3 วชิ า วทิ ยาศาสตร์โลกและอวกาศ กลุ่มสาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรียนนครหลวง “อุดมรัชตว์ ทิ ยา” สานกั งานเขตพ้ืนที่การศึกษามธั ยมศึกษาพระนครศรีอยธุ ยา
ตวั ช้วี ดั • ว 3.2 ม.6/7 อธิบายปัจจัยสาคัญที่มีผลต่อการได้รับพลังงานจากดวงอาทิตย์ แตกตา่ งกันในแต่ละบริเวณของโลก • ว 3.2 ม.6/8 อธิบายการหมุนเวียนของอากาศที่เป็นผลมาจากความแตกต่างของ ความกดอากาศ • ว 3.2 ม.6/9 อธิบายทิศทางการเคล่ือนที่ของอากาศท่ีเป็นผลมาจากการหมุนรอบ ตวั เองของโลก • ว 3.2 ม.6/10 อธิบายการหมุนเวียนของอากาศตามเขตละติจูด และผลที่มีต่อ ภูมอิ ากาศ • ว 3.2 ม.6/11 อธิบายปัจจัยที่ทาให้เกิดการหมุนเวียนของนาผิวหน้าในมหาสมุทร และรูปแบบการหมนุ เวยี นของนาผิวหนา้ ในมหาสมุทร • ว 3.2 ม.6/12 อธิบายผลของการหมุนเวียนของอากาศและนาผิวหน้าในมหาสมุทรที่ มตี ่อลักษณะภมู ิอากาศ ลมฟ้าอากาศ ส่ิงมีชวี ติ และสิง่ แวดลอ้ ม • ว 3.2 ม.6/13 อธิบายปัจจัยท่ีมีผลต่อการเปล่ียนแปลงภูมิอากาศของโลก พร้อมทัง นาเสนอแนวปฏิบัติเพื่อลดกิจกรรมของมนุษย์ ที่ส่งผลต่อการ เปลี่ยนแปลงภมู อิ ากาศโลก • ว 3.2 ม.6/14 แปลความหมายสัญลักษณ์ลมฟ้าอากาศท่ีสาคัญจากแผนท่ีอากาศ และนาข้อมูลสารสนเทศต่างๆ มาวางแผนการดาเนินชีวิตให้ สอดคลอ้ งกบั สภาพลมฟา้ อากาศ
แบบทดสอบก่อนเรยี น
1. ข้อใดไม่ใช่ปัจจัยทที่ าให้แต่ละบริเวณของโลกได้รับ 6. ข้อใดไม่ใช่ปัจจัยทท่ี าให้เกดิ การหมุนเวยี นของกระแสนา้ พลงั งานจากดวงอาทติ ย์ไม่เท่ากนั ผวิ หน้า 1. รูปทรงของโลก 2. การเอยี งของแกนโลก 1. ความเค็ม 2. แรงคอริออลสิ 3. ลกั ษณะของพืน้ ผวิ โลก 3. ลมพดั เหนือผวิ นา้ 4. ความแตกต่างของอณุ หภูมิ 4. ปริมาณของเมฆและละอองลอย 5. การหมุนรอบตวั เองของโลก 5. ความแตกต่างของความกดอากาศ 7. ปรากฏการณ์เอลนีโญเกดิ ขึน้ จากสาเหตุใด 2. ข้อใดเป็ นปัจจัยทที่ าให้อากาศมีการเคลื่อนที่จากบริเวณ 1. ลมค้ามกี าลงั แรงขนึ้ หนึ่งไปยงั อกี บริเวณหนึ่ง 2. โลกได้รับพลงั งานความร้อนน้อยลง 1. อณุ หภูมทิ ้งั สองบริเวณเท่ากนั 3. ลมค้าอ่อนกาลงั ลง หรือเปลย่ี นทศิ ทางการเคลื่อนท่ี 2. ความกดอากาศท้งั สองบริเวณเท่ากนั 3. ลกั ษณะพืน้ ผวิ ท้งั สองบริเวณเหมือนกัน 4. กระแสนา้ อ่นุ จากทวปี อเมริกาใต้เคล่ือนทไ่ี ปประเทศ 4. ความกดอากาศท้งั สองบริเวณแตกต่างกนั ออสเตรเลยี 5. ความชันของความกดอากาศมคี ่าเท่ากบั ศูนย์ 5. กระแสนา้ เยน็ จากทวปี อเมริกาใต้เคล่ือนทไ่ี ปประเทศ 3. ลมเกดิ ขึน้ ได้อย่างไร ออสเตรเลยี 1. อากาศมคี วามหนาแน่นคงท่ี 8. ข้อใดไม่ใช่กระบวนการทางธรรมชาตทิ ี่ส่งผลต่อการ 2. มคี วามแตกต่างของความกดอากาศ เปลย่ี นแปลงภูมิอากาศโลก 3. อากาศหนาวเคล่ือนมาแทนทอ่ี ากาศร้อน 4. เกดิ จากการขยายตัวของอากาศ ทาให้อากาศเคล่ือนที่ 1. การระเบิดของภูเขาไฟ 5. เกดิ การเปลยี่ นแปลงของแรงดันอากาศ ส่งผลให้ 2. การหมุนควงของแกนโลก ความหนาแน่นของอากาศเปลยี่ นแปลง 3. การเคล่ือนทขี่ องแผ่นธรณี 4. สถานการณ์ในข้อใดทอี่ ธิบายทศิ ทางการเคลื่อนที่ของลม 4. การเปลย่ี นแปลงมุมเอยี งของแกนโลก ได้ถูกต้อง 5. การเปลยี่ นแปลงอณุ หภูมิของนา้ ในมหาสมุทร 1. ลมตะวนั ตกจะพดั ในทศิ ทางเดียวกบั ลมค้า 9. ถ้าพบสัญลกั ษณ์ H บนแผนทอ่ี ากาศ บริเวณน้ันจะมี 2. ลมค้าในซีกโลกเหนือจะพดั จากทศิ ตะวนั ตกไปยงั ทิศ ลกั ษณะอากาศเป็ นอย่างไร ตะวนั ออก 1. พายไุ ต้ฝ่ ุน 3. ลมทพ่ี ดั จากข้วั โลกใต้ไปหาเส้นศูนย์สูตรจะเบนไป ทางขวาเสมอ 2. พายุดีเปรสช่ัน 4. ลมทพี่ ดั จากข้วั โลกเหนือไปหาเส้นศูนย์สูตรจะเบนไป 3. แนวร่องมรสุมพดั ผ่าน ทางซ้ายเสมอ 4. หย่อมความกดอากาศตา่ 5. ลมค้าในซีกโลกใต้จะพดั จากทศิ ตะวนั ออกเฉียงใต้ไปยงั 5. หย่อมความกดอากาศสูง ทศิ ตะวนั ตกเฉียงเหนือ 10. เพราะเหตุใดการตรวจวดั อากาศจึงต้องปฏิบัตบิ ่อยคร้ัง 5. ปัจจัยหลกั ทท่ี าให้กระแสนา้ ผวิ หน้าในมหาสมุทรเกดิ การ ทส่ี ุดเท่าทจ่ี ะทาได้ หมุนเวยี นคือข้อใด 1. เพื่อให้ได้ข้อมูลทแี่ ม่นยา 1. การเคลื่อนทขี่ องลมทอี่ ย่เู หนือมหาสมุทร 2. เพื่อเพม่ิ ความชานาญในการตรวจวดั ของเจ้าหน้าท่ี 2. ปริมาณของเกลือทลี่ ะลายอย่ใู นมหาสมุทร 3. เพื่อให้ข้อมูลมีความทนั สมยั ใกล้เคียงกบั ต่างประเทศ 3. อณุ หภูมทิ แ่ี ตกต่างกนั ในแต่ละบริเวณของมหาสมุทร 4. เพื่อให้ได้ข้อมูลจานวนมากเพยี งพอกบั การพยากรณ์ 4. ความเค็มทแ่ี ตกต่างกนั ในแต่ละบริเวณของมหาสมุทร อากาศ 5. ความหนาแน่นทแี่ ตกต่างกนั ในแต่ละบริเวณของ 5. เพ่ือให้ได้ข้อมูลของอากาศซ่ึงมีการเปลย่ี นแปลงอยู่ มหาสมุทร ตลอดเวลา
ลมฟ้าอากาศและภมู อิ ากาศ ใหน้ ักเรยี นพจิ ารณาข้อความวา่ ถกู หรือผดิ ทาเครอื่ งหมาย ✓ หนา้ ขอ้ ความทถ่ี ูก ทาเครอ่ื งหมาย หน้าข้อความทีผ่ ิด 1. พ้นื ผิวโลกในแตล่ ะบรเิ วณไดร้ บั พลงั งานจากดวงอาทติ ยเ์ ท่ากนั 2. การหมนุ เวยี นของอากาศเกดิ ข้ึนจากความแตกตา่ งของอณุ หภมู ิ อากาศระหวา่ ง 2 บรเิ วณ 3. การหมนุ เวยี นของกระแสน้าผิวหนา้ ในมหาสมทุ รมที ิศทางเดียวกนั ทง้ั ซีกโลกเหนือและซกี โลกใต้ 4. กจิ กรมมบางอย่างของมนุษยส์ ง่ ผลต่อสมดุลพลงั งานของโลก 5. หากตอ้ งการทราบค่าอณุ หภมู ิของอากาศ สามารถอา่ นไดจ้ ากแผนท่อี ากาศ
ลกั ษณะลมฟ้าอากาศสง่ ผลตอ่ การดารงชีวติ อย่างไร
ปัจจัยทีส่ ่งผลตอ่ การรบั รังสีดวงอาทิตย์ 1 สณั ฐานโลก ทาใหร้ ังสดี วงอาทิตย์ตกกระทบผวิ โลกด้วยมมุ ต่างกนั มมุ ตกกระทบ ตังฉาก ความเข้มรังสี มาก มมุ ตกกระทบ น้อย ความเข้มรงั สี นอ้ ย โลกมรี ูปทรงทเ่ี กอื บจะเป็นทรงกลม ทาใหร้ งั สจี ากดวงอาทติ ยต์ กกระทบ พ้นื ผวิ โลกบริเวณละตจิ ูดต่างๆดว้ ยมมุ ต่างกนั ❑ ซง่ึ บริเวณทร่ี งั สตี กกระทบตง้ั ฉากกบั พ้นื ผวิ โลก จะมคี วามเขม้ ของรงั สมี ากกวา่ บรเิ วณทร่ี งั สมี มี มุ ตกกระทบนอ้ ย เน่ืองจากบริเวณทร่ี งั สตี กกระทบตง้ั ฉากมพี ้นื ทท่ี ไ่ี ดร้ บั รงั สนี อ้ ยกวา่ จงึ ทา ใหม้ คี วามเขม้ ของรงั สมี าก
2 การเอยี งของแกนโลก และการโคจรของโลกรอบดวงอาทติ ย์ ทาให้ตาแหน่งทร่ี งั สีดวงอาทิตยต์ กกระทบต้ังฉากผิวโลกเปล่ียนไปในรอบ 1 ปี การทแ่ี กนโลกเอยี งทามมุ กบั ระนาบการโคจรของโลกปจั จบุ นั แกนโลกเอยี งเป็นมมุ ประมาณ 23.5 องศา การโคจรของโลกรอบดวงอาทติ ยท์ าใหบ้ รเิ วณทร่ี งั สจี ากดวงอาทติ ยต์ กกระทบตง้ั ฉากกบั พ้นื ผวิ โลก เปลย่ี นแปลงไปในรอบ 1 ปี จงึ ทาใหเ้กดิ ฤดูกาล ❖ วนั วสนั ตวษิ ุวตั วนั ท่ี 20 หรอื 21 มนี าคม เป็นวนั ฤดูใบไมผ้ ลใิ นซกี โลกเหนือและ ❖ วนั ครษี มายนั วนั ท่ี 21 หรอื 22 มถิ นุ ายน ใบไมร้ ่วงในซกี โลกใต้ ❖ วนั ศารทวษิ ุวตั วนั ท่ี 22 หรอื 23 กนั ยายน เป็นช่วงกลางฤดูรอ้ นในซกึ โลกเหนือและ ❖ วนั เหมายนั วนั ท่ี 21 หรอื 22 ธนั วาคม เร่มิ ฤดูหนาวในซกี โลกใต้ เป็นวนั เร่มิ ตน้ ใบไมร้ ่วงในซกี โลกเหนือและ เร่มิ ฤดูใบไมผ้ ลใิ นซกี ใต้ เป็นช่วงกลางฤดูหนาวในซกี โลกเหนือและ เร่มิ ตน้ ฤดูรอ้ นในซกี โลกใต้ 21 หรอื 22 ธันวาคม 22 หรือ 23 กันยายน รงั สีตกกระทบท่ีเสน้ ศูนยส์ ูตร รังสตี กกระทบที่ 23.5 °S 20 หรือ 21 มีนาคม 21 หรือ 22 มถิ นุ ายน รงั สตี กกระทบท่ีเสน้ ศนู ยส์ ตู ร รังสีตกกระทบท่ี 23.5 °N
2 ลักษณะของพนื ผวิ โลก บนพ้นื โลกประกอบดว้ ยมหาสมทุ รและส่วนทเ่ี ป็นพ้นื ดนิ เช่น ป่าไม้ ภูเขา ทะเลทราย ลกั ษณะพ้นื ผิวท่ี อตั ราสว่ นรงั สสี ะทอ้ น= ความเขม้ รงั สสี ะทอ้ นจากพ้นื ผวิ แตกตา่ งกนั จะมี ความเขม้ รงั สที ง้ั หมดทต่ี กกระทบพ้นื ผวิ ความสามารถในการ ดูดกลนื และสะทอ้ น พ้นื ผวิ อตั ราสว่ นรงั สสี ะทอ้ น รงั สไี ม่เท่ากนั ดิน 0.05-0.4 ซ่ึงอตั ราสว่ นของ ทราย 0.15-0.45 ความเขม้ รงั สที ่สี ะทอ้ น สนามหญา้ 0.16-0.26 จากพ้นื ผวิ ต่อความเขม้ ป่ าไม ้ 0.05-0.2 รงั สที ง้ั หมดท่ตี ก แหลง่ น้า 0.03-1.0 กระทบพ้นื ผิว เรยี กวา่ หมิ ะ 0.4-0.95 อตั ราสว่ นรงั สสี ะทอ้ น เมฆ 0.3-0.9
3 เมฆและละอองลอย เมฆและละอองลอยมาก ความเขม้ รังสีตกกระทบผวิ โลกนอ้ ย เมฆและละอองลอยน้อย ความเข้มรงั สีตกกระทบผิวโลกมาก
จากปจั จยั ทง้ั หมด ทาใหโ้ ลกไดร้ บั ปริมาณรงั สที แ่ี ตกต่างกนั ทาใหพ้ ้นื ผิวดลกในแต่ละ บรเิ วณมคี วามเขม้ ของรงั สจี ากดวงอาทติ ยไ์ ม่เทา่ กนั และทาใหอ้ ณุ หภมู ขิ อง อากาศในแต่ละบรเิ วณแตกต่างกนั จงึ สง่ ผลใหเ้กดิ การถา่ ยโอนพลงั งาน ระหวา่ งบรเิ วณต่างๆและทาใหเ้กิดการหมนุ เวยี นของอากาศบนโลก
การหมนุ เวียนของอากาศ เคลอื่ นไปแทนท่ี ความกดอากาศสูง อุณหภูมิต่า ความกดอากาศต่า อุณหภมู สิ งู อากาศจมตัวลง อากาศยกตัวสูงขนึ อากาศจะเคลอ่ื นทจ่ี ากบรเิ วณทม่ี คี วามกดอากาศสูง (อณุ หภมู ติ า่ ) ไปยงั บรเิ วณทม่ี คี วามกดอากาศตา่ (อณุ หภมู สิ ูง) ในแนวราบ บรเิ วณทม่ี คี วามกดอากาศสูงอากาศจะจมตวั ลง บรเิ วณทม่ี คี วามกดอากาศตา่ อากาศจะยกตวั ข้นึ ซง่ึ เป็นการเคลอ่ื นทข่ี องอากาศในแนวดง่ิ การเคลอ่ื นทข่ี องอากาศทงั้ ในแนวราบและในแนวดง่ิ จะหมนุ เวยี นแทนทก่ี นั ตลอดเวลาทา ใหเ้กดิ การหมนุ เวยี นของอากาศบนโลก
แรงท่เี กิดจากความแตกตา่ งของความกดอากาศ (pressure gradient force; pgf) Pgf มาก อากาศเคล่ือนทเ่ี ร็ว 11,0,03120,6012,0218 1,006 1,016 1,0141,010 Pgf น้อย อากาศเคลอ่ื นท่ีชา้ อณุ หภมู ิของอากาศจะสมั พนั ธก์ บั ความกดอากาศ อากาศท่ีมีอณุ หภมู ิตา่ อากาศจะมีความหนาแน่นมากและจมตวั ลง ทาใหม้ ีความกดอากาศสูง อากาศท่ีมีอณุ หภมู ิสูง อากาศจะมีความหนาแน่นนอ้ ยและลอยตวั สูงข้ึน ทาใหม้ ีความกดอากาศตา่ ซ่ึงหากมีความแตกตา่ งกนั ของเม่ือความกดอากาศแตล่ ะบรเิ วณไม่เทา่ กนั จะทาใหเ้ กดิ แรง เรยี กวา่ แรงท่เี กดิ จากความแตกต่างของความกดอากาศ (pressure gradient force ; pgf) ความกดอากาศมาก อากาศจะเคล่อื นท่ดี ว้ ยความเรว็ สูง ความกดอากาศนอ้ ย อากาศจะเคลอ่ื นท่ดี ว้ ยความเรว็ ตา่
แรงคอรอิ อลิส (Coriolis force) : แรงที่เกดิ ขึนจากการหมนุ รอบตัวเองของโลก เส้นศูนยส์ ูตร ความกดอากาศต่า ขวั โลก ความกดอากาศสูง ถ้าโลกไมห่ มุนรอบตัวเอง อากาศทเ่ี คลอื่ นที่จากขัว้ โลก มายงั เส้นศูนย์สูตรจะเคลื่อนท่ี เป็นเสน้ ตรง เมื่อโลกหมุนรอบตวั เอง อากาศที่เคลื่อนที่จากขัว้ โลก มายงั เส้นศูนยส์ ูตรจะเคลือ่ นที่ เบ่ียงเบนไป ขัวโลก ความกดอากาศสงู
แบบจาลองการหมนุ เวยี นอากาศแบบเซลลเ์ ดียว จอรจ์ แฮดลยี ์ ไดส้ รา้ งแบบจาลองการหมนุ เวยี นของอากาศแบบเซลลเ์ ดยี ว “บรเิ วณศูนยส์ ูตรของโลกจะมคี วามเขม้ ขน้ ของรงั สจี ากดวงอาทติ ยม์ าก ทาใหอ้ ณุ หภูมอิ ากาศสูงกวา่ บรเิ วณอน่ื อากาศทม่ี คี วามความกดอากาศตา่ จะยกตวั สูงข้นึ และเคลอ่ื นทไ่ี ปยงั ขว้ั โลก ในขณะทอ่ี ากาศเยน็ จากบรเิ วณขวั้ โลกจะเคลอ่ื นทม่ี ายงั บรเิ วณศูนยส์ ูตร ซง่ึ เกดิ เป็นการหมนุ เวยี นอากาศของโลก” ในความเป็ นจรงิ โลกหมนุ รอบตวั เอง ตลอดเวลา รงั สจี ากดวง อาทิตยต์ กกระทบทามมุ ตาม การเอยี งของแกนโลกและ พ้นื ผิวโลกมีความแตกต่าง ทาใหแ้ บบจาลองของแฮดลยี ์ ไม่สามารถอธิบายการ เคล่อื นท่ขี องอากาศท่ีเกดิ จาก การหมนุ รอบตวั เองของโลก ได้ สมมตฐิ าน - โลกมพี ื้นผวิ เหมือนกันทงั้ หมด - รงั สดี วงอาทติ ย์ตกกระทบบรเิ วณเสน้ ศนู ย์สูตร - โลกไม่หมุนรอบตัวเอง
แบบจาลองการหมุนเวียนอากาศแบบท่ัวไป 60° แฮดลยี ์เซลล์ (hadley cell) (เส้นศูนยส์ ูตร - 30°) แนวความกดอากาศ 30° - อากาศจากเสน้ ศนู ยส์ ตู รเคลอ่ื นท่ไี ปยงั ละตจิ ูดสูง สงู กึง่ เขตลร้อมนคา้ แล้วจมตัวลงท่ีละตจิ ดู 30° - อากาศที่ละติจูด 30° เคล่ือนไปแทนที่อากาศท่ี แนวความกดอากาศต่า 0° เสน้ ศูนยส์ ูตร บริเวณศนู ยลส์ มตู คร้า 30° โพลาเซลล์ (polar cell) แนวความกดอากาศ (60° - ขัวโลก) - อากาศจากข้ัวโลกเคลื่อนทไ่ี ปยงั ละตจิ ดู ต่า สงู กง่ึ เขตรอ้ น 60° เม่อื อากาศเย็นปะทะอากาศอนุ่ ท่ลี ะตจิ ูด 60° อากาศจะยกตัวขึน้ แลว้ เคล่ือนท่ีกลบั ไปยงั ขว้ั โลก แนวความกดอากาศสูงขัวโลก เฟอร์เรลเซลล์ (ferrell cell) แนวความกดอากาศตา่ กึ่ง6ข0วั °โลก (30° - 60°) 30° - อากาศท่จี มตวั ท่ลี ะตจิ ูด 30° บางส่วนเคล่ือนท่ี 0° ไปทางเส้นศนู ย์สูตร บางส่วนเคล่ือนที่ไปทาง 30° ละตจิ ูด 60° - อากาศอุน่ จากละตจิ ูด 30° ปะทะกบั อากาศเยน็ แนวความกดอากาศต่ากึ่ง6ข0ัว°โลก ที่ละติจูด 60° อากาศจะยกตัวขน้ึ แลว้ เคลอ่ื นที่ กลบั ไปทล่ี ะตจิ ดู 30° แนวความกดอากาศสูงขวั โลก แนวความกดอากาศต่ากึง่ ขวั 6โล0ก° ลมตะวันตก แนวความกดอากาศสูงก่งึ เขตรอ้ น 30° 0° แนวความกดอากาศสูงกงึ่ เขตร้อน ลมตะว3ัน0ตก° แนวความกดอากาศต่ากึง่ ขวั 6โล0ก°
การหมนุ เวยี นของนาผวิ หนา้ ในมหาสมทุ ร ซกี โลกเหนอื หมนุ เวยี นตามเข็มนาฬกิ า กระแสนาเยน็ ไหลผ่าน - อากาศแห้ง - ความชืน้ ต่า - เมฆและฝนนอ้ ย ซกี โลกใต้ หมนุ เวยี นทวนเข็มนาฬกิ า กระแสนาอ่นุ ไหลผ่าน - อากาศอนุ่ - ความชน้ื สูง - เมฆและฝนมาก
บรเิ วณขอบมหาสมทุ รอาจพบการหมนุ เวยี นของนา้ ในรูปแบบหน่งึ โดยมกี ารยกตวั และจมตวั ของนา้ ผวิ หนา้ มหาสมทุ ร เมอ่ื ลมพดั ขนานกบั ชายฝงั่ มวลนา้ ชนั้ บนถกู ลมพดั ออกไปจากชายฝงั่ มวลนา้ ชนั้ ลา่ งจะเขา้ มาแทนทม่ี วลของนา้ ชน้ั บน โดยมวลของนา้ ชนั้ ลา่ งจะนาสารอาหาร ทส่ี ะสมตวั อยู่ทพ่ี ้นื ทะเลข้นึ มาดว้ ย ทาใหช้ ายฝงั่ บริเวณนน้ั อดุ มสมบูรณ์ นา้ ผดุ (upwelling) คอื เมอ่ื เกดิ ลม มวลนา้ ชน้ั บนถกู ลมพดั ออกไปจากชายฝงั่ มวลนา้ ชน้ั ลา่ งจะเขา้ มาแทนทม่ี วลของนา้ ชนั้ บน นา้ จม (downwelling) คอื เมอ่ื เกดิ ลมพดั มวลนา้ ชนั้ บนจะถกู พดั เขา้ ชายฝงั่ และจมตวั ลง
ปรากฏการณเ์ อลนโี ญ - ลานีญา 1 เอลนโี ญ (El niño) 2 ลานญี า (La niña) ปรากฎการณ์เอลนีโญ ปรากฎการณ์ลานีญา ➢ เกดิ ข้นึ ในซกี โลกใต้ ในบรเิ วณมหาสมทุ ร ➢ ลมคา้ มกี าลงั แรงมากกวา่ ปกติ กระแส แปซฟิ ิก นา้ อ่นุ ถกู พดั ไปทางฝงั่ ตะวนั ตกของ ➢ ลมคา้ อ่อนตวั ลง กระแสนา้ อ่นุ จะถูกพดั ไป มหาสมทุ รมากข้นึ ทางฝงั่ ตะวนั ตกของมหาสมทุ รนอ้ ยลง ➢ ทาใหอ้ ากาศมคี วามแตกต่างของอณุ หภูมิ ➢ ผวิ นา้ หนา้ มหาสมทุ รบรเิ วณน้จี งึ มอี ณุ หภมู ิ ระหวา่ งชายฝงั่ ทง้ั 2 ดา้ น ของมหาสมทุ ร ตา่ กวา่ ปกตแิ ละสภาพอากาศแหง้ แลง้ ➢ ฝงั่ ตะวนั ออกของมหาสมทุ ร นา้ ชนั้ ลา่ งจะ แปซฟิ ิกมาก ➢ โดยชายฝงั่ ตะวนั ตกของมหาสมทุ รจะมี ยกตวั ข้นึ สูช่ น้ั บนไดน้ อ้ ยลง ➢ นา้ ผวิ หนา้ มหาสมทุ รจงึ มอี ณุ หภูมสิ ูงกวา่ อณุ หภมู ขิ องนา้ สูงกว่าปกติ สภาพอากาศ ปกติ สภาพอากาศมเี มฆมากและฝนตกชกุ มเี มฆมากและฝนตกชกุ ➢ สว่ นชายฝงั่ ตะวนั ออกของมหาสมทุ รจะมี การยกตวั ของนา้ ชน้ั ลา่ งข้นึ มาสู่ชน้ั บนมาก ข้นึ นา้ ผวิ หนา้ จงึ มอี ณุ หภูมติ า่ กวา่ ปกติ
ปจั จยั ทส่ี ง่ ผลต่อ การเปลย่ี นแปลงภมู ิอากาศ 1 วัฏจกั รมิลานโควทิ ช์ 4 การเคลอ่ื นทข่ี องแผน่ ธรณี 2 การระเบิดของภเู ขาไฟ 5 การเปล่ยี นแปลงลกั ษณะของ พนื ผวิ โลก 3 การเปลย่ี นแปลง 6 ปรมิ าณละอองลอยในชนั องค์ประกอบของบรรยากาศ บรรยากาศ 7 ปริมาณแกส๊ เรอื นกระจก
ผลกระทบจาก การเปล่ยี นแปลงภูมิอากาศ ภาวะเรอื นกระจกรุนแรง ภยั ธรรมชาติ ภาวะโลกร้อน ความหลากหลายทางชวี ภาพลดลง ปัญหาดา้ นสุขภาพอนามยั ของมนุษย์
ขอ้ มูลและสารสนเทศ ทางอุตนุ ิยมวิทยา 1 การตรวจอากาศ การตรวจวดั และจดบนั ทกึ ข้อมลู ทางอตุ ุนยิ มวิทยาในแตล่ ะชว่ งเวลา และอยา่ งตอ่ เนอ่ื ง การตรวจอากาศผวิ พืน ทวปี มหาสมุทร สนามอุตุนยิ มวิทยา เรอื ตรวจอากาศ / ทนุ่ ตรวจอากาศ
การตรวจอากาศชนั บน กล้องทีโอโดไลต์ ติดตามการเคลื่อนที่ของบอลลูนตรวจ อากาศ แล้วคานวณหาความเร็วและ ทิศทางของลมดว้ ยวธิ ตี รโี กณมติ ิ บอลลนู ตรวจอากาศ เครื่องมือที่นาบอลลนู หย่ัง อากาศขนึ ไปสบู่ รรยากาศ ชันบน บอลลนู หยั่งอากาศ เครื่องมอื อิเลก็ ทรอนิกสท์ ่มี ี ลักษณะเป็นกล่องโดยตดิ ตัง กบั บอลลูนตรวจอากาศ
การตรวจด้วยเรดาห์ ตรวจวัดสภาพอากาศโดยสง่ คล่นื แมเ่ หลก็ ไฟฟา้ พลังงานสูงออกไปตาม รัศมตี รวจวัดผ่านทาง เสาอากาศ การตรวจดว้ ยดาวเทียม ดาวเทยี มทใ่ี ชส้ ารวจทางดา้ นอุตนุ ยิ มวทิ ยาแบง่ เป็น 2 ประเภท 12 ดาวเทยี มอตุ ุนิยมวิทยา ดาวเทยี มอตุ ุนิยมวิทยาประเภทวง ประเภทวงโคจรค้างฟ้า โคจรผ่านขัวโลก
2 แผนทอี่ ากาศผวิ พืน แสดงภาพรวมของอากาศในรูปของตวั เลข รหัส หรือสญั ลกั ษณ์ ทศิ ทางและอตั ราเรว็ ลม อณุ หภูมิอากาศ 14 107 ความกดอากาศ ลกั ษณะอากาศ 13 อุณหภมู ิจดุ นาคา้ ง 17 คา่ การเปลย่ี นแปลง ความกดอากาศ ปรมิ าณเมฆ ปรมิ าณเมฆ แบ่งทอ้ งฟ้าเป็น 10 หรอื 8 ส่วน แลว้ สงั เกตวา่ มเี มฆอย่กู ่ีส่วนในทอ้ งฟา้ ไม่มีเมฆ มเี มฆ 5 ใน 8 ส่วน มีเมฆนอ้ ยมาก มเี มฆเกิน 6 ใน 8 ส่วน มเี มฆ 2 ใน 8 สว่ น มีเมฆ 7 ใน 8 ส่วน มีเมฆ 3 ใน 8 ส่วน มเี มฆเต็มท้องฟ้า มีเมฆ 4 ใน 8 สว่ น ไม่สามารถประมาณคา่ ได้
ทศิ ทางลมและอัตราเร็วลม ทศิ ทางลม แสดงด้วย เส้นที่ลากเขา้ หาสัญลกั ษณ์ปรมิ าณเมฆ อตั ราเรว็ ลม แสดงดว้ ย ขีดที่อยูป่ ลายเสน้ ทศิ ทางลม ลมสงบ 18-22 นอต 3-7 นอต 23-27 นอต 8-12 นอต 28-32 นอต 13-17 นอต ลกั ษณะอากาศ ฝนละออง ขนาดเบา ตกตอ่ เน่ืองกนั ทศั นวิสยั ต่าเพราะควนั จากแหลง่ ตา่ ง ๆ ฝนธรรมดา ขนาดเบา ตกเปน็ ระยะ เช่น ควันจากไฟป่า ควันจากโรงงาน ๆ (ทศั นวิสยั ตงั้ แต่ 5 กม. ขึน้ ไป) ฟ้าหลวั (haze) (ทศั นวิสยั ตงั้ แต่ 1 กม. ถงึ ฝนธรรมดา ขนาดเบา ตกต่อเน่อื งกนั น้อยกว่า 10 กม. ความช้ืนตา่ กว่า 65%) ฝนธรรมดา ขนาดปานกลาง ตกเปน็ ระยะ ๆ หมอกนา้ ค้าง (mist) (ทศั นวิสยั ตงั้ แต่ 1 กม. ถึง (ทศั นวสิ ยั 1.5 กม. ถงึ น้อยกว่า 5 กม.) นอ้ ยกวา่ 10 กม. ความชื้นตัง้ แต่ 65% ข้ึนไป) ฝนธรรมดา ขนาดปานกลาง ตก หมอก (มองไมเ่ ห็นทอ้ งฟ้า) ตอ่ เน่ืองกัน ฝนละออง ขนาดเบา ตกเปน็ ระยะ ๆ (ทศั นวิสยั นอ้ ยกวา่ 1 กม.)
ลกั ษณะอากาศ ฟา้ คะนองหรอื พายฟุ า้ คะนอง (ไมม่ ีฝนตกท่ีสถานี) ฝนธรรมดา ขนาดหนกั ตกเปน็ ระยะ ๆ (ทัศนวิสยั น้อยกว่า 1.5 กม.) มฝี นฟ้าคะนองหยุดไปขณะทาการตรวจ ฝนธรรมดา ขนาดหนกั ตกต่อเนือ่ งกัน แตข่ ณะตรวจมฝี นธรรมดา ขนาดปานกลาง หรอื หนกั หิมะ ขนาดเบา ตกเป็นระยะ ๆ พายสุ ควอลส์ทีส่ ถานี ฟ้าแลบ (ไม่มเี สยี งฟา้ รอ้ ง) ทอร์นาโดหรอื เมฆงวงชา้ ง สภาพลมฟ้าอากาศบรเิ วณกว้าง เส้นความกดอากาศเท่า บริเวณที่มคี วามกดอากาศเท่ากัน และแสดงกาลังลม โดยหาก เสน้ อยูห่ ่างกนั แสดงวา่ ลมมีกาลังอ่อน แตห่ ากเสน้ อย่ชู ดิ กนั แสดงว่าลมมกี าลังแรง หยอ่ มความกดอากาศต่า แสดงบรเิ วณทม่ี ีความกดอากาศตา่ กว่าบรเิ วณโดยรอบ หย่อมความกดอากาศสูง แสดงบริเวณทมี่ คี วามกดอากาศสงู กว่าบรเิ วณโดยรอบ พายดุ เี ปรสชนั แสดงพายุหมุนเขตร้อนชนิดตา่ ง ๆ ใช้ในซีกโลกใต้ ใชใ้ นซีกโลกเหนอื พายุโซนร้อน พายไุ ตฝ้ ุ่นหรอื พายุไซโคลน
สัญลักษณอ์ ื่น ๆ แนวปะทะอากาศเยน็ แนวทมี่ วลอากาศเย็นเคลอ่ื นเข้าหามวลอากาศอุ่น แล้ว มวลอากาศอนุ่ ยกตวั ขึ้น ซง่ึ จะมลี มแรง พายุฝนฟ้าคะนอง แนวปะทะอากาศอุ่น แนวท่ีมวลอากาศอุ่นเคลอื่ นเข้าหามวลอากาศเยน็ แลว้ มวลอากาศอุ่นยกตวั ขน้ึ ซง่ึ จะมีลมแรง เกิดฝนพรา ๆ แนวปะทะอากาศรวม แนวทีม่ วลอากาศเย็นเคล่อื นทเ่ี ขา้ หากนั โดยตรงกลางเป็น มวลอากาศอุ่น แลว้ มวลอากาศอนุ่ ยกตัวข้นึ ซ่ึงจะมลี มแรง พายุฝนฟา้ คะนอง แนวปะทะอากาศคงที่ แนวทมี่ วลอากาศอ่นุ กบั มวลอากาศเยน็ เคล่อื นเขา้ หากนั แต่ ไมเ่ ข้าแทนทกี่ นั ซ่ึงอาจมีทอ้ งฟ้าโปร่ง หรือมโี อกาสเกดิ ฝนหรอื หมิ ะตอ่ เนื่องยาวนาน รอ่ งความกดอากาศตา่ บรเิ วณแนวความกดอากาศต่าท่ลี มคา้ จากทั้งซีกโลกเหนอื และซกี โลกใต้พดั เข้าหากัน ซ่งึ จะมีฝนตกชกุ พายุฝนฟา้ คะนอง ลมกระโชกแรง 3 ภาพเรดาร์ตรวจอากาศ ตรวจวัดหยาดนาฟา้ โดยปลอ่ ย คล่ืนไมโครเวฟออกไปกระทบ กบั เมฆฝนแลว้ คล่นื สะท้อน กลับมาสตู่ ัวรบั สัญญาณ สที ่ีแสดงค่าคล่ืนสะทอ้ นมากกวา่ 20 เดซเิ บล แปลความได้วา่ พ้นื ทนี่ ัน้ ๆ มฝี นตก
4 ภาพถ่ายดาวเทยี ม - ชว่ งคลน่ื อนิ ฟราเรด : ตรวจวัดปริมาณรังสีอินฟราเรดทแ่ี ผ่ออกมา จากวตั ถุ ปรบั สี สเี ทาเข้ม สีเทาออ่ น ชว่ ยให้แปลความหมายไดง้ า่ ยข้นึ อณุ หภูมสิ งู อณุ หภมู ิต่า - ชว่ งคลื่นทมี่ องเหน็ : ตรวจวดั อัตราส่วนรังสสี ะทอ้ นของวัตถุ ใช้พิจารณาความหนาของเมฆ เมฆหนา : ภาพสขี าว เมฆบาง : ภาพสีเทา
การใช้ประโยชน์จากข้อมลู และสารสนเทศทางอุตนุ ยิ มวทิ ยา การวางแผนดาเนนิ ชวี ติ ประจาวัน สามารถวางแผนการเดินทาง และเตรยี ม พร้อมรับมือกบั สภาพลมฟา้ อากาศได้ เช่น การเตรียมรม่ หมวก เพอื่ ปอ้ งกนั แดดและฝน การคมนาคม สามารถวางแผนการเดินทางเพ่อื หลีกเลี่ยงผลกระทบ จากสภาพลมฟ้าอากาศ เช่น พายุ ฝนฟ้าคะนอง การทาเกษตรกรรมและการประมง การปลูกพืชให้เหมาะสมกบั สภาพอากาศ การเกบ็ สารองน้า การวางแผนการเดินเรอื ให้ปลอดภยั จากพายฝุ นฟา้ คะนอง การวางแผนเพื่อลดผลกระทบจากภยั ธรรมชาติ เช่น การบรหิ ารจดั การน้าในเข่อื นเพ่อื ลดผลกระทบจาก อุทกภยั และสารองปรมิ าณน้าไวใ้ ช้เมื่อเกดิ ภยั แลง้
แบบทดสอบหลงั เรยี น
1. 6. 1. 1. 2. 2. 3. 4. 3. 5. 4. 23.5 7. 5. 2. 1. 2. 1. 3. 4. 2. 5. 3. 8. 4. 5. 1. 40 225 1-3 ./ . 3. 2. 40 1022.5 1-3 ./ . 3. 40 225 1-3 ./ . 1. 4. 40 225 2. 5. 40 1022.5 1-3 ./ . 3. 9. 8. 1-3 ./ . 1. 4. 2. 3. 5. 4. 5. 4. 10. 1. 1) 2. 2) 3. 3) 4. 4) 5. 5) 5. 1. 1 2 3 4 5 1. 2. 5 4 3 2 1 2. 3. 2 3 5 1 4 3. 4. 3 1 4 2 5 4. 5. 4 2 1 3 5 5.
ขอบคุณค่ะ
Search
Read the Text Version
- 1 - 33
Pages: