Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore คู่มือวิชาแผนที่

คู่มือวิชาแผนที่

Published by teacher.aavns, 2022-11-08 02:36:36

Description: คู่มือวิชาแผนที่สำหรับหลักสูตร
- ศิษย์การบินทหารบก
- ช่างอากาศยานทหารบก
- ชั้นนายพันทหารการบิน
- ช่างอากาศยานทหารบก

Search

Read the Text Version

๑-๑ ตอนที่ ๑ การอา่ นแผนที่ กลา่ วทว่ั ไป แผนที่ เป็นเครื่องมือที่ให้ข้อมูลพื้นฐาน ช่วยในการวางแผน การบันทึก และการวิเคราะห์ข้อมูลทาง ภูมิศาสตร์ นาไปสูก่ ารแกไ้ ขปญั หา และการพฒั นาในด้านต่าง ๆ อกี ทั้งยังเป็นเคร่ืองมือท่ชี ว่ ยในการนาเสนอทด่ี ี แผนที่มคี วามสาคัญมากในทางภูมิศาสตร์ การเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ ความสมั พันธ์ของพ้ืนที่และห้วง เวลา เครอ่ื งมอื ทด่ี ีท่ีสดุ ที่ชว่ ยแสดงใหเ้ หน็ ถงึ ความสมั พันธ์ และการเปลยี่ นแปลงของสงิ่ เหล่านัน้ คือ แผนท่ี

๑-๒ คาจากดั ความ พจนานกุ รมศพั ท์ภูมศิ าสตร์ ฉบับราชบัณฑติ ยสถาน ใหค้ วามหมายของแผนทีไ่ ว้ว่า“แผนท่ี คือ สิง่ ทแี่ สดง ลกั ษณะของพ้ืนผวิ โลกทง้ั ท่ีมีอยตู่ ามธรรมชาติและท่ีปรงุ แตง่ ข้ึน โดยแสดงลงในพ้นื แบนราบ ด้วยการย่อให้เล็ก ลงตามขนาดที่ต้องการและอาศัยเคร่อื งหมายกับสญั ลักษณ์ท่กี าหนดข้ึน” FM 3-25.26:2005:2-1 ไดใ้ หค้ าจากดั ความไวว้ ่า “A map is a graphic representation of a portion of the earth’s surface drawn to scale, as seen from above. It uses colors, symbols, and labels to represent features found on the ground แผนที่ คือ ภาพเขียนลายเส้นท่ีแสดงส่วนของพ้ืนผิวโลกตาม มาตราส่วน เสมือนมองจากด้านบน โดยใช้สี สญั ลกั ษณ์ และนามศพั ท์ แทนสง่ิ ท่พี บบนพนื้ โลก” กรมแผนทท่ี หาร ใหค้ วามหมายวา่ “แผนที่ คอื รูปลายเส้นที่เขียนหรือกาหนดขน้ึ เพอื่ แสดงลักษณะของ พ้ืนผิวพิภพท้ังหมด หรือเพียงบางส่วนลงบนพ้ืนราบ (พื้นแบน) ตามมาตราส่วน โดยใช้สีและสัญลักษณ์แทน รายละเอยี ดของภมู ิประเทศ ท่ีเกดิ ขึน้ เองตามธรรมชาติ และทม่ี นษุ ย์สร้างข้นึ ” การแสดงรายละเอยี ด การจาลองแผนท่ขี องพ้นื ผวิ โลกท้ังหมดหรือเพียงบางสว่ นใหแ้ บนราบเป็นสง่ิ ทก่ี ระทาได้ยาก เพราะการแผ่ พนื้ ผวิ โลกจากผวิ โค้งใหแ้ บนราบ จะทาใหพ้ น้ื ที่ขอบนอกจะยดื ฉีกออกกอ่ นท่พี ้นื ทต่ี รงกลางจะแผ่แบนราบอย่าง สมบูรณ์ อาการท่เี กิดข้ึนน้ีเรยี กว่า “การบิดเบีย้ ว” (Distortion) ซึ่งจะทาให้ทศิ ทาง รูปรา่ ง ลักษณะพืน้ ผิวโลก และขนาดของสิ่งต่าง ๆ ผิดไป การบิดเบี้ยวท่ีเกิดขึ้นน้ีเราไม่สามารถขจัดให้หมดไปได้ แต่สามารถทาให้เหลือ นอ้ ยลง โดยวธิ ีการสรา้ ง “เส้นโครงแผนที่”(Map Projection) ในการสร้างแผนท่ี โดยวางกฎเกณฑ์ให้ได้มาซึง่ คุณสมบัตทิ เ่ี หมาะสมกับความต้องการของการใชแ้ ผนที่นั้น ๆ เราสามารถแสดงรายละเอียดส่วนใดส่วนหนึ่งของผิวโลก โดยอาศัยวิธีการเส้นโครงแผนท่ี ให้แผนที่รักษา คณุ สมบตั อิ ย่างใดอย่างหน่ึงไว้ได้คือ 1. การรักษารูปร่าง หรือเส้นโครงแผนที่คงรูป (Conformal Map Projection หรือ Orthomorphic Map Projection) คอื การรกั ษารูปร่างบรเิ วณพน้ื ท่ีเล็กๆ แตล่ ะแห่งในแผนทใ่ี หเ้ หมือนกบั บนผิวโลก แผนที่ทม่ี ี คณุ สมบัติเชน่ นีต้ ้องประกอบด้วยสภาวะ 3 ประการ ดงั น้ี 1.1 มาตราสว่ นทีจ่ ดุ ใดๆ บนแผนที่สาหรับระยะทางส้ันๆ จะต้องเทา่ กันทุกทิศทุกทาง 1.2 รูปร่างของพื้นที่บนแผนท่ีจะต้องเหมือนกับรูปร่างของพ้ืนท่ีจริงบนพ้ืนโลก ดังนั้นมุมก็จะต้องถูกต้อง ด้วย สาหรับพ้ืนท่ีบริเวณน้อยๆ จะเป็นจริงแต่พื้นที่บริเวณกว้างๆ จะมีการบิดเบี้ยว- ละติจูด และลองจิจูด จะตัดกัน เปน็ มมุ ฉาก เส้นโครงแผนที่คงรูป เส้นโครงแผนท่ีคงพ้ืนท่ี 2. การรักษาพื้นท่ี หรือเส้นโครงแผนทคี่ งพ้นื ท่ี (Equivalent Projection หรือEqual Area) คอื ให้ แผนท่ี

๑-๓ มีพืน้ ที่เป็นสดั สว่ นสมั พนั ธก์ ับพื้นที่จรงิ บนผิวโลกหรอื กล่าวอกี นยั หนง่ึ วา่ ให้แผนท่ีรักษาอัตราสว่ นระหวา่ ง พื้นที่ แต่ละแหง่ ที่ตรงกันทงั้ ในแผนทน่ี ั้นกับบนผวิ โลกให้อย่ใู นลักษณะคงท่ีเท่าๆ กนั ทัว่ ท้ังแผ่น 3. การรักษาระยะทาง หรือเส้นโครงแผนท่ีคงระยะ (Equidistant Map Projection หรือ Constant Scale) คอื ใหแ้ ผนทม่ี ีระยะได้สัดสว่ นกับระยะจริงบนผิวโลกนั่นคือการรักษาระยะตามเสน้ เมอริเดียนหรือเส้น ขนานบางเส้นดงั นัน้ ระยะระหว่างแผนท่กี บั ระยะบนผวิ โลกจงึ สามารถเปรียบเทยี บกนั ได้ เสน้ โครงแผนที่คงระยะ เส้นโครงแผนทค่ี งทิศทาง 4. การรกั ษาทิศทาง หรอื เสน้ โครงแผนทีค่ งทิศทาง (Azimuthal Map Projection หรอื True Azimuth) คือ ให้แผนที่มีคุณสมบัติรักษาทิศทางสัมพันธ์กับทิศทางบนผิวโลก นั่นคือ ทิศทางของแนวที่ลากออกไป จาก จดุ ศนู ยก์ ลางของการสร้างเสน้ โครงแผนท่นี ้นั ๆ ตรงกบั ความจริงบนผิวโลก ในการทาแผนที่จะไม่มีเส้นโครงแผนท่ีชนิดใดท่ีจะรักษาคุณสมบัติดังกล่าวได้ครบถ้วนสมบูรณ์ในฉบับ เดยี วกนั ดังนน้ั การใช้แผนท่เี ราจาเปน็ ต้องเลอื กชนดิ ของเส้นโครงแผนที่แต่ละประเภทให้เหมาะตอ่ การใชง้ าน ประโยชนข์ องแผนท่ี มีคากล่าวในวงการทหารว่า “แผนท่ีเป็นเครื่องมือรบช้ินแรกของทหาร”การพิจารณาวางแผน ทั้ง ยุทธศาสตร์ ยุทธการ หรือยุทธวิธีทางทหารน้ัน ล้วนมีความจาเป็นต้องมีข้อมูลเบื้องต้น สาหรับใช้พิจารณา ประกอบการตัดสินใจ ดังนั้นข้อมูลข่าวสารทางภูมิศาสตร์ ทั้งทางตาแหน่งที่ตั้งหรือสภาพภูมิประเทศ ปัจจัย สภาพแวดล้อมท่ีจะส่งผลกระทบ สิ่งต่างๆเหล่าน้ีจึงมีความจาเป็น และหาได้จากแผนที่ เพราะเหตุนี้เป็น เอกสารชิ้นแรกที่ต้องจัดทา หรือจัดหาให้ได้มา โดยเฉพาะแผนท่ีสามารถให้ข้อมูลข่าวสาร เก่ียวกับระยะทาง ตาแหน่ง ความสูง เส้นทาง ลักษณะ ภูมิประเทศ และข้อมูลอ่ืนๆ ที่สาคัญ โดยข้อมูลต้องละเอียดถูกต้อง มี ความเกือ้ กลู และขดั ขวางต่อการปฏบิ ตั ิการได้ โดยในปจั จุบันไมจ่ ากัดอยู่เฉพาะพ้ืนทีท่ เ่ี รารู้จกั คุน้ เคยเทา่ นน้ั แต่ อาจจะเป็นยุทธบริเวณ ท่ีแผ่ไพศาลกว้างออกไปตามส่วนต่างๆของโลกท่ีผู้บังคับบัญชาไม่เคยเห็นหรือมี ประสบการณ์ในพื้นที่น้ันมาก่อน ผู้บังคับบัญชาหน่วยทหารจึงจาเป็นต้องศึกษาพิจารณาภูมิประเทศท่ีหน่วย ทหารจะเข้าปฏิบัติการโดยอาศัยแผนที่ ในการวางแผนการรบ และการปฏิบัติการรบ ดังนั้น แผนที่จึงนับว่า เป็นเคร่ืองมือรบช้ินแรกของผู้บังคับหน่วยทหารทุกระดับหน่วยนักการทหารบางท่านกล่าวไวว้ ่า “ทหารท่ีทา การรบโดยปราศจากแผนที่จะมีสภาพเช่นเดียวกับทหารตาบอดทาการรบ” ดังนั้นการดาเนินกิจการทหารจะ ขาดแผนทีม่ ไิ ด้เป็นอนั ขาด จากประวัตศิ าสตร์ของการพฒั นากจิ การแผนทท่ี ่ีผ่านมา ปรากฏเห็นเดน่ ชัดวา่ การ พฒั นาทางวิชาการด้านแผนที่สว่ นใหญ่ เกิดจากความตอ้ งการทางทหารเปน็ แรงผลกั ดัน โดยกิจการแผนที่ทาง ทหารต้องสามารถผลิตข้ึนได้รวดเร็วทันต่อสถานการณ์ ข่าวสารที่แสดงไว้ใน แผนที่ต้องทันสมัยอยู่เสมอ มี ความละเอยี ดถูกตอ้ ง เหมาะสม เช่ือถือได้ และมีปรมิ าณเพียงพอต่อการใช้งาน ความ ตอ้ งการดังกล่าวเป็นผล

๑-๔ ผลักดันให้นักวิชาการหรือผู้มีหนา้ ที่รบั ผิดชอบทาการค้นคว้าหากรรมวิธแี ละทฤษฎีใหม่ๆ ใช้ ในการสารวจหา ขอ้ มลู และผลติ แผนที่ อีกทัง้ พยายามคิดค้นหาเคร่ืองมือและอปุ กรณท์ ันสมยั มีประสิทธภิ าพสูง มาใช้ ในกิจการ แผนทอ่ี ยเู่ สมอ การแบง่ ชนิดของแผนที่ กรมแผนท่ีทหาร มีหน้าท่ีรับผิดชอบในการผลิต แก้ไข และปรับปรุงความทันสมัยของแผนท่ีบก เพ่ือ สนับสนนุ สว่ นราชการท้งั ทหาร พลเรอื น รัฐวิสาหกจิ และเอกชน ปัจจบุ ันผลผลติ หลักเป็นแผนที่มลู ฐาน (Base Map) ท้ังในรูปแผนท่ีภูมิประเทศเชิงเส้น (Topographic Line Map) และเชิงเลข (Digital Map) สอง มาตราสว่ น คอื มาตราสว่ น 1:50,000 ครอบคลมุ พ้ืนทีท่ ั่วประเทศจานวน 830 ระวาง และมาตราส่วน 1:250,000 ครอบคลุมพื้นที่ทั่วประเทศจานวน 54 ระวาง นอกจากนี้ยังผลิตแผนท่ีอ่ืน ๆ ตามคาร้องขอ เช่น แผนที่ตัวเมือง (City Map) แผนทภี่ าพถา่ ย (Photo Map) แผนที่เฉพาะวิชา (Thematic Map) เปน็ ต้น สาหรบั แผนท่ีอทุ กศาสตร์ เป็นความรับผิดชอบของกรมอุทกศาสตร์ กองทัพเรือ จะเห็นได้ว่าแผนที่ท่ีใช้อยู่ในปัจจุบันมีอยู่มากมายหลาย แขนงจึงจาเป็นต้องจดั แบง่ ประเภทแผนทีอ่ อกเปน็ กลุม่ ต่างๆ เพอื่ สะดวกในการเรียกชือ่ แต่สาหรบั ในกิจการทาง ทหารน้นั จะแบ่งกลมุ่ โดยแบง่ ตาม มาตราส่วน (FM 3-25.26:2005:2-6) ได้เป็น 3 ชนิด 1. แผนท่ีมาตราส่วนเล็ก (Small Scale Map) ได้แก่ แผนท่ีท่ีมีมาตราส่วน 1:1,000,000 และเล็กกว่าใช้ งานวางแผนทั่วไปและการวางแผนทางยุทธศาสตร์ แผนที่มาตราส่วนน้ีครอบคลุมพื้นท่ี เป็นบริเวณกว้าง แต่ แสดงรายละเอียดไม่มากนกั แผนทม่ี าตราสว่ นเลก็ มาตรฐานคอื แผนทมี่ าตราสว่ น 1:1,000,000 2. แผนท่มี าตราสว่ นปานกลาง (Medium Scale Map) ได้แก่ แผนทท่ี ่ีมมี าตราส่วนใหญก่ ว่า 1:1,000,000 แต่เล็กกว่า 1:75,000 ใช้งานวางแผนทางยุทธการ แผนท่ีมาตราส่วนนี้มีรายละเอียดปานกลางเหมาะสม นามาใช้วิเคราะห์ภูมิประเทศร่วมกับแผนที่มาตราส่วนใหญ่ แผนที่มาตราส่วนปานกลางมาตรฐาน คือแผนที่ มาตราสว่ น 1:250,000 แต่แผนทมี่ าตราสว่ น 1:100,000 กถ็ กู นามาใชก้ นั อย่างหลากหลายเชน่ กัน 3. แผนท่ีมาตราส่วนใหญ่ (Large Scale Map) ได้แก่ แผนที่ที่มีมาตราส่วน 1:75,000 และใหญ่กว่าใช้ งานปฏิบัติการทางยุทธวิธีและงานส่งกาลังบารุง เป็นแผนที่ท่ีทหารระดับผู้นาหน่วยขนาดเล็กและระดับผู้ ปฏิบัตินามาใช้ในการปฏิบัติงานจริง แผนท่ีมาตราส่วนใหญ่มาตรฐานคือแผนท่ีมาตราส่วน 1:50,000 แต่บาง พ้ืนท่ี ใช้มาตราส่วน 1:25,000 แทน การระวังรักษาแผนที่ แผนทถี่ ูกพิมพ์ลงบนกระดาษชนิดพิเศษที่มีความเหนียวคงทนมากกว่ากระดาษทั่วไปแต่กไ็ ม่สามารถ คงทนอยู่ได้นานเม่ือได้รับความช้นื หรอื การใชง้ านผิดวิธี อกี ทง้ั การเกบ็ รักษาทข่ี าดความระมัดระวงั วิธีการที่จะ ใช้แผนทีใ่ ห้มีอายุยาวนานข้ึน จึงขน้ึ อยู่กบั การระวังรักษาและการนำออกใช้งานจึงมีวิธีปฏบิ ตั ิดังนี้ 1. การเก็บแผนท่ีควรเก็บให้เป็นระเบียบมีระบบ โดยการเรียงตามหมายเลขระวางเพื่อสามารถค้นหาได้ รวดเรว็ หยิบใช้ได้ง่าย และควรเก็บในสถานที่เหมาะสมมอี ากาศถ่ายเทแผนท่ีมักเป็นวัสดุท่ีฉีกขาดง่ายควรเก็บ ให้ปลอดภัยจากความช้ืน และจากสัตว์ประเภทปลวก แมลงสาบ 2. การใช้แผนที่ผู้ใช้แผนท่ีต้องจับถือด้วยความระมัดระวังอย่าให้ฉีกขาดหากไม่จำเป็นอย่าขีดเขียน เคร่ืองหมายใดๆ ลงบนแผนที่หรือถ้าหากมีความจำเป็นให้เขียนด้วยดินสอดำอ่อนเม่ือหมดความจำเป็นให้ ลบทง้ิ หรือเขียนด้วยดินสอไข ปากกาเคมบี นแผ่นใสหรือแผ่นอาซิเตท 3. การรักษาความปลอดภัย โดยอย่าให้แผนที่ตกอยู่ในมือของผู้ท่ีไม่มีหน้าท่ีเก่ียวข้อง เม่ือเลิกใช้งาน ต้อง สง่ คนื แผนทน่ี ้ันคืนเจ้าหน้าที่ ทรี่ บั ผิดชอบต้องทาลายทิง้ เมอ่ื เหน็ วา่ แผนที่อาจตกอยู่ในอันตรายจากฝ่ายตรงข้าม 4. แผนท่ี ถกู จัดเป็นประเภทช้นั เอกสารลับ ดงั น้นั การเก็บรักษา การใชแ้ ละการทาลาย จะตอ้ งปฏิบตั ิตาม ระเบยี บวา่ ดว้ ยการรกั ษาความลับของทางราชการ พ.ศ.2544

๑-๕ รายละเอียดขอบระวาง รายละเอียดขอบระวางของแผนที่ เป็นคาแนะนาให้ผู้ใช้แผนท่ี ได้ทราบถึง ความเป็นมาความเกี่ยวข้อง ของขอ้ มูลท่ปี รากฎในแผนท่ี เพอ่ื อานวยความสะดวกใหผ้ ใู้ ช้ ได้ใช้แผนที่อยา่ งถูกตอ้ ง คาว่า ระวาง (SHEET) มีความแตกต่างกับคาว่า แผ่น (COPIES) คือ แผนท่ีระวางหน่ึงๆ จะพิมพ์ก่ีแผ่นก็ได้ ตามแต่ความต้องการ ตัวอย่างเช่น ถ้าต้องการจะพิมพ์แผนที่มาตราส่วน 1:50,000 ให้คลุมทั่วประเทศไทยก็จะ พิมพ์ได้ 830 ระวาง แต่ถ้าเลอื กพน้ื ที่เฉพาะเจาะจง หรือเพียง 1 ระวาง กส็ ามารถเลอื กพิมพ์ซ้าๆ กันไดห้ ลายแผ่น รายละเอียดขอบระวางของแผนที่แต่ละชุดจะมีลักษณะไม่เหมือนกันขึ้นอยู่กับวัตถุประสงค์ของการ ผลิตแผนที่ แต่ถ้าหากผู้ใช้แผนที่ มีความเข้าใจใน รายละเอียดขอบระวางที่ปรากฏอยู่บนแผนที่ ที่เป็น มาตรฐานแล้ว ก็จะสามารถทาความเข้าใจกับรายละเอียดขอบระวางของแผนที่ในรูปแบบอ่ืนๆ ได้ไม่ยาก นัก ดังนั้นหากพิจารณาแผนที่ภูมิประเทศลาดับชุด L7018 จะมีความเหมาะสมที่สุด เนื่องจากเป็นแผนท่ี ในหน่วยระดับยุทธวิธี ที่ทหารทุกนายต้องทราบรายละเอียดขอบระวางมีดังต่อไปน้ี 1. ชื่อระวาง (Sheet Name) การตั้งชื่อแผ่นระวาง จะตั้งชื่อตามลักษณะภูมศิ าสตร์ที่สาคัญที่ระวาง แผ่นที่นั้นครอบคลุม หรือตั้งชื่อตามรายละเอียดทางวัฒนธรรมขนาดใหญ่ อาทิ แหล่งชุมชุนหรือชื่อเมือง ขนาดใหญ่ เช่น“จังหวัดนครราชสีมา CHANGWAT NAKHON RATCHASIMA”

๑-๖ ตัวอย่างแผนท่ปี ระเทศไทย มาตราส่วน 1:50,000 ชุด L7018 ช่อื ระวาง อาเภอบา้ นนา 2. หมายเลขระวาง (Sheet Number) แผนที่แต่ละระวาง ได้ถูกกาหนดหมายเลขระวางขึ้นตามระบบ ไว้อย่างแน่นอน ทั้งนี้เพื่อความสะดวกในการอ้างอิงหรือการค้นหาแผนที่ระวางที่ต้องการ การกาหนด หมายเลขระวางนั้นได้กาหนดขึ้น โดยมีความสัมพันธ์กับมาตราส่วนของแผนที่ดังนี้ 2.1 การกาหนดหมายเลขระวางของแผนที่มาตราส่วนต้ังแต่ 1:100,000 และใหญ่กว่า จะเร่ิมต้นท่ี แผนที่มาตราส่วน 1:100,000 ซึ่งมีขนาดระวาง 30′x30′ ให้กาหนดด้วยเลขอารบิค 4 ตัว เช่น “ระวาง 5438” 2.1.1 การจัดทาแผนท่มี าตราสว่ น 1:50,000 ซง่ึ มขี นาดระวาง 15′ x 15′ จะแบ่งแผนทมี่ าตราส่วน 1:100,000 (30′ x 30′) ออกเป็น 4 ส่วนเท่าๆ กัน และขยายใหญ่กว่าเดิม 2 เท่า จะได้แผนที่มาตราส่วน 1:50,000 จานวน 4 ระวาง ให้เขียนกากับด้วยเลขโรมันเพิ่มท่ีหมายเลขแผ่นระวาง โดยเริ่มท่ีระวางทางด้าน ทิศตะวันออกเฉียงเหนือ วนตามเข็มนาฬิกา ตั้งแต่ I, II, III, IV (ทาอย่างนี้เหมือนกันทุกตาราง 30′ x 30′) ดังนั้นหมายเลขระวางของ แผนท่ีมาตราส่วน 1:50,000 ก็จะเหมือนกับ 1:100,000 บริเวณเดียวกันและตาม ด้วยเลขโรมัน เช่น“ระวาง5438IV” 2.1.2 การจัดทาแผนท่ีมาตราส่วน 1:25,000 ซ่ึงมีขนาดระวาง 7′ 30″ x 7′ 30″ จะแบ่งแผนท่ี มาตราส่วน 1:50,000 (15′ x 15′) ออกเป็น 4 ส่วนเท่าๆ กัน และขยายใหญ่กว่าเดิม 2เท่า จะได้แผนที่ มาตราส่วน 1:25,000 จานวน 4 ระวาง ให้เขียนกากับด้วยตัวอักษรกาหนดทิศทาง (NE, SE, SW, NW) ตาม ทิศทางนั้น ๆ หมายเลขระวางของแผนที่มาตราส่วน 1:25,000ก็เหมือนกับ 1:50,000บรเิ วณเดียวกัน แล้ว ตามด้วยอักษร NE, SE, SW, NW เช่น “ระวาง5438IVNE” ภาพตัวอยา่ งการกาหนดหมายเลขระวางแผนทที่ ่มี ีมาตราส่วนตง้ั แต่ 1:100,000 และใหญก่ วา่ 2.2 การกาหนดหมายเลขระวางของแผนที่มาตราส่วนเลก็ กว่า 1:100,000จะเริม่ ที่แผนทม่ี าตราส่วน 1:1,000,000 ซ่ึงมีขนาดระวาง 4° N x 6° E โดยเรมิ่ ตน้ NA และ SA ทเ่ี สน้ ศนู ยส์ ูตร เรยี งลาดบั ตวั อักษรไปทาง

๑-๗ ซีกโลกเหนือ (NA, NB, NC, ND, …) และใต้ (SA, SB, SC, SD, …) จนสุดพื้นท่ี เช่น ส่วนของประเทศไทยที่มี พื้นท่ีอยู่บริเวณ เส้นขนานที่ 12° ถึง 16°N และเส้นเมอริเดียนท่ี 102° ถึง 108°E ก็จะถูกกาหนดหมายเลข ระวางของแผนที่มาตราส่วน 1:1,000,000คือ “ระวาง ND 48” จากนน้ั การกาหนดแผนทม่ี าตราสว่ น 1:250,000 ซ่งึ มีขนาดระวาง 1° N x 1° 30′ E จะใช้แผนทีม่ าตรา สว่ น 1:1,000,000 (4° N x 6° E) มาแบ่ง 16 ส่วนเทา่ ๆ กัน และขยายใหญ่กวา่ เดมิ 4 เทา่ จะได้แผนที่มาตรา ส่วน 1:250,000 จานวน 16 ระวาง ในแต่ละระวาง มีขนาด (1° N x 1° 30′ E) และกากับด้วยหมายเลข1 ถึง 16 โดยเริ่มจากซ้ายไปขวาและจากบนลงล่างตามลาดับ (ทาเหมอื นกนั ทุกตาราง 4° N x 6° E) ฉะนั้น เม่ือนาแผนท่ี ระวาง ND 48มาแบง่ เป็นแผนท่ีมาตราสว่ น 1:250,000 จานวน 16 ระวาง กาหนดเลขหมายแผ่นระวาง 1 ถึง 16 เช่น “ระวาง ND 48–5” แผนทม่ี าตราสว่ น 1:250,000 แผนทม่ี าตราสว่ น 1:1,000,000 จานว3น.หชนื่องึ่ ชุดทแมี่ ผีมภนาาตทพรี่แาตลสัวะว่ อมนยาเ่าดตงยีรกวาากสรนั่วกนาทห(าSนขeดึ้นrหใieนมsแาบNยบaเลmแขลeระะaควnวาาdงมทSมมี่cงุ่ aมี หlาeมต)ารยใานเสดพ่วีย้ืนนวทกเล่ีบัน็กรกจิเววะณา่ใช1ห้ช:1นือ่ 0ึ่งท0ๆเ่ี ,ด0ปน่ 0รใ0นะกพอ้นื บทดี่บ้วรยิเวแณผนนทั้นี่ มาเป็นชื่อชุด ซง่ึ อาจจะเปน็ ช่อื รฐั หรือชื่อประเทศกไ็ ด้ สาหรบั แผนทีร่ ะวางนีใ้ ช้ชอื่ ชุด “ประเทศไทย THAILAND 1:50,000” สาหรับมาตราสว่ นทีแ่ สดงอยู่ด้วยน้ัน เพื่อเปน็ การเนน้ ให้เห็นเดน่ ชดั ว่ามาตราส่วนของแผนทช่ี ุดน้ี มี อัตราสว่ นสมั พันธร์ ะหว่างระยะบนแผนทีก่ บั ระยะทางในภมู ิประเทศอยา่ งไร 4. หมายเลขลาดับชุด (Series Number) คือ “L7018” ในพื้นที่บริเวณหนึ่งๆ อาจมีการจัดทาแผนท่ีข้ึน หลายชุด ที่มีขนาดหรือมาตราส่วนแตกต่างกัน ดังนั้น จึงมีระบบสาหรับบ่งชี้ให้ทราบว่าเป็นแผนท่ีชุดใด กรณี บรเิ วณประเทศไทย มีเลขหมายลาดับชดุ ดังตอ่ ไปน้ี

๑-๘ ลาดับชุด L509 คือ แผนท่ีภมู ิประเทศ 1:250,000 ขนาด 1° x 1° 30′ (เลกิ ใช้) ลาดับชุด 1501คอื แผนทย่ี ุทธการรว่ ม 1:250,000ขนาด 1° x 1° 30′ ลาดับชดุ L708 คือ แผนท่ีภูมปิ ระเทศ 1:50,000 ขนาด 10′ x 15′ (เลิกใช)้ ลาดบั ชดุ L7017 คอื แผนทภ่ี มู ิประเทศ 1:50,000 ขนาด 15′ x 15′ (เลกิ ใช้) ลาดบั ชดุ L7018 คอื แผนท่ีภูมปิ ระเทศ 1:50,000 ขนาด 15′ x 15′ ลาดบั ชดุ L8019 คือ แผนทภ่ี ูมิประเทศ 1:25,000 ขนาด 7′ 30″ x 7′ 30″ ลาดับชดุ L8040 คอื แผนที่ภาพถา่ ยสี 1:25,000 ขนาด 7′ 30″ x 7′ 30″ (เลิกใช)้ ลาดบั ชุด L9013 คอื แผนทีต่ ัวเมือง 1:12,500 ขนาด ระวางไม่ตายตวั หมายเลขลาดับชุดมีได้ท้ังตวั อักษรและตวั เลข แตล่ ะตัวมีความหมายท่ีแสดงให้ทราบว่าแผนที่ชุดนั้น ครอบคลุมภูมิภาคอะไร มาตราส่วนเท่าใด แสดงพ้ืนที่บริเวณไหน และเป็นชุดที่เท่าใด โดยสามารถแบ่งหมายเลข ลาดบั ชุด ออกไดเ้ ปน็ 4 องคป์ ระกอบ ดังนี้ องค์ประกอบท่ี 1 เป็นได้ทั้งตัวเลขและตัวอักษร ถ้าเป็นตัวเลข แผนที่ชุดน้ันจะครอบคลุมภาคพื้นทวีป (Continental Area) เช่น “1” แต่ถ้าเป็นตัวอักษร แผนท่ีชุดนั้นครอบคลุมภูมิภาคใดภูมิภาคหนึ่ง (Regional Area) เช่น “L” องคป์ ระกอบที่ 2 ตอ้ งเป็นตวั เลข คอื กลุ่มของมาตราสว่ นแผนที่ (Scale Group) มรี ายละเอียดมดี งั นี้ ตวั เลข 1 หมายถงึ มาตราสว่ น 1: 5,000,000 และเล็กกวา่ ตัวเลข 2 หมายถงึ มาตราส่วนระหวา่ ง 1:5,000,000 ถึง 1:2,000,000 ตัวเลข 3 หมายถงึ มาตราส่วนระหวา่ ง 1:2,000,000 ถึง 1:510,000 ตัวเลข 4 หมายถึง มาตราส่วนระหวา่ ง 1:510,000 ถงึ 1:255,000 ตวั เลข 5 หมายถงึ มาตราสว่ นระหว่าง 1:255,000 ถงึ 1:150,000 ตัวเลข 6 หมายถึง มาตราส่วนระหวา่ ง 1:150,000 ถึง 1:70,000 ตวั เลข 7 หมายถึง มาตราสว่ นระหวา่ ง 1:70,000 ถึง 1:35,000 ตวั เลข 8 หมายถึง มาตราสว่ นใหญ่กวา่ 1:35,000 โดยไม่รวมแผนทต่ี วั เมือง ตวั เลข 9 แสดงเปน็ แผนทผี่ ังเมือง เชน่ L9013 โดยไม่พิจารณามาตราสว่ น ตวั เลข 0 แผนท่ภี าพถา่ ย ไม่พิจารณามาตราส่วนเชน่ กนั กรมแผนท่ีทหารได้ผลิตแผนท่ี สนับสนุนกองทัพบกไทย ได้แก่ กลุ่มตัวเลข 5 (1:250,000) กลุ่ม ตัวเลข 7 (1:50,000) กลมุ่ ตัวเลข 8 (1:25,000) กล่มุ ตัวเลข 9 (แผนทผี่ ังเมอื ง มาตราส่วน 1:12,500) องค์ประกอบที่ 3 จะต้องเป็นตัวเลขเสมอ แสดงถึงภูมิภาคส่วนย่อย (Sub Regional Area) ของ องค์ประกอบที่ 1 เช่น “0” หมายถึงเลขประจาภูมิภาคส่วนย่อยของภูมิภาค “L” ประเทศที่อยู่ในภูมิภาค สว่ นยอ่ ย 0 ของ L กม็ ไี ทย ลาว กมั พูชา เวยี ดนาม มาเลเซีย และสิงคโปร์ องค์ประกอบที่ 4 จะต้องเป็นตัวเลขเสมอ แสดงถึงลาดับท่ีของการจัดทาแผนท่ีมาตราส่วนเดียวกนั ในภูมิภาคเดียวกันพื้นท่ีเดียวกัน (L)โดยจะนับเรียงกันของประเทศที่อย่ใู นภูมภิ าคส่วนย่อยน้นั ๆ ซึ่งจะปรากฏ เปน็ ตัวเลขตวั เดยี วหรือสองตวั ก็ได้ เชน่ “18” เปน็ ตน้ สรุปหมายเลขลาดับชุดตามลกั ษณะองคป์ ระกอบดงั นี้ ตัวอักษร L แทนภมู ภิ าคใหญ่ ตวั เลข 7 แทนมาตราส่วนในกลมุ่ มาตราสว่ น 1:50,000

๑-๙ ตวั เลข 0 แทนพ้นื ที่สว่ นยอ่ ยของภูมภิ าคใหญ่ทป่ี ระเทศไทยตงั้ อยู่ ตวั เลข 18 แทนลาดับการผลิตแผนที เลขหมายลาดบั ชุดแผนทมี่ าตราส่วน 1:50,000 ในประเทศแถบเอเชียตะวนั ออกเฉยี งใต้ มีดังน้ี L7010 ของ มาเลเซีย และสงิ คโปร์ L7011, L7016 ของกัมพูชา L7012, L7015 ของลาว L708, L7017, L7018 ของไทย 5. ครงั้ ที่จัดพมิ พ์ (Edition) เปน็ การแสดงใหท้ ราบว่า แผนทนี่ น้ั ไดจ้ ัดพมิ พ์ขึ้นเปน็ ครงั้ ที่เท่าไร ซง่ึ โดยปกติ แผนทบ่ี รเิ วณเดยี วกนั การจัดพมิ พค์ ร้งั ที่ 2 ยอ่ มมรี ายละเอยี ดของภูมปิ ระเทศทนั สมัยกว่าการพิมพ์คร้งั ที่ 1 เชน่ “2-RTSD” หมายถึง “พมิ พ์คร้งั ที่ 2 โดยกรมแผนทท่ี หาร” 6. สารบัญระวางติดต่อ (Adjoining Sheets) เป็นแผนภาพท่ีแสดงให้ทราบว่ามีแผนท่ีหมายเลขระวาง อะไรบ้าง ทอี่ ยู่โดยรอบระวางท่เี ราใชอ้ ยู่ ประโยชน์ที่ผูใ้ ช้แผนทีจ่ ะได้รับจากแผนภาพนก้ี ็คอื สามารถจะนาแผนที่ ระวางต่างๆ ท่ีอยู่โดยรอบมาต่อกบั ระวางท่ีเราใช้อยู่ได้เมอ่ื ต้องการ การต่อก็ให้ดูจากหมายเลขระวางข้างเคียง สว่ นข้อความใตแ้ ผนภาพน้ี เปน็ คาแนะนาใหผ้ ู้ใชแ้ ผนทรี่ วู้ า่ ถา้ จะนาแผนทีท่ ใี่ ชอ้ ย่ไู ปพิจารณาประกอบกับลาดับ ชดุ 1501 มาตราสว่ น 1:250,000 จะตอ้ งใชป้ ระกอบกบั หมายเลขระวางอะไร 7. สารบัญแนวแบ่งเขตการปกครอง (Boundaries) เป็นการแสดงแนวแบ่งเขตการปกครองของ จังหวัด และอาเภอ อย่างย่อ โดยถ้าเป็นจงั หวดั จะเขียนกากับด้วยตวั อักษร แต่ถ้าเปน็ อาเภอ จะเขยี นกากับด้วยตัวเลข

๑ - ๑๐ 8. คาแนะนาเกยี่ วกับระดับสงู (Elevation Guide) เปน็ การแสดงลักษณะความสงู ของภมู ปิ ระเทศโดยรวม เป็นภาพย่อ ลักษณะพ้ืนที่ภูมิประเทศของแผนท่ีระวางนั้น ว่ามีลักษณะความสูงเป็นเช่นไร โดยพิจารณาความ สูงจากความเข้มของระดับสี ซ่ึงเปรียบเทียบจากแถบด้านซ้าย และพิจารณาจากจุดระดับสูง จุดระดับสูงสุด อานวยความสะดวกแก่ผูใ้ ช้แผนที่ในการพจิ ารณาลกั ษณะภมู ิประเทศอยา่ งรวดเรว็ 9. คาแนะนาเก่ียวกับลาด (Slope Guide) เป็นการแสดงลักษณะภูมิประเทศด้วยช่วงต่างเส้นชั้นความสูง หลัก และเส้นช้ันความสูงรอง ระยะท่ีต่างกันจะบ่งบอกถึงอาการลาดที่ต่างกันด้วย มีหน่วยท่ีใช้คานวณ ทั้งร้อยละ และองศา

๑ - ๑๑ 10. แผนผงั มุมเยื้อง (Declination Diagram) เป็นการแสดงความสมั พันธ์ซ่ึงกนั และกนั ของแนวทิศเหนือ อ้างอิง ได้แก่ ทิศเหนือกริด ทิศเหนือแม่เหล็ก และทิศเหนือจริง เพื่อนาไปใช้ในการปรับแก้มุมแอซิมัท (Azimuth) เช่น จากแอซิมัทกริดเป็นแอซิมัทแม่เหล็กหรือกลับกัน หรือจากแอซิมัทชนิดหน่ึงเป็นแอซิมัทอีก ชนิดหน่ึงตามต้องการ 11. มาตราสว่ นเสน้ บรรทดั (Bar Scale) เปรียบเสมอื นลักษณะของไมบ้ รรทดั ใชว้ ดั เพือ่ เปรียบเทียบระยะ บนแผนที่กับระยะในภูมิประเทศ โดยมาตราส่วนเส้นบรรทัดน้ีจะมีทั้งส่วนท่ีเป็นขีดส่วนแบ่งเต็มและขีดส่วน แบง่ ย่อยซึ่งสัมพนั ธก์ ับมาตราสว่ นแผนท่ี จะแสดงหนว่ ยวดั ระยะไว้ 3 หนว่ ย คือ เมตร/กิโลเมตร, ไมล์, และไมล์ ทะเล 12. ช่วงต่างเส้นช้ันความสูง (Contour Interval) เป็นการแสดงระยะในทางดิ่ง ระหว่างเส้นช้ันความสูง หลัก เสน้ ช้ันความสงู รอง และเสน้ ชัน้ ความสงู แทรกซง่ึ อา้ งองิ ความสงู จาก ระดับทะเลปานกลาง (MSL : Mean Sea Level) เช่น “ชว่ งตา่ งเสน้ ชนั้ ความสูง 20 เมตร กับมเี สน้ ชนั้ แทรกชั้นละ 10 เมตร”เปน็ ต้น โดยปกติช่วง ต่างเส้นชั้นความสูงจะมีความสูงเป็นหลักสากล คือ แผนที่มาตราส่วน 1:25,000 สูงช้ันละ 10 เมตร, แผนที่ มาตราส่วน 1:50,000สูงช้ันละ20 เมตร, แผนที่มาตราส่วน 1:100,000 สูงชั้นละ 40 เมตร, แผนท่ีมาตราส่วน 1:200,000 สูงชั้นละ 80 เมตร, แผนที่มาตราส่วน 1:250,000 สูงชั้นละ 100 เมตร, และแผนท่ีมาตราส่วน 1:500,000 สงู ชนั้ ละ 200 เมตร 13. หลกั ฐานการทาแผนที่ แสดงให้ผ้ใู ช้แผนที่ทราบถึงขอ้ มูลความน่าเชอ่ื ถือเกีย่ วกบั พน้ื หลักฐานการทาแผนที่ 13.1 รูปทรงรี (Ellipsoid) รูปสัณฐานของโลกที่ใช้ในการจัดทาแผนท่ีเป็นรูปทรงรี WGS 1984 (WORLD GEODETIC SYSTEM 1984) เรียกยอ่ ๆ ว่า WGS84 13.2 กรดิ (Grid) เปน็ การแนะนาการอา่ นค่าพกิ ัดกริดแบบ Universal Transverse Mercator โดยเส้น ตารางสีดาท่ีคลุมพนื้ ที่ทุกๆ ตาราง 1,000 เมตร เป็นของโซนในแผนที่ (ส่วนเส้นขีดสีดาท่ียืน่ ออก กรอบนอกทง้ั 4 ด้าน หา่ งกนั 1,000 เมตร และมีตัวเลขสีนา้ เงนิ เขยี นกากับไวเ้ ป็นจานวนเต็มห่างกนั ทกุ ๆ 5,000 เมตร เปน็ ของโซน ขา้ งเคยี ง)

๑ - ๑๒ 13.3 เส้นโครงแผนท่ี (Projection) ระบบการฉายลงบนพน้ื ราบของแผนที่หรือเป็นเสน้ โครงแผนท่ีแบบ ทรานเวอร์สเมอร์เคเตอร์ วิธีการฉายจะฉายทีละโซนโดยให้ผิวของทรงกระบอกสัมผัสกับเส้นเมอริเดียนย่าน กลางของแต่ละโซน (แกนของทรงกระบอกตั้งฉากกับแกนหมุนของโลก) การฉายแบบนี้จะทาให้มีรูปร่างท่ี ใกลเ้ คยี งกบั ภูมิประเทศจริงมากทสี่ ุด 13.4 พ้นื หลกั ฐานทางดิง่ (Vertical Datum) แสดงพืน้ หลกั ฐานทางดง่ิ หรอื หลักฐานควบคุมทางดง่ิ อ้างองิ คอื จากระดบั ทะเลปานกลาง (MSL: Mean Sea Level) คา่ ระดับสงู ของจุด หรือสถานท่ตี ่างๆ อา้ งอิงจากพน้ื หลักฐานนี้ 13.5 พื้นหลักฐานทางราบ (Horizontal Datum) แสดงพื้นหลักฐานทางราบหรือพื้นหลักฐาน ควบคุมทางราบอ้างอิง ผู้ใช้แผนท่ีควรตรวจสอบหมายเหตุพื้นหลักฐานทางราบอ้างอิงก่อน โดยเฉพาะแผนที่ ระวาง ข้างเคียง ต้องเป็นพน้ื หลกั ฐานแบบเดียวกัน ทั้งน้หี ากเกดิ ความแตกตา่ งของพื้นหลกั ฐานจะทาให้ค่าพิกัด ทัง้ พกิ ดั ของจดุ เดียวกันเกดิ ความแตกตา่ ง 13.6 จดั พมิ พโ์ ดย (Printed By) เป็นหน่วยงานและปีทท่ี าการพิมพ์ 14. การแปลงค่าพิกัด เป็นการแสดงค่าแก้ในการแปลงค่าพิกัดของพื้นหลักฐาน WGS 84 เป็น INDIAN 1975 ทั้งพิกัดกริดและพิกัดภูมิศาสตร์ กล่าวคือ ค่าแก้ท่ีปรากฎจะเป็นการแปลงค่าพิกัดจากแผนที่ลาดับชุด L7018 เปน็ แผนทล่ี าดับชดุ L7017 แตส่ ามารถแปลงคา่ พิกดั สลบั ไปมาได้ 15. บันทึก (Notes) เปน็ การเพมิ่ เตมิ รายละเอียดของคาอธิบายสญั ลักษณ์เช่น ขนาดช่องทางจราจร, การ แปลงหน่วยจากเมตรเป็นฟตุ ฯลฯ 16. ศัพทานุกรม (Glossary) แสดงไว้เพื่อให้ผู้ใช้แผนที่เข้าใจความหมายของคาศัพท์ท่ีใช้ในแผนท่ีนั้นๆ ปกติกาหนดขึ้นใช้กับภาษาตั้งแต่สองภาษาข้ึนไป เพื่อจะให้เข้าใจความหมายของคาต่างๆ ที่จาเป็นต้องใช้ทับ ศัพท์ โดยจะแปลความหมายเปน็ อักษรองั กฤษประกอบไว้ด้วย ทง้ั นีเ้ พื่อให้ผใู้ ช้แผนที่ทร่ี ู้เฉพาะภาษาองั กฤษได้ เข้าใจความหมายในการใชแ้ ผนท่ี 17. ข้อมูลแผนทรี่ วบรวมถึง พ.ศ.2543 (MAP INFORMATION AS OF 2000) เป็นการแสดงเพื่อให้ทราบ

๑ - ๑๓ ว่า หลังจากปี พ.ศ.2543 ไปแล้วลักษณะภมู ิประเทศยอ่ มมกี ารเปล่ียนแปลงไปจากเดิมได้ ซึ่งอาจคลาดเคล่อื น จากข้อมลู ท่ีมอี ยเู่ ดมิ ในแผนท่ี 18. คาอธบิ ายสัญลักษณ์ (Legend) เป็นสัญลกั ษณ์ หรือเครื่องหมายทีแ่ สดงไวเ้ พอ่ื ตอ้ งการใหผ้ ู้ใช้แผนที่ได้ อ่านความหมายของสัญลกั ษณต์ ่างๆ ท่ีเขยี นไวบ้ นแผนท่ีได้อย่างถูกต้องสญั ลักษณ์ต่างๆ นีอ้ าจมีการเปลี่ยนแปลง รูปรา่ งไปตามชนดิ หรือมาตราสว่ นของแผนท่ไี ด้ เพราะฉะนนั้ เพือ่ ป้องกันการผดิ พลาด เมอ่ื จะอา่ นสญั ลักษณ์ใด บนแผนท่ี จะตอ้ งตรวจสอบคาอธิบายสัญลักษณข์ องแผนท่รี ะวางนน้ั เสยี กอ่ น 19. หมายเลขอ้างองิ ส่งิ อุปกรณ์ (Reference Number) มีไว้เพือ่ ชว่ ยในการควบคุมการจัดเก็บอย่างเป็นระบบ

๑ - ๑๔ 20. กรอบอา้ งอิงคา่ กริด (Grid Reference Box) เปน็ คาแนะนาการอ่านพิกัดกริด และคาแนะนาสาหรับ การอา้ งองิ การใชเ้ ส้นกริด การกาหนดตาแหนง่ การกาหนดตาแหนง่ ทางทหาร มักใช้การกาหนดตาแหนง่ ด้วย ระบบพิกดั เน่อื งจากกาหนดได้แมน่ ยา และ เป็นหลักสากล สามารถส่ือสารได้เข้าใจถูกต้องตรงกัน สาหรับการกาหนดตาแหน่งด้วยระบบพิกัด ในแผนที่ มาตราส่วน 1:50,000 สามารถกาหนดตาแหน่งพิกัดได้2 ระบบ คือ ระบบพิกัดภูมิศาสตร์ (Geographic Coordinate System) และระบบพิกัดกริด UTM (UTM Grid Coordinate System) แต่ในแผนท่ีมาตราส่วน อื่นๆ สามารถกาหนดตาแหนง่ ได้หลายระบบขนึ้ อยูก่ บั ความมงุ่ หมายในการใช้แผนที่ และความเหมาะสมต่อการ ใช้งานในพื้นท่ีบรเิ วณน้ัน ได้แก่ การกาหนดเป็น ระบบพิกัดภูมิศาสตร์ ระบบพิกัดกรดิ UTM ระบบอ้างอิงทาง ภูมิศาสตรข์ องโลก GEOREF และระบบพกิ ัดกรดิ UPS เป็นต้น ระบบพิกดั ภมู ิศาสตร์ (Geographic Coordinate System) ระบบพกิ ัดภูมิศาสตร์ เป็นการบอกค่าพิกัดทางราบที่อาศัยคา่ ละติจูดและลองจิจูด ระบบน้เี ป็นระบบที่คิด ข้นึ ใชต้ ั้งแต่สมยั โบราณ ซึง่ นบั ว่าเป็นระบบท่ีเกา่ แก่ทีส่ ดุ และใช้เหมอื นกนั ทุกประเทศทัง้ ในอดตี และปัจจบุ นั คาศพั ทท์ ีค่ วรรเู้ กย่ี วกบั ระบบพิกัดภูมศิ าสตร์ 1. เส้นศูนย์สูตร (Equator) คือ เส้นสมมุติท่ีลากวนรอบโลก แบ่งกึ่งกลางระหว่างขั้วโลกเหนือและข้วั โลก ใต้ หรือเรียกว่า วงกลมใหญ่ (Great Circle) 2. เส้นเมอริเดียนหลัก (Prime Meridian) คือ เส้นสมมุติที่ลากผ่านหอดูดาวเมืองกรีนิช ประเทศอังกฤษ กาหนดให้มีค่าเทา่ กับ 0 องศา หรือเรียกว่า เส้นเมอรเิ ดยี นเริม่ แรกเปน็ เสน้ ทีแ่ บง่ ซีกโลกตะวนั ตกกับตะวนั ออก 3. เส้นขนาน (Parallel)คือ เส้นสมมุติท่ีลากขนานไปกับเส้นศูนย์สูตรทั้งทางซีกโลกเหนือและใต้ โดยมี ระยะเชงิ มุมจากเสน้ ศนู ย์สูตรไปทางซกี โลกเหนือและใต้เรยี กว่า ละตจิ ูด (Latitude) 4. เส้นเมอริเดียน (Meridian) คือ เส้นสมมุติทีล่ ากจากข้ัวโลกเหนอื ไปยงั ขั้วโลกใต้ และตัดกบั เส้นศูนย์สตู ร เป็นมุมฉาก โดยระยะเชิงมุมจากเส้นเมอริเดียนหลักไปทางตะวันออกและตะวันตก เรียกว่า ลองจิจูด (Longitude) 5. ละติจูด (Latitude)คือ ระยะในเชิงมุมจากเส้นศูนย์สูตรไปทางซกี โลกเหนอื และใต้ โดยวัดไปถึงข้ัวโลก เหนอื 90องศา และขวั้ โลกใต้ 90องศา 6.ลองจจิ ดู (Longitude) คอื ระยะในเชิงมมุ จากเส้นเมอริเดยี นหลกั ไปทางตะวนั ออกและทางตะวนั ตกข้าง

๑ - ๑๕ ละ 180 องศา 7. เส้นเขตวัน (International Date Line)คือ เส้นเมอริเดียน 180 องศา ท่ีอยู่ตรงข้ามกบั เส้นเมอรเิ ดยี น หลัก ถือว่าเป็นเส้นแบ่งระหว่างสิ้นสุดวันเก่าและเริ่มวันใหม่หรือเรียกว่า เส้นแบ่งเขตวันสากล เส้นแบ่งเขตนี้ สามารถเบนออกไปทางซ้ายหรือขวาของเมอรเิ ดียนท่ี 180 องศา ได้ในกรณีท่ีผ่านแผ่นดินหรือหมู่เกาะ ต่างๆ เพอ่ื ให้ดินแดนในบริเวณนนั้ มีเวลาอยใู่ นวันเดยี วกนั ขอ้ ควรจา 1. คา่ ของมมุ ละติจูดและลองจิจูด มีหน่วยวดั เป็นองศา ( ° ) ลิปดา ( ′ ) และ พลิ ปิ ดา ( ″ ) โดยแบง่ ไดเ้ ป็น 1 องศามี 60 ลิปดา และ 1 ลปิ ดามี 60 พิลปิ ดา 2. ค่าของมุมละติจูดและลองจิจูด 1 องศา ที่เส้นศูนย์สูตร คิดเป็นระยะทางบนผิวพิภพประมาณ 111 กิโลเมตร หรือ 69 ไมล์ 1 ลิปดา มีระยะทางประมาณ 1,850 เมตร หรือ 2,023.18 หลา และ 1 พิลิปดา มี ระยะทางประมาณ 30.48 เมตร หรอื 100 ฟุต และค่าของลองจจิ ูดจะลดลงเรอื่ ยๆ เม่อื ห่างจากเสน้ ศูนยส์ ูตรไป ทางขัว้ โลกเหนอื และใต้ 3. คา่ ของมุมลองจิจดู 180 องศาตะวนั ออก และลองจิจดู 180 องศาตะวันตก คือค่าเดยี วกัน 4. ค่าของมุมละติจูดจะต้องกากับด้วยตัวอักษร N (เหนือ) หรือตัวอักษร S (ใต้) ส่วนค่าของมุมลองจิจูด จะต้องกากับด้วยตวั อักษร E (ตะวันออก) หรอื ตวั อกั ษร W (ตะวนั ตก) เสมอ 5. ประเทศไทยอยู่ทางตะวันออก ของเส้นเมอริเดียนหลักและอยทู่ างเหนอื ของเส้นศูนย์สูตร ดังนั้นคา่ มุม ละติจูดจะกากบั ดว้ ยตวั อกั ษร N (เหนือ) และค่ามุมลองจิจดู จะกากบั ดว้ ยตวั อักษร E (ตะวนั ออก) เสมอ 6. ประเทศไทยตั้งอยู่ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ซึ่งอยู่เหนือเส้นศูนย์สูตรเล็กน้อย หรือระหว่าง

๑ - ๑๖ ละติจดู (เสน้ รุ้ง) ท่ี 5° 37′ N ถึง 20° 27′ N และระหวา่ งลองจิจูด (เสน้ แวง) ที่ 97° 22′ E ถึง 105° 37′ E วิธีการอา่ นพกิ ดั ภูมศิ าสตร์บนแผนท่มี าตราส่วนใหญ่ แผนท่ีมาตราส่วนใหญ่ทใี่ ช้เป็นมาตรฐานในกองทัพบกปัจจุบันนั้น คือ แผนทีล่ าดับชุด L7018 มาตราส่วน 1:50,000 เป็นแผนท่ีภูมิประเทศ บนแผนท่ีชนิดน้ีได้เขียนเส้นโครงพกิ ัดภูมศิ าสตร์ไว้ด้วยเส้นขีดส้ันสีดา (Tick) ทุกๆ 5 ลิปดา ที่ขอบระวาง และตรงบริเวณท่ีแนวละติจูดตัดกับแนวลองจิจูดทุก 5 ลิปดา ในระวางแผนที่จะ แสดงพิกัดภูมศิ าสตร์ไว้ดว้ ยเครื่องหมายบวก (Plus Sign or Graticule) จากขอ้ มูลพกิ ัดภูมิศาสตร์ท่แี สดงไว้บน แผนท่ีมาตราส่วน 1:50,000 เราจึงสามารถแบ่งข้ันตอนการอ่านพิกัดได้ดังต่อไปน้ี เม่ือต้องการทราบพิกัด ภูมิศาสตร์ของจุดหนงึ่ จุดใดบนแผนท่ีมวี ิธีการดงั นี้ 1. ลากเสน้ ตรงเชอื่ มตอ่ เส้นขดี ส้นั สีดา (Tick) ที่มีค่าพกิ ัดภูมิศาสตรก์ ากับ จะไดเ้ ป็นกรอบท่ีมีเส้นโครงแผน ที่ตัดกันขนาด 5 x 5 ลปิ ดา จานวน 9 กรอบ 2. ในเส้นคขู่ นาน 5 ลิปดา ให้ใช้ไม้บรรทดั 300 ส่วน (ไมบ้ รรทัด 30 เซนติเมตร กค็ ือ 300 มลิ ลิเมตร) วาง ทาบเสน้ คขู่ นานทค่ี ร่อมท่หี มายนัน้ ทั้งทางละติจดู และลองจจิ ดู ดังนี้ 2.1 ทางละติจูด ให้วางไม้บรรทัดโดยขีดที่ 0 วางทาบที่เส้นล่าง และให้ขีดท่ี 300 วางทาบที่เส้นบน จากนั้นให้ค่อยๆ ขยับหรือเล่ือนไม้บรรทัด ให้ขอบไม้บรรทัดด้านที่เป็นมิลลิเมตรทาบทับก่ึงกลางท่ีหมาย แล้ว อ่านคา่ หน่วยเป็นมลิ ลเิ มตร

๑ - ๑๗ 2.2 ทางลองจิจูด ให้วางไม้บรรทัดโดยขีดท่ี 0 วางทาบท่ีเส้นด้านซ้าย และให้ขีดท่ี 300 วางทาบที่เส้น ด้านขวา จากน้ันให้ค่อยๆ ขยับหรือเล่ือนไม้บรรทัด ให้ขอบไม้บรรทัดด้านที่เป็นมิลลิเมตรทาบทับกึ่งกลางท่ี หมายแลว้ อา่ นค่า หน่วยเปน็ มลิ ลเิ มตร 3. คา่ ทไี่ ดจ้ ากข้อ 2.1 และ 2.2 ใหน้ า 60 มาหาร เหลือเศษเท่าใดให้คงไว้ เช่น อ่านคา่ ได้ 148 มลิ ลเิ มตร ก็ จะได้ 148 ÷ 60 = 2 เศษ 28 (คือ 2 ลิปดา 28 พิลิปดา) หรือถ้าอ่านค่าได้ 24 มิลลิเมตร ก็จะได้ 0 เศษ 24 (คือ 24 พลิ ิปดา) 4. ให้นาคา่ ทไ่ี ด้จากขอ้ 3 ไปบวกเพม่ิ กบั คา่ ของเสน้ คู่ขนานที่มีคา่ นอ้ ยกว่า โดย 4.1 ทางละติจดู ให้บวกเพมิ่ กบั เสน้ ทีอ่ ยดู่ ้านลา่ ง 4.2 ทางลองจจิ ูดให้บวกเพม่ิ กบั เส้นทอี่ ย่ดู า้ นซา้ ย 5. กรณีพิกัดภูมิศาสตร์ประเทศไทย ตั้งอยู่ซีกโลกเหนือและซีกโลกตะวันออก การเขียนตัวอักษรแสดง ทศิ ทางจะต้องเปน็ ละติจูดเหนอื (N) และลองจจิ ดู ตะวนั ออก (E) เสมอ วธิ ีการอ่านพิกดั ภูมิศาสตร์บนแผนทม่ี าตราส่วนปานกลาง แผนท่ีมาตราส่วนปานกลางที่ใช้เป็นมาตรฐานในกองทัพบกนั้น คือแผนที่ลาดับชุด 1501 มาตราส่วน 1:250,000 เปน็ แผนทย่ี ทุ ธการร่วม บนแผนที่ชนดิ น้ไี ดเ้ ขียนเส้นโครงพกิ ัดภูมิศาสตร์ไว้ดว้ ยเส้นสีดาทกุ ๆ ตาราง 15 x 15 ลิปดา และบนเส้นโครงแผนท่ีทุกเสน้ จะเขยี นเส้นขีดสั้น (Ticks) ไว้ทุกๆ 1 ลิปดา ในแนวตั้งฉากพร้อม ท้ังได้เน้นด้วยเส้นขีดยาวขวางไวท้ ุกๆ 5 ลิปดา จากข้อมูลดังกล่าวสามารถแบ่งขั้นตอนการอ่านพกิ ัดภูมิศาสตร์ บนแผนทีม่ าตราสว่ นปานกลางได้ดงั ตอ่ ไปน้ี

๑ - ๑๘ 1. ใหพ้ จิ ารณาเลือกกรอบ 15 x 15 ลปิ ดา ที่ตอ้ งการอ่านค่าพิกดั 2. ขีดเสน้ กรอบ 1 x 1 ลปิ ดา (ท้ังละตจิ ูดและลองจิจูด) ให้ครอบท่หี มายทตี่ อ้ งการอา่ น 3. พจิ ารณาคา่ ละตจิ ูด (ถา้ อยู่ทางซีกโลกเหนอื ) ให้อา่ นค่าองศา, ค่าลิปดา ท่เี สน้ โครงแผนที่ใต้จุดนั้น จากน้ันอา่ นค่าพลิ ิปดาด้วยการแบ่งช่อง 1 ลปิ ดา ในกรอบออกเปน็ 10 สว่ นดว้ ยสายตา เช่น อ่าน ได้ 8 สว่ น ก็จะไดเ้ ท่ากับ 0.8 ลปิ ดา x 60 ก็คอื 48 พิลิปดา และเขยี นอักษร N กากับค่าละติจูดที่ อา่ นได้ 4. พิจารณาค่าลองจิจูด (ถ้าอยู่ทางซีกโลกตะวันออก) ให้อ่านค่าองศา, ค่าลิปดา ที่เส้นโครงแผนที่ ทางซ้ายของจุดนั้นจากนั้นอ่านค่าพิลิปดาด้วยการแบ่งช่อง 1 ลิปดา ในกรอบออกเป็น 10 ส่วน ด้วยสายตา เช่น อ่านได้ 6 ส่วน ก็จะได้เท่ากบั 0.6 ลิปดา x 60 ก็คือ 36 พิลิปดาและเขียนอักษร E กากับคา่ ลองจิจูดทอี่ า่ นได้ ระบบพกิ ดั กริด (Grid Coordinate System) แผนทีม่ าตราส่วนปานกลางและมาตราสว่ นใหญ่ ผลิตให้สามารถอา่ นพิกัดได้หลายระบบ สาหรบั การอ่าน แผนท่ีทางทหารในหน่วยระดับยุทธวิธี จะเน้นการปฏิบัติการบนพน้ื ผิวโลกที่เป็นพื้นที่ราบ มองเห็นด้วยตา ใน ระยะที่ไม่ไกลมาก มากกว่าการปฏบิ ัติการบนพืน้ ผิวโคง้ จึงกาหนดการอ่านพกิ ัด เป็นระบบพกิ ดั กริด ระบบพิกัดกริดเป็นระบบที่ประกอบไปด้วยเส้นตรง 2 ชุด ตัดกันเป็นมุมฉาก มีระยะห่างเท่าๆ กัน หรือ เป็นตารางสเ่ี หล่ยี มจตั ุรัส เสน้ กรดิ ทุกๆ เส้น จะมีค่าทเ่ี ปน็ ตวั เลขกากับไว้

๑ - ๑๙ ระบบพิกดั กรดิ UTM (Universal Transverse Mercator Grid : UTM Grid) หลักการของระบบพิกดั กริด UTM จะแบ่งลกู โลกออกตามแนว ลองจิจดู ออกเปน็ โซนๆ ละ 6 องศา โดย ใชห้ มายเลข เริม่ จากโซนท่ี 1 เริ่มจาก ลองจจิ ดู 180 องศา ตะวันตก ถึง 174 องศาตะวันตก โซนที่ 2 เริ่มจาก ลองจิจูด 174 องศาตะวันตก ถึง 168 องศาตะวันตก เรียงมาเร่ือยๆ ทางทิศตะวันออก ดังน้ัน ลูกโลก จึงถูก แบ่งในแนวลองจิจูด ออกเป็นทง้ั หมด 60 โซน โดยโซนท่ี 60 ก็จะวนมาบรรจบกับโซนที่ 1 สาหรับประเทศไทย กจ็ ะมที ีต่ ัง้ อยใู่ นสองโซน คือ โซนที่ 47 และ โซนที่ 48 ในแตล่ ะโซน จะกาหนดค่าพิกัดในสองทศิ ทาง คือ ทางเหนือ (Northing) และ ทางตะวนั ออก (Easting) มี หน่วยวัดเปน็ เมตร โดยการกาหนดค่าพกิ ดั ทางเหนอื จะกาหนด คา่ เหนอื เท็จ (False Northing) โดยเร่มิ จาก 0 เมตร ทเี่ สน้ ศูนย์สตู ร และเพม่ิ ข้ึนไปเร่อื ยๆ เม่ือนับขึ้นไปทางซกึ โลกเหนือ ในทางกลบั กัน เม่อื นับไปทางซกี โลก ใต้ ค่าเรมิ่ ต้นที่เสน้ ศนู ย์สตู ร จะเท่ากบั 10,000,000 เมตร และจะมคี า่ ลดลงไปเรอ่ื ยๆ เพ่ือไมใ่ หเ้ กดิ ค่าพิกัดที่มี ค่าตดิ ลบ ส่วนการกาหนดคา่ พิกัดทางตะวนั ออก จะกาหนดใหแ้ ตล่ ะโซน มีเส้นเมรเิ ดยี นกลาง ซึ่งแบง่ ครึ่งโซน 6 องศา ออกเป็นสองส่วนๆ ละ 3 องศา แล้วกาหนดให้เส้นเมริเดียนกลางเส้นน้ีมีค่าตะวันออกเท็จ (False Easting) เท่ากับ 500,000 เมตร ดังนั้น ค่าพิกัดซ่ึงอยู่ด้านตะวันตก ของเมริเดียนกลาง ก็จะมีค่าน้อยกว่า 500,000 เมตรส่วนค่าพิกัดซึ่งอย่ดู ้านตะวันออก ของเมริเดียนกลาง ก็จะมีค่ามากกว่า 500,000 เมตร ท้ังน้ี เพื่อไม่ให้เกิดค่าพิกัดท่ีมีค่าติดลบ เช่นเดียวกัน เช่น ประเทศไทยอยู่ใน โซนท่ี 47 ระหว่าง ลองจิจูด 96 องศา ตะวันออก ถึง 102 องศาตะวันออก และโซนที่ 48 ระหว่าง ลองจิจูด 102 องศาตะวันออก ถึง 108 องศา ตะวันออก ดังน้ัน เส้นเมริเดียนกลาง ของโซนที่ 47 ก็คือ ลองจิจูดที่ 99 องศาตะวันออก และ เส้นเมริเดียน กลาง ของโซนท่ี 48 ก็คือ ลองจิจูดที่ 105 องศาตะวันออก ซึ่งทั้งสองเส้นถูกกาหนดให้มีค่าทางตะวันออก เทา่ กบั 500,000 เมตร ในแตล่ ะโซน นน่ั เอง

๑ - ๒๐ ส่วนในแนวละติจูด ก็จะแบ่งโซน โดยใช้ตัวอักษร โดยเรมิ่ จากละติจูด 80 องศาใต้ โซนละ 8 องศา ข้ึนมา ทางเหนือเร่ือยๆ ถึง 84 องศาเหนือ (ยกเว้น แนวสุดท้าย บริเวณใกล้ข้ัวโลกเหนือ จะเป็น 12 องศา) โดยใช้ ตัวอักษรภาษาอังกฤษ กากับไว้ เริ่มจากอักษร C ถึง X (เว้น I และ O) รวมทั้งหมด 20 โซน สาหรับบริเวณ ประเทศไทยก็จะอยู่ในโซนของลาดับอักษร N P และ Q ดังนั้น ถ้านับทั้งแนว ลองจิจูด และละติจูด แล้ว ประเทศไทยจึงอยู่ในกริดโซน 47N, 47P, 47Q, 48N, 48P และ 48Q ซ่ึงเรียกว่า “เลขอักษรประจาเขตกริด” (Grid Zone Designation) ระยะห่างของเสน้ กริดบนแผนท่ี ซง่ึ เป็นระยะทีก่ าหนดจากค่าตัวเลขท่ีสมมุติขึน้ นี้ (แสดงความสมั พันธ์กับ จดุ ศูนย์กาเนดิ ของโซน) โดยปกติแผนทีม่ าตราสว่ นใหญร่ ะยะห่างของเส้นกรดิ แต่ละเสน้ จะห่างกัน 1,000 เมตร แผนที่มาตราส่วนปานกลาง 10,000 เมตร และแผนทมี่ าตราสว่ นเลก็ 100,000 เมตร การเขยี นตวั เลขบอกระยะหา่ งของเส้นกรดิ บนแผนที่จะมรี ะยะหา่ งเทา่ กนั ตลอดทงั้ แผนทโ่ี ดยถา้ เปน็ แผนที่ ที่มีระยะห่างเส้นกรดิ 1,000 เมตร จะเว้นเลขศูนย์ข้างท้ายไว้ 3 ตาแหน่ง (000) และค่าตัวเลขของเส้นกรดิ จะ พิมพ์ด้วยตัวเลขใหญ่ 2 ตัว ซ่ึงเรียกว่า “เลขหลัก” สาหรับแผนท่ีท่ีมีระยะห่างเส้นกริด 10,000 เมตร จะเว้น เลขศูนย์ขา้ งท้ายไว้ 4 ตาแหน่ง (0000) และจะพิมพต์ วั เลขใหญท่ เ่ี ปน็ ตัวเลขหลักไวเ้ พียงตวั เดียวเทา่ นน้ั เลขหลัก คา่ เหนือ (Northing)

๑ - ๒๑ การอ่านค่าพกิ ดั กรดิ UTM สาหรับประเทศไทย ซ่ึงอยู่ในซีกโลกเหนอื ตวั อย่าง พกิ ดั บ่อน้าไมม่ ชี อ่ื 1. อา่ นเลขอักษรประจาเขตกรดิ จากระวางแผนท่ี คอื 48P 2. อา่ นคา่ ตะวันออก (Easting) โดย คา่ ตะวันออกดา้ นซ้าย + (คา่ ประมาณแบ่ง 10 สว่ นระหว่างเลข หลัก × ระยะห่างเสน้ กรดิ ) คอื 177000m. + (0.7 × 1,000m.) =177700m. 3. อา่ นคา่ เหนอื (Northing) โดย คา่ เหนอื ด้านล่าง + (คา่ ประมาณแบง่ 10 สว่ นระหวา่ งเลขหลัก × ระยะหา่ งเส้นกริด) คือ 1633000m. + (0.0× 1,000m.) = 1633000m. 4. คา่ พกิ ดั คือ 48P 177700m.E. 1633000m.N. เลขหลกั ค่าเหนอื (Northing) การอา่ นคา่ พิกดั กริดคา่ UตTะวMันอตอวั กอย(E่าaงstพinิกgัด)“เขาคาแดแนผ”นทค่มีวาาตมรสาูงสว่4น691เ:ม2ต5ร0,(0จ0า0กรระะวดาบั งทNะDเล4ป8า-5นกลาง) 1. อ่านเลขอกั ษรประจาเขตกรดิ จากระวางแผนท่ีคือ 48P 2. อา่ นค่าตะวนั ออก (Easting) โดย ค่าตะวันออกด้านซ้าย + (ค่าประมาณแบง่ 10 สว่ นระหวา่ งเลข หลัก × ระยะห่างเส้นกริด) คอื 190000m. + (0.2× 10,000m.) =192000m. 3. อ่านคา่ เหนือ(Northing) โดย ค่าเหนือด้านล่าง + (คา่ ประมาณแบง่ 10 สว่ นระหว่างเลขหลัก × ระยะห่างเส้นกรดิ ) คอื 1550000m. + (0.1× 10,000m.) =1551000m. 4. ค่าพกิ ัดคือ 48P 192000m.E. 1551000m.N. ระบบอา้ งองิ กริดทางทหาร (Military Grid Reference System : MGRS)

๑ - ๒๒ ระบบอ้างอิงกริดทางทหาร เป็นระบบหลักที่ใช้ในการกาหนดตาแหน่งทางทหาร ในหน่วยทางยุทธวิธี ระบบนีม้ คี วามสอดคล้องกับระบบกริดUTM ที่กลา่ วไปข้างต้น คอื เป็นระบบพิกดั ทีค่ รอบคลมุ พ้นื ท่โี ลกภายใน เส้นขนาน 80° S ถึง 84° N แต่ในการกาหนดระบบอ้างอิงกริดทางทหาร จากระบบกริด UTM น้ัน จะแบ่ง โลกออกเป็นพ้ืนที่รองลงมาเปน็ ตารางขนาด 100 กม.×100 กม.เรียกว่า “จัตุรัส 100,000 เมตร” (100,000- meter Square) การกาหนดอักษรประจาจัตุรัส 100,000 เมตร เริ่มต้นจากเส้นเมริเดียนกลางของแต่ละกริดโซน (ขยาย ออกไปในแนวซ้าย-ขวา พอถึงขอบโซนก็จะมีระยะไม่ถึง 100,000 เมตร) และเส้นศูนย์สูตร (ในแนวล่าง-บน) โดยกาหนดด้วย “ตัวอักษร 2 ตัว”โดย ตัวแรกเป็นตัวอักษรในแนวนอน ใช้ตัวอักษร A – Z (เว้น I และ O) ตามลาดับเรมิ่ ตน้ จากเส้นเมอรเิ ดยี นท1ี่ 80°ตะวันตกไปทางตะวันออกตัวอักษรน้ีจะซา้ กันทุกๆ 3 โซน หรอื 18° ตัวท่ีสองเป็นตัวอักษรในแนวต้ัง ใช้ตัวอักษร A – V (ยกเว้น I และ O) ตามลาดับ เร่ิมต้นจากเส้นศูนย์สูตรไป

๑ - ๒๓ ทางเหนือ เม่ือครบ V แล้วเริ่ม A ใหม่สาหรับตัวอักษรในแนวต้ังนี้จะสลับกันระหว่างโซนเลขคู่และเลขค่ี โดย เลขคีจ่ ะเริ่มต้นท่เี ส้นศนู ย์สตู รด้วย A ส่วนเลขคจู่ ะเรมิ่ ต้นดว้ ย F จตั ุรัส 100,000 เมตร บริเวณประเทศไทย การอ้างจดุ ตา่ งๆ บนแผนท่ี จะอ้างจากค่าของเลขหลกั ทีเ่ ขียนกากบั เสน้ กริดแต่ละเส้นไว้ โดยต้อง คานงึ ถงึ ระยะหา่ งของเสน้ กรดิ บนแผนที่แตล่ ะมาตราส่วนด้วย (แผนที่มาตราส่วนใหญ่มรี ะยะห่างของเสน้ กริด 1,000 เมตร แผนที่มาตราส่วนปานกลาง 10,000 เมตร และแผนที่มาตราส่วนเล็ก 100,000 เมตร) ในการบอกค่าของจุด ต่าง ๆ บนแผนทจี่ ะบอกคา่ ตะวันออกท่ีเป็นเส้นกรดิ แนวต้ังก่อน แล้วตามดว้ ยค่าเหนือท่ีเป็นเสน้ กริดแนวนอน หลกั การและวิธีการอ่าน 1. อ่านไปทาง “ขวา” และอ่านข้ึน “บน” (Read Right Up) 2. อ่านเลขหลักของเสน้ กริดแนวต้งั ทางซ้ายของจดุ 3. อา่ นเลขพิกัดส่วนย่อยของเส้นกรดิ แนวตง้ั ไปทางขวา 4. อา่ นเลขหลักของเส้นกริดแนวนอนข้างล่างของจุด 5. อา่ นเลขพิกดั สว่ นยอ่ ยของเสน้ กริดแนวนอนขึน้ ขา้ งบน วิธกี ารอ่านพกิ ดั ระบบอ้างอิงกรดิ ทางทหารบนแผนทีม่ าตราส่วนใหญ่ แผนที่มาตราส่วนใหญ่ท่ีใช้เปน็ มาตรฐานในกองทัพบก คือ แผนท่ีลาดับชุด L7018 มาตราส่วน 1:50,000 เป็นแผนที่ภูมิประเทศ ผลิตโดย กรมแผนท่ีทหาร เพื่อใช้ในกิจการทหาร และเพ่ือการพัฒนาประเทศ ครอบคลุมท้ังประเทศไทย จานวน 830 ระวาง เป็นแผนท่ี มีขนาดขอบระวาง 15 ลิปดา ทางละติจูด × 15 ลิปดาทางลองจิจูด บนพ้ืนหลักฐานแผนท่ีสากล คือ “World Geodetic System 1984” หรือ WGS 84 สามารถกาหนดพิกัดตาแหน่งทางราบบนแผนท่ี ได้ทั้ง พิกัดภูมิศาสตร์ พิกัดกริด UTM และระบบอ้างอิงกริ ดทางทหาร สว่ นระดับความสงู อา้ งองิ กับระดบั ทะเลปานกลาง แต่ละระวางครอบคลมุ พน้ื ท่ีในภมู ปิ ระเทศจริง ประมาณ 750 ตร.กม. ตัวอยา่ ง การอา่ นคา่ บนแผนที่มาตราสว่ น 1:50,000 - อ่านเลขหลกั ของเส้นกรดิ แนวต้ังทางซ้ายของจุด ( 88 ) - อา่ นเลขพกิ ัดสว่ นย่อยของเส้นกรดิ แนวต้งั ไปทางขวา( 1 ) - อา่ นเลขหลักของเส้นกริดแนวนอนข้างลา่ งของจุด ( 57 ) - อ่านเลขพกิ ัดสว่ นยอ่ ยของเส้นกรดิ แนวนอนข้นึ ขา้ งบน( 3 ) - พกิ ดั ทอ่ี า่ นได้ 881573 ระยะห่างเส้นกริด 1,000 เมตร วิธกี ารอ่านพกิ ดั ระบบการอา้ งกริดทางทหารบนแผนทีม่ าตราสว่ นปานกลาง แผนท่ีมาตราส่วนปานกลางที่ใช้เป็นมาตรฐานในกองทัพบก คือแผนที่ลาดับชุด 1501 มาตราส่วน 1:250,000 เป็นแผนที่ยุทธการร่วม เส้นโครงแผนท่ีระบบการอ้างกริดทางทหารถูกเขียนไว้ด้วยเส้นกรอบสนี า้ เงิน ท้งั ส่ีด้าน ทกุ ๆ ตาราง 4 x 4 ซม. บนแผนที่จะมขี นาดเท่ากบั 10 กม. x 10 กม. (10,000 ม. x 10,000 ม.) ในภูมิประเทศจริง จากข้อมูลดังกล่าว เราสามารถแบ่งขั้นตอนการอ่านบนแผนที่มาตราส่วนปานกลางได้ ดงั ตอ่ ไปนี้ ตัวอยา่ ง การอา่ นค่าบนแผนทมี่ าตราสว่ น 1:250,000 - อา่ นเลขหลักของเสน้ กริดแนวตง้ั ทางซา้ ยของจดุ ( 8 )

ระยะหา่ งเสน้ กริด 10,000 เมตร ๑ - ๒๔ - อา่ นเลขพิกัดสว่ นย่อยของเส้นกริดแนวตั้งไปทางขวา ( 8 ) - อา่ นเลขหลกั ของเส้นกรดิ แนวนอนขา้ งล่างของจุด ( 5 ) - อ่านเลขพกิ ดั สว่ นย่อยของเสน้ กรดิ แนวนอนขนึ้ ขา้ งบน ( 7 ) - พิกัดทีอ่ า่ นได้ 8857 ระบบการอา้ งกริดทางทหารแบบสมบรู ณ์ (อ่านครบทุกตัวเลขอกั ษร) เม่ือตอ้ งการอ้างจดุ ต่าง ๆ บน แผนท่ีจะตอ้ งประกอบด้วยตวั อักษรและตวั เลขดังน้ี 1. เลขอกั ษรประจากริดโซน 2. อกั ษรประจาจตั ุรสั 100,000 เมตร การบอกเลขอักษรประจากริดโซน และอักษรประจาจตั ุรัส 100,000 เมตร ของแผนที่มาตราส่วน 1:50,000 (ซา้ ย) และ 1:250,000 (ขวา) 3. เลขพิกัดกริด ของจุดที่ต้องการ ตัวอย่างการอ้างอิงกริดทางทหาร 48P กาหนดกริดโซนภายในพ้นื ที่ 6° x 8° 48P SB กาหนดพน้ื ท่ภี ายในจัตรุ สั 100,000 เมตร 48P SB 85 กาหนดพ้นื ท่ีภายในจัตุรัส 10,000 เมตร 48P SB 8857 กาหนดพน้ื ทภี่ ายในจตั รุ สั 1,000 เมตร 48P SB 881573 กาหนดพื้นท่ีภายในจตั รุ ัส 100 เมตร 48P SB 88105731 กาหนดพื้นที่ภายในจตั ุรสั 10 เมตร 48P SB 8810557316 กาหนดพ้นื ท่ีภายในจตั ุรัส 1 เมตร (อา่ นได้จากเครอื่ งรบั สัญญาณดาวเทยี ม GPS) กริดซอ้ นเหล่ือม (Overlapping Grids) แผนทร่ี ะวางเช่อื มต่อกนั แต่อยู่ต่างกริดโซน เช่น กริดโซนท่ี 47 และ 48 แผนทร่ี ะวางนนั้ จะแสดงลกั ษณะ เส้นกริดซอ้ นเหล่ือมโดยจะเหลอื่ มล้าเข้าไปในโซนข้างเคียงประมาณ 30 ลิปดา หรือ 2 ระวางของแผนท่มี าตรา ส่วน 1:50,000 ซ่ึงมีความสาคัญสาหรับการปฏิบัติการทางทหารในพื้นท่ีท่ีขยายกว้างออกไปจากเขตกริดโซน โดยเฉพาะการควบคมุ การยงิ ปืนใหญแ่ ละการสารวจตา่ งๆ เสน้ กรดิ ซอ้ นเหลื่อมของโซนขา้ งเคยี งจะแสดงไวด้ ้วยขดี ยอ่ ยสีดาทย่ี ่ืนออกจากกรอบ บนเส้นกรอบท้ังสี่ดา้ น

๑ - ๒๕ และทุกระยะ 5 ขีดย่อยกากับด้วยตัวเลขสีน้าเงิน เส้นกริดของโซนข้างเคียง เม่ือต้องการใช้ให้ลากเส้นตรงต่อ ระหวา่ งขีดย่อยตรงข้ามคา่ เดยี วกนั จะเกิดเปน็ เสน้ กริดซอ้ นเหล่อื ม ตวั อยา่ งของระวางแผนทีม่ าตราสว่ น 1:50:000 โซนท่ี 47 โดยมกี ริดซ้อนเหลื่อมของโซนท่ี 48 เสน้ กริดของโซนขา้ งเคียง จะแสดงดว้ ยเส้นขีดสดี าทีย่ ่นื ออกจากกรอบ และมีตวั เลขสนี า้ เงนิ เขยี นกากับไว้

๑ - ๒๖ ระบบอ้างอิงทางภมู ิศาสตรข์ องโลก (GEOREF : The World Geographic Reference System) เปน็ ระบบทก่ี าหนดขน้ึ ใช้ เพอื่ ความมงุ่ หมายในการปฏิบัตกิ ารร่วมอากาศ-พ้นื ดิน อกี ระบบหน่ึง ปกตใิ ชก้ ับ แผนทม่ี าตราสว่ นปานกลาง 1:250,000 ลาดับชดุ 1501 ซึง่ เป็นแผนทยี่ ทุ ธการร่วม (JOG–A และ JOG–G) การ กาหนดพิกดั ในระบบ GEOREF สามารถกาหนดได้ดงั นี้ 1. แบ่งโลกตามแนวเสน้ แกนตง้ั จาก 180° W ถึง 180° E เปน็ ส่วนๆ ซ่ึงแตล่ ะส่วนเรยี กวา่ โซน (Zone) แต่ ละโซนมีขนาด 15° ได้ 24 โซน เขียนกากับด้วยตัวอักษร A ถึง Z (เว้น I และ O) เริ่มจาก 180° W เรียงตาม ตัวอักษรจนครบ 24 ตวั อักษร และแบ่งโลกตามแนวเสน้ แกนนอน จาก 90° S ถงึ 90° N เป็นสว่ นๆ ซงึ่ แต่ละ สว่ นเรยี กว่าแถบ (Band) แต่ละแถบมีขนาด 15° ได้ 12 แถบ เขยี นกากบั ด้วยตัวอักษร A ถงึ M (เว้น I) เรม่ิ จาก 90° S เรยี งตามลาดบั อักษรจนครบ 12 ตวั อักษร เสน้ ทีแ่ บง่ ตามแนวเสน้ แกนตงั้ และแนวเส้นแกนนอนจะตดั กนั เปน็ จตั ุรัส15° x 15° และเรียกชอื่ จัตรุ ัสน้ดี ้วยตวั อกั ษร 2 ตวั เช่น “UG” 2. แบ่งจัตุรัส 15° x 15° แนวแกนต้ังแบ่งออกเป็นส่วนๆ ละ 1° ได้ 15 ส่วน แต่ละส่วนเขียนกากับด้วย ตัวอักษร A ถึง Q (เว้น I และ O) จากตะวันตกไปตะวันออกเรียงตามตัวอักษรจนครบ 15 ตัวอักษร และแนวแกน

๑ - ๒๗ นอน ก็ให้ปฏบิ ัตเิ ชน่ เดียวกัน เสน้ ท่แี บง่ สว่ นดงั กล่าวจะตัดกันเป็นจัตรุ ัส 1° x 1° และ เรียกช่ือจัตุรัสนดี้ ว้ ยอกั ษร 2 ตวั เช่น “KN” 3. แบ่งจตั รุ ัส 1° x 1° ตามแนวแกนต้งั และแนวแกนนอนออกเป็นสว่ นๆ ละ 1 ลิปดา ได้ดา้ นละ 60 ส่วนท้งั สองด้าน แต่ละด้านเขียนกากับด้วยตวั เลข 00 – 59 เรียงตามลาดับตัวเลขจากตะวันตกไปตะวันออก และจาก ใต้ไปเหนอื ทั้งแนวแกนต้งั และแกนนอนจะเกิดเป็นรปู จัตรุ ัสขนาด 1′ x 1′ เรยี กช่อื จตั รุ สั นดี้ ว้ ยตวั เลข 4 ตัว เช่น “0637” นอกจากน้ันแต่ละจัตุรสั 1′ x 1′ อาจแบ่งด้วยสายตาออกเป็น 10 ส่วน (โดยประมาณ) อีกก็ได้เพอ่ื ให้ การอา่ นคา่ พิกัดมีความละเอยี ดถูกตอ้ งมากขึน้ ซึ่งวธิ ีนี้จะทาให้สามารถอ่านได้ใกล้เคยี งถงึ 0.1 ลปิ ดา การอ่านค่าพิกัด GEOREF จากแผนท่ีชดุ 1501 ระวาง NE47-16 ตัวอยา่ ง พกิ ัด“อาเภอทับคล้อ” 1. อ่านจัตุรัส 15° x 15° คอื UH 2. อา่ นจตั รุ ัส 1° x 1° คอื LB 3. อา่ นจัตรุ สั ขนาด 1′ x 1′ จากซ้ายไปทางขวา คือ 36 และจากล่างขึน้ บน คือ 10 4. คา่ พกิ ัดคือ UHLB 3610 ระบบกริดUPS (Universal Polar Stereographic Grid) ยูนเิ วอรซ์ ัลโพลารส์ เตริโอกราฟฟิคกริด เปน็ ระบบการอา้ งอิงกรดิ ทางทหารท่ีครอบคลมุ พื้นทบ่ี ริเวณข้วั โลก เหนือและข้ัวโลกใต้ (บรเิ วณท่ีไมค่ รอบคลมุ ดว้ ยระบบพิกดั กรดิ UTM) โดยการกาหนดตารางสี่เหลี่ยมมุมฉาก แสดงภูมิภาคขว้ั โลก ซ่งึ เกิดจากการฉายแบบ Polar Stereographic

๑ - ๒๘ ทข่ี ัว้ โลกเหนือ จะทาการฉายจากเสน้ ขนานที่ 84° N ถึง 90° N ลักษณะเป็นวงกลมกาหนดให้ขั้วโลกเหนือ (ละติจูด 90° N) เป็นจุดศูนย์กาเนิดหรือจุดเริ่มต้น และกาหนดเส้นเมอริเดียนที่ 0° กับ 180° เป็นแกน Y ตัด กับเสน้ เมอรเิ ดียนที่ 90° W กบั 90° E เปน็ แกน X ทีข่ วั้ โลกใต้ จะทาการฉายจากเสน้ ขนานที่ 80° S ถงึ 90°S ลกั ษณะเป็นวงกลมกาหนดให้ขั้วโลกใต้ (ละติจูด 90°S) เป็นจุดศูนย์กาเนิดหรือจุดเริ่มต้น และกาหนดเส้นเมอริเดียนท่ี 0°กับ 180°เป็นแกน Y ตัดกับเส้นเม อรเิ ดยี นท่ี 90°W กับ 90°E เปน็ แกน X การกาหนดอักษรประจากริดโซนบริเวณขั้วโลกใต้ พื้นที่ด้านตะวันตกใช้อักษร A พื้นท่ีด้านตะวันออกใช้ อกั ษร B สว่ นบรเิ วณขว้ั โลกเหนอื พ้นื ที่ดา้ นตะวนั ตกใชอ้ กั ษร Y พื้นที่ดา้ นตะวนั ออกใช้อกั ษร Z การกาหนดค่าเท็จที่จุดศูนย์กาเนิด จะกาหนดค่าเท็จให้กับเส้นเมอริเดียนทั้ง 4 คือ เส้นเมอริเดียน 0°,

๑ - ๒๙ เส้นเมอริเดยี น 90° E, เสน้ เมอริเดียน 90° W และเสน้ เมอรเิ ดียน 180° ให้มรี ะยะ 2,000,000 เมตร ท้งั ขว้ั โลก ใต้ และข้ัวโลกเหนือ - ทงั้ ขวั้ โลกเหนอื และใต้ ค่า Easting จะเพิม่ ขึ้น (จาก 2,000,000m.) ตามเส้นเมริเดยี น 90°E และ ลดลง (จาก 2,000,000m.) ตามเส้นเมรเิ ดยี น 90°W - สาหรับขัว้ โลกใต้ ค่า Northing จะเพ่ิมขน้ึ (จาก 2,000,000m.) ตามเสน้ เมรเิ ดยี น 0° และลดลง (จาก 2,000,000m.) ตามเส้นเมรเิ ดียน 180° - สาหรับขวั้ โลกเหนอื คา่ Northing จะเพ่ิมขึน้ (จาก 2,000,000m.) ตามเส้นเมรเิ ดยี น 180° และ ลดลง (จาก 2,000,000m.) ตามเสน้ เมรเิ ดียน 0° การกาหนดอกั ษรประจาจตั รุ สั 100,000 เมตร จะใชอ้ กั ษร 2 ตัว บริเวณขว้ั โลกเหนือ - แนว Easting โซน Y เร่ิมจาก R-Z จากขอบโซนซ้ายสดุ ยกเวน้ อกั ษร V, W - แนว Easting โซน Z เริ่มจาก A-J จากแนวจุดศูนยก์ าเนดิ ยกเวน้ อักษร D, E, I - แนว Northing เร่ิมจาก A-P จากขอบโซนล่างสุดยกเวน้ I, O บรเิ วณขัว้ โลกใต้ - แนว Easting โซน A เริ่มจาก J-Z จากขอบโซนซา้ ยสดุ ยกเว้นอกั ษร M, N, O, V, - แนว Easting โซน B เร่ิมจาก A-R จากแนวจดุ ศูนย์กาเนดิ ยกเวน้ D, E. I, M, N, O - แนว Northing เร่ิมจาก A-Z จากขอบโซนล่างสุด ยกเวน้ I, 0

๑ - ๓๐ ั การแบง่ ตารางกริด 1,000 เมตรและการอา่ นค่าพิกดั กริดของตาแหนง่ ต่างๆ แบง่ และอา่ นเชน่ เดียวกบั ระบบพกิ ัดกริด UTM มาตราส่วนและระยะทาง การจาลองพื้นผิวโลกให้มีขนาดตามต้องการและเขียนเป็นแผนท่ีนั้น จาเป็นต้องมีอัตราส่วนเปรียบเทียบ ระหว่างระยะบนแผนท่ี กับระยะทางในภูมิประเทศด้วย อัตราส่วนดังกล่าวน้ี เรียกว่า “มาตราส่วนแผนที่” สามารถเขียนความสมั พนั ธไ์ ด้ดงั นี้ ระยะบนแผนท่ี(Map Distance - MD) มาตราสว่ นแผนที่(Map Scale) = ระยะทางในภูมปิ ระเทศ (Ground Distance - GD) การหามาตราส่วนของแผนที่จะต้องแปลงค่าระยะทาง บนแผนที่ให้มีค่าเป็น 1 หน่วยเสมอ เรียกว่า Representative Fraction หรือ RF Formula ชนดิ ของมาตราส่วน การแสดงมาตราส่วนของแผนที่สามารถแสดงได้หลายชนิด ขึ้นอยู่กับความเหมาะสมของแผนที่แต่ละ ประเภท และในแผนที่ 1 ฉบับ สามารถแสดงมาตราส่วนได้มากกวา่ 1 ชนิด ทั้งนี้มาตราส่วนที่แสดงนัน้ จะต้องมีความสัมพันธ์กัน 1. มาตราส่วนตัวเลข (Numerical Scale) คือ การบอกมาตราส่วนในรูปเศษส่วน เป็นการเปรียบเทียบ ระหว่างระยะบนแผนที่กับระยะทางในภูมิประเทศในรูปเศษส่วนอย่างง่าย โดยที่ระยะบนแผนที่จะเป็น 1 หน่วยเสมอ เช่น มาตราส่วน 1:50,000 หรือ 1/50,000 การบอกมาตราส่วนชนิดนี้จะไม่มีการเขียนหนว่ ย ของการวัดระยะกากับไว้ โดยจะเทียบในหนว่ ยเดยี วกัน เช่น 1 cm./50,000 cm. (50,000 cm. = 500 m.) 2. มาตราส่วนคาพูด (Verbal Scale) คือ การบอกมาตราส่วนแผนที่ในลักษณะเป็นคาพูด เช่น มาตรา ส่วน 1 นิ้ว ต่อ 10 ไมล์ หมายความว่า ระยะบนแผนท่ี 1 นิ้ว จะเท่ากับระยะทางในภูมิประเทศ 10 ไมล์ หรือ มาตราส่วน 1 เซนติเมตร ต่อ 5 กิโลเมตร หมายความว่า ระยะบนแผนที่ 1 เซนติเมตร จะเท่ากับระยะทาง ใน ภูมิประเทศ 5 กิโลเมตร การบอกมาตราส่วนของแผนท่ีชนิดน้ีจะมีความยุ่งยากต่อผู้ใช้เพราะ หน่วยของ ระยะบนแผนที่และระยะทางในภูมิประเทศไม่ตรงกัน ซึ่งจะต้องแปลงค่าหนว่ ยให้ตรงกันก่อน จากข้อจากัด ดังกล่าว ทาให้มาตราส่วนชนิดน้ีไม่เป็นที่นิยม 3. มาตราส่วนเส้นบรรทัด (Graphic Scale หรือ Bar Scale) คือ การบอกมาตราส่วนของแผนที่ในรปู แถบเส้นลักษณะคล้ายไม้บรรทัด โดยบนแถบเส้นจะแบ่งเป็นส่วนเท่าๆ กัน แต่ละส่วนมีค่าตัวเลขกากับไว้เพ่ือ บอกให้ทราบว่าระยะแต่ละส่วนที่แบ่งไว้นั้นแทนระยะทางเท่าใดในภูมปิ ระเทศ และหน่วยบอกระยะทางจะ กากับไว้ทางขวาสุดของเส้นบรรทัด ในแผนที่ลาดับชุด L7018 มาตราส่วน 1:50,000 สามารถบอกระยะทาง ได้ 3 หน่วย คือกิโลเมตร ไมล์ และไมล์ทะเล

๑ - ๓๑ ขีดส่วนแบ่งของมาตราส่วนเส้นบรรทัด จะมีอยู่ 2 ตอน คือ บริเวณค่า 0 (Index Mark) จะเป็นจุดท่ีแบ่ง มาตราส่วนเสน้ บรรทัดออกเปน็ 2 ส่วน คอื ด้านซ้ายจะเป็นขีดสว่ นแบง่ ย่อย และด้านขวาจะเปน็ ขีดส่วนแบ่งเตม็ การวัดหาระยะจากแผนท่ี การวัดหาระยะบนแผนที่เพือ่ ทราบระยะทางในภูมิประเทศนั้น เราสามารถวัดระยะเป็นแนวเส้นตรงและ วัดระยะทางเป็นแนวคดโค้งก็ได้ เมื่อวัดระยะระหว่างจุดท่ีต้องการบนแผนที่ได้แล้ว ให้นาไปเทียบกับมาตรา ส่วนก็จะได้ระยะทางในภมู ปิ ระเทศ วธิ กี ารดังกลา่ วอาจใช้ให้เหมาะสมไดด้ ังนี้ 1. การใช้ไม้บรรทัดเหมาะสมกับการวัดระยะบนแผนที่ท่ีเป็นระยะทางตรงระหว่างจุดสองจุด โดยนาไม้ บรรทัดวางทาบลงระหว่างจุดสองจุด โดยให้ขีด 0 อยู่ ณ จุดเร่ิมต้น แล้วอ่านระยะไปถึงจุดท่ีต้องการในหน่วย เซนติเมตร จากน้ันให้นาไปเปรียบเทียบกบั มาตราส่วน ในแผนที่ลาดับชุด L7018มาตราส่วน 1:50,000 ระยะ บนแผนที่ 2 เซนติเมตร เทา่ กบั ระยะในภูมปิ ระเทศ 1,000 เมตร เชน่ วัดระยะบนแผนทไี่ ด้ 3.5 เซนติเมตร = ระยะในภูมิประเทศ = 1,750 เมตร หรอื 1.75 กโิ ลเมตร 2. วิธกี ารใชแ้ ผ่นกระดาษยาว ใช้ในกรณีทตี่ ้องการวัดระยะทางตามแนวท่ีคดโค้ง เชน่ แนวเส้นทาง แนวแม่นา้ แนว เส้นแบ่งเขต ให้ใช้แผ่นกระดาษยาวๆ ที่เราสามารถขีดส่วนของเส้นตรงช่วงส้ันๆ ลงบนแผ่นกระดาษเมื่อวัดไปจนถึงที่ หมายท่ตี ้องการแล้ว ก็จะไดร้ ะยะทางทง้ั หมดเปน็ แนวเส้นตรงบนแผ่นกระดาษยาวนั้น ให้นาระยะทางในแผน่ กระดาษไป เปรียบเทยี บกบั มาตราส่วนเสน้ บรรทัด หรือจะวัดระยะแล้วนาไปเปรียบเทียบกบั มาตราส่วนตัวเลขกไ็ ด้ หากต้องการเทียบจากมาตราส่วนเส้นบรรทัด ให้นาแผ่นกระดาษที่วัดได้นั้นไปวางทาบโดยให้ขีด สุดท้ายวางทาบกับขีดส่วนแบ่งเต็มขีดใดขีดหน่ึง ตามตาแหน่ง (ข) และให้ขีดบนกระดาษทางซ้ายมือตก อยู่ที่ขีดส่วนแบ่งย่อยตามตาแหน่ง (ก) การอ่านให้อ่านค่าจานวนเต็มตามขีดส่วนแบ่งเต็ม ส่วนเศษที่ เหลือก็จะอ่านจากขีดส่วนแบ่งย่อยและหากระยะที่ต้องการวัดมีความยาวมากกว่าความยาวของมาตรา ส่วนเส้นบรรทัดก็ให้วัดท่ีขีดส่วนแบ่งเต็มของมาตราส่วนเส้นบรรทั ดหลายๆครั้ง

๑ - ๓๒ 3. การใช้ล้อวัดระยะ (Map Measurer) เป็นเครื่องมือวัดระยะในแผนท่ี ที่อานวยความสะดวกในการวดั ระยะบนแผนที่ได้รวดเร็ว ส่วนประกอบของเคร่ืองมือชนิดน้ีประกอบด้วย หน้าปัด ด้าม และลูกล้อเล็กๆ หน้าปัดจะมี 2 ด้าน ด้านหน่ึงจะมีมาตราส่วนระบุไว้ เช่น 1:50,000 และมีขีดบอกระยะทางในภูมิประเทศ หน่วยเปน็ กิโลเมตร หรือไมล์ บนหนา้ ปดั จะมเี ขม็ เล็กๆ คล้ายเขม็ นาฬกิ าทาหน้าที่ชใ้ี ห้ทราบถงึ ระยะท่ีลกู ล้อได้ เคล่ือนที่ไปหน้าปัดอีกด้านจะบอกเป็นระยะบนแผนท่ีในหน่วยเซนติเมตร หรือน้ิว บนหน้าปัดมีเข็มเล็กๆ ทา หน้าท่ี ช้ีบอกระยะทางใน แผนที่ว่าที่วัดมาน้ันเป็นระยะทางเท่าใด ถ้าใช้หน้าปัดด้านนี้จะต้องเอาระยะที่วดั ได้ ไปเทียบกับ มาตราส่วนของ แผนที่ฉบับน้ัน จึงจะบอกได้ว่าระยะทางท่ีวัดมาน้ันเป็นระยะทางในภูมิประเทศ เทา่ ไร ระยะทาง เวลา และอัตราเรว็ ในการเคล่ือนท่ี การนาแผนท่ไี ปประกอบการเดนิ ทาง นอกจากจะใช้ประโยชน์ในการดูเสน้ ทางแล้ว ยังใชป้ ระโยชน์ใน การคานวณหาระยะทาง หรอื คานวณเวลาท่จี ะใช้ในการเดนิ ทางได้ ทั้งน้เี ราตอ้ งทราบอัตราเร็วในการ เคลื่อนท่ีดว้ ย ความสัมพนั ธร์ ะหว่าง ระยะทาง เวลา และอตั ราเร็ว สามารถกาหนดได้ดังนี้ ตัวอย่าง ถ้าเดินทางจากโรงเรียนวัดยางเกาะ ที่พิกัด 497367 ไปตามทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 3085 ด้วย อัตราเร็วคงที่ 30 กิโลเมตร/ชั่วโมง เม่ือถึงที่หมายท่ีสถานีอนามัยบ้านดอนสว่างพิกัด 452374 จะใช้เวลาใน การเดินทางเท่าไร (ระยะบนแผนที่มาตราสว่ น 1:50,000 เทา่ กับ 10.35 เซนตเิ มตร)

๑ - ๓๓ = 10 นาที + (0.35×60 วนิ าที = 21 วินาที) ความสงู และทรวดทรง การพจิ ารณาลกั ษณะภมู ิประเทศบนแผนทีน่ ้ัน จะเปน็ การประมาณการข้ันต้น เกยี่ วกบั ลกั ษณะทั่วไปของ พื้นที่โดยรวมเช่น ท่ีสูงต่า ทางน้าไหล ลักษณะพืชพรรณไม้ พ้ืนผิวดิน และสิ่งปลูกสร้าง จากนั้นจะดาเนินการ ตรวจสภาพพื้นท่ีปฏิบัติการจริงประกอบแผนที่ โดยพิจารณาผลกระทบในเรื่องลักษณะพื้นท่ีทางทหารทาง ยทุ ธวธิ ี (OCOKA) และลักษณะพืน้ ทท่ี างทหารทางการช่วยรบ ความสูงและทรวดทรง เป็นความไม่สม่าเสมอของภูมิประเทศ การอ่านแผนท่ีจึงมีความจาเป็นต้อง วิเคราะหล์ กั ษณะภมู ปิ ระเทศให้ได้ใกล้เคยี งกับความเป็นจริง เหมอื นกับการไดเ้ ห็นภมู ปิ ระเทศจริง ระดับสูง (Elevation) – ศพั ท์แผนท่ีอังกฤษ-ไทย ฉบบั ราชบัณฑิตยสถาน คือ ระยะในทางดิ่ง (Vertical Distance) ของจุดบนพื้นผิวพิภพที่สูงหรือต่าจากระดับทะเลปานกลาง (Mean Sea Level) โดยคา่ ระดบั สูงจะมหี นว่ ยเปน็ เมตร ระดับทะเลปานกลาง จะอา้ งองิ จากพนื้ หลักฐานทางดง่ิ (Vertical Datum) ที่ ตาบลเกาะหลัก อาเภอเมือง จังหวดั ประจวบครี ีขันธ์เป็นพื้นหลกั ฐานที่วดั จากค่าเฉล่ียระดับน้าทะเลท่ีข้นึ สงู สุด และตา่ สุด การบอกความสูง ใด ๆ ในประเทศไทยจะตอ้ งใชพ้ น้ื หลักฐานนี้ในการกาหนดความสูง ลักษณะความสูงสามารถแสดงไว้บนแผนท่ีได้หลายวิธี เช่น เส้นชั้นความสูง (Contour Line) แถบสี (Layer Tinting) เงา (Shaded Relief) เส้นลายขวานสับ (Hachures) จุดระดับสูง (Spot Elevation) ข้ึนอยู่ กบั แผนทแ่ี ต่ละชนิด โดยอาจแสดงความสงู ด้วยวิธใี ดวิธีหน่ึงหรอื หลายๆ วิธีรวมกันก็ได้ แตว่ ธิ ที ใ่ี ห้คา่ ความสูงได้ ละเอียดและเหมาะสมทีห่ น่วยทหารจะนาคา่ ความสงู มาพจิ ารณาวางแผนกค็ อื เสน้ ชั้นความสูง เส้นช้นั ความสูง คอื เสน้ สมมตุ ิที่ลากไปตามจุดต่างๆ ที่มคี วามสูงจากระดับทะเลปานกลางเท่ากัน เสน้ ช้ัน ความสูง 2 เส้นที่อยู่ติดกันจะมีความสูงต่างในทางดิ่ง คงที่เสมอ เรียกว่า ช่วงต่างเส้นช้ันความสูง (Contour Interval) หรือบางครั้งจะถูกเรยี กว่า “ระยะอุธันดร”เส้นช้ันความสูงท่ีปรากฎในแผนท่ีสามารถแบ่งได้ 5 ชนดิ ดังน้ี 1. เส้นช้ันความสูงหลัก คือ เส้นช้ันความสูงท่ีแสดงด้วยลักษณะเป็นเส้นหนา สีน้าตาล ซึ่งจะเห็นเด่นชัด มากกว่า เส้นชั้นความสูงเส้นอ่ืนๆ ท้ังน้ีเพ่ือให้การอา่ นแผนท่ีกระทาได้งา่ ยและรวดเร็วข้ึน สาหรับแผนที่ลาดบั ชดุ L7018 ซ่งึ เป็น แผนที่มาตราส่วนใหญ่ มาตราส่วน 1:50,000เส้นชั้นความสงู หลักจะแสดงที่ช่วงตา่ งความสูง ทุก ๆ100 เมตร และจะมีคา่ ระดบั สูงกากับไวเ้ ปน็ จานวนเตม็ หลกั ร้อย เช่น 100, 200, 300, ... 2.เสน้ ชน้ั ความสงู รอง คือ หมู่ของเส้นความสูง 4 เสน้ ท่แี สดงดว้ ยเส้นสนี ้าตาล ท่ีบางกวา่ และอยู่ระหว่าง เส้นช้นั ความสงู หลกั สาหรับแผนที่ลาดับชุด L7018 ซ่งึ เป็นแผนทีม่ าตราส่วนใหญ่ มาตราส่วน 1:50,000 มชี ว่ ง ต่างของเส้นชัน้ ความสงู เทา่ กบั 20 เมตร

๑ - ๓๔ 3. เสน้ ช้ันความสูงแทรก คือ เสน้ ชั้นความสงู ที่เขียนเป็นเส้นประและลากผ่านบริเวณพื้นที่ลาดนอ้ ยมาก จน เกือบเป็นพ้ืนราบ เน่ืองจากเส้นช้ันความสูงวางตัวห่างกันมากจนไม่สามารถทราบได้ว่า ลักษณะภูมิประเทศ บริเวณน้ันมีการเปล่ียนแปลงอย่างไร จึงมีเส้นชั้นความสูงแทรกลากผ่านครึ่งหนึ่งของช่วงต่างเส้นชั้นความสูง สาหรับแผนที่ลาดับชุด L7018 ซ่ึงเป็นแผนที่มาตราส่วนใหญ่ มาตราส่วน 1:50,000 มีช่วงต่างของเส้นช้ันความ สูงแทรก เทา่ กบั 10 เมตร 4. เส้นชั้นความสูงดีเพรสชั่น (Depression Contour- เส้นช้ันความสูงของแอ่ง-ศัพท์แผนที่อังกฤษ-ไทย ฉบับราชบัณฑิตยสถาน) คือ เส้นช้ันความสูงที่เขียนด้วยเส้นลายขวานสับ ลากผ่านบริเวณพ้ืนที่ ที่ต่ากว่าภูมิ ประเทศโดยรอบ เชน่ เป็นเหวลกึ เปน็ แอง่ ขนาดใหญ่ เส้นชนั้ ความสงู ชนิดนีจ้ ะมีขีดสนั้ ๆ ท่ีเสน้ ชนั้ ความสูงด้าน ใน และ หนั ปลายขีดไปทางลาดลง 5. เส้นชั้นความสูงประมาณ คือ หมู่ของเส้นชั้นความสูงท่ีเขียนเป็นเส้นประทั้งหมด เพื่อแสดงความสูง โดยประมาณในพนื้ ที่ ท่ีผู้ทาแผนท่ีไม่มีรายละเอียดเกีย่ วกับความสูงท่ีแท้จริงทั้งข้อมูลจากรปู ถ่ายทางอากาศที่ ไมส่ มบูรณ์ หรอื บรเิ วณทบ่ี ินถ่ายรปู ทางอากาศไม่ได้ แผนที่ท่ีถูกจัดว่าเป็นแผนที่มาตรฐานนั้น จะกาหนดช่วงต่างเส้นชั้นความสูงตามมาตราส่วนของแผนท่ีท่ี แน่นอน คือ แผนที่มาตราส่วน 1: 25,000 = 10 เมตร, 1:50,000 = 20 เมตร, 1:100,000 = 40 เมตร, 1:200,000 = 80 เมตร, 1:250,000 = 100 เมตร และ 1:500,000 = 200 เมตร ลกั ษณะภมู ปิ ระเทศ (Terrain Features) ลักษณะภูมิประเทศต่างๆ ท่ีเกิดขึ้นในเทือกเขา (Mountain Range) ไปตามแนวสันเขา (Ridgeline) ทา ใหเ้ กดิ เปน็ ลกั ษณะภูมปิ ระเทศ ในแนวสงู ต่า ท้งั ตามธรรมชาติ และมนษุ ย์สร้างขน้ี โดยอาจแบ่งได้ ดงั นี้ 1. ลกั ษณะภูมิประเทศหลัก (Major Terrain Features) ยอดเขาหรอื ยอดเนนิ คอทเขี่ตาา่ หสห(รนัแบุอื เอขเอ่งขาา)านมา้

๑ - ๓๕ 2. ลักษณะภูมปิ ระเทศรอง (Minor Terrain Features) รอ่ งเขา หรือ ซอกเขา ไหล่เขา หรอื จมกู เขา หนา้ ผา

๑ - ๓๖ 3. ลักษณะภมู ปิ ระเทศยอ่ ย (Supplementary Terrain Features) ดนิ ตัด (Cut) / ดินถม (Fill) การตีความลักษณะภูมิประเทศจากแผนท่ี 21ล.. ักหยษอบุ ดณเขเขาะาข/อยองดเสเนน้ นิ ชน้ั34.ค. สควนั อาเเมขขสาา/ูงอโาดนยมท้า่ัวไป56ม.. ีดทรอ่ัง่ีตนง่าเ้ีข(แา/อซ่งอ) กเขา 7. ไหลเ่ ขา/จมกู เขา 9. ดินตดั 1. มลี กั ษณะเป็นเส้นโค้งเรียบและบรรจบตวั เองเสมอ 8. หนา้ ผา 10. ดินถม 2. บริเวณท่ีเป็นหุบเขา ซอกเขา จะมีลักษณะคล้ายอักษร “U” หรือ “V” หันปลายฐานแหลมไปสทู่ ีส่ ูง โดยเป็นร่องนา้ หรือลาธาร ไหลลงสู่ทีต่ า่ กว่า 3. บริเวณท่ีเปน็ สันเนนิ (สันเขา) จะมีลักษณะคล้ายอกั ษร “U” หรือ “V” หนั ปลายฐานแหลมไปส่ทู ่ีต่า 4. บรเิ วณที่เป็นทช่ี นั จะมีลักษณะเปน็ เส้นชดิ กนั และบรเิ วณทเี่ ปน็ ลาด จะมีลกั ษณะห่างกนั 5. ภูมิประเทศที่เปน็ ลาดเสมอธรรมดา เส้นชน้ั ความสูงจะมีลกั ษณะห่างสม่าเสมอกนั 6. เสน้ ชนั้ ความสงู จะไมต่ ัดหรือจรดกนั นอกจากพน้ื ท่ีบรเิ วณน้นั เปน็ ชะโงกเขาหรอื หน้าผาชัน 7. บริเวณทเ่ี สน้ ชนั้ ความสงู เสน้ สุดทา้ ยบรรจบกันแสดงวา่ เปน็ ยอดเขา (ยอดเนิน) 8. การเคลื่อนที่ขนานไปกบั เส้นช้ันความสงู แสดงวา่ เคลื่อนทอี่ ยู่บนพนื้ ระดบั เดียวกัน ถา้ เคลือ่ นทีต่ ัดเส้น ช้ันความสงู จะเปน็ การข้ึนลาดหรอื ลงลาด การหาค่าความสูงของภมู ิประเทศ ในแผนท่ีจะแสดงความสูงต่าของภูมิประเทศด้วยเส้นชั้นความสูง และในบางจุดบางพื้นที่จะมีจุดระดับสูง กากบั ไว้ แต่ก็ยังไมเ่ พยี งพอ ดังน้ันเราต้องร้วู ธิ ีการหาความสูงของจดุ ต่างๆ ในแผนท่ี โดยกระทาไดด้ ังน้ี 1. กรณีความสูงบนพื้นลาดหรอื พื้นเอียงให้พิจารณาความสูงของจุดท่ีอยรู่ ะหวา่ งเส้นชั้นความสูงสองเสน้

๑ - ๓๗ ให้บวกดว้ ยระยะโดยประมาณของช่วงตา่ งเสน้ ชนั้ ความสูง กับคา่ ความสูงของเส้นชน้ั ความสูงล่าง 2. กรณกี ารหาความสงู ของยอดให้เอาคร่งึ หนึ่งของชว่ งต่างเส้นชั้นความสูงบวกกับ คา่ ความสูงของเส้นชั้น ความสูงเสน้ ในสุด 3. กรณีหาความสูงบรเิ วณท่ีต่า หรือแอ่ง (เส้นลายขวานสับ) ให้เอาครึ่งหนึ่งของช่วงต่างเส้นช้ันความสงู ลบออกจากค่าความสูงดีเพรสชน่ั เส้นในสุด ตวั อยา่ ง ยอดเขา คอื บรเิ วณพิกัด 269523, 276548 สนั เขา คือบริเวณพกิ ัด 264510, 294543 หุบเขา คือบรเิ วณพกิ ดั 31805328 หบุ เขา คอื บริเวณพกิ ัด 26405347 คอเขา คอื บริเวณพกิ ัด 272537, 301549 ทีต่ ่า คือบรเิ วณพิกัด 292524 ลาดเสมอ คอื บริเวณพิกดั 290531, 290541 ลาดเวา้ คอื บรเิ วณพิกัด 305511, 320504 ลาดนูน คอื บริเวณพิกดั 276548, 276560 ยอดเขา ในจัตรุ สั กรดิ 2652 สงู จากระดบั ทะเลปานกลาง 230 เมตร (220 + 10) ภมู ปิ ระเทศ บริเวณ 316513 สงู จากระดับทะเลปานกลาง 70 เมตร (60 + 10 หรอื 80 – 10) ท่ตี า่ บริเวณ 292524 สงู จากระดับทะเลปานกลาง 50 เมตร (60 – 10) ผู้ใช้แผนท่ีควรคานึงอยู่เสมอเมอ่ื พิจารณาลักษณะภูมิประเทศบนแผนที่ คือลักษณะภูมิประเทศที่เป็น “ที่ ราบ” ซ่งึ หมายถึงพน้ื ผิวพภิ พทีม่ ีบรเิ วณกว้างขวาง และมีความสูงแตกตา่ งกันไม่มาก แบ่งออกได้เป็น 3 ชนดิ คอื 1. ทร่ี าบ หมายถึง ภูมปิ ระเทศทีเ่ ปน็ พืน้ ทร่ี าบซ่ึงอาจจะราบเรยี บหรือมีลกั ษณะเปน็ ลูกคล่นื โดยปกตคิ วาม สูงต่าของพนื้ ทใ่ี นบริเวณน้ันจะแตกตา่ งกันไม่เกนิ 150 เมตร

๑ - ๓๘ 2. ท่ีราบสูง เป็นพื้นที่ราบอยู่ใกล้บริเวณภูเขาหรือติดต่อกับภูเขา มีบริเวณกว้างและมีพ้ืนท่ีผิวค่อนข้าง ราบเรยี บ โดยพื้นท่สี ว่ นใหญย่ กระดบั สูงจากพ้นื ผวิ โลกโดยรอบต้งั แต่ 300 เมตรข้ึนไป 3. ทรี่ าบลุม่ เปน็ พ้ืนทีร่ าบอยใู่ กลบ้ รเิ วณแหล่งน้า หรือแม่น้า ทาให้น้าสามารถท่วมถงึ ได้ ลาด (Slope) คือ ลักษณะทรวดทรงของภมู ปิ ระเทศทเี่ ปน็ พน้ื เอียง โดยสามารถแบง่ อาการลาด ออกเป็น 3 ลกั ษณะดงั น้ี 1. ลาดเสมอคือลักษณะของภูมิประเทศจะลาดเรียบเสมอกัน โดยสังเกตได้ 2 แบบ คือ ถ้าเส้นช้ันความสูงที่มี ระยะห่างกันมากและมีขนาดระยะหา่ งเท่าๆ กัน แสดงวา่ บริเวณน้ันเปน็ พน้ื ที่ ลาดนอ้ ยสม่าเสมอ หรือลาดเสมอ แตถ่ ้า เสน้ ช้นั ความสงู ท่มี รี ะยะชิดกันและมีระยะห่างเท่าๆ กนั แสดงว่าบริเวณนนั้ เปน็ พนื้ ท่ี ลาดชันสม่าเสมอ หรือลาดเสมอ (ชนั ) ลาดนอ้ ยสมา่ เสมอ ลาดชันสมา่ เสมอ 2. ลาดเว้าหรอื ลาดแอน่ คอื ลกั ษณะของภูมิประเทศที่มีเป็นพนื้ เอยี งยบุ ตวั ลงไป จะแสดงเส้นชัน้ ความสูง ทีม่ ีระยะชิดกันในตอนบนและคอ่ ยๆ หา่ งกันในตอนลา่ ง 3. ลาดนนู หรือลาดโคง้ คือ ลกั ษณะของภูมิประเทศท่ีมีเป็นพน้ื เอียงดันตัวสูงขึ้น จะแสดงเส้นชั้นความ สูงที่มีระยะห่างกนั ในตอนบนและคอ่ ยๆ ชิดกันในตอนล่าง

๑ - ๓๙ อาการลาด คอื การเอยี งของพ้นื ผวิ ภมู ิประเทศทามมุ กบั พ้นื ระดับ หรอื ค่าของลาดก็คอื อัตราส่วน ระหวา่ ง ระยะในทางดงิ่ กบั ระยะในทางราบ ลาดอาจจะมีผลกระทบตอ่ การเคล่อื นย้ายของยุทโธปกรณ์หรอื กาลงั พล จึง จาเป็นต้องทราบค่าของลาด เพ่ือพิจารณาในการเคล่ือนย้าย ค่าของลาดสามารถแสดงได้หลายวิธีซ่ึงแต่ละวธิ ี ขึ้นอยกู่ ับการเปรยี บเทียบระหว่าง “ระยะทางดิง่ ” และ “ระยะทางราบ” การบอกคา่ ของลาด มี 3 วิธี 1. เปน็ เปอรเ์ ซ็นต์ ใหค้ ณู ค่าของลาด ด้วย 100 2. เปน็ องศา ให้คูณคา่ ของลาด 57.3 3. เป็นมลิ เลียม ใหค้ ณู คา่ ของลาด 1,000 ขอ้ ควรจา 1. ระยะทางดิ่ง เป็นระยะผลต่างระหว่างความสูงของจุดท่ี สงู สุด กับทีต่ า่ สดุ ของลาด บริเวณนน้ั พจิ ารณาจากเสน้ ช้นั ความสงู 2. ระยะทางราบเปน็ ระยะระหว่างตาบลทัง้ สอง 3. ระยะทางด่ิงกับระยะทางราบ เป็นระยะทางท่ีคิดจากจุดท้ัง สอง ที่เป็นตาบลเดียวกันน่ันเอง และต้องใช้หน่วยวัดระยะหนว่ ย เดยี วกนั 4. “ลาดขึ้น” แสดงด้วยเคร่ืองหมายบวก (+) “ลาดลง” แสดงด้วยเครื่องหมายลบ (-) 5. การหาอาการลาดในแผนท่ีลาดับชุด L7018 มาตราส่วน 1:50,000 สามารถดูไดจ้ าก คาแนะนาเกยี่ วกบั ลาด ตัวอยา่ ง จงหาคา่ ของลาดเป็นเปอรเ์ ซ็นต์จากจุด ก ถงึ จดุ ข ตามเส้นช้นั ความสงู ที่กาหนดให้ (ช่วงต่างเส้นช้ัน ความสงู ช้ันละ 20 เมตร) วธิ ที า - หาค่าระยะทางด่งิ (170 ม. - 20 ม.) = 150 เมตร - หาระยะทางราบ = 1,200 เมตร - คา่ ของลาดเป็นเปอร์เซ็นต์ = - คา่ ของลาด = +12.5 % ทิศทางและการวดั มุม การใช้แผนท่ีเพ่ือค้นหาตาแหน่งในภูมิประเทศน้ัน นอกจากจะมีความรู้เร่ืองระยะทางแล้ว จาเป็นต้องมี

๑ - ๔๐ ความรู้พ้นื ฐานเรื่องทิศทางดว้ ย ทิศทางถูกกาหนดและมไี ว้ใช้ตงั้ แต่สมัยโบราณ เพราะคนในสมยั โบราณจะรู้จัก ทิศทางจากการอาศัยดวงดาว การสังเกตทิศทางลม การสังเกตการขึ้น-ลงของดวงอาทิตย์ การสังเกตจากดวง จันทร์ เปน็ ต้น จนถึงปจั จบุ นั การเดนิ ทางไปในท่ีต่างๆ กต็ ้องอาศัยทศิ ทางเป็นตวั กาหนดทัง้ ส้นิ และการเดนิ ทาง ในบางลกั ษณะกไ็ ม่ต้องการความละเอยี ดมากนกั เช่น ซา้ ย ขวา หนา้ หลัง หรือ เหนือ ใต้ ตะวันออก ตะวันตก แต่ในทางแผนท่ีทางทหาร รวมถึงการปฏิบัติการทางทหาร จาเป็นต้องมีระบบการกาหนดทิศทางที่ละเอียด เพราะในลักษณะภูมิประเทศในสนามน้ันมีสภาพแวดล้อมท่ี คล้ายๆ กันจนไม่สามารถอ้างอิงจากภูมิประเทศ สาคัญได้เสมอ ทิศทาง (Direction) ทศิ ทาง คอื แนวเส้นตรงที่ลากจากจดุ เริ่มต้นไปยงั ทห่ี มาย การบอกทิศทางจะกาหนดชื่อให้เปน็ มมุ ต่างๆ ท่ี อ้างอิงจากแนวทิศเหนือ มุมท่ีใช้ในการกาหนดทิศทาง จะมีหน่วยวัดด้วยกันหลายหน่วยขึ้นอยู่กับความ เหมาะสมของแต่ละพ้นื ที่ และความชานาญของผู้ใช้หรือผู้รังวัด สาหรบั หนว่ ยที่นยิ มใช้จะเป็นหนว่ ย องศา และ มลิ เลยี ม 1. หน่วยวัดองศา ( ° ) จะใช้วัดมุมเป็นหลักสากล ในหนึ่งวงกลมแบ่งเป็นส่วนย่อยจานวน 360 องศา ภายใน 1 องศาจะแบง่ เป็นส่วนยอ่ ยอกี 60 ลิปดา ( ' ) ภายใน 1 ลิปดาจะแบ่งเปน็ สว่ นยอ่ ยอีก 60 พิลปิ ดา ( '' ) 2. หน่วยวัดมิลเลียม (m) จะใช้วัดมุมที่มีค่าความละเอียดสูงและไม่ยุ่งยากต่อการอ่าน โดยในหนึ่ง วงกลมแบ่งเป็นส่วนย่อย จานวน 6,400 มิลเลียม เสน้ ฐาน (Base Line) - ศพั ทแ์ ผนทีอ่ งั กฤษ-ไทย ฉบบั ราชบณั ฑิตยสถาน เสน้ ฐานคือ แนวหรือทิศทางที่ลากจากจุดเริ่มต้นไปยังจุดอ้างอิง สาหรบั การรงั วัดส่งิ ใดๆ กต็ ามจาเปน็ ต้อง มีการกาหนดจุดเริ่มต้น จุดอ้างอิง และทิศทางเสมอ จุดอ้างอิงถือว่าเป็นจุดหลักในการกาหนดทิศทางไปยังท่ี หมาย จุดอ้างอิงในแผนท่ีจะมีอยู่ด้วยกัน 3 แบบ ได้แก่ ทิศเหนือจริง (True North) ทิศเหนือแม่เหล็ก (Magnetic North) และทศิ เหนือกรดิ (Grid North) 1. ทิศเหนือจรงิ คือ แนวทนี่ บั จากตาบลใด ๆ บนพืน้ พิภพไปยังข้ัวโลกเหนือ หรือแนวของเส้นเมอริเดียนในแต่ ละลองจิจูด รวมถึงแนวท่ีวัดไปยังดาวเหนือ และจะแสดงสัญลักษณ์บนแผนท่ีด้วยรูปดาว 2. ทิศเหนือแม่เหล็ก คือ แนวของเข็มทิศแม่เหล็ก ชี้ไปทางข้ัวเหนือของแม่เหล็กโลก ในภูมิประเทศนิยม ใช้ทิศเหนือแม่เหล็กเป็นจุดอ้างอิงในการหาทิศทาง และจะแสดงสัญลักษณ์บนแผนที่ด้วยรูปลูกศรผ่าครึ่ง 3. ทิศเหนือกรดิ คือ แนวทิศเหนอื ที่ลากขนานกับเส้นกริดในแนวตั้งของแผนท่ี บนแผนท่ีนิยมใช้ทิศเหนอื กริด เป็นจุดอ้างอิงในการหาทิศทางไปยังท่ีหมาย และจะแสดงสัญลักษณ์บนแผนที่ด้วยตัวอักษร (GN) แอซมิ ทั และแอซิมทั กลับ (Azimuth and Back Azimuth) - ศพั ทแ์ ผนทอ่ี งั กฤษ-ไทย ฉบับราชบัณฑิตยสถาน แอซิมัท คือ ค่าของมุมราบนับวนตามเข็มนาฬิกาจากแนวทิศทางหลัก (ทิศเหนือจริง, ทิศเหนือแม่เหล็ก, หรือ ทิศเหนือกริด) ไปยังแนวท่ีหมาย (Direction Line) วงกลมมุมภาคทิศเหนือ แบ่งออกเป็น 360 องศา ตัวเลของศาจะกาหนดตามเข็มนาฬิกาโดย 0° อยู่ท่ีทศิ เหนือ (แนวทิศทางหลัก) , 90°อยู่ท่ีทิศตะวันออก, 180° อยู่ท่ที ิศใต้, 270° อยทู่ ศิ ตะวนั ตก และ 360° หรือ 0° อยู่ท่ที ิศเหนอื ดังรปู

๑ - ๔๑ แอซิมัทกลับ คือแอซิมัท ที่วัดในทางตรงข้ามกับมุมภาคทิศเหนือ หรือเป็นมุมท่ีวัดย้อน จากท่ีหมายทาง มายงั จดุ เริ่มต้น ค่าของแอซมิ ทั กลับจะแตกตา่ งกบั แอซมิ ัท อยู่ 180 องศาเสมอ การคดิ ค่าของ แอซิมัทกลับ มหี ลักเกณฑ์ดงั นี้ 1. ถ้า แอซิมทั มากกวา่ 180 องศา เอา 180 ลบ 2. ถ้า แอซมิ ทั น้อยกวา่ 180 องศา เอา 180 บวก การกาหนดช่ือแอซมิ ทั ขนึ้ อยูก่ ับการอา้ งองิ จากทิศหลักนน้ั ๆ คอื แอซิมทั จรงิ - อ้างอิงจากแนวทศิ เหนอื จรงิ แอซิมัทแม่เหลก็ - อา้ งองิ จากแนวทิศเหนือแม่เหล็ก แอซิมทั กรดิ - อ้างองิ จากแนวทศิ เหนือกริด

๑ - ๔๒ แผนผังมมุ เยอื้ ง (Declination Diagram) มักจะแสดงเฉพาะในแผนที่มาตราส่วนใหญ่ (1:75,000 และใหญก่ วา่ ) ทงั้ นเ้ี พ่ือความสะดวกในการวางแผนที่ให้ถูกทิศ แผนผังมุมเย้ืองน้ันจะแสดงความ แตกต่างระหว่างแนวทิศ เหนอื จรงิ ทิศเหนือกริด และทิศเหนือแม่เหลก็ ในแผนที่ลาดับ ชดุ L7018 มาตราส่วน 1:50,000 จะแสดงไว้ด้านล่างของขอบ ระวางแผนท่ี มุมเย้ือง (Declination) คือ ค่าต่างของมุมระหว่างแนวทิศ เหนือจริงกับแนวทิศเหนือกริด และระหว่างแนวทิศเหนือจรงิ กับ แนวทิศเหนือแม่เหล็ก มเี พียง 2 มมุ เท่านน้ั คอื มุมเย้ืองกรดิ (Grid Declination) มมุ เยอื้ งแม่เหลก็ (Magnetic Declination) มุมกริดแม่เหล็ก (G-M Angle) คือ ค่าความต่างของมุม ระหว่างแนวทิศเหนือกริดกับแนวทิศเหนือแม่เหล็ก โดยนับ จากทิศเหนือกริดเป็นหลักเสมอ มีจุดประสงค์เพื่อแสดงให้ ทราบถึงทิศทางของทิศเหนือแม่เหล็กว่าอยู่ทางตะวันออก หรือตะวันตกของทิศเหนือกริด โดยจะกากับด้วยตัวอักษร E, W เช่น G-M Angle =2° E หมายถึง ทิศเหนอื แมเ่ หล็กอยู่ทาง ตะวนั ออกของทศิ เหนือกริดเปน็ มมุ 2 องศา เปน็ ต้น ประโยชน์ของมุมกริดแม่เหล็กมไี ว้เพื่อใช้ในการเปลี่ยนค่าแอซิมทั ระหว่างทิศเหนือกริดและทิศเหนือ แม่เหล็ก โดยถ้าหากใช้ในภูมิประเทศต้องเปล่ียนเป็นมุมภาคทิศเหนือแม่เหล็กก่อน หรือถ้าใช้บนแผนที่กต็ ้อง เปล่ียนเป็นมุมภาคทิศเหนือกริดก่อนเช่นกัน ตัวอยา่ งการเรยี กชอ่ื ตามแผนผงั มมุ เยื้อง จากรูปสามารถอา่ นคา่ ได้วา่ - มุมเยื้องแม่เหล็ก 5° W (จากทิศเหนือจริง) - มมุ G-M 3° W (จากทิศเหนือกริด) - มมุ เยอื้ งกรดิ 2° W (5 - 3) (จากทิศเหนอื จริง) - แอซิมัทกริด ก – ข = 225° - แอซมิ ัทจรงิ ก – ข = 223° (225° - 2°) - แอซิมัทแม่เหลก็ ก – ข = 228° (225° + 3°) การแปลงค่าของแอซิมัทกรดิ เปน็ แอซิมัทแม่เหล็ก หรือการแปลง คา่ แอ ซมิ ทั แมเ่ หล็กเป็นแอซิมัทกรดิ ใหป้ ฏิบตั ดิ ังน้ี 1. เมอ่ื G-M Angle = 5° E

๑ - ๔๓ วดั แอซมิ ัทกริด ก - ข ได้ = 270° คา่ แอซมิ ัทแม่เหล็ก ก - ข ได้ = 265° (270° – 5°) วดั แอซิมัทแมเ่ หล็ก ก - ข ได้ = 265° ค่าแอซิมทั กรดิ ก - ข ได้ = 270° (265° + 5°) 2. เมอื่ G-M Angle = 5° W วัดแอซิมทั กรดิ ก - ข ได้ = 90° ค่าแอซมิ ทั แม่เหลก็ ก - ข ได้ = 95° (90°+ 5°) วดั แอซมิ ัทแมเ่ หลก็ ก - ข ได้ = 95° ค่าแอซมิ ัทกริด ก - ข ได้ = 90° (95° - 5°) ข้อควรจา การแปลงค่ามุมต่างๆ จะเห็นว่าต้องเอา G-M Angle มาเกี่ยวข้องทั้งหมดไม่ว่าจะบวก (+) หรือลบ (-) ซง่ึ ก่อให้เกิดความยุ่งยากในการจดจา จึงขอแนะนาวิธีการแปลงค่ามุมท่ีดีท่ีสุด คือการเขียนภาพประกอบการ พิจารณาแล้วทาความเข้าใจ

๒-๑ ตอนท่ี ๒ เคร่อื งหมายทางทหาร

๒-๒ เคร่ืองหมายทางทหาร ๑. คาจากดั ความ คำว่ำ “เครื่องหมำยทำงทหำร” คือ เครื่องหมำยชนิดหนึ่งที่ประกอบด้วยกำรเขียนเป็นรูป ตัวเลข อักษร คำยอ่ สี หรอื ส่งิ ทก่ี ล่ำวมำแล้วผสมกัน เพอื่ ใชแ้ สดงให้รู้จักหน่วยทหำร หรอื กจิ กำร หรอื สถำนท่ีตั้ง ทำงทหำรใด ๆ ได้ ๒. การเปลี่ยนแปลงเครอื่ งหมาย เครื่องหมำยต่ำง ๆ ท่ีมีอยู่ได้แสดงถึงหน่วย กจิ กำร หรอื สถำนท่ีต้งั ทำงทหำรมำกมำยหลำยแบบซึ่งอำจจะพบ เห็นเสมอ ๆ แต่อย่ำงไรก็ดี หน่วยหรือกิจกำรหรือสถำนที่ตั้งบำงแบบโดยเฉพำะท่ีไม่ปรำกฏอยู่ในหนังสือเล่มนี้ อำจจะแสดงเป็นเคร่ืองหมำยได้โดยปกติตำมคำแนะนำท่ีมีอยู่ และเม่ือได้ทำเครื่องหมำยพิเศษเช่นกล่ำวแล้ว จำเปน็ ตอ้ งมีหมำยเหตุ หรอื คำอธบิ ำยควำมหมำยบอกไวใ้ นแผนผัง แผนที่หรือแผน่ บริวำรที่ใช้เคร่อื งหมำยนัน้ ไว้ดว้ ย ๓. การใชเ้ ครอ่ื งหมาย ๓.๑ กำรใช้ประโยชน์ของเครื่องหมำยทำงทหำร ก็เพื่อแสดงภำพในรูปร่ำงอันเหมำะสม และเพื่อให้รู้จัก หนว่ ย, กิจกำร หรือสถำนทต่ี ้ังตำ่ ง ๆ ไดอ้ ยำ่ งถกู ตอ้ ง กำรจะเวน้ ไมเ่ ขยี นเครือ่ งหมำยตำมทก่ี ำหนดไว้แล้ว ยอ่ ม ไม่กระทำ เว้นไว้แต่ไม่มเี ครอื่ งหมำยกำหนดไว้ หรอื มำตรำส่วนของแผนทีจ่ ำกดั ใหท้ ำไมไ่ ด้ ๓.๒ เคร่ืองหมำยแสดงเหล่ำทหำรที่ปรำกฏในข้อ ๖ นั้น ใช้เครื่องหมำยส่ีเหล่ียมผืนผ้ำ กำรเปลี่ยนแปลง วิธใี ช้เคร่อื งหมำยแสดงเหลำ่ ทหำรให้ดขู อ้ ๔ ที่ตรวจกำรณข์ องเหลำ่ ทหำรโดยธรรมดำใชเ้ คร่อื งหมำยสำมเหล่ียม และสถำนท่ตี ้งั ทำงกำรหนว่ ยรบของเหล่ำทหำรบำงเหล่ำใชเ้ คร่ืองหมำยวงกลม ๓.๓ ขนำดของหน่วยหรือสถำนทตี่ ง้ั ทำงทหำร แสดงโดยเขียนเครอื่ งหมำยแสดงขนำดหน่วยไวต้ อนบนของ รูปสเ่ี หล่ียม, สำมเหลยี่ ม หรอื วงกลม เคร่ืองหมำยแสดงขนำดหน่วยทำงยุทธวิธีใหด้ ูขอ้ ๕ ๓.๔ เส้นแบ่งเขต เขตทำกำร หรือพ้ืนที่ทำกำรของหน่วย และสถำนท่ีต้ังทำงทหำรแสดงโดยเขียนเส้น แสดงเขตและเคร่ืองหมำยแสดงขนำดของหน่วยท่ีรับผิดชอบเขตน้ัน ๆ ตำมควำมเหมำะสม ข้อท่ี ๗ กล่ำวถึง เคร่อื งหมำยแสดงเส้นแบ่งเขต ๓.๕ คำยอ่ มกั จะใชร้ ว่ มกับเครื่องหมำยทำงทหำรเพอ่ื แสดงช่ือของหน่วยหรือกจิ กำรหรือสถำนท่ีตัง้ คำย่อ ท่ีใช้น้ีให้ปฏิบัติตำมระเบียบกองทัพบก ว่ำด้วยกำรใช้ประมวลคำย่อฉบับท่ีประกำศใช้ปัจจุบัน หำกต้องกำรใช้ คำย่อนอกจำกท่ีปรำกฏตำมระเบยี บกองทัพบกท่ีกล่ำวแล้ว ตอ้ งมีหมำยเหตุ หรอื คำอธิบำยไว้ให้ทรำบดว้ ยเสมอ ๓.๖ สี ๓.๖.๑ เมือ่ ใชส้ ีประกอบ สีนาเงิน หมำยถึง หน่วยหรอื กิจกำรของฝ่ำยเรำ และสีแดง หมำยถึง หน่วย หรือกิจกำรของฝ่ำยขำ้ ศึก ๓.๖.๒ เมื่อไม่ใชส้ ีประกอบ หนว่ ยหรือกิจกำรของฝ่ำยเรำแสดงดว้ ยเสน้ สีดำทึบเด่ียว และหน่วยหรือ กจิ กำรของฝ่ำยขำ้ ศึกแสดงดว้ ยเสน้ สีดำทบึ คู่ ๓.๖.๓ เครอ่ื งหมำยแสดงพืน้ ท่อี ำบพิษ ไมว่ ่ำจะตงั้ อย่ใู นทีใ่ ด ๆ กต็ ำม โดยธรรมดำใช้สีเหลืองเมื่อไม่มี สีเหลอื งอำจเขยี นคำว่ำ “อำบพิษ” แทนได้ ๓.๖.๔ เครอื่ งหมำยแสดงพ้นื ทีฝ่ ่ำยเรำยึดอยแู่ มจ้ ะตง้ั อยู่ในเขตของขำ้ ศกึ กต็ ำม คงใชส้ ีน้ำเงนิ ๔. ระบบเครอื่ งหมายแสดงหนว่ ยทหาร ๔.๑ เครอ่ื งหมำยแสดงหน่วยทหำร คือ รูปสี่เหลีย่ ม เชน่

๒-๓ ๔.๒ เคร่อื งหมำยแสดงหนว่ ยทหำรนอ้ี ำจเขียนเสน้ ท่กี ง่ึ กลำงด้ำนล่ำงตอ่ ตรงลงไปหรอื โคง้ ไปตำมตอ้ งกำรก็ ได้ ปลำยของเสน้ ท่ตี อ่ นแ้ี สดงท่ีต้ังทีแ่ น่นอนของหน่วยทหำรในแผนที่ เชน่ ๔.๓ กองบังคับกำรของหน่วยใด ๆ ก็ตำม แสดงด้วยเส้นด้ำนธง เขียนทับด้ำนซ้ำยของเคร่ืองหมำยของ หน่วย ปลำยของเสน้ ดำ้ มธง หมำยถึง ทีต่ ัง้ ทีแ่ นน่ อนของกองบงั คับกำรนนั้ เส้นน้อี ำจตรงหรือโคง้ กไ็ ด้ เช่น ๔.๔ ถ้ำกองบงั คับกำรหลำย ๆ หน่วยตงั้ อย่ใู นทีเ่ ดียวกัน กใ็ หเ้ ขียนรปู ธงสเี่ หลยี่ มตำมจำนวนของกองบงั คับ กำรนั้น ๆ ซ้อนกัน แตล่ ะรปู ธงส่เี หลยี่ มแทนกองบงั คับกำรหนึง่ แหง่ เช่น ๔.๕ กำรแสดงประเภทของเหล่ำทหำร ให้เขียนเคร่ืองหมำยแสดงประเภทของเหล่ำทหำรไว้ภำยในรูป ส่ีเหลยี่ ม เชน่ หน่วยทหำรรำบใด ๆ ก็ได้ ๔.๖ หำกไม่มีเครื่องหมำยแสดงประเภทของเหล่ำทหำรกำหนดไว้ อำจใช้คำย่อที่แสดงภำรกิจของหนว่ ย เขยี นไวภ้ ำยในรปู สีเ่ หลี่ยมกไ็ ด้ เช่น หน่วยรกั ษำควำมปลอดภยั ของกองทัพ รปภ. ๔.๗ กำรแสดงขนำดของหนว่ ย ใหเ้ ขียนเคร่อื งหมำยแสดงขนำดของหน่วยไว้ด้ำนบนของรูปสี่เหลีย่ ม เช่น กองพลทหำรรำบ XX ๕. เครอื่ งหมายแสดงขนาดหนว่ ยในทางยุทธวธิ ี กำหนดเคร่ืองหมำยแสดงขนำดของหน่วย หรือกิจกำรหรือสถำนท่ีตั้งทำงทหำร และใช้เป็นเคร่ืองหมำย แสดงเสน้ แบง่ เขต เพ่อื กำหนดเขตทำกำร หรือพ้ืนทท่ี ำกำรของหนว่ ย หรือกจิ กำรหรือสถำนทต่ี ง้ั ต่ำง ๆ ดว้ ย คาอธิบาย เคร่อื งหมาย หมู่

๒-๔ ตอน, พวก (หมู่ ป., หมเู่ รดำร์, หมอู่ ตุ นุ ิยมวิทยำ) หมวด, ชดุ กองรอ้ ย เชน่ เดยี วกับกรม เขียนคำว่ำ “ผส.” ด้ำนขวำของ กองพนั รูป กรม กรมผสม กองพลน้อย กรมผสมยำนเกรำะ กองพล กองทพั น้อย กองทพั กองทพั ภำค หมกู่ องทพั (ของชำตพิ ันธมิตร) ๖. เครอื่ งหมายแสดงเหลา่ และหน่วยทหาร กำหนดเคร่ืองหมำยแสดงเหลำ่ และหนว่ ยทหำรของประเทศไทยที่มีอยู่ในปัจจุบันและทีค่ ำดวำ่ จะจัดตงั้ ข้นึ คาอธิบาย เครื่องหมาย

๒-๕ หนว่ ยทหำรกำรสัตว์ หนว่ ยกำรบนิ ทหำรบก หนว่ ยกจิ กำรพลเรอื น หน่วยกำลงั ทดแทน หน่วยขำ่ วกรองทำงทหำร หน่วยทหำรขนส่ง หนว่ ยทหำรชำ่ ง หนว่ ยดรุ ยิ ำงค์ หนว่ ยทหำรปนื ใหญ่ต่อสู้อำกำศยำน หรือ ปืนใหญ่ปอ้ งกนั ภยั ทำงอำกำศ หนว่ ยทหำรปนื ใหญ่ หนว่ ยทหำรแพทย์ หรอื หนว่ ยเสนำรษั ์ หน่วยกำลังรบนอกแบบ หนว่ ยสง่ กำลงั หน่วยซ่อมแกแ้ ละซ่อมบำรุง หนว่ ยทหำรพลำธิกำร หนว่ ยทหำรม้ำขีม่ ำ้ หนว่ ยทหำรมำ้ ลำดตระเวน หนว่ ยทหำรมำ้ บรรทุกยำนเกรำะ หน่วยทหำรม้ำรถถัง

๒-๖ เครอื่ งหมาย เคร่อื งหมาย คาอธิบาย หนว่ ยทหำรรำบ หนว่ ยทหำรรำบยำนยนต์ หน่วยทหำรรำบยำนเกรำะ หนว่ ยทหำรรำบสง่ ทำงอำกำศ หนว่ ยรักษำควำมปลอดภัย หน่วยรบพเิ ศษ หนว่ ยทหำรสำรวัตร หนว่ ยทหำรสื่อสำร หน่วยทหำรสรรพำวุธ หนว่ ยสะเทนิ น้ำสะเทนิ บก หน่วยรถถังสะเทินน้ำสะเทนิ บก หนว่ ยทหำรอำกำศ (ใบพดั โปร่ง) หน่วยต่อสูร้ ถถัง หน่วยทหำรภูเขำ (ภูเขำทบึ ) หนว่ ยสงครำมอิเล็กทรอนกิ ส์ หนว่ ยส่งกำลงั และซ่อมบำรุง หน่วยพลร่ม (รม่ ) ใช้เพื่อแสดงหนว่ ยพลร่มทไี่ ม่ไดบ้ รรจุใน หนว่ ยสง่ ทำงอำกำศ หนว่ ยยำนยนตล์ ้อหมุ้ เกรำะ หนว่ ยตรวจกำรณ์ (เฝ้ำตรวจ) ทำงอำกำศ (ทบ.) หน่วยตรวจกำรณ์ (เฝ้ำตรวจ) ทำงอำกำศ (ทอ.) คาอธิบาย

๒-๗ v (ต่าง) (สน.) กองร้อยลำดตระเวนระยะไกล XXXX กองพนั สตั วต์ ำ่ ง บชร. ๒ XXXX รอ้ ยรถไฟพยำบำล บชร. ๒ (สว่ นแยก) หมวดซ่อมบำรงุ สว่ นหน้ำ (มว.ซบร.สน.) ทลร. หน่วยขนำดกอง ใชเ้ คร่ืองหมำย  ไวด้ ำ้ นบนของหน่วย แสดงถึงหนว่ ยที่ใหญ่กว่ำกองรอ้ ย แตเ่ ล็กกวำ่ กองพนั เช่น ซบร.สน. กองสรรพำวธุ พล ๑ รอ. ชต. หน่วยบญั ชำกำรสนบั สนุนกำรชว่ ยรบกองทัพสนำม ชต. กองบัญชำกำร หรอื ส่วนของกองบัญชำกำรหน่วย บัญชำกำรสนับสนุนกำรชว่ ยรบในเขตหนำ้ หน่วยบญั ชำกำรสนับสนุนกำรช่วยรบในเขตหลงั กองบญั ชำกำร หรอื ส่วนของกองบญั ชำกำรหนว่ ย บญั ชำกำรสนบั สนนุ กำรช่วยรบในเขตหลัง หน่วยบญั ชำกำรชว่ ยรบของกองทัพภำคท่ี ๒ หนว่ ยบัญชำกำรช่วยรบของกองทัพภำคท่ี ๒ ส่วนแยก หนว่ ยทจ่ี ดั เป็นกำรชวั่ ครำว ใชเ้ คร่อื งหมำยเขียนไวบ้ น ขนำดของหนว่ ย เชน่ กองร้อยเฉพำะกิจ กองพันเฉพำะกิจ ชุด ทลร. (ทำลำยระเบิด) ร้อย ส.ส่งกำลัง และ ซบร.สน. ร้อย พธ. สนบั สนุนโดยตรง สว่ นแยก พธ.สนบั สนุนโดยตรง


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook