายเลขโทรศัพท: ความภาคภูมิใจ การพัฒนาพ้ืนท่ีเพื่อทําเกษตรอินทรีย ตามแนวทาง โคก หนอง นา พช. รวมกับทองถ่ินจะทําใหสามารถ - สรางเปนศูนยเรียนรูของชุมชนได และมีการประชาสัมพันธใหชุมชน อ่ืนเขามาเรียนรเู ปนภาคเี ครอื ขายเกิดการขยายผลสชู ุมชนขางเคยี ง พื้นท่ีเดิมเปนศูนยเรียนรูของชุมชนมากอนหนา มีสมาชิก นายชาติ รวมกลุมทําเกษตรอินทรีย โดยการปลูกผักสวนครัวเพ่ือบริโภคใน ครวั เรอื น สว นการทํานาสว นใหญยังคงใชป ยุ และสารเคมีกาํ จัดศตั รพู ชื บุญเปง เมื่อมีโครงการ โคก หนอง นา พช.จึงไดสมัครเขารวมในขนาด ค รั ว เ รื อ น ต น แ บ บ H LM พ้ืนท่ี ๑ ไร โดยใชพื้นที่นาเดิมซ่ึงจะงายในการปรับรูปแปลงใหเปนไป ตามภูมสิ ังคม เนนการเก็บรบั นํา้ ฝนทตี่ กในแปลงเทานน้ั เพ่อื ปองกันการ ๒๑๘ หมู ๑๑ ตําบล รับนํ้าท่ีปนเปอนจากพ้ืนที่ขางเคียงมีการหมดิน ใชปุยอินทรียบํารุงดิน ทาสบเสา อําเภอแมทา ทั้งหมด การทําการเกษตรผสมผสานปลูกปา ๕ระดบั สรางความม่ันคง จ.ลําพูน ทางอาหารแกครอบครวั หมายเลขโทรศัพท: ความภาคภูมใิ จ ไดทําเศรษฐกิจพอเพียงตามแนวทางพอหลวง ร.๙ ทําตัวเปนแบบอยางใหลูกหลานและคนชุมชนขางเคียง ลดการพึง ๐๖๓ ๕๘๕๒๙๖๕ พาชุมชนภายนอก

นายสรุ พล ๗ จนั ทรศ รี เดิมเคยทาํ งานอยูที่กรุงเทพฯไมมีเวลาเปนของตัวเอง ตอง ทํางานตั้งแต แปดโมงเชาจนถึงสามทุมทุกวัน ในป 2548จึงไดหา ค รั ว เ รื อ น ต น แ บ บ H LM ท่ีดินเพ่ือปลูกพืช ขนาด 2 งาน 88 ตร.วา ปลูกตนสักไวริมร้ัวรอบ บาน ปลูกมะมวง ขนุนขุดสระเลี้ยงปลา ป 2555 ไดล าออกจากงาน 310 หมู 5 ตําบลแจหม มาอยูทบี่ า นหาซ้อื ทีไ่ ดอกี 5 ไรม าทําการเกษตรผสมผสานอยา งจรงิ จงั อําเภอแจห ม จ.ลาํ ปาง ไดเขารวมโครงการ โคก หนอง นา พช. ในพ้ืนที่ 3 ไร ได หมายเลขโทรศพั ท: ปรับรูปแปลงตามภูมิสังคมใชประโยชนจากพื้นท่ี ไมเบียดเบียน ธรรมชาติ - เคล็ดลับ ไดปรับรูปแปลงนาขาวตามหลักกสิกรรม ธรรมชาติ มกี ารเลยี้ งกบในกระชังในแปลงนา เลีย้ งปลาในนาขาว เมื่อ ใหอาหารกบก็จะไดมูลกบเปนอาหารของปลา ปลาถายมูลมาเปนปุย ใหนาขาวทาํ ใหไ ดขา วอนิ ทรยี  ปลาโตเรว็ ลดตนทุน ลงทุนนอย ความภาคภูมิใจ ไดรว มพัฒนาพน้ื ที่ เปนศนู ยเรียนรูแกคน ในชมุ ชนและภาคีเครอื ขา ย เปนกํานันตําบลบานเอ้ือม ประธานศูนยเรียนรูตนแบบ นายไกร ตําบลบานเอื้อม เปนผูนํามีใจรักในการพัฒนาชุมชนโดยเฉพาะดาน การ เกษตร มคี วามรดู า นการปรบั ภมู ทิ ศั น การจดั สวนหยอ มเพาะพันธุ สมกูล ตน ไม ในการปลูกในสวนและในพ้ืนท่ีโคก หนอง นา พช. ค รั ว เ รื อน ต น แ บ บ C L M ไดเขารวมโครงการ โคก หนอง นา พช. ในพื้นท่ี ๑๕ ไร โดยเริ่มออกแบบปรับรูปแปลงเพ่ือรองรับการขุดปรับตามภูมิสังคม ๒๒๖ หมู ๑๕ ตําบลบา น และจะเปนศนู ยเ รียนรูของตาํ บลบานเออ้ื มและผูท่ีสนใจ เอื้อม อําเภอเมือง จ. ลําปาง เคล็ดลับ สรางความแตกตางในการทําการเกษตร ประยุกต มีพืชหลักพืชรองเพ่ือใหไดประโยชนสูงสุด ประหยัดสุด มี หมายเลขโทรศัพท: ความสวยงามดวยพันธุไมหลากหลายชนิดตามภูมิสังคมของการปลูก ปา ๓ อยา งประโยชน ๔ อยา งสรา งความมน่ั คงทางอาหารใหแ กช มุ ชน ๐๙๓ ๒๕๑๒๘๙๘ ความภาคภูมิใจ ไดมีชีวิตอยางพอเพียงตามรอยพอ หลวง ร.๙ เปนศนู ยเรียนรูของตําบล ขยายผลสูอําเภอและจงั หวดั มีที่ พักสําหรับผูประสบภัยพิบัติไดพึงพิง และสามารถดึงดูดให นักทองเที่ยวไดเขามาชมและใชชีวิตตามหลักทฤษฎีใหมประยุกตืสู โคก หนอง นา พช.ตอไป

นายประหยดั ๘ สงิ หชยั เมอ่ื ป พ.ศ.๒๕๕๐ ไดเรม่ิ การจัดสรรท่ีดินจํานวน ๑๗ ไร ในการทําการเกษตร โดยแบง เปนพน้ื ที่ทํานา ปลูกปา ขุดบอเลีย้ ง ค รั ว เ รื อ น ต น แ บ บ H LM ปลา ปลูกพชื ผักสวนครวั ไมผล เล้ียงสตั ว ๒๐ หมู ๖ ตาํ บลใหมพ ัฒนา ไดเ ขารวมโครงการ โคก หนอง นา พช. ในพ้นื ที่ ๓ ไร ได อาํ เภอเกาะคา จ.ลาํ ปาง วางแผนการใชพ ้นื ท่ตี ามภมู สิ ังคม ปลูกตน สักเปน ร้วั มีการบริหาร จัดการนํ้าอยางเปน ระบบมคี ลองไสไกส รา งความชุมชนื้ ในพ้ืนท่ี หมายเลขโทรศพั ท: เกบ็ กักนํา้ ฝนท่ีตกในพ้นื ท่ีทุกหยด ๐๘๔ ๘๐๔๙๔๓๓ เคลด็ ลับ ทาํ ใหเปน ตัวอยางเริ่มจากสิ่งเล็กเชนการเล้ียงไก ไขอินทรยี ใ นครัวเรือนเพียง ๑๐ ตัวก็สามารถมีอาหารโปรตีนไว รับประทานทุกวัน เหลือก็แบงปน ทําบุญ ทาน อาหารไกก็ใชพ ืชผกั ในแปลงไมมสี ารพิษทําใหร างกายแขง็ แรง ความภาคภูมใิ จ ไดเ ดนิ ตามรอยพระราชาในหลวง ร.๙ ปลูกผกั ปลอดสารพษิ ไมม ีหนีส้ นิ ทาํ ใหเปน หมูบ า นเศรษฐกิจ พอเพียง เปน ศูนยเรียนรูของหมบู า น ตาํ บล อําเภอ เปนแหลง อาหารอินทรียทยี่ ัง่ ยนื เคยรับราชการมากอน ไดล าออกเพราะสุขภาพไมดี จึง นางกัญจว ภิ า กลับมาอยูกับพอแมในชุมชน ดวยความเปนคนมีจิตอาสาชอบ ชวยงานของชุมชนไมไดข าด ก็ไดร ับเลือกเปนผูใหญบาน ไดเปน ปง วงั ตวั อยา งแกช ุมชนในการทาํ นาอนิ ทรยี  ในพน้ื ท่ีตนเอง ค รั ว เ รื อน ต น แ บ บ C L M ไดเขารวมโครงการ โคก หนอง นา พช.ในพ้ืนท่ี ๑๐ ไร ไดวางแผนการใชพ้ืนที่ตามภูมิสังคม ปรับรูปแปลงแบงพื้นที่ให ๑๔๘ หมู ๘ ตาํ บลบานเปา เหมาะสมเพ่ือเตรียมการขยายผลสรางโรงแปรรูปขาวเพิ่มมูลคา อาํ เภอเมอื ง จ.ลาํ ปาง แกผลติ ผล รบั สมาชิกจากภาคีเครือขา ยที่มใี จรักและทุม เท หมายเลขโทรศพั ท: เคล็ดลับ ศกึ ษา ทาํ กาย ใจใหพรอ มพฒั นาพื้นทีร่ วมกลุม ผสู นในจากกลุม เล็ก ๕ คนศกึ ษาหาตลาดรองรบั พฒั นา ตอ ยอด ๐๘๑ ๗๔๖๖๐๓๐ เพิ่มสมาชิกพัฒนาฝมือ ใชเครื่องทุนแรงชวยระดมทุนจากภาคี เครือขายทงั้ ภาครัฐและเอกชน ความภาคภูมิใจ ไดเปนศูนยเรียนรูของตําบลในการ พัฒนาตอยอดจากการผลิตขาวพันธุ กข๘๓ สูครีม สบูสมุนไพร และแหลงปลกู ผักอินทรยี ของตําบล คติ อยูอยางพอเพียง มั่งค่งั ม่นั คง ยัง่ ยนื

นางมาลี ๙ การเพยี ร ตําแหนงทางสังคมเปนผูใหญบาน ประธานกลุมเกษตร อินทรีย ประกอบอาชีพการเกษตรทํานา สวนและเลี้ยงสัตวเปน ค รั ว เ รื อ น ต น แ บ บ H LM ตวั อยางของคนในชุมชน ๘๒ หมู ๑๕ ตาํ บล ไดน าํ พน้ื ทเ่ี ขา รว มโครงการ ขนาด ๓ ไร ปรับพื้นทต่ี ามภูมิ รอ งเคาะ อําเภอวงั เหนอื สังคมทําเกษตรผสมผสานเขากับภูมิปญญาชาวบานซึ่งทําอาชีพ จ.ลําปาง เกษตรกรรมตามแนวทางท่ีรัฐสนบั สนุนเปลี่ยนไปตามยุกตสมัยใหเห็น วาการทําการเกษตรแบบ โคก หนอง นา พช.จะชวยแกไขปญหา หมายเลขโทรศัพท: หนี้สินและเปน ทางรอดของเกษตรกรที่ย่งั ยนื ๐๘๑ ๐๒๗๖๖๙๐ เคล็ดลับ ปรับเปล่ียนแนวทางการทํากสิกรรมท้งั การปลกู ปา ๕ ระดับเพ่ือสรา งความชุมช้ืนและม่ันคงทางอาหาร การเล้ียงสัตว อยางเหมาะสม มีหนองกักเก็บนํ้าฝนในพื้นท่ีเพ่ือใหพอใชในฤดูแลง ตามแนวทางของเศรษฐกิจพอเพยี งทําใหม ีความเปนอยดู ีขึน้ ความภาคภูมิใจ เกิดความสุขดวยความพอเพียงใน ครอบครัวและชุมชน และจะพัฒนาพื้นท่ีตนแบบเปนศูนยเรียนรูของ ชมุ ชน เปนจดุ ดูงานของหมูบาน ตําบล อําเภอตอไป เปนรองประธานชุมชนบานแมกึ๋ย กรรมการขับเคล่ือน นายธนกฤตย ยทุ ธศาสตรช าติเทศบาลเมอื งเขลางคน คร และทป่ี รกึ ษาการออกแบบ พืน้ ที่ โคก หนอง นา พช. จ.ลําปาง พนิ ธิสืบ มีพ้ืนที่เขารวมโครงการ ๑๐ ไร การออกแบบพ้ืนท่ีตาม ค รั ว เ รื อน ต น แ บ บ C L M หลักทฤษฎีใหมประยุกตสู โคก หนอง นา พช. มกี ารจัดแบงพ้ืนที่ให เหมาะสมตามภมู สิ ังคม โดยใชค วามรทู างดา นชาง การออกแบบพื้นท่ี ๑๒๘/๑ หมู ๙ ตําบลปงแสน ฯ มาปรบั รปู แปลงใหส ามารถใชประโยชนอยางสมบูรณ ทอง อาํ เภอเมือง จ.ลําปาง เคล็ดลับ ใหความรูกับ นพต.ดวยการใหลงมือปฏิบัติ หมายเลขโทรศัพท: จริงและใหนําไปขยายผลแกครัวเรือน HLM ในพ้ืนท่ีใกลเคียง สนับสนุนการปลูกขาวหอมลานนาขาว GI ของ จ.ลําปางและนํามา ๐๘๒ ๘๘๙๕๕๒๘ แปรรปู เพอ่ื เพิม่ คณุ คา และมูลคา ตามแนวทาง “ทาํ นอ ยไดมาก” ความภาคภูมิใจ ทําใหพ้ืนท่ีตนแบบ โคก หนอง นา พช.เปนที่ตัวอยางในการแกไขปญหาน้ํามีสารเคมีเจือปน โดยนํามา บําบัดนํ้าในคลองไสไกและพืชที่ดูดสารพิษเชนผักตบชวา จนปลอด สารพิษสามารถนาํ ไปทาํ การเกษตรไดอยางปลอดภยั

๑๐ กิจกรรมท่ี ๒ การแลกเปลี่ยนเรยี นรแู ละสรางองคความรูใหม โดยแบง กลมุ อภปิ รายเปน ๓ กลุม คละจังหวัด และมอบหมายงานตามประเดน็ องคความรู ดงั นี้ 1.1 การสรางเครอื ขาย (กลไก 3 5 7) ในพื้นที่ของทา นไดร ับการสนบั สนนุ จากหนว ยงานอื่น อยางไร 1.2 เทคนคิ /เคลด็ ลบั ของการพฒั นาพนื้ ท่ี โคก หนอง นา พช. อยา งไร 1.3 ความสําเร็จจากการทาํ โคก หนอง นา พช. มอี ะไร 1.4 ขอ จํากดั อุปสรรค ปญหา จากกิจกรรม โคก หนอง นา พช. มีอะไร สรุปผลจากกิจกรรมที่ ๒ การแลกเปลี่ยนเรยี นรแู ละสรางองคความรใู หมไดภาพรวมดังน้ี 1) ไดรับการสนับสนุน จากสํานักงานเกษตรอําเภอในการใชเ ทคโนโลยกี ารเกษตรในการปองกนั กําจัดศัตรูพืชโดยไมใชสารเคมี สถานีพัฒนาท่ีดินสนับสนุนหญาแฝก สํานักงานปาไมสนับสนุนกลาไมปา ประมงสนับสนุนปลา กศน.สนับสนุนการเอาม้ือจากนศ. กศน. วัด โรงเรียน ชวยประชาสัมพันธสรางความรู ความเขาใจ ทองถ่ิน(สท. ,สอ.บต) สนับสนุบชางในการตรวจพ้นื ที่แปลงและสนบั สนุนงบทําฐานเรยี นรู 2) เทคนคิ /เคล็ดลบั ของการพฒั นาพนื้ ท่ี โคก หนอง นา พช. สรา งเครอื ขายในกลมุ เล็กขยายผล สูกลมุ ใหญข้นึ จะทาํ ใหเตบิ โตดว ยความเขมแข็ง มกี ารใชเ ครอื ขาย online ทงั้ กลุม line FB ใชเทคโนโลยีสราง แบรนดของตวั เองในการทาํ ผลิตภณั ฑ ใหไดร บั มาตรฐานของรัฐใหก ารรับรอง เพ่ือกาวตามหลักบันได ๙ ข้ัน ๓) ความสําเร็จจากการทํา โคก หนอง นา พช. โดยใชความโดดเดนท่ีแตกตางกันในแตละพ้ืนท่ี แตละศนู ยเ รียนรู การเอามอื้ สามัคคี มาแลกเปลีย่ น เพือ่ ใหพน้ื ทอ่ี ่ืนนําไปปรบั ใชใ หเ หมาะสมกบั พืน้ ที่และสังคม มกี จิ กรรมการพฒั นาพ้ืนท่ี กิจกรรมใหและพัฒนาองคความรสู มาํ่ เสมอ ตอเนือ่ ง และรวมบรู การการการพัฒนา พ้ืนที่รว มกบั ภาคราชการเพอ่ื หาแนวทางการสนบั สนนุ ท้งั งบประมาณและวชิ าการอยา งตอเนอ่ื ง ๔) ขอจํากัด อุปสรรค ปญหา จากกิจกรรม โคก หนอง นา พช แบบมาตรฐานการปรับรปู แปลน ไมสามารถใชไดในทุกพ้ืนที่ และไมถูกตองตามหลักภูมิสังคม ควรปรับใหชางในพ้ืนท่ีเขียนตามความตองการ ของเจาของแปลงและความเหมาะสมกับสภาพภูมิประเทศ สภาพดิน เวลาที่งบประมาณอนุมัติเรงรีบไม สามารถทําไดตามกําหนด งบประมาณที่ไดนอยราคาตํ่ากวาที่สามารถขุดไดเตม็ ท่ี ทาํ ใหการขุดมีขอจํากัดตบ แตง ไมไ ดตามความตองการของเจาของแปลง ขอ จํากัดของภาครัฐในเรอ่ื งของกฎ ระเบยี บทําใหเกดิ ความลาชา ไมเขาใจ เบือ่ และถอนตัว

๑๑ กิจกรรมท่ี ๓ กจิ กรรมการแลกเปลยี่ นเรียนรู วางแผนพฒั นาและตอยอดองคค วามรู ในการพฒั นาพื้นที่จงั หวัด โดยแบงกลุมตามจังหวดั ๓ กลมุ กจิ กรรมแลกเปล่ียนเรียนรแู ละนาํ เสนอ สรุปผลจากกจิ กรรมท่ี ๓ การแลกเปลี่ยนเรียนรูวางแผนพัฒนาและตอยอดองคความรูในการพัฒนาพ้ืนท่ีจังหวัดได ภาพรวมดังน้ี 1) การทํากิจกรรมในแตละแปลงอยา งตอเน่ือง ทําใหสําเร็จก็จะทําใหภาคีเครือขายสนใจเขามา เรียนรู สนบั สนนุ โดยไมต องรองขอ ๒) ชกั ชวนเครือขา ยสมั มาชพี ตา งๆ เขามามีสวนรว ม เชน เครือขายเยาวชนมาเรยี นรูการฝกอาชีพ ในฐานเรยี นรทู ี่สนใจ ๓) การจัดการองคความรูท่ีเปนที่ตองการ จากปราชญมาสแู นวทางที่สามารถนํามาปฏิบัติไดผล จริงสามารถตอยอดและประยกุ ตใชไ ด ๔) ขยายผลสรางศนู ยเรยี นรู โคก หนอง นา พช.ในทุกชุมชน เพื่อใหทุกคนมโี อกาสไดเ รียนรู

๑๒ กจิ กรรมท่ี ๔ การทบทวนหลังปฏิบัติงาน (After Acction Review : AAR ) สรุปไดดงั น้ี ๔.๑ ความคาดหวงั ตอ กิจกรรม ๑) ผรู ว มโครงการ/กจิ กรรมมาครบ และตรงเวลาตามท่กี ําหนด ๒) ทกุ กิจกรรมเปน ไปตามรายละเอียดที่กําหนดไว ๓) ผรู ว มกิจกรรมมสี ว นรว มในการแสดงความคิดเหน็ แลกเปล่ียน เรยี นรู ทุกกิจกรรม ๔.๒ สง่ิ ทเี่ กดิ ขนึ้ จริงระหวา งดําเนนิ โครงการ/กจิ กรรม ๑) ผูรวมโครงการ/กิจกรรมมาไมครบขาด ๓ คนแยกเปนลําปาง ๑ คน ลําพูน ๒ คน สาเหตุ เนื่องจากมสี ถานะการณโรคติดตอ โควิด ๑๙ ทําใหผูเขาประชุมกลัวไมกลาเดนิ ทางมา ๒) ทุกกิจกรรมเปนไปตามรายละเอียดท่ีกําหนดไวทุกประการ เพราะทีมการจัดการความรู (KM Team) แบงหนาทแ่ี ละปฏิบตั ิหนา ทอ่ี ยางเครงครัด ๓) ผูรวมกิจกรรมมสี วนรว มในการแสดงความคิดเห็น แลกเปลี่ยน เรียนรู ทกุ กิจกรรม เพราะ ครัวเรอื นท่ีคัดมาสวนใหญเปนเจา ของศนู ยเ รียนรูท่ีมีอยูกอนแลวจงึ มีความรูความสามารถในการถายทอดและ เรียนรู รับรูไดเร็ว ๔.๓ ปญ หาทีพ่ บระหวางดาํ เนินกจิ กรรม ๑) เวลาในการทํากิจกรรมเร่ืองเลาเราพลังมีนอยทําใหตองกําหนดเวลาใหแตละทานพูดได นอยจึงไมส ามารถไดรายละเอียดลึกและชัดเจน ๒) การแลกเปล่ียนเรียนรูวางแผนพัฒนาและตอยอดองคความรูในการพัฒนาพ้ืนทจ่ี ังหวดั จะ ทําใหไมไ ดผลเปน รปู ธรรม เพราะไมม ีภาคที เี่ กย่ี วของมารวมแลกเปลยี่ น ๔.๔ การแกไขและพฒั นางานตอไป ๑) ใหเวลาการทํากิจกรรมทุกกิจกรรมมากข้ึน จะทําใหไดเนื้อหาและรายละเอียดที่ชัดเจน ครบถว น ๒) ควรเชิญภาคีเครือขายท่ีเกี่ยวของมารวมแลกเปล่ียนดวย เพื่อจะไดแนวทางการแกไข สามารถท่ีจะนําไปพัฒนาตอ ยอดไดช ัดเจนและรวดเรว็

๑๓ ภาคผนวก

๑๔ รายช่อื กลมุ เปา หมายจังหวดั ลําปาง

๑๕ รายช่อื กลมุ เปา หมายจงั หวัดเชยี งราย

๑๖ รายช่อื กลมุ เปา หมายจังหวดั ลําพูน

๑๗ รายช่อื กลมุ เปา หมายรวมกิจกรรม 2.3

๑๘ ภาพประกอบกิจกรรม 1. การจัดเตรียมสถานที่ กอนดําเนนิ กิจกรรม 2. กิจกรรมทักทายผรู วมเวที แนะนําทีม KM 3. กิจกรรมกลุมสมั พนั ธ 4. กิจกรรมท่ี ๑ เรอื่ งเลาเรา พลัง

๑๙ กจิ กรรมท่ี ๒ การแลกเปล่ียนเรยี นรูและสรางองคค วามรูใหม กจิ กรรมที่ ๓ การแลกเปลีย่ นเรียนรู วางแผนพฒั นาและตอยอดองคความรูในการพัฒนาพ้นื ท่ีจังหวดั กิจกรรมท่ี ๔ การทบทวนหลงั ปฏิบัตงิ าน (After Acction Review : AAR ) สรุปบทเรียน เดนิ ทางกลับโดยสวสั ดภิ าพ

๒๐ สอื่ การเรียนรู Infographic จากผเู ขา รวมโครงการ

๒๑

๒๒

๒๓

๒๔

๒๕

๒๖

๒๗


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook