Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore คู่มือวิชาแผนที่

คู่มือวิชาแผนที่

Published by teacher.aavns, 2022-11-08 02:36:36

Description: คู่มือวิชาแผนที่สำหรับหลักสูตร
- ศิษย์การบินทหารบก
- ช่างอากาศยานทหารบก
- ชั้นนายพันทหารการบิน
- ช่างอากาศยานทหารบก

Search

Read the Text Version

๒-๘ คาอธบิ าย เคร่อื งหมาย v รอ้ ย สพ. สง่ กำลังสนำม กอง สพ. สนับสนนุ ทัว่ ไป สนำม v รอ้ ย สพ. กระสุน v กอง สพ.สง่ กำลังท่ัวไปสว่ นแยก ชร. v พนั สร.สนับสนนุ โดยตรง กน. กอง พธ.สกอ. (สย.) รอ้ ยส่งกำลงั และบริกำรสนับสนนุ โดยตรง ชต. พนั .ซบร.สนับสนุนโดยตรง กองบนิ เบำ บร./สน. สกอ. กองพลทหำรรำบเบำ ชต. ฐำนปฏิบัติกำรรบพเิ ศษ หนว่ ยตระเวนชำยแดน สต. กรมสนับสนุนกองพลที่ ๙ XX เบำ ฐปรพ. ตชด. XX สน. ๙

๒-๙ ๗. เคร่อื งหมายแสดงเส้นแบง่ เขต ๗.๑ เสน้ แบง่ เขตทำงข้ำง เส้นแบ่งเขตแสดงด้วยเส้นทึบ พรอ้ มด้วยเครอื่ งหมำยแสดงขนำดหน่วย เขยี นไว้ ตรงช่องว่ำงท่ีเหมำะสมตำมหน่วย เหล่ำ และชำติ ถ้ำจำเป็นให้เขียนไว้แต่ละด้ำนของเคร่ืองหมำยแสดงขนำด ถำ้ เสน้ แบง่ เขตทำงขำ้ งของหนว่ ยท่ีมีขนำดไมเ่ ท่ำกัน ใหใ้ ช้สัญลักษณข์ องหนว่ ยที่ใหญก่ ว่ำ ตัวอย่าง ๑ XXX พล.ร.๓ เส้นแบ่งเขตระหว่ำงกองทพั นอ้ ย ๑ และกองพล ทหำรรำบที่ ๓ ๑ XX ๒ เสน้ แบง่ เขตระหว่ำงกองพลทหำรรำบท่ี ๑ และ ๒ ร.๓ XX ม.ยก. เส้นแบง่ เขตระหว่ำงกองพลทหำรรำบท่ี ๓ และ กรมทหำรม้ำบรรทุกยำนเกรำะท่ี ๑๔ ๑๔ ๗.๒ เส้นเขตหลัง ถ้ำแสดงเส้นเขตหลังให้ใช้เครื่องหมำยแสดงขนำดของหน่วยท่ีเล็กกว่ำ หรือกล่ำวอีก อย่ำงหนึ่ง ให้ใช้สัญลักษณ์ของหน่วยรบั กำรบังคับบัญชำไม่ใช้หนว่ ยบังคับบัญชำ เหล่ำและชำติของหน่วยอำจ แสดงไวเ้ พอ่ื ปอ้ งกันกำรสบั สน ตัวอยา่ ง พล.ร.๕ เสน้ เขตหลังแยกกองพลทหำรรำบที่ ๕ และกองทัพนอ้ ยท่ี ๔ XX ทน.๔ ม.ยก.๑๔ เส้นเขตหลังแยกกรมทหำรม้ำบรรทกุ ยำนเกรำะที่ ๑๔ และกองทัพนอ้ ยท่ี ๕ ทน.๕ ๗.๓ เส้นแบ่งเขตท่ีเสนอ เส้นแบ่งเขตในอนำคต หรือที่เสนอ แสดงด้วยเส้นประพรอ้ มกบั เวลำหรือสภำพ กำรมีผลใช้บังคบั และกองบงั คบั กำรที่กำหนดเส้นแบ่งเขตนน้ั ตัวอยา่ ง ฉก.พนั .ร.๒๓๑ มผี ลเมอ่ื กองพลสง่ั ฉก.พนั .ร.๒๓๒ ๗.๔ จุดจำกัด หรอื จดุ ประสำนเขต ให้ใชเ้ ครอ่ื งหมำยตำมข้ำงล่ำงน้ี เขยี นลงบนแนวตำ่ ง ๆ ๗.๕ เมอ่ื ไม่อำจเขียนเส้นแบง่ เขตระหว่ำงหน่วยตำ่ ง ๆ ไดเ้ หมำะสม แตม่ คี วำมจำเป็นต้องแสดงพน้ื ท่ีของ หน่วยนั้น ๆ โดยธรรมดำให้เขียนเส้นล้อมรอบแสดงเป็นพื้นท่ี และเขียนเครื่องหมำยแสดงขนำดหน่วยตรง ชอ่ งวำ่ งระหวำ่ งเสน้ นี้ หรืออำจจะเขยี นเครือ่ งหมำยแสดงหนว่ ยไว้ภำยในเสน้ ล้อมรอบน้ีกไ็ ด้ เช่น พื้นทข่ี องหมวด หรอื พน้ื ทขี่ องหมวดทหำรรำบ

๒ - ๑๐ ๗.๖ พ้ืนท่ที ีต่ ัง้ ใจจะเข้ำไปยึดครองให้แสดงด้วยเสน้ ประ และอำจเขียนเคร่ืองหมำยแสดงขนำดหน่วยหรือ เครอ่ื งหมำยแสดงหนว่ ยประกอบกับเสน้ นี้กไ็ ด้ เช่น ๗.๗ หำกพมน้ืีหทนท่ี ่ว่คี ยดิ ทจหะใำหรก้ หอลงรำ้อยยหเขน้ำ่วยยึดตคร้ังอองยู่ในพ้ืนที่เพดื้นียทวที่ก่ีคนั ดิ จกะ็ใใหห้เก้ ขอียงนร้อเคยทร่ืหอำงรหชมำ่ งำเยขแ้ำยสดึ ดคงรหอนง ่วยทั้งหลำยนั้น เรียงซอ้ นกนั แล้วเขียนเส้นตรงไปยังพืน้ ทีท่ ่ีหน่วยเหลำ่ นน้ั ตั้งอยู่ เชน่ ๗.๘ แนวหนำ้ ของกำรวำงกำลงั ฝ่ำยเรำ แสดงดว้ ยเส้นโค้งติดตอ่ กนั เชน่ แนวหนำ้ กำรวำงกำลังของขำ้ ศกึ แสดงด้วยเสน้ โคง้ คู่ตดิ ต่อกัน เชน่ ๗.๙ แนวที่หน่วยลำดตระเวนของฝ่ำยเรำยึดอยู่อย่ำงบำง ๆ (กำรวำงกำลังข้ำงหน้ำฝ่ำยเรำ) แสดงด้วยจุดโค้ง ติดต่อกนั เชน่ แนวที่หน่วยลำดตระเวนของข้ำศึกยึดอยู่อย่ำงบำง ๆ (กำรวำงกำลังข้ำงหน้ำของข้ำศึก) แสดงด้วย วงกลมเลก็ ๆ ตดิ ต่อกัน เชน่ * จดุ และวงกลมไม่แสดงถงึ กำลงั หรือท่ตี งั้ อนั แท้จริงของหนว่ ยลำดตระเวน ๗.๑๐ กำรแสดงแนวปะทะหรือแนวท่ีหนว่ ยลำดตระเวนยึดอยอู่ ย่ำงบำง ๆ ใหใ้ ช้ สีนาเงิน แสดงสำหรับฝ่ำย เรำ และ สีแดง แสดงสำหรบั ฝำ่ ยข้ำศึก ๗.๑๑ ทห่ี มำยต่ำง ๆ แสดงดว้ ยเส้นทึบล้อมรอบพนื้ ท่ีและเขยี นคำย่อ “ทม.” ไว้ภำยใน เมื่อตอ้ งกำรแสดง รำยละเอยี ดเพิม่ เตมิ ก็ให้เขียนหนว่ ยเจำ้ ของที่หมำยลงไปด้วย เช่น ทม. หรือ ทม. พล.ร.๒ ๗.๑๒ เมื่อต้องกำรจะแสดงทิศทำงเข้ำตีไปยังที่หมำย ก็ให้เขียนลูกศรเพ่ิมขึ้นอีกจำกแนวออกตีไปยังท่ีหมำย เช่น นต. ทม. พล.ร.๒ ลูกศรนี้มิได้แสดงเส้นทนำงตท. ่ีแน่นอนสำหรับกำรเข้ำตี แต่จะแสดงเพียงทิศทำงเขำ้ ตีเท่ำนนั้ ๗.๑๓ เมอื่ ต้องกำรจะแสดงทิศทำงเคลื่อนทีโ่ ดยท่วั ไปของหนว่ ย ใหเ้ ขียนเครื่องหมำยลูกศรประกอบกับคำ เขยี นว่ำ “เส้นหลกั กำรรุก” ประกอบดว้ ยก็ได้ ดังนี้

๒ - ๑๑ เสน้ หลกั การรกุ พล.ร.๒๐ ๗.๑๔ ภำพแสดงหนว่ ยท่ที ำหนำ้ ท่ีกำบงั หรือระวงั ป้องกัน ๗.๑๕ เคร่ืองหมำยแสดงแนว จุดควบคุม และพนื้ ท่จี ำกดั คาอธิบาย เครื่องหมาย ขอบหนำ้ ที่ม่นั ต้งั รับ ขนม. ขนม. ขนพร. ขอบหน้ำพน้ื ทก่ี ำรรบ ขนพร. ฉำกกำรยิง (ท่ัวไป) ๑๒๐๑ ปบค.๑๐๕ มม. ยงิ ฉำกต่อเปำ้ หมำยท่ี ๑๒๐๑ (๑๐๕ โคง้ ) ฉำกกำรยิงของกองร้อยที่ ๒ กองพนั ทหำรปืนใหญ่ท่ี ๓ (๑๐๕ มม.) (๑๐๕ โค้ง) ออกตี ฐำนออกตี แนวท่มี น่ั รกั ษำดำ่ นรบ นทดร. นทดร. แนวที่ม่นั รกั ษำดำ่ นทว่ั ไป คาอธบิ าย นทดป. นทดป. ขั้นกำรเคลื่อนที่ (ใช้รหัส, อักษร หรือตัวเลข) เครื่องหมาย ข้นั เขยี ว ขั้น ก จดุ ตรวจ (ใชร้ หสั อักษร หรอื ตัวเลข) ขน้ั เขยี ว ขน้ั ๒ แนวห้ำมยงิ (สีแดงประ) (ห้ำมยงิ ต่ำกวำ่ แนวน้)ี ขน้ั ก แนวออกตี ข้นั ๒ แดง ข ๔๕ นหย. นหย.(หนว่ ย) (วัน – เวลำทีม่ ีผลบงั คบั ) นต. นต. แนวออกตี คือ ท่ตี ้งั ปัจจบุ ัน นต. คือ ทป. นต. คือ ทป.

๒ - ๑๒ แนวออกตี คอื แนวปะทะ นต. / นป. นต. / นป. นต. คอื นกฝ. แนวออกตี คอื แนวหนำ้ ของกำรวำงกำลงั ฝำ่ ยเดยี วกนั นต. คือ นกฝ. นปยส. แนวประสำนกำรยิงสนับสนนุ (สดี ำทึบ) (แนวภูมิประเทศ นปยส. นปย. เด่นชดั สำหรบั บ. และ ป.) นปย. แนวประสำนกำรยิง (สีแดงทบึ ) (เมื่อมี ๒ หน่วยข้ึนไป) แนวประสำนข้ันสุดทำ้ ย นป.ขั้นสดุ ทำ้ ย นป.ขั้นสดุ ท้ำย แนวทำงกำรแทรกซมึ สุดท้ำยสดุ ทำ้ ย แนวทำงกำรแทรกซึม พนื้ ทรี่ วมพล แนวออกตี คอื แนวปะทะ อำบพษิ กข จดุ บรรจบ จุดจบ ( ณ แนวข้นั และเส้นเขตทำงข้ำงตดั กนั ) จดุ ผ่ำน (บนแนวควบคมุ ที่ฝ่ำยเรำยึด และหนว่ ยอ่ืนของ ฝำ่ ยเรำจะถอนตวั ผ่ำน) ๘. เครือ่ งหมายแสดงสถานทต่ี ังตา่ ง ๆ ๘.๑ ตำมปกติ ให้ใช้เครอื่ งหมำยแสดงหน่วยทหำรกำรชว่ ยรบ แทนเครอ่ื งหมำยแสดงสถำนท่ีตั้งกำรชว่ ย รบ ๘.๒ เมือ่ ไมใ่ ช้เครื่องหมำยแสดงหน่วยตำมข้อ ๘.๑ ให้ใช้เคร่ืองหมำยแสดงสถำนท่ีตงั้ ดังนี้ เข้ำตัง้ อยหู่ รอื ยึดครองอยู่ ยังไมไ่ ด้เข้ำตั้งอยู่หรือท่ีคำดวำ่ จะเข้ำตัง้ อยู่ ๘.๓ ถำ้ ต้องกำรแสดงท่ตี งั้ โดยแนน่ อน ใหเ้ ขยี นเส้นตรงหรอื โค้งกไ็ ด้ ดำ้ นลำ่ งของเครือ่ งหมำย ๘.๔ เคร่ืองหมำยแสดงเหล่ำทหำร ฝ่ำยกิจกำรพิเศษ หรือแสดงกิจกำรทำงทหำรใด ๆ ก็ตำมเขียนลงใน เคร่อื งหมำยหลกั ตำมควำมเหมำะสม เช่น

๒ - ๑๓ สถำนที่ตั้งทำงกำรส่งกำลงั สำยทหำรส่ือสำร ๘.๕ เม่ือไม่มีเครื่องหมำยแสดงเหล่ำทหำร หรือฝ่ำยกิจกำรพิเศษกำหนดไว้ให้ใช้คำย่อแสดงหมำยของ หนว่ ยนั้นแทน โดยเขยี นลงในเครอื่ งหมำยหลกั เช่น สถำนที่ตัง้ กำลังทดแทน กทท. ๘.๖ เมอ่ื ใช้เคร่ืองหมำยแสดงหน่วยหลกั ให้ใชเ้ ครอ่ื งหมำยแสดงขนำดหน่วยและคำยอ่ ประกอบ เช่น xx สถำนท่ีตั้งทำงกำรส่งกำลงั สำยสรรพำวุธ สำหรับกองพลของกองทพั สหรัฐอเมรกิ ำ (อม.) ๙. เครือ่ งหมายแสดงเก่ยี วกับการบนิ เคร่ืองหมาย คาอธิบาย สนำมพนื้ ลงสำหรับเฮลิคอปเตอร์ สนำมบินหรือลำนบินสำหรับเครอ่ื งใบพัด ๑๐. เครือ่ งหมายแสดงกจิ การป้องกนั ภยั ทางอากาศหรอื การต่อสูอ้ ากาศยาน คาอธบิ าย เครื่องหมาย เรดำร์ / สถำนเี รดำร์ ๑๑. เครอ่ื งหมายแสดงการบังคับบัญชา และการตดิ ต่อสือ่ สาร ๑๑.๑ ในข้อนีจ้ ะไมแ่ สดงถึงเคร่ืองหมำยของหนว่ ยทหำรส่ือสำร หรอื รปู ร่ำงของกำรติดตอ่ ส่ือสำร สำหรับ รำยละเอียดให้ดูรูปท่ี ๒๘ เครื่องหมำยที่ใช้ในกำรติดต่อส่ือสำร ซ่ึงปรำกฏอยู่ในข้อนรี้ ่วมกับเคร่ืองหมำยแสดง กำรบงั คบั บัญชำ ๑๑.๒ กฎสำหรบั กำรเขยี นเครอื่ งหมำยของกองบัญชำกำรต่ำง ๆ มดี ังน้ี ๑๑.๒.๑ กองบัญชำกำรท่ีสูงกว่ำหมู่กองทัพ จะไม่มีเครื่องหมำยแสดงของหน่วย แต่ให้เขียนช่ือย่อ ของหนว่ ยนนั้ ลงในรปู ธง เช่น บก.ทท. กองบัญชำกำรกองทพั ไทย ๑๑.๒.๒ กองบัญชำกำรกองทัพน้อย และสูงกว่ำ ให้เขียนเคร่ืองหมำยแสดงขนำดหนว่ ย ด้ำนบนรปู ธงและเขยี นหมำยเลขประจำหน่วยด้ำนขวำ ไม่ตอ้ งมเี คร่อื งหมำยแสดงเหล่ำทหำรเขียนไว้ เชน่ XXX XXXX ๔๒ กองบญั ชำกำรกองทพั นอ้ ยที่ ๔ กองบญั ชำกำรกองทัพภำคที่ ๒ ๑๑.๒.๓ กองบัญชำกำรกองพล และกองบังคับกำรของหน่วยท่ีต่ำกว่ำ ให้เขียนเครื่องหมำยแสดง เหลำ่ ทหำรไวภ้ ำยในรปู ธง และเขียนเครื่องหมำยเลขประจำหนว่ ยดำ้ นขวำของรูปธง เชน่ XX ๒

๒ - ๑๔ กองบญั ชำกำรกองพลทหำรรำบที่ ๒ ๑๑.๒.๔ กำรแบ่งสว่ นกองบัญชำกำรหรือกองบงั คับกำรตำ่ ง ๆ ให้ใช้เครือ่ งหมำยดังตอ่ ไปนี้ กองบังคับกำรทำงยทุ ธวิธี (กรมทหำรรำบท่ี ๑) ๑ ยุทธ XX กองบญั ชำกำรหลกั (กองพลทหำรรำบที่ ๒) ๒ หลกั XX กองบญั ชำกำรหลัง (กองพลทหำรรำบที่ ๓) หลัง ๓ หลัง ๑๑.๒.๕ สถำนทีต่ งั้ ทำงกำรตดิ ต่อส่ือสำรให้เขยี นคำยอ่ ไวด้ ้ำนล่ำงรปู ธง เชน่ XX ๒ ศรส. ศสส. ศูนยร์ บั ส่ง ศูนย์กำรส่อื สำรกองพลทหำรรำบท่ี ๒ ๑๑.๓ เครื่องหมำยแสดงกำรบังคบั บญั ชำและกำรตดิ ต่อสือ่ สำร คาอธบิ าย เคร่ืองหมาย กองบัญชำกำรยุทธบรเิ วณ ยธบ. กองบัญชำกำรกองทัพบกประจำยุทธบริเวณ ยทธบบ.. กองบัญชำกำรสง่ กำลังบำรงุ กองทัพบก บช.กบ.ทบ. ๑๒ ประจำยุทธบรเิ วณท่ี ๑๒ กองบัญชำกำรกองทพั ภำคที่ ๑ XXXX กองบญั ชำกำรกองทัพนอ้ ยที่ ๔ ๑ กองบญั ชำกำรกองพลทหำรรำบท่ี ๑ XXX ๔ XX ๑ กองบงั คบั กำรกรมผสม ผส. กองบัญชำกำรท่ีคำดวำ่ จะจดั ตัง้ ข้นึ

๒ - ๑๕ ทบ่ี ังคับกำรหลกั หลัก ที่บงั คบั กำรหลัง หลัง ที่บังคบั กำรทำงยุทธวธิ ี ยทุ ธ ชมุ สำยโทรศพั ท์ ตสู้ ลับสำย ณ กองบังคับกำร ศนู ย์โทรพิมพ์ ชมุ สำยโทรศพั ท์พำณิชย์ พาณชิ ย์ ศนู ย์กำรสือ่ สำร ศสส. ๑๒. เครือ่ งหมายแสดงปอ้ มสนาม ๑๒.๑ เครอื่ งหมำยแสดงท่ีตง้ั และรปู ร่ำงของปอ้ มสนำม เคร่อื งหมำยแสดงว่ำ “กำลังกอ่ สรำ้ ง” คาอธบิ าย เครอ่ื งหมาย กำลังก่อสรำ้ ง เคร่อื งหมำยแสดงวำ่ “กำลงั ก่อสรำ้ ง” ยังไมเ่ ข้ำประจำ (เขียนทางขวาเครือ่ งหมาย) เครอ่ื งหมำยแสดงว่ำ “ยงั ไมเ่ ขำ้ ประจำ” (เขยี นทางขวาเครอ่ื งหมาย) เคร่ืองหมำยแสดงว่ำ “ถกู ทำลำยแลว้ ” (เขียนทบั เครือ่ งหมาย) เครอื่ งหมำยแสดงวำ่ “ลวง” (เขียนบนเคร่ืองหมาย) เคร่ืองหมำยแสดงวำ่ “สงสยั ” หรือ “ไม่แน่ใจ” ? (เขียนทางขวาหรอื ภายในเครอ่ื งหมาย) คูติดต่อแบบใด ๆ กไ็ ด้ คูติดต่อมีช่องยงิ คูตดิ ต่อแบบใด ๆ กไ็ ด้ กกาบำบงงั ั คูตดิ ต่อมีท่พี ักกำบังใตด้ นิ คตู ิดตอ่ ทก่ี ำลังก่อสรำ้ ง กกาบำลงังั กอ่ สรา้ ง จดุ ต้ำนทำนหรอื ตำบลแข็งแรง จุดต้ำนทำนที่ยงั ไมเ่ ข้ำประจำ ยงั ไม่เขา้ ประจา ท่ตี ้ังยงิ หรือหลมุ บุคคล ๒

๒ - ๑๖ ท่ีตั้งยงิ หรอื หลุมบุคคล ๒ คน ทต่ี ั้งยิงปนื ใหญ่เบำกระสนุ วิถโี ค้ง ท่ีตัง้ ยิงลวงของ ปบค. ทีต่ ั้งยงิ หรอื หลมุ ปนื ทถ่ี ูกทำลำยแล้ว ทพ่ี ักกำบงั หรอื ที่ต้ังขุดลงไป ที่พักกำบงั ใตด้ นิ ทพ่ี ักกำบังบนดนิ ปอ้ มทว่ั ไป พ้ืนที่หรอื บริเวณที่เป็นปอ้ ม หลมุ ปืน

๒ - ๑๗ ๑๒.๒ หำกมีควำมจำเป็นจะต้องแสดงจำนวนผู้เข้ำอำศัยในหลุมบุคคล หรือท่ีพักกำบังก็ให้เขียนจำนวน เลขทด่ี ำ้ นซ้ำยของเครอ่ื งหมำย ๑๒.๓ เคร่ืองหมำยแสดงอำวุธที่อยู่ในหลุมปืนต่ำง ๆ อำจเขียนเครื่องหมำยแสดงชนิดของอำวุธน้ัน ๆ ลงภำยใน เครื่องหมำยได้ ๑๓. เครื่องหมายแสดงสถานท่ตี งั ทางการแพทย์ ๑๓.๑. เน่อื งจำกกจิ กรรมทำงกำรแพทย์มีหลำยแบบ จงึ ต้องใช้เครอ่ื งหมำยพิเศษเพ่ือแสดงหน้ำท่ตี ่ำงๆ ไว้ เครื่องหมำยท่ีปรำกฏอยใู่ นขอ้ ๑๓.๒ ถงึ ๑๓.๔ ขำ้ งล่ำงนี้แสดงถงึ หนว่ ยทหำรแพทย์ สถำนท่ตี งั้ ทำงกำรแพทย์มี หน้ำที่รักษำพยำบำล และสถำนท่ีต้งั ทำงกำรสง่ กำลงั ทำงกำรแพทย์ ๑๓.๒ เครือ่ งหมำยแสดงหนว่ ยทหำรแพทย์ใชร้ ูปสี่เหลย่ี ม มีกำกบำทอยูภ่ ำยใน เชน่ ๑๓.๓ สถำนท่ีตั้งทำงกำรส่งกำลังสำยกำรแพทย์ แสดงด้วยเครื่องหมำยวงกลม ด้ำนล่ำงระบำยสีทึบมี กำกบำทอยภู่ ำยใน ดงั นี้ ๑๓.๔ เครือ่ งหมำยท่ใี ช้แสดงหนว่ ยทำงกำรแพทย์ มหี น้ำที่รักษำพยำบำลใช้เคร่ืองหมำยกำกบำท ดังนี้ ๑๓.๕ เครอ่ื งหมำยแสดงหน่วยและกิจกำรทำงกำรแพทย์ เคร่อื งหมาย คาอธิบาย ศช.กช. กองพยำบำล ศนู ย์กำรทหำรช่ำง กรมกำรทหำรช่ำง ๒ กองร้อยเสนำรกั ษ์ กรมทหำรรำบท่ี ๒ ๑๒๒ ๑ คลงั สำยกำรแพทย์ที่ ๑๒๒ ของกองทพั ภำคที่ ๑ ๒ คลังสำยกำรแพทย์ท่ี ๒ ของเขตหลัง ๑๓ ร. ทพ่ี ยำบำลของกรมทหำรรำบท่ี ๑๓ ๔ ร. ทพี่ ยำบำลของกองพลทหำรรำบท่ี ๔ ป.พัน.๓ หมวดเสนำรักษ์ กองพันทหำรปืนใหญ่ที่ ๓ สนาม ๘๑๗ โรงพยำบำลสนำมท่ี ๘๑๗ มอบให้สว่ นของเขตหลัง XXXX ศนู ยพ์ กั ฟน้ื ท่ี ๘๘๐ (กองทพั สนาม) พกั ฟน้ื ๘๘๐ ศูนย์โรงพยำบำลท่ี ๘ ศูนย์ ๘

๒ - ๑๘ ๑๔. เคร่อื งหมายแสดงเคร่อื งกดี ขวาง ๑๔.๑ เครอ่ื งหมำยแสดงเครอื่ งกีดขวำงแบบต่ำง ๆ และทตี่ ัง้ เคร่อื งหมำยเหลำ่ น้ี อำจผสมกันหลำย ๆ แบบ ในท่ตี ้ังแห่งเดยี วกนั ได้ ๑๔.๒ สเี ขียว ใช้เพอื่ แสดงระเบดิ กำรทำลำย เครอ่ื งกีดขวำงถนน และเครอื่ งกีดขวำงอืน่ ๆ ของทหำรชำ่ ง ทง้ั ของฝำ่ ยเรำและของข้ำศกึ เมอื่ ไมม่ ีสีเขียวให้ใช้สีดำแทนได้ สีเหลอื งใช้เพือ่ แสดงพืน้ ทเ่ี ป้ำหมำยของเคมี ชีวะ และรงั สี (คชร.) (เว้นควัน) ดงระเบิด ไอพษิ พืน้ ทอ่ี ำบพษิ คชร.อื่น ๆ ทัง้ ของฝ่ำยเรำและของขำ้ ศึก ๑๔.๓ เคร่ืองกดี ขวำงด้วยสำรเคมี คาอธบิ าย เครอื่ งหมาย ทุ่นระเบิดสำรเคมี (สเี หลือง) HD แนวทุน่ ระเบดิ สำรเคมี (สีเหลอื ง) พืน้ ที่อำบพษิ ด้วยสำรเคมี (ขา้ งในเส้นสเี หลอื ง) เคมี ๑๔.๔ เครือ่ งกดี ขวำงชนิดลวดและชนิดพิเศษอื่น ๆ เครอ่ื งหมาย คาอธบิ าย กำแพงดกั รถถงั เครื่องกดี ขวำงลวดหนำมท่ัวไป (อาจจะบอกความลึกเปน็ ฟุต) เครอ่ื งปดิ กัน้ ถนนทค่ี ำดคดิ ไว้ เคร่ืองปิดกน้ั ถนนทีท่ ำไว้แล้ว แตย่ ังผ่ำนไป เคร่ืองปิดกนั้ ถนนที่ทำเสรจ็ สมบูรณแ์ ลว้ เครือ่ งหมาย เครื่องกดี ขวำงรถถังไม่จำกดั แบบ คดู ักรถถังชนิดเปิด คดู กั รถถังชนดิ ปดิ จตั ุรมขุ พนั มงั กร และเครือ่ งกดี ขวำงอน่ื ทีค่ ลำ้ ยกัน ติดอยู่ กับทแ่ี ละสำเรจ็ รูป จตั ุรมขุ พันมังกร และเครือ่ งกีดขวำงอน่ื ทีค่ ล้ำยกัน ยกไป มำได้ (เคลื่อนทไ่ี ด้) คาอธบิ าย จตั ุรมุข พนั มงั กร และเคร่ืองกดี ขวำงอนื่ ทีค่ ล้ำยกัน ยกไป มำไดแ้ ละสำเรจ็ รปู (เคลือ่ นทีแ่ ละประกอบกันได้)

๒ - ๑๙ เคร่ืองหมาย ป่ำลวดต่ำ, ลวดหนำมกระโจมต่ำ ป่ำลวดสูง, ลวดหนำมกระโจมสูง รัว้ ลวดเส้นเดียว ร้วั ลวดสองเสน้ ลวดหบี เพลงช้นั เดยี ว ลวดหีบเพลงหลำยชัน้ ลวดสะดุด ๑๔.๕ เครอื่ งกดี ขวำงชนิดระเบิดและทุน่ ระเบดิ คาอธบิ าย กับระเบดิ ทนุ่ ระเบิดไมท่ รำบชนดิ ทุน่ ระเบดิ สงั หำร ทุ่นระเบดิ ดักรถถงั ทุ่นระเบิดดกั รถถงั แบบกับระเบดิ ทนุ่ ระเบิดดกั รถถงั สองทนุ่ หรือมำกกวำ่ ทนุ่ ระเบิดดกั รถถังแบบกับระเบิดสองท่นุ หรอื มำกกวำ่ ทนุ่ ระเบดิ สงั หำรโยงติดกับลวดสะดุด ชอ่ งว่ำงหรือช่องทำงผำ่ นแถบทนุ่ ระเบดิ สงั หำร ชอ่ งวำ่ งหรอื ช่องทำงผ่ำนแถบทนุ่ ระเบดิ ดกั รถถงั แถบทุน่ ระเบิดดักรถถัง แถบท่นุ ระเบดิ สงั หำรบุคคล

๒ - ๒๐ คาอธบิ าย เครื่องหมาย สนำมทนุ่ ระเบดิ มีทุน่ ระเบดิ ๔๐๐ ลูก วำงทุ่นระเบดิ ดกั ๔๐๐ รถถงั ผสมกับท่นุ ระเบดิ สงั หำร M XX X M XX X สนำมทุ่นระเบดิ ลวงมีรว้ั ก้ัน M สนำมท่นุ ระเบดิ มีขอบเขตไม่แนน่ อน และไมท่ รำบชนิดทนุ่ ระเบิด MX X X X XX M MM M สนำมทนุ่ ระเบิดดักรถถงั มีขอบเขตแน่นอน แต่ไม่มีรั้วกัน้ M MM M ๑๕. เคร่ืองหมายแสดงเสน้ ทางคมนาคม ๑๕.๑ เส้นทำงคมนำคมไมใ่ ชเ้ ฉพำะทำงถนนเทำ่ นั้น ยังหมำยถงึ ทำงนำ้ ทำงรถไฟ และทำงอำกำศด้วย ๑๕.๒ เครือ่ งหมำยแสดงเสน้ ทำงคมนำคมที่ใช้อยู่ในแผนที่ แผ่นบรวิ ำร และรำยงำนตำ่ ง ๆ คาอธิบาย เครอื่ งหมาย กำรจรำจรทำงเดียว กำรจรำจรสองทำง กำรจรำจรกระแสสลบั สลับ กองบังคับกำรจรำจร ขบวนลำเลยี งขณะเดนิ ทำง ขบวนรถถัง ๑๖ คัน ตรวจพบเม่ือ ๒๕๐๕๒๕ ก.ค. ๑๖ ๒๕๐๕๒๕ ก.ค. ขบวนลำเลยี งขณะหยดุ หัวลูกศรชท้ี ำ้ ยขบวน ตำบลควบคมุ จรำจร ปลายทาง ตำบลปลำยทำง

๒ - ๒๑ คาอธิบาย เครอ่ื งหมาย จดุ เร่มิ ตน้ จดุ แยกขบวน จต. ตำบลเติมน้ำมนั จย. ตำบลเตมิ นำ้ มันและซอ่ มบำรงุ เล็กนอ้ ย ซบร. ถนนที่ผำ่ นไปไม่ได้ ฟ ถนนที่มอี ุโมงค์ (เส้นประแสดงความยาวของอโุ มงค์) ทก่ี ลับรถ แนวพรำงแสงไฟ วงเวยี น เสน้ ทำงควบคมุ พเิ ศษ เสน้ ทำงสงวน สะพำน ๑๖. เครอ่ื งหมายแสดงสถานท่ตี ังพเิ ศษต่าง ๆ ๑๖.๑ เคร่ืองหมำยที่ปรำกฏอยู่ในข้อน้ี ครอบคลุมถึงสถำนที่ต้ังทำงกำลังพลและกำรบริกำรอ่ืน ๆ รวมท้ัง สถำนท่ตี ง้ั พเิ ศษอนื่ ๆ ด้วย ๑๖.๒ เครอื่ งหมำยสำหรบั สถำนทตี่ ้งั โดยเฉพำะทีไ่ มม่ ีกำหนดไว้ อำจจะกำหนดขึ้นโดยใช้เครอ่ื งหมำยและ คำยอ่ ทม่ี ีอยู่ผสมกนั ๑๖.๓ เครื่องหมำยแสดงกิจกำรกำลังพล และกำรบริกำรอ่นื ๆ รวมท้ังสถำนท่ีตัง้ พเิ ศษอืน่ ๆ ด้วย คาอธบิ าย เครื่องหมาย กองร้อยกำลังทดแทน กทท. ตำบลรวบรวมเชลยศึก รวม ชศ. ตำบลรวบรวมทหำรพลัดหน่วย รวม พ. ตำบลควบคมุ ทหำรพลัดหนว่ ย พ. ตำบลรวบรวมศพ รวม ศพ

๒ - ๒๒ คาอธิบาย เครื่องหมาย ตำบลรวบรวมพลเรือน รวม พร. ทฝี่ ังศพ หรือสุสำน ทพี่ กั ผ่อนหยอ่ นใจ พกั ทอี่ ำบนำ้ และซกั ฟอก อาบ หอคอย หรือ อำคำร ๑๗. เคร่อื งหมายแสดงท่ีตงั ทางการส่งกาลังบารุง ๑๗.๑ ตำมที่กล่ำวมำแล้ว เคร่ืองหมำยหลักของท่ีต้ังทำงกำรส่งกำลังบำรุง คือ วงกลมและสถำนท่ีต้ังยัง มไิ ด้เขำ้ ยดึ ครองหรือทค่ี ำดหมำยว่ำจะเข้ำยึดครอง วงกลมเส้นประ (มีแรเงำทึบอยูท่ สี่ ่วนลำ่ งของวงกลมเม่ือเป็น สป.หลัก ในเหลำ่ สำยวิทยำกำร ๑๗.๒ ประเภทของสิ่งอปุ กรณท์ ี่มอี ยู่ในสถำนท่ีตงั้ ใด กเ็ ขยี นเคร่อื งหมำยแสดงประเภทของสิ่งอุปกรณ์หรือ เคร่ืองหมำยแสดงเหล่ำยุทธบริกำรไว้ภำยในวงกลม สำหรับส่ิงอุปกรณ์ท่ีอยู่ในควำมรับผิดชอบของฝ่ำยกจิ กำร พิเศษโดยเฉพำะ ก็เขียนเคร่ืองหมำยของส่งิ อปุ กรณ์นน้ั ลงภำยในวงกลม ๑๗.๓ หน้ำทีต่ ำ่ ง ๆ ของสถำนทตี่ ้งั ทำงกำรสง่ กำลงั สป.๑ – ๔ ให้เขยี นคำยอ่ ดำ้ นขวำของวงกลม เชน่ ตำบลสง่ กำลัง (ตส.) คลงั (คลัง) ๑๗.๔ กำรส่งกำลงั บำรงุ คาอธิบาย เคร่อื งหมาย สิ่งอุปกรณ์ประเภทท่ี ๑ (เสบยี งคน) ส่งิ อุปกรณ์ประเภทที่ ๑ (เสบียงสตั ว์) ใชเ้ คร่ืองหมำยของเหล่ำยุทธบริกำรทร่ี ับผิดชอบ สิ่งอปุ กรณป์ ระเภทที่ ๒ - ๔ แทน สิง่ อปุ กรณป์ ระเภทท่ี ๓ (น้ำมันเชื้อเพลิง) สง่ิ อปุ กรณ์ประเภทที่ ๓ (น้ำมันเชือ้ เพลิงอำกำศยำน ทบ.) สง่ิ อุปกรณ์ประเภทที่ ๕ เช่นเดยี วกับส่งิ อุปกรณ์ประเภทท่ี ๒

๒ - ๒๓ เครื่องหมาย คาอธบิ าย สิ่งอปุ กรณป์ ระเภทท่ี ๕ ทวั่ ไป (กอง) สิง่ อปุ กรณป์ ระเภทท่ี ๕ เฉพำะเคร่ืองบนิ ทหำรบก (คลัง) สิง่ อุปกรณป์ ระเภทที่ ๕ เฉพำะทหำรปืนใหญ่ (ตจ.) ส่งิ อปุ กรณป์ ระเภทท่ี ๕ เฉพำะทหำรอำกำศ (ตส.) สิ่งอุปกรณ์ประเภทท่ี ๕ เฉพำะอำวุธเบำ (ตส.) ตำบลจ่ำยนำ้ รวม กซ. สถำนท่ีต้งั ทำงกำรส่งกำลังสำยกำรสัตว์ รวม สถำนทต่ี ง้ั ทำงกำรส่งกำลงั สำยทหำรชำ่ ง สก. น สถำนทตี่ ง้ั ทำงกำรส่งกำลังสำยทหำรชำ่ งเฉพำะแผนที่ สถำนที่ต้ังทำงกำรส่งกำลังสำยพลำธิกำร ท่กี อง คลงั ตำบลจำ่ ย ตำบลสง่ กำลัง ตำบลส่งกำลงั กระสุน ตำบลรวบรวมส่งิ อุปกรณ์เก็บซอ่ ม ตำบลรวบรวมสง่ิ อุปกรณ์ซ่อมบำรุง สัมภำระของหนว่ ย สำนกั งำนกระสุน เส้นหลกั กำรส่งกำลัง

๒ - ๒๔ เคร่อื งหมาย เครือ่ งหมาย ๑๘. เครื่องหมายแสดงยานพาหนะชนดิ ต่าง ๆ เครอ่ื งหมาย ๑๘.๑ ยำนพำหนะ คาอธิบาย ๑๐ รถถงั เบำ รถถังกลำง รถถงั หนกั รถหมุ้ เกรำะ หรือรถลำดตระเวน ๑๘.๒ แบบของตวั ถังยำนพำหนะ คาอธบิ าย รถจักร รถตู้หรือรถโดยสำร ลำเลียงพล สะเทินนำ้ สะเทินบก (สัมภำระ) หมุ้ เกรำะ ๑๘.๓ แบบของเคร่อื งรองรบั ตวั ถัง คาอธิบาย เทียมลำก ล้อ ล้อรถไฟ สำยพำน รถไฟพยำบำล ๑๐ หลัง รถสะเทินนำ้ สะเทินบกหุม้ เกรำะแบบสำยพำน รถบรรทุกสมั ภำระแบบล้อ รถลำเลยี งพลแบบล้อ ๑๙. เครือ่ งหมายแสดงอาวุธชนดิ ต่าง ๆ

๒ - ๒๕ ๑๙.๑ เคร่ืองหมำยแสดงอำวุธชนิดต่ำง ๆ ที่ต้ังของอำวุธทิศทำงยิง นอกจำกจะกล่ำวเป็นอย่ำงอ่ืน ที่ตั้ง แนน่ อนของอำวุธกค็ อื เส้นล่ำงสุดของเครือ่ งหมำยอำวธุ นัน้ ๆ หรอื เสน้ ตรงท่เี ขยี นไปยังที่ใด ๆ ของกลมุ่ ปนื ใหญ่ อำวธุ ของข้ำศกึ ให้เขียนทิศทำงมำยงั ฝ่ำยเรำ อำวธุ ฝำ่ ยเรำให้เขียนทิศทำงไปยงั ฝำ่ ยข้ำศึก จำนวนกระบอกของ อำวธุ แตล่ ะชนิดใหเ้ ขียนจำนวนเลขด้ำนล่ำงเครอ่ื งหมำยอำวธุ นนั้ ๆ ๑๙.๒ ถำ้ ทรำบขนำดปำกลำกล้องโดยแน่นอน ก็ใหเ้ ขียนตวั เลขขนำดปำกลำกล้องดำ้ นขวำเครื่องหมำยได้ ๑๙.๓ ถ้ำไม่ทรำบขนำดปำกลำกล้องโดยแน่นอน ก็ให้เขียนเคร่ืองหมำยแสดงอำวุธโดยประมำณ (เบำ กลำง หนกั ) ประกอบเคร่อื งหมำยอำวุธนั้น ๑๙.๔ เครอื่ งหมำยแสดงอำวธุ คาอธบิ าย เคร่อื งหมาย เครื่องยิงจรวดตอ่ ส้รู ถถัง / ปืนไรแ้ รงสะทอ้ นถอยหลัง เครื่องยงิ จรวดตอ่ สรู้ ถถงั ขนำด ๓.๕ น้ิว ๓.๕\" ปนื ไร้แรงสะทอ้ นถอยหลงั ขนำด ๕๗ มม. ๕๗ ปนื ไรแ้ รงสะทอ้ นถอยหลังขนำด ๗๕ มม. ๗๕ เครื่องยงิ จรวด (ป.) ขนำดเบำ (ตง้ั แต่ ๑๑๕ มม. ลงมา) เครอ่ื งยิงจรวด (ป.) ขนำดกลำง (โตกวา่ ๑๑๕ มม. จนถงึ ๑๖๐ มม.) เครือ่ งยงิ จรวด (ป.) ขนำดหนัก (โตกว่า ๑๖๐ มม.) เครื่องยงิ ลกู ระเบดิ เครือ่ งยงิ ลูกระเบดิ ขนำด ๖๐ มม. ๖๐ เครื่องยงิ ลูกระเบิดขนำด ๘๑ มม. ๘๑ เคร่อื งยิงลูกระเบดิ ขนำด ๔.๒ น้ิว ๔.๒\" เครื่องฉดี ไฟประจำกำย ปนื กลเบำ ปนื กลหนกั ปืนกลหนกั ตอ่ ส้อู ำกำศยำน ขนำด ๑๒.๗ น้วิ ๑๒.๗\"

๒ - ๒๖ คาอธบิ าย เคร่อื งหมาย ปนื ใหญก่ ระสุนวถิ รี ำบขนำดเบำ หมปู่ ืน (ขนาดต้ังแต่ ๑๑๕ มม. ลงมา) ปนื ใหญก่ ระสุนวิถรี ำบขนำดกลำง หมปู่ ืน (ไปจนถึง ๑๑๕ มม.) ปนื ใหญ่กระสุนวถิ ีรำบขนำดหนัก หมู่ปืน (ขนาดโตกวา่ ๑๑๕ มม. ข้นึ ไป) ปนื ใหญ่กระสนุ วิถโี ค้งขนำดเบำ (ขนาดตงั้ แต่ ๑๑๕ มม.ลงมา) ปืนใหญก่ ระสนุ วิถีโค้งขนำดกลำง (ขนาดโตกวา่ ๑๑๕ มม.ไป จนถงึ ๑๑๕ มม.) ปนื ใหญก่ ระสุนวิถโี คง้ ขนำดหนกั (ขนาดโตกวา่ ๑๑๕ มม.) ปืนใหญ่ต่อสู้อำกำศยำนขนำดเบำ (ขนาดเล็กกว่า ๘๐ มม.) ปืนใหญ่ตอ่ สู้อำกำศยำนขนำดกลำง (ขนาดตัง้ แต่ ๘๐ มม.ข้ึน ไป แตม่ นี ้าหนกั น้อยกวา่ ๒๐ ตนั ) ปืนใหญ่ตอ่ สอู้ ำกำศยำนขนำดหนัก (มนี ้าหนักตงั้ แต่ ๒๐ ตัน ข้นึ ไป) ปืนใหญก่ ระสนุ วถิ ีรำบอัตตำจร ปนื ใหญ่ต่อสรู้ ถถังขนำดเบำ ปืนใหญต่ ่อสูร้ ถถงั ขนำดกลำง ปนื ใหญต่ ่อสรู้ ถถังขนำดหนกั * หำกอำวธุ เปน็ อัตตำจร หรือบรรทกุ บน รสพ. ให้เขยี นเครื่องหมำย รสพ. ลงใต้เครอื่ งหมำยอำวธุ นน้ั ๆ เขตกำรยิงหรอื พื้นท่ียิงของอำวธุ ทวั่ ไป เขตกำรยงิ ของปืนกลหนกั (จุดแสดงที่ตง้ั ของอำวุธ) เขตกำรยิงของปืนกลเบำ (จุดแสดงที่ต้ังของอำวธุ ) ทศิ ทำงกำรยงิ (ใชแ้ สดงทศิ ทำงยงิ ต่อเนือ่ ง เคร่ืองหมำย แสดงอำวุธไม่ใช้ลูกศร) ทศิ ทำงยิงของปนื ใหญ่กระสุนวิถีรำบ ๒๐. วธิ ีผสมเครอื่ งหมาย

๒ - ๒๗ ๒๐.๑ กำรจัดระเบียบเพื่อกำรผสมเคร่ืองหมำย ตัวอักษร ตัวเลข และคำย่อเข้ำด้วยกัน เพื่อแสดงหน่วย ทหำร ทต่ี รวจกำรณ์ สถำนท่ตี ง้ั ทำงกำรทหำร ฯลฯ ใดๆ ก็ตำม ให้ปฏิบัติดงั น้ี สัญลกั ษณ์แสดงขนำดของหน่วย หน่วยระดบั สงู กวำ่ แยกจำกกันด้วย เส้นขีดเฉียง หมำยเลขประจำหน่วย สัญลักษณ์แสดงเหล่ำ หรือ ข่ำวสำรอื่น ๆ เช่น ชนิดของอำวุธหรอื ยำนพำหนะใน หน้ำที่ปฏิบัติ (พันธกิจ) หรือ อัตรำของหน่วย ไม่ว่ำหน่วยข้ำงหลังหรือข้ำงหน้ำ หรอื ข่ำวสำรอืน่ ใดทีม่ ีสว่ นช่วยในกำรพสิ จู น์ทรำบ คำ๒ยอ่ ๐ข.อ๒งหตนวั ่วอยยำ่ งวิธีกำรผสมเครอ่ื งหมำยของหนว่ ยทหำร ๒๐.๒.๑ เครื่องหมำยของหน่วยทหำรที่ต้องกำรแสดงหน่วยของตนเพียงหน่วยเดียว ให้เขียน หมำยเลขประจำหนว่ ยไวท้ ำงดำ้ นขวำมอื เชน่ XXXX XXX ๖ ๗ ๓ ๔ กองทัพภำคที่ ๓ กองทพั นอ้ ยท่ี ๔ กรมทหำรรำบท่ี ๖ กองร้อยทหำรช่ำงท่ี ๗ ๒๐.๒.๒ เครอื่ งหมำยของหน่วยทหำรท่ตี อ้ งกำรแสดงหนว่ ยเหนอื ดว้ ย ใหเ้ ขียนหมำยเลขประจำ หน่วยตนไว้ทำงดำ้ นซำ้ ยมอื และแสดงหมำยเลขประจำหนว่ ยเหนอื ไว้ทำงดำ้ นขวำมอื คำมควำมต้องกำรโดย แยกจำกกันด้วยเส้นขีดเฉลยี ง เช่น ๓ XX กองพันทหำรรำบท่ี ๓ กรมทหำรรำบท่ี ๒๑ กองพลทหำรรำบท่ี ๑ ๒๑ / ๑ ๑ ๑๐ / ๒ กองรอ้ ยทหำรม้ำที่ ๑ กองพนั ทหำรมำ้ ที่ ๑๐ กรมทหำรมำ้ ที่ ๒ (ม.ลว.) ๒๐.๓ สำหรบั หนว่ ยทหำรซึ่งไมม่ ีหมำยเลขประจำตวั หรือตวั อักษรประจำ แตเ่ ปน็ ชื่อเฉพำะกใ็ ห้ผสมหน่วย ดงั ต่อไปน้ี เช่น ชย./กน. ๑ / ๓ หมวดกระสนุ และช่ำงโยธำ กองพนั ทหำรรำบที่ ๑ กรมทหำรรำบที่ ๓

๒ - ๒๘ ๒๐.๔ เคร่ืองหมำยแสดงที่ตรวจกำรณ์ สถำนที่ตั้งทำงกำรส่งกำลัง และกำรบริกำรต่ำง ๆ คงใช้วิธีผสม เชน่ เดียวกับที่กล่ำวมำแล้ว เช่น สสก. / ๑ / ๓ ทตี่ รวจกำรณ์ ตอน ค.๘๑ หมวดอำวธุ หนกั กองร้อยสนับสนุนกำรรบ กองพันทหำรรำบท่ี ๑ กรมทหำรรำบที่ ๓ ๘๑ XX ตำบลจ่ำยสิง่ อุปกรณป์ ระเภทท่ี ๑ กองพลทหำรรำบท่ี ๔ ๔ XX สนำมบนิ กองพลทหำรรำบท่ี ๔ ๔ ๒๑. การแสดงภายในรายละเอยี ดของวิธีผสมเคร่ืองหมายตา่ ง ๆ ๒๑.๑ ในข้อนี้จะกล่ำวถึงตัวอย่ำงวิธีกำรแสดงภำพกำรผสมเคร่ืองหมำยหลักต่ำง ๆ เพ่ือให้ทรำบข่ำวสำร ตำมควำมต้องกำร กฎท่ีจะกล่ำวต่อไปน้ีเก่ียวข้องกับกำรใช้เคร่ืองหมำยหลักและคำย่อประกอบกับรูปส่ีเหล่ียม สำมเหลี่ยม วงกลม และรูปอื่น ๆ ซึ่งใช้แทนหน่วยทหำรที่ตรวจกำรณ์ สถำนที่ตงั้ ทำงกำรส่งกำลงั และสถำนที่ต้ัง อื่น ๆ ๒๑.๒ เคร่ืองหมำยหลัก กำรผสมเคร่ืองหมำยแสดงเหล่ำทหำรโดยธรรมดำให้เขียนภำยในศูนย์กลำงรูป เชน่ หน่วยทหำร หน่วยทหำรรำบ หนว่ ยทหำรรำบเคลอ่ื นทีท่ ำงอำกำศ หนว่ ยทหำรรำบยำนเกรำะ หน่วยทหำรรำบยำนยนต์ (ใชร้ ถสะเทนิ น้ำสะเทนิ บก) หน่วยทหำรรำบยำนยนต์ (ใช้รถยนต์บรรทกุ ) หนว่ ยทหำรปืนใหญย่ ำนเกรำะ หนว่ ยทหำรช่ำงสง่ ทำงอำกำศ (+) หนว่ ยทหำรเพม่ิ เติมกำลงั (-) หนว่ ยทหำรซง่ึ หน่วยรองแยกไป ๒๑.๓ เครื่องหมำยแสดงขนำดหนว่ ย เครือ่ งหมำยแสดงขนำดหนว่ ยโดยธรรมดำเขยี นดำ้ นบนของรูป เชน่ หมวด

๒ - ๒๙ กองร้อย XXXX กองทัพภำค XX สถำนทต่ี ้ังกำรสง่ กำลงั ของกองพล XXXX สถำนท่ีตั้งทำงกำรแพทยข์ องกองทัพ สถำนทตี่ งั้ ทำงกำรสง่ กำลังของเขตหลัง ๒๑.๔ กำรเขียนหมำยเลขประจำหน่วย หน่วยเลขประจำหนว่ ยของกองทพั เรือ กองทัพนอ้ ย กองทัพอำกำศ ฯลฯ เชน่ เดียวกับข้อ ๒๑.๒ เช่น XXXX กองทพั ท่ี ๓ ๓ XXXX กองทพั อำกำศที่ ๑ ๑ XXX กองทัพน้อยท่ี ๔ ๔ ปนื ใหญข่ องกองทพั นอ้ ยท่ี ๔ XXX กองพลทหำรรำบท่ี ๓ ๔ XX ๓ ๒๑.๕ กำรผสมเครอ่ื งหมำยของหนว่ ยระดบั กรมในหนว่ ยรบ เช่นเดยี วกับขอ้ ๒๑.๒ เชน่ กองร้อยท่ี ๑ กองพนั ทหำรรำบท่ี ๒ กรมทหำรรำบที่ ๒๓ ๑ ๒ / ๒๓ กองพนั ทหำรรำบที่ ๒ กรมทหำรรำบท่ี ๒๓ ๒ ๒๓ ทพ่ี ยำบำลกองพนั ทหำรรำบที่ ๑ กรมทหำรรำบที่ ๖ ๑ / ๖ ร. ๒๑.๖ วิธีกำรกำหนดตัวเลขประจำหน่วยอิสระ (เว้นหน่วยรบ) โดยธรรมดำตัวเลขประจำหน่วยอิสระให้ เขียนด้ำนขวำรูป และให้เขียนข่ำวสำรเพิ่มเติมได้ตำมควำมจำเป็น โดยใช้คำย่อเขียนลงภำยในวงเล็บทำงด้ำน ซ้ำยมอื และด้ำนล่ำง เชน่ กรมทหำรช่ำงสนำมท่ี ๑๑ สนาม กองรอ้ ยที่ ๑ กองพันทหำรปืนใหญ่ท่ี ๓ (๑๐๕ มม.) ๑๑ กองรอ้ ยทหำรสำรวัตรที่ ๔ ๑๓ (๑๐๕ โค้ง) ๔ สห. ๓

๒ - ๓๐ กองร้อยทหำรสอื่ สำรที่ ๓ ๒๑.๗ หน่วยที่มีชื่อเฉพำะเป็นตัวอกั ษร ให้เขียนคำย่อชื่อนั้นด้ำนซำ้ ยของรปู และเขียนช่ือ (เคร่ืองหมำย) หนว่ ยเหนอื ดำ้ นขวำของรปู เช่น กองร้อยบงั คับกำร กองทัพน้อยท่ี ๓ XXX บก. ๓ กองร้อยบงั คบั กำร พล.ป.๔ บก. X๔X ๒๑.๘. ข่ำวสำรที่อธิบำยประกอบ เม่ือกำรผสมเครื่องหมำยไม่อำจแสดงรำยละเอียดได้เพียงพอ ให้เขียน ขำ่ วสำรเพิม่ เตมิ โดยใช้คำยอ่ ดำ้ ยซำ้ ยของรปู คำย่อธรรมดำอย่ใู นวงเลบ็ เชน่ คลังสิง่ อุปกรณ์สำยทหำรช่ำงของกองทพั ภำคที่ ๔ XXXX คลัง ๔ กองบนิ ลำเลียงท่ี ๑๔ (เบำ) เบา ๑๔ ๒๑.๘ หน่วยอำวุธ ให้เขียนเคร่ืองหมำยแสดงชนิดอำวุธและขนำด ปำกลำกล้องด้ำนล่ำงรูป ขนำดปำกลำ กลอ้ งให้เขยี นดำ้ นขวำเคร่อื งหมำยชนิดอำวุธ เชน่ ตอนปืนไรแ้ รงสะทอ้ น ๗๕ มม. (หมวดอาวุธหนกั กองร้อยสนบั สนุนการรบ) กองพันทหำรรำบท่ี ๑ กรมทหำรรำบที่ ๓ ๑ /๓ ๗๕ หม่ปู ืนกลเบำ หมวดปืนเลก็ ที่ ๑ กองร้อยท่ี ๒ ๒/๑/๓ กองพนั ทหำรรำบท่ี ๑ กรมทหำรรำบท่ี ๓ ๒๑.๙ หน่วยหลักของหน่วยรบคือหน่วยระดับ “กรม” เป็นหลัก หน่วยหลักของหน่วยอิสระที่มิใช่หน่วยรบ อำจเปน็ หนว่ ยระดับ กรม กองพนั กองร้อย หรอื หมวด ก็ได้ หน่วยอิสระแต่ละหน่วยอำจมีหนว่ ยรองของตนแตกต่ำง กันไป เชน่ หมวดส่งกำลัง กองรอ้ ยพลำธิกำรสง่ กำลังทำงอำกำศ สล. สกอ. กองรอ้ ยรบพิเศษที่ ๒ กองพันรบพิเศษที่ ๑ ๒ รพศ. ๑ กองร้อยกองบังคบั กำรและบริกำร กองพันทหำรช่ำงท่ี ๓ บก./บร. ๓ ๒๑.๑๐ ตวั อย่ำงกำรผสมเครื่องหมำย ๒๑.๑๐.๑ หนว่ ยบิน

๒ - ๓๑ คาอธบิ าย เครื่องหมาย หนว่ ยกำรบนิ ทหำรบก ศปบ. เฮลิคอปเตอร์ ลว. สนำมบนิ ทหำรบก สนำมบินเฮลิคอปเตอร์ ท่ีตงั้ ทำงกำรสง่ กำลงั สป.๓ อำกำศ ทหำรบก ทีต่ ั้งทำงกำรส่งกำลงั สป.๕ อำกำศ ทหำรบก ศนู ย์ปฏิบัตกิ ำรบนิ ทหำรบก กองรอ้ ยทหำรรำบเคลื่อนทท่ี ำงอำกำศ (Airmobile Infantry Company) กองร้อยเฮลคิ อปเตอรท์ หำรบก กองรอ้ ยทหำรม้ำอำกำศ (Sky Cavalry Company) กองรอ้ ยทหำรมำ้ ลำดตระเวนทำงอำกำศ

๒ - ๓๒ ๒๑.๑๐.๒ ทหำรขนส่ง เคร่ืองหมาย คาอธบิ าย รยบ. กรมทหำรขนสง่ รยบ. กองพนั ทหำรขนสง่ รถยนต์บรรทกุ เรอื กองบินขนสง่ กองร้อยทหำรขนสง่ รถยนตบ์ รรทุก รยบ.กลาง(ผสม) กองรอ้ ยทหำรขนส่งเรือ มทบ.๒๑๐ กองร้อยซ่อมบำรงุ เคร่อื งบินทหำรบก กองร้อยทหำรขนส่งรถยนต์บรรทกุ กลำง (ผสม) สำนักงำนขนสง่ มณฑลทหำรบกท่ี ๒๑๐ คลัง สป.๒ และ ๔ สำยทหำรขนส่งของกองทัพ (รยบ.) ๓ ๒/ ๓ หมวดที่ ๓ กองรอ้ ยที่ ๒ กองพนั ทหำรขนสง่ รถยนต์ บรรทกุ ที่ ๓ หมวดรถยนตบ์ รรทุกกลำง (๑๒ คนั ) รยบ. (๑๒ คนั ) (กลาง) ๒๑.๑๐.๓ ทหำรชำ่ ง เคร่ืองหมาย คาอธิบาย กรมทหำรช่ำงสนำม สนาม กรมทหำรชำ่ งส่งกำลงั และซ่อมบำรุง XX กองพันทหำรชำ่ งสนำมของกองพลท่ี ๑ สนาม ๑ กองร้อยกองบงั คับกำรและบริกำร บก./บร. กองร้อยทหำรชำ่ งซ่อมบำรุงสนำม สนาม

๒ - ๓๓ คาอธิบาย เครื่องหมาย กองรอ้ ยทหำรชำ่ งสะพำนผสม หมวดสะพำน ผสม ตำบลจ่ำยนำ้ ท่ี ๓ ของกองพลที่ ๒ ๓๒ (กอง สป.๔) ที่กอง สป.๔ สำยทหำรชำ่ งของกองทัพ (คลัง) คลงั สป.๒ และ ๔ สำยทหำรช่ำงของกองทัพ เครอ่ื งหมาย คลงั แผนทข่ี องกองทพั ยก. ๒๑.๑๐.๔ ทหำรปนื ใหญ่ (ปนื ใหญส่ นำม) สส. ๑ คาอธิบาย ๗ กรมทหำรปนื ใหญ่ ๗๕ โคง้ กองพันทหำรปืนใหญ่ ๒๑ (๑๐๕ โคง้ ) กองร้อยทหำรปนื ใหญ่ หมวดยทุ ธกำรทหำรปืนใหญก่ องพล หมวดสอื่ สำร กรมทหำรปืนใหญ่ท่ี ๑ กองพันทหำรปนื ใหญท่ ่ี ๗ (๗๕ มม. โค้ง) ทีต่ รวจกำรณ์หมำยเลข ๒ กองพันทหำรปืนใหญท่ ี่ ๒ (๑๐๕ มม. โคง้ ) กรมทหำรปืนใหญท่ ่ี ๑

๒ - ๓๔ ๒๑.๑๐.๕ ทหำรปืนใหญ่ ตอ่ สู้อำกำศยำน หรือปืนใหญป่ อ้ งกันภัยทำงอำกำศ คาอธิบาย เครื่องหมาย กองพันทหำรปนื ใหญ่ตอ่ ส้อู ำกำศยำน กองรอ้ ย ปตอ. หมวด ปตอ. ๔๐ มม. ๔๐ ๓ อจ. กองพันทหำรปืนใหญต่ อ่ ส้อู ำกำศยำนท่ี ๓ (๔๐ มม. อจ.) (๔๐) ๒๑.๑๐.๖ ทหำรแพทย์ คาอธบิ าย เครือ่ งหมาย กองพันเสนำรกั ษ์ กองพลทหำรรำบ กองร้อยรถยนต์พยำบำล รพบ. กองร้อยพยำบำล หมวดรถยนต์พยำบำล รพบ. หมวดพยำบำล รยบ. X๓X กองร้อยรถยนตพ์ ยำบำล กองพันเสนำรกั ษ์ กองพลที่ ๓ สนาม, ประจาถิ่น, ทวั่ ไป โรงพยำบำลสนำมประจำถ่นิ ทัว่ ไป

๒ - ๓๕ ๒๑.๑๐.๗ ทหำรพลำธกิ ำร เครอื่ งหมาย ๒ คาอธบิ าย X๓X XX สำนักงำนพลำธิกำรกองพลท่ี ๒ พธ. กองร้อยทหำรพลำธกิ ำรกองพลท่ี ๓ หมวดสง่ กำลงั กองรอ้ ยทหำรพลำธิกำร หมวดรถยนตบ์ รรทุก กองร้อยทหำรพลำธกิ ำร ๖๐๔ รยบ. ตส.๖๑๒ ๑ คลงั สป. ๒ และ ๔ สำยพลำธิกำรที่ ๖๐๔ ของกองทพั ๑ ภำคท่ี ๑ เคร่ืองหมาย ตำบลสง่ กำลงั สป. ๓ ที่ ๖๑๒ ของกองทัพที่ ๑ ๒๑.๑๐.๘ ทหำรมำ้ คาอธบิ าย หมวดทหำรมำ้ ลำดตระเวน หมวดรถถัง หมวดปอ้ งกัน ป้องกนั กองพนั ทหำรม้ำยำนเกรำะ บก. ๒๙ กองร้อยกองบังคับกำรทหำรมำ้ ๔ X๑X ๖ X๖X กองพันทหำรม้ำท่ี ๒๙ กองพนั ทหำรม้ำท่ี ๔ กองพลท่ี ๑ กองรอ้ ยทหำรมำ้ ลำดตระเวนที่ ๖ กองพลทหำรรำบท่ี ๖

๒ - ๓๖ ๒๑.๑๐.๙ ทหำรรำบ เครอ่ื งหมาย คาอธบิ าย บก. กรมทหำรรำบ สส. ๑๓ กองพนั ทหำรรำบ อว. กองรอ้ ยกองบงั คับกำร ๑๓ บก. ๓ / ๓ กองรอ้ ยอำวธุ เบำ ๑ ๒ / ๑๙ / X๙X หมวดสือ่ สำร กรมทหำรรำบที่ ๑๓ เครอื่ งหมาย หมวดอำวธุ บก. ยก./ขว. หมวดปนื เล็ก อวน. กองพันทหำรรำบท่ี ๑ กรมทหำรรำบที่ ๓ กองรอ้ ยกองบงั คบั กำร กองพนั ทหำรรำบที่ ๓ กรมทหำรรำบที่ ๓ กองรอ้ ยอำวุธเบำที่ ๑ กองพันทหำรรำบท่ี ๒ กรมทหำรรำบท่ี ๑๙ กองพลทหำรรำบท่ี ๙ ๒๑.๑๐.๑๐ ทหำรรำบ หนว่ ยสง่ ทำงอำกำศ คาอธิบาย กองพันทหำรรำบสง่ ทำงอำกำศ กองรอ้ ยกองบังคับกำร หมวดยทุ ธกำรและกำรข่ำว หมวดอำวธุ หนกั

๒ - ๓๗ ๒๑.๑๐.๑๑ หนว่ ยรบพเิ ศษ เครอื่ งหมาย คาอธิบาย XX กองพลรบพิเศษ รพศ. กรมรบพเิ ศษ รพศ. กองพนั รบพเิ ศษ รพศ. หมวดสนับสนุน รพศ. สนับสนุน ชุดปฏบิ ตั กิ ำร รพศ. ปฏบิ ัติการ ๒๑.๑๐.๑๒ ทหำรส่อื สำร เคร่อื งหมาย คาอธิบาย กองพนั ทหำรส่อื สำร กองบัญชำกำรกองทัพบกสนำม ทบ.สนาม กองรอ้ ยปฏบิ ัตกิ ำรวทิ ยุ ว. กองพนั ทหำรสือ่ สำร กองพลทหำรรำบท่ี ๔ X๔X หมวดวทิ ยุถ่ำยทอด วถท. หมวดศูนยข์ ำ่ ว ศข. หมวดวทิ ยุ ว. หมวดปฏิบตั ิกำรควบคมุ อำกำศยำนทำงยุทธวิธี คอย. หมวดซ่อมบำรุง ซบร. หมวดบริกำร บร. หมวดสำย คลัง สป. ๒ และ ๔ สำยสอ่ื สำรที่ ๒๐๑ กองพนั ที่ ๒ สาย ๒๐๑ ๒

๒ - ๓๘ ๒๑.๑๐.๑๓ ทหำรสรรพำวุธ เครื่องหมาย คาอธิบาย กองสรรพำวธุ เบำกองพลที่ ๒ เบา X๒X กองรอ้ ยสรรพำวุธกระสุนและวตั ถรุ ะเบิด กน. หมวดซ่อมยำนยนต์ ซยน. หมวดซอ่ มบำรงุ สว่ นหนำ้ สน. หมวดยำนยนต์ขนส่ง ยย. หมวดคลังกระสนุ คกน. คลงั สป.๕ ท่ี ๙๐๖ กองทัพท่ี ๒ คลัง ๙๐๖ ๒ ๒๑.๑๐.๑๔ ทหำรสำรวตั ร เครอ่ื งหมาย คาอธบิ าย สำนกั งำนฝำ่ ยกำรสำรวตั รกองพล XX สง.สห. กองร้อยทหำรสำรวัตร สห. หมวดทหำรสำรวตั รท่ี ๓ กองร้อยทหำรสำรวตั รที่ ๓ ๓ สห. ๓ หมู่สำรวตั ร สห. กองรอ้ ยทหำรสำรวตั รประจำมณทลทหำรบกท่ี ๑๑ สห. มทบ.๑๑

๒ - ๓๙ ๒๑.๑๐.๑๕ หน่วยอืน่ ๆ เครอื่ งหมาย คาอธิบาย ๒ หนว่ ยไปรษณีย์ที่ ๒ ๑๔ แผนกกำรเงินที่ ๑๔ ๒ (วจส.) กองรอ้ ยสงครำมจติ วทิ ยำท่ี ๒ (วทิ ยุกระจำยเสียง) ขกท. ๓ รวม หนว่ ยรวบรวมข่ำวกรองทำงทหำรที่ ๓ สก. ๕ กองร้อยสวสั ดิกำรที่ ๕ XXXX ๒๗ สบ. (คลงั ) คลังสง่ิ พิมพ์สำยสำรบรรณท่ี ๒๗ ของกองทพั กทท. ๓ กองพนั กำลงั ทดแทนที่ ๓ รปภ. ๓ หมวดรกั ษำควำมปลอดภัยที่ ๓ XXXX บชร. หน่วยบัญชำกำรชว่ ยรบของกองทพั ภำค ดย. มทบ.๑๔ กองดรุ ิยำงค์ มณฑลทหำรบกที่ ๑๔ ดย. ศร. หมวดดรุ ิยำงค์ ศูนยก์ ำรทหำรรำบ เพ่ิมเติม หน่วยเพม่ิ เติมสัตว์ คลงั เสบยี งสัตว์ของกองทพั XXXX คลงั สตั ว์ภณั ฑ์และเวชภณั ฑ์ของกองทพั โรงพยำบำลสัตว์ของกองทพั XXXX (คลัง) XXXX

๓-๑ ตอนท่ี ๓ ภมู ศิ าสตรท์ หาร

๓–๒ ตอนท่ี ๓ ภมู ศิ าสตร์ทหาร กลา่ วทว่ั ไป ภูมศิ าสตร์ทหาร เปน็ วชิ าท่เี ก่ียวขอ้ งเป็นพิเศษกับธรรมชาติ ซ่งึ แตล่ ะประเทศนั้นมีท่ีตัง้ , ขนาดและรปู ร่าง ไม่เหมอื นกัน สง่ิ ต่าง ๆ เหล่านจี้ ะมีผลกระทบกระเทอื นตอ่ การวางแผน และการปฏบิ ัตกิ ารทางทหาร ดังน้ัน ใน การวางแผนป้องกนั ประเทศของแต่ละประเทศจงึ ต้องคานงึ ถึงลกั ษณะภูมปิ ระเทศ, กาลัง และอาวธุ เป็นปัจจัย ในการพิจารณา ซง่ึ ท้ังสามสิง่ นีจ้ ะต้องสอดคลอ้ งสมั พันธก์ นั เป็นอยา่ งดี จงึ จะเกดิ เปน็ พลงั อานาจทางทหาร หรอื อาจจะกล่าวอีกนัยหน่ึงว่า ภูมิศาสตร์ทหารเป็นภูมิศาสตร์แขนงหนึ่งท่ีศึกษาเน้นหนักทางด้านการทหาร โดย อธบิ ายถงึ สภาวะทางภมู ิศาสตรท์ ีเ่ ก่ยี วโยง หรอื มอี ิทธพิ ลต่อการทหารภูมิศาสตรแ์ ขนงน้ีอาจรวมอยใู่ นภมู ิศาสตร์ การเมือง หรือวิชาการทหารโดยตรงก็ได้ จึงนับได้ว่าภูมิศาสตร์ทหารเป็นภูมิศาสตร์ประยุกต์แขนงหนึ่งท่ีให้ ข้อมลู เก่ียวกบั ลกั ษณะภูมปิ ระเทศ หรือลักษณะของธรรมชาตอิ ันมีผลต่อการปฏิบัติการทางทหาร ในการศึกษา เบื้องต้นนี้จะกล่าวเฉพาะที่ต้ัง, ขนาด, รูปร่าง, ลักษณะภูมิประเทศ และสภาพแนวพรมแดนของประเทศไทย เท่านน้ั ๑. ทีต่ ัง้ ประเทศไทยต้งั อยใู่ นแหลมอนิ โดจีน มีอาณาเขตตดิ ต่อกบั ประเทศตา่ ง ๆ ดงั ตอ่ ไปนี้ ทิศเหนอื ตดิ ต่อกับสาธารณรัฐแหง่ สหภาพเมียนมา และสาธารณรฐั ประชาธปิ ไตยประชาชนลาว ทศิ ตะวันออก ตดิ ตอ่ กับสาธารณรฐั ประชาธิปไตยประชาชนลาว และราชอาณากัมพชู า ทิศตะวันตก ติดต่อกับสาธารณรฐั แห่งสหภาพเมยี นมา ทิศใต้ ติดต่อกับประเทศมาเลเซยี โดยมพี ิกัดทางภมู ิศาสตร์โดยประมาณ ดงั น้ี ทิศตะวันออก ที่ อ.โขงเจียม จว.อุบลราชธานี ลองจจิ ูด ๑๐๕ องศา ๓๗ ลิปดาตะวนั ออก ทิศตะวนั ตก ที่ อ.แมส่ ะเรียง จว.แมฮ่ ่องสอน ลองจิจดู ๙๗ องศา ๒๑ ลปิ ดาตะวนั ออก ทิศเหนือ ท่ี อ.แม่สาย จว.เชียงราย ละตจิ ูด ๒๐ องศา ๒๖ ลิปดาเหนือ ทิศใต้ ท่ี อ.เบตง จว.ยะลา ละติจูด ๕ องศา ๓๗ ลปิ ดาเหนือ ๒. ขนาดและรูปรา่ ง ประเทศไทยมีพื้นที่ประมาณ ๕๑๑,๙๓๗ ตร.กม. มีความยาวจากเหนือจรดใต้ ประมาณ ๑,๘๓๓ กม. มี ความกว้างท่ีสุดจากตะวันออกไปตะวันตก (อ.โขงเจียม จว.อุบลราชธานี – อ.พิมาย จว.นครราชสีมา – จว. กาญจนบุรี) ประมาณ ๘๕๐ กม. ส่วนท่ีแคบท่ีสุดของแหลมมลายู อยู่ตรงคอคอดกระ จว.ระนอง ซึ่งกว้าง ประมาณ ๖๔ กม.รูปร่างของประเทศไทยมีลักษณะยาวเรียวลงไปทางใต้ มีลักษณะคล้ายขวานโบราณ หรือ กระบวยตักน้า อาจแบ่งเป็นส่วนกว้าง ๆ ได้ ๒ ส่วน คือ ส่วนบน ซ่ึงมีลักษณะคล้ายรูปสี่เหล่ียมแต่ก็ไม่สมบรู ณ์ นัก เพราะมีส่วนเว้าแหว่งมาก การป้องกันการรุกรานจากภัยนอกประเทศกระทาได้ทุกด้านโดยทันที แต่ส่วน เว้าแหวง่ น้ันกจ็ ะเป็นอุปสรรคของการป้องกนั อยู่บ้าง ส่วนลา่ ง เป็นรูปแคบและยาวมาก ซา้ ยังมีทะเลขนาบท้ัง สองข้าง เป็นลักษณะภูมิประเทศท่ียากแก่การป้องกัน เพราะฝ่ายตรงข้ามอาจใช้ทะเลเป็นฐานปฏิบัติการตัด ส่วนใดส่วนหน่ึงทางตอนล่างออกไปได้โดยง่าย หากจะเตรยี มการปอ้ งกันให้บรรลุผลจะต้องมกี าลงั ทางเรือและ กาลังทางอากาศอย่างพอเพียง จากรปู ร่างท่ีได้พจิ ารณามานน้ั จะทาให้เหน็ ว่า ประเทศไทยมจี ุดอ่อนอนั เกิดจาก รปู รา่ งของประเทศต่อการป้องกนั ดังน้ี ๒.๑ จากส่วนเวา้ ของแควน้ ลานช้างซึ่งตั้งอยู่บนฝั่งขวาของแมน่ า้ โขง ระหว่าง จว.เลย และ จว.อุตรดิตถ์ ณ จุดน้ีฝ่ายตรงข้ามอาจใช้กาลงั รุกเขา้ มาทาง จว.เลย, เพชรบรู ณ์ แลว้ ตดั ภาคตะวันออกเฉียงเหนอื ออกไป

๓–๓ ๒.๒ จากสว่ นเว้าระหวา่ ง อ.ตาพระยา และ อ.อรญั ประเทศ จว.สระแกว้ เปน็ ส่วนเวา้ ทอี่ ย่ชู ิดใจกลางประเทศ เป็นช่องทางขนาดใหญ่ และมีการคมนาคมสะดวกมาก (เส้นทางจากศรโี สภณเข้าอรัญประเทศ โดยใชเ้ ส้นทางหลวง หมายเลข ๓๓) อาจเป็นจุดอ่อนให้ฝ่ายตรงข้ามใช้กาลังรุกเข้ามาเพ่ือตัดภาคตะวันออกเฉียงเหนือออกจากภาค กลางกไ็ ด้ ๒.๓ ช่องทาง อ.แม่สอด จว.ตาก ก็เป็นอีกช่องทางหนึ่งท่ีฝ่ายตรงข้ามอาจใช้กาลังรุกเข้ามาเพ่ือตัด ภาคเหนือ โดยเฉพาะหากจะกระทาพรอ้ ม ๆ กับการรุกเข้ามาทางด้านลานช้าง จว.อุตรดิตถ์ แล้วจะย่ิงทาให้ ประสบผลสาเรจ็ ไดโ้ ดยง่าย ๒.๔ ทางด้านอา่ วไทย เปน็ ทางสะดวกที่สดุ สาหรับการเขา้ รุกรานตอ่ ศูนย์กลางของประเทศไทย ดว้ ยกาลงั ทางเรือและทางอากาศ ในสมัยอดีตที่ฝรั่งเศสได้เคยใช้กาลังทางเรือเข้าคุกคามและปิดล้อมมาแล้วเม่ือ รศ. ๑๑๒ การป้องกนั ทจ่ี ะให้บรรลผุ ลขนึ้ อยู่กบั สมรรถภาพของกองทัพเรอื และกาลังทางอากาศโดยตรง ๒.๕ ช่องสิงขร – ประจวบคีรีขันธ์ เป็นช่องทางสะดวกต่อการใช้กาลังเพื่อตัดภาคใต้ออกเป็นส่วน ๆ เพราะมีเส้นทางคมนาคมดี และมีความกว้างเพียง ๑๒ กม. เท่าน้ัน ญ่ีปุ่นได้เคยยกพลข้ึนบกท่ี จว. ประจวบครี ขี นั ธ์ และพงุ่ ไปยึดชอ่ งสิงขรไว้ดว้ ย การป้องกันท่ีจะใหบ้ รรลุผลข้ึนอยู่กับกาลังทางเรือและกาลังทาง อากาศ ๒.๖ วิคตอเรียปอยต์ – ระนอง – ชุมพร เป็นช่องทางสะดวกเช่นเดียวกับช่องสิงขร – ประจวบคีรีขันธ์ และเปน็ ตาบลสาคญั ท่เี ป็นส่วนทีแ่ คบทส่ี ดุ ของแหลม และมถี นนเชอ่ื มทง้ั สองฝง่ั ทะเลอยแู่ ลว้ ๒.๗ จงั หวดั ภเู ก็ต เป็นจุดอ่อนโดยที่ฝ่ายตรงข้ามจะใช้เป็นตาบลยกพลข้ึนบกได้โดยง่าย หากถกู ยึดครองได้ แล้ว ฝ่ายตรงข้ามจะใช้เป็นฐานทัพในการปฏิบัติการต่อผืนแผ่นดินใหญ่ต่อไป การป้องกันรักษาเกาะภูเก็ต กระทาไดย้ ากลาบาก เพราะขาดกาลงั ทางเรอื ทพ่ี อเพยี ง และยากตอ่ การส่งกาลังบารงุ การปอ้ งกันท่ีกระทาได้ดี ในปัจจบุ ันคงใชก้ าลังทางอากาศเป็นหลกั

๓–๔ กองทัพภาคท่ี ๑ กลา่ วทว่ั ไป กองทัพภาคท่ี ๑ รบั ผดิ ชอบพ้นื ท่ใี นเขต ๒๖ จังหวัดในภาคกลาง และภาคตะวันออก ไดแ้ ก่ จว.กาญจนบุรี, ราชบุรี, เพชรบุรี, ประจวบคีรีขันธ์, สมุทรสงคราม, สมุทรสาคร, สมุทรปราการ, กรุงเทพมหานคร, นครปฐม, สุพรรณบุรี, ชัยนาท, สิงห์บุรี, อ่างทอง, อยุธยา, ปทุมธานี, นนทบุรี, ฉะเชิงเทรา, นครนายก, สระบุรี, ลพบุรี, สระแกว้ , ปราจนี บุรี, ชลบรุ ,ี ระยอง, จันทบุรี และตราด ภมู ปิ ระเทศทว่ั ไป ลักษณะภูมิประเทศของภาคกลาง และภาคตะวันออกของประเทศไทย เป็นพ้ืนที่ราบกว้างใหญ่ มีพ้ืนที่ ประมาณ ๑๐๓,๕๘๔ ตราราง กม. หรอื ๑ ใน ๕ ของพื้นที่ท้งั ประเทศ มที ิวเขา ทปี่ กคลุมไปดว้ ยป่าไม้เป็นแนว ก้ันเขตแดนระหว่างประเทศไทย-เมยี นมาร์ และ ไทย-กมั พูชา นอกจากนนั้ ยงั มที ิวเขากน้ั เขตระหว่างภาคกลาง และภาคตะวันออกเฉยี งเหนืออกี ดว้ ย ทวิ เขาเหลา่ น้ันได้แก่ ทวิ เขาตะนาวศรี, ทวิ เขาถนนธงชยั , ทวิ เขาบรรทัด, ทวิ เขาสนั กาแพง, ทิวเขาดงรัก ลักษณะของพนื้ ที่ภาคกลางเปน็ ที่ราบลมุ่ มีทางนา้ ขนาดใหญไ่ หลผ่านจานวนมาก ทั้งนีเ้ น่อื งจากมีทิวเขาสูง ทางภาคเหนือ ซึ่งทอดยาวจากทิศเหนือมาทางทิศใต้ และเป็นพื้นที่ต่าท่ีจะไหลลงสู่ทะเล พ้ืนที่โดยเฉล่ียจะสูง จากระดบั ทะเลปานกลางไม่มากนกั ตอนทีส่ งู ทส่ี ุดอยู่ท่ี จว.ชยั นาท สูง ๑๘ ม., จว.พระนครศรอี ยุธยา สูง ๔ ม. และทีก่ รุงเทพฯ สูงเพยี ง ๑.๘ ม. เทา่ นน้ั ดังน้นั ในพ้นื ท่ภี าคกลางจงึ เปน็ ทลี่ มุ่ -หลม่ ในฤดูฝนจะใช้ยานพาหนะได้ เฉพาะบนถนนเทา่ น้ัน ความรู้ทั่วไป ๑. ในพื้นท่ีรับผิดชอบของ ทภ.๑ มีพื้นท่ีติดต่อกับ สมม. ๔ จังหวัด คือ จว.กาญจนบุรี, ราชบุรี, เพชรบรุ ี, ประจวบคีรขี ันธ์ ๒. ในพื้นท่ีทั้ง ๔ จังหวัด ดังกล่าว ใช้สันปันน้าของเทือกเขาตะนาวศรีเป็นเส้นกาหนดพรมแดน แต่ท่ี รอยต่อระหวา่ ง อ.อุ้มผาง จว.ตาก กบั อ.สงั ขละบรุ ี จว.กาญจนบรุ ี นัน้ ใช้แนวเสน้ ตรงจากหลกั เขตหนง่ึ ไปยังอีก หลกั เขตหนง่ึ โดยไมใ่ ชส้ ันปนั น้า และร่องนา้ ลกึ เป็นแนวพรมแดน (เป็นไปตามสนธสิ ญั ญาระหว่างกษัตริย์สยาม กับข้าหลวงใหญ่แห่งอินเดีย ซ่ึงลงนาม ณ กรุงเทพ เมื่อ ๘ กุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๔๑๑ และได้แลกเปลี่ยน สัตยาบัน ณ กรุงเทพฯ เมื่อ ๓ กรกฎาคม ๒๔๑๑) ๓. ตลอดแนวพรมแดน ไทย-เมยี นมา ในพน้ื ที่รับผดิ ชอบของ ทภ. ๑ มีช่องทางที่สาคัญ ไดแ้ ก่ ๓.๑ จดุ ผ่านแดนชัว่ คราวดา่ นเจดีย์สามองค์ อย่ใู นพืน้ ท่ี บ.พระเจดยี ส์ ามองค์ ต.หนองลู อ.สังขละบุรี จว.กาญจนบรุ ี มลี ักษณะช่องทางเปน็ ถนนลาดยางกว้างประมาณ ๗ ม. จากจุดผา่ นแดนช่ัวคราวด่านเจดีย์สาม องค์ ไปทางทิศตะวนั ตกเฉียงเหนือ ระยะทางประมาณ ๐.๑ กม. ถึง อ.พญาตองซู จว.กอกาเร็ก สหภาพเมียน มา ปัจจบุ ันเปดิ เป็นจุดผ่อนปรนทางการคา้ และทอ่ งเทีย่ ว เปิด - ปิด เวลา ๐๘๓๐ - ๑๘๐๐ ของทุกวัน ๓.๒ ช่องทางมิตรภาพ อยู่ในพื้นที่ บ.อีต่อง ต.ปิล็อก อ.ทองผาภูมิ จว.กาญจนบุรี ลักษณะพื้นผิว จราจรเป็นถนนลาดยาง กวา้ งประมาณ ๖ ม. จากช่องทางมติ รภาพ ไปทางทิศตนั ตก ระยะทางประมาณ ๘ กม. ถงึ บ้านมะยันต่อง อ.กาเลออ่ ง จว.ทวาย สหภาพเมยี นมา ปจั จุบันเปดิ ใหใ้ ช้ไปมาหาสู่ ซอ้ื เครื่องอปุ โภค - บริโภค ยารกั ษาโรคและคา้ ขาย เปิด - ปิด เวลา ๐๗๐๐ - ๑๘๐๐ ของทุกวนั ๓.๓ ช่องบ้องต้ี อยู่ในพ้ืนท่ี บ.บ้องต้ีบน ต.บ้องต้ี อ.ไทรโยค จว.กาญจนบุรี ลักษณะท่ัวไปบริเวณ ช่องทางเป้นถนนดินกว้างประมาณ ๔ ม. ต้ังอยู่ระหว่างท่ีราบระหว่างหุบเขาเป็นป่าไม้เบญจพรรณภูเขา สลับซับซ้อน เคยเป็นเส้นทางชักลากไมเ้ ก่า ยานพาหนะขับเคลื่อน ๔ ล้อ สามารถเข้าถึงได้ถึงบริเวณชอ่ งทาง

๓–๕ จาก อ.เมือง – อ.ไทรโยค – ช่องบ้องตี้ ๘๑ กม. จากช่องบอ้ งต้ี ไปทางทศิ ตะวันตกเฉยี งใต้ ระยะทางประมาณ ๑๐ กม. ถึงบ้านละออ้ อ.เมตตา จว.ทวาย สหภาพเมียนมา ๓.๔ ช่องห้วยโมง อยู่ในพื้นที่ บ้านท้ายเหมือง ต.บ้องต้ี อ.ไทรโยค จว.กาญจนบุรี ลักษณะทั่วไป บริเวณช่องทางเป็นถนนดินกว้างประมาณ ๔ ม. สภาพทั่วไปเป็นป่าโปร่งสลับทึบ ภูเขาสลับซับซ้อนเคยเป็น เส้นทางชกั ลากไม้เก่า ยานพาหนะขับเคล่ือน ๔ ลอ้ สามารถใช้ไดถ้ ึงบริเวณช่องทาง จาก อ.เมอื ง – อ.ไทรโยค – ช่องทางหว้ ยโมงระยะทาง ๘๓ กม. จากช่องหว้ ยโมง ไปทางทิศตะวันตกเฉยี งใต้ ระยะทางประมาณ ๑๕ กม. ถึงบ้านห้วยโมง อ.เมตตา จว.ทวาย สหภาพเมยี นมา ปัจจบุ นั เปิดให้ใชไ้ ปมาหาสู่ ซื้อเครือ่ งอปุ โภค - บรโิ ภค ยา รกั ษาโรคและค้าขาย เปิด - ปิด เวลา ๐๘๐๐ - ๑๘๐๐ ของทุกวัน ๓.๕ จุดผ่านแดนช่ัวคราวพุน้าร้อน อยู่ในพ้ืนท่ี บ้านพุน้าร้อน ต.บ้านเก่า อ.เมืองกาญจนบุรี จว. กาญจนบุรี ลักษณะช่องทางเป็นถนนดินลูกรัง กว้างประมาณ ๗ ม. สภาพท่ัวไปเปน็ ป่าโปร่ง จากจุดผ่านแดน ช่ัวคราวพุน้าร้อน ไปทางทิศตะวันตกเฉียงใต้ ระยะทางประมาณ ๑.๕ กม. ถึงบ้านแม่ธามี่ อ.เมตตา จว.ทวาย สหภาพเมียนมา ปัจจุบันเปิดเป็นจุดผ่านแดนชั่วคราวให้ใช้ไปมาหาสู่ ซ้ือเครื่องอุปโภค - บริโภค ยารักษาโรค ค้าขายและท่องเทยี่ ว เปิด - ปดิ เวลา ๐๘๐๐ - ๑๖๐๐ ของทกุ วัน ๓.๖ ช่องพุม่วง อยู่ในพื้นท่ี บ้านหินสี ต.จระเข้เผือก อ.ด่านมะขามเต้ีย จว.กาญจนบุรี ลักษณะ ช่องทางเปน็ ถนนดินกว้างประมาณ ๓ ม. ใชไ้ ด้ดี ในฤดแู ล้ง จากช่องพมุ ว่ งไปทางทศิ ตะวันตกเฉียงใต้ ระยะทาง ประมาณ ๕ กม. ถึงบ้านอาหยา อ.เมตตา จว.ทวาย สหภาพเมยี นมา ๓.๗ ช่องตะโกล่าง อยู่ในพื้นท่ี บ้านตะโกล่าง อ.สวนผึ้ง จว.ราชบุรี ลักษณะช่องทางเป็นเส้นทาง รถยนต์ กว้าง ๔ ม. อยู่ห่างจากถนนหมายเลข รบ.๔๐๑๙ ประมาณ ๑๕ กม. จากช่องตะโกล่าง ไปทางทิศ ตะวันตกเฉยี งเหนอื ระยะทางประมาณ ๘ กม. ถงึ บ้านทา่ มะพลว้ิ อ.คอตะขะ จว.ทวาย สหภาพเมยี นมา ๓.๘ ชอ่ งด่านสิงขร อยใู่ นพนื้ ที่ บ.ไร่เครา ต.คลองวาฬ อ.เมอื ง จว.ประจวบคีรีขันธ์ ลักษณะช่องทาง เป็นถนนลาดยางกว้างประมาณ ๖ ม. อยู่ห่างจากถนนเพชรเกษม ประมาณ ๑๒ กม. และห่างจากตัว จว. ประจวบคีรีขันธ์ ประมาณ ๑๕ กม. จากดา่ นสิงขรไปทางทิศตะวนั ตกเฉยี งเหนือ ระยะทางประมาณ ๒ กม. ถงึ หมู่บ้านมูด่อง ต.ตะนาวศรี อ.ตะนาวศรี จว.มะริด สมม. ปัจจุบันเปิดเป็นจุดผ่อนปรนพิเศษ เปิด - ปิด เวลา ๐๘๐๐ - ๑๘๐๐ ของทกุ วัน ๔. ตลอดแนวพรมแดน ไทย - เมียนมา ในพ้ืนที่รับผิดชอบของ ทภ.๑ มีเคร่ืองกีดขวางตามธรรมชาติ ไดแ้ ก่ ทิวเขาตะนาวศรี ทิวเขาถนนธงชยั ตรงรอยต่อ ระหวา่ ง จว.กาญจนบุรี และ จว.ตาก แม่น้าแควน้อย, แมน่ า้ แคว ใหญ่ ในตอนบนของ จว. กาญจนบุรี และแมน่ ้าแมก่ ลอง ในตอนลา่ งของภูมิภาคนี้ นอกจากนยี้ ังมีแม่นา้ เพชรบรุ ี ซ่ึงไหลจากทิศตะวันตกไปตะวันออก ส่วนเครื่องกีดขวางที่มนุษย์สร้างขึ้น ได้แก่ เขื่อนศรีนครินทร์, เข่ือน ท่าทุ่งนา, เขื่อนวชิราลงกรณ์ ใน จว.กาญจนบรุ ี ๕. ในพืน้ ที่รบั ผดิ ชอบของ ทภ.๑ มีลานา้ หรอื แม่น้าท่สี าคญั ๆ มีดงั น้ี ๕.๑ แม่น้าเจ้าพระยา เป็นแม่น้าสายใหญ่ที่สุดนับเป็นเส้นโลหิตของประเทศไทย ต้นน้า ของแม่น้า เจ้าพระยา คือ แม่น้าปิง, วัง, ยม, น่าน ซี่งไหลมาบรรจบกันที่ อ. ปากน้าโพ จว.นครสวรรค์ มีความยาว ประมาณ ๓๓๐ กม. ไปไหลลงอ่าวไทย ท่ี จว.สมุทรปราการ ๕.๒ แม่น้าป่าสัก มีต้นน้ามาจากเทือกเขาเพชรบูรณ์ ไหลผ่านตอนกลางของประเทศ ได้แก่ จว. เพชรบรู ณ์ ลพบรุ ี และอยธุ ยา ไหลมาบรรจบกบั แม่นา้ เจา้ พระยาท่ี จว.อยุธยา มคี วามยางประมาณ ๔๕๐ กม. ๕.๓ แม่น้าท่าจีน มีต้นน้าแยกมาจากแม่น้าเจ้าพระยา บริเวณ อ.วัดสิงห์ จว.ชัยนาท ไหลผ่าน จว. ชัยนาท, สุพรรณบรุ ี, นครปฐม ไหลลงสอู่ า่ วไทย ท่ี จว.สมทุ รสาคร ๕.๔ แม่นา้ แมก่ ลอง มตี ้นน้ามาจากทวิ เขาถนนธงชัย และทวิ เขาตะนาวศรี ทางทิวเขาถนนธงชัยทาให้ เกิดแม่น้าแควใหญ่ และทางทิวเขาตะนาวศรี ทาให้เกิดแม่น้าแควน้อย แม่น้าท้ังสองสายไหลมาบรรจบกันท่ี ต.

๓–๖ ปากแพรก อ.เมอื ง จว.กาญจนบุรี ทาให้เกิดเป็นแมน่ ้าแม่กลองไหลลงสู่อ่าวไทยท่ี จว.สมทุ รสงคราม มคี วามยาว ประมาณ ๑๒๗ กม. ๕.๕ แม่น้าเพชรบุรี และแม่น้าปราณบุรี มีต้นน้าจากทิวเขาตะนาวศรี เป็นลาน้าที่ไหลจากตะวันตก ไปทางตะวนั ออกมีความยาวประมาณ ๑๖๘ กม. และ ๑๒๗ กม. ไหลลงสู่ อา่ วไทยที่ อ.บา้ นแหลม จว.เพชรบุรี และ อ.ปราณบรุ ี จว.ประจวบคีรขี นั ธ์ ๕.๖ แมน่ ้าบางปะกง มตี ้นน้ามาจากทวิ เขาสนั กาแพง และทวิ เขาจนั ทบรุ ี มีความยาวประมาณ ๓๐๐ กม. ไหลลงสู่อา่ วไทย ท่ี จว.ฉะเชิงเทรา ๕.๗ ลกั ษณะของแมน่ า้ ทงั้ หมดทีก่ ล่าวมานั้น จะมีความกว้าง, ลกั ษณะของตลง่ิ และลกั ษณะของดิน ใต้ท้องน้า แตกต่างกันไป ถึงอย่างไรก็ตามลักษณะดังกล่าว อาจนามาใช้ประโยชน์ในทางทหารได้เป็นอย่างดี หากไดเ้ ลอื กพ้นื ท่ที ่เี หมาะสมกับการปฏบิ ตั ิการยุทธในคร้งั นน้ั ๆ ๖. ในพืน้ ท่ีรับผิดชอบของ ทภ. ๑ มพี ้นื ที่ติดต่อกบั ประเทศกัมพชู า ๓ จงั หวัด คือ จว.สระแก้ว, จันทบรุ ี, ตราด ๗. ในพนื้ ที่ จว.สระแก้ว บริเวณแนวเขตแดนไทย – กัมพชู า ใช้การกาหนดเสน้ พรมแดนดงั นี้ ๗.๑ ต้งั แตห่ ลักเขตที่ ๒๘ ถึงหลกั เขตที่ ๕๑ ใชแ้ นวเสน้ ตรงท่ีลากระหวา่ งหลกั เขตเปน็ แนวเขตแดน ๗.๒ ต้งั แตห่ ลกั เขตที่ ๕๑ จนถึงสนิ้ สดุ เขต จว.สระแก้ว ใช้แนวคลองน้าใสเปน็ แนวเขตแดน ๘. บริเวณเส้นพรมแดน ไทย-กัมพูชา มีหลักเขตแดนที่ทากันไว้ตามสนธิสัญญา ระหว่างไทย-กับฝร่ังเศส เมื่อ ๑๓ ก.พ. ๒๔๔๖ (ร.ศ. ๑๑๒) มีท้ังหมด ๔๖ หลัก จว.สระแก้ว หลักเขตท่ี ๒๘ - ๕๑, จันทบุรี หลักเขตท่ี ๕๒ - ๖๘, และตราด หลกั เขตที่ ๖๙ – ๗๓ ๙. ลาคลองทม่ี ีน้าตลอดปี และใชเ้ ปน็ เสน้ แบง่ เขตพรมแดนไทย-กมั พูชา มีดังนี้ ๙.๑ คลองลึก เป็นคลองท่ีมีน้าตลอดปี ความกว้างของลานา้ โดยเฉล่ีย ๑๐ - ๑๕ ม. ในฤดูแล้งลานา้ จะกว้างเพียง ๑ – ๕ ม. และลึกประมาณ ๓๐ - ๕๐ ซม. ตลิ่งสูงประมาณ ๕ ม. ดินร่วนปนทราย ยานพาหนะ ลุยข้ามไม่ได้ ๙.๒ คลองน้าใสเป็นคลองท่ีมีน้าตลอดปี ความกว้างของลาน้าโดยเฉล่ีย ๒๐ - ๒๕ ม. ฤดูฝนน้าลึก ประมาณ ๒ ม. ในฤดูแล้งน้าเกือบแห้ง ยานพาหนะสามารถลุยข้ามได้เป็นบางตอน ลาดตล่ิง ประมาณ ๓๕ - ๔๐ องศา ๑๐. ชอ่ งทางผ่านพรมแดน ในพ้นื ทจ่ี งั หวัดสระแกว้ มีช่องทางท่ีสาคัญ ๑๒ ชอ่ งทาง ดงั น้ี ๑๐.๑ ช่องดงรกั อยู่ในพื้นที่บ้านทัพทิมสยาม ๐๓ ต.ทัพไทย อ.ตาพระยา ลักษณะช่องทางเปน็ ถนน ลกู รงั กว้างประมาณ ๔ ม. ลกั ษณะภูมปิ ระเทศท่วั ไปเปน็ ท่รี าบ สภาพสองข้างทางเป็นป่าโปร่ง ยานพาหนะทุก ชนิดสามารถผ่านได้ทุกฤดูกาล จากช่องดงรัก ไปทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือ ประมาณ ๐.๕ กม. ถึงบ้าน ทะนวงและบ้านปราสาทตะแบง ต.บันเตียร์ชมา อ.ทะมอพวก จว.บันเตียเมียนเจย กัมพูชา ปัจจุบันใช้เป็น เส้นทางไปมาหาสู่ ซ้ือเครื่องอุปโภค - บริโภค ยารักษาโรคและค้าขาย เวลาเปิด ๐๖๐๐-๐๙๐๐ เวลาปิด ๑๕๐๐-๑๘๐๐ ๑๐.๒ ช่องบ้านทับทิมสยาม ๐๓ (ปราสาทตาแบง) อยู่ในพื้นท่ีบ้านทัพทิมสยาม ๐๓ ต.ทัพไทย อ.ตาพระยา ลักษณะช่องทางเป็นถนนลูกรัง กว้างประมาณ ๔ ม. มีรั้วเหล็กสูงประมาณ ๑ ม. ใช้เป็นประตู เปิด - ปดิ ลักษณะภูมปิ ระเทศทว่ั ไปเป็นที่ราบ สภาพสองข้างทางเปน็ ป่าโปรง่ ยานพาหนะทุกชนดิ สามารถผ่าน ได้ทุกฤดูกาล จากช่องบ้านทับทิมสยาม ๐๓ (ปราสาทตาแบง) ไปทางทิศตะวันออกเฉียงเหนอื ประมาณ ๓.๕ กม. ถึงบ้านปราสาทตะแบง ต.บันเตียร์ชมา อ.ทะมอพวก จว.บนั เตยี เมียนเจย กมั พชู า ปจั จบุ นั ใชเ้ ป็นเส้นทาง ไปมาหาสู่ ซอ้ื เครอ่ื งอุปโภค - บริโภค ยารักษาโรคและค้าขาย เวลาเปดิ ๐๖๐๐-๐๙๐๐ เวลาปิด ๑๕๐๐-๑๘๐๐ ๑๐.๓ ช่องบ้านคลองแผง อยู่ในพื้นที่บ้านคลองแผง ต.ทัพเสด็จ อ.ตาพระยา ลักษณะช่องทางเป็น ถนนลูกรงั กวา้ งประมาณ ๔ ม. ลักษณะภูมปิ ระเทศทั่วไปเป็นท่รี าบ สภาพสองขา้ งทางเปน็ ป่าโปร่ง ยานพาหนะ

๓–๗ ทกุ ชนิดสามารถผา่ นได้ทุกฤดกู าล จากชอ่ งบ้านคลองแผง ไปทางทศิ ตะวันออกเฉียงใต้ ประมาณ ๑ กม. ถงึ บา้ น บา้ นบึงตากวน ต.โคกละเมียด อ.ทะมอพวก จว.บนั เตยี เมียนเจย กมั พชู า ๑๐.๔ จุดผอ่ นปรนตาพระยา อยู่ในพน้ื ทีบ่ ้านคลองแผง ต.ทพั เสดจ็ อ.ตาพระยา ลกั ษณะชอ่ งทางเปน็ ถนนลาดยาง กวา้ งประมาณ ๗ ม. ลกั ษณะภมู ปิ ระเทศทว่ั ไปเป็นทรี่ าบ สภาพสองขา้ งทางเปน็ ป่าโปร่งสลบั พน้ื ที่ ทางการเกษตร ยานพาหนะทกุ ชนิดสามารถผ่านได้ทกุ ฤดกู าล จากจุดผ่อนปรนตาพระยา ไปทางทศิ ตะวันออก เฉียงใต้ ประมาณ ๐.๑ กม. ถึงบ้านบ้านบึงตากวน ต.โคกละเมียด อ.ทะมอพวก จว.บันเตียเมียนเจย กัมพูชา ปัจจุบันเปิดเป็นจุดผ่อนปรนทางการค้า ไปมาหาสู่ ซ้ือเครื่องอุปโภค - บริโภค ยารักษาโรค รับจ้างและค้าขาย เวลาเปิด - ปิด ๐๙๐๐-๑๗๐๐ ของทุกวนั ๑๐.๕ ช่องบ้านทัพเซียม อยู่ในพ้ืนท่ีบ้านทัพเซียม ต.ตาพระยา อ.ตาพระยา ลักษณะช่องทางเป็น ถนนดนิ กวา้ งประมาณ ๓ ม. ลักษณะภมู ิประเทศทว่ั ไปเปน็ ทร่ี าบ สภาพสองข้างทางเป็นปา่ โปร่ง ยานพาหนะ ทุกชนิดสามารถผ่านไดส้ ะดวกเฉพาะฤดูแลง้ จากชอ่ งบา้ นทพั เซยี ม ไปทางทิศตะวนั ออกเฉียงเหนือ ประมาณ ๑ กม. ถงึ บ้านบ้านจังกาโก้ ต.สวายเจก อ.สวายเจก จว.บนั เตยี เมียนเจย กัมพูชา ๑๐.๖ ช่องบ้านหนองหญา้ แกว้ อยู่ในพื้นท่ีบ้านหนองหญ้าแก้ว ต.โคกสูง อ.โคกสูง ลักษณะช่องทาง เปน็ ถนนดิน กว้างประมาณ ๗ ม. ลักษณะภูมิประเทศท่วั ไปเปน็ ท่รี าบ สภาพสองขา้ งทางเปน็ ป่าโปรง่ สลับพ้ืนท่ี ทางการเกษตร ยานพาหนะทุกชนดิ สามารถผ่านได้สะดวกทุกฤดูกาล จากช่องบ้านหนองหญ้าแก้ว ไปทางทิศ ตะวนั ออกเฉยี งเหนอื ประมาณ ๑ กม. ถงึ บ้านไปร์จนั ทร์ ต.ปรัม อ.อูร์ชเรา จว.บนั เตียเมยี นเจย กมั พชู า ๑๐.๗ ช่องบ้านโนนหมากมุ่น อยู่ในพ้ืนท่ีบ้านโนนหมากมุ่น ต.โนนหมากมุ่น อ.โคกสูง ลักษณะ ช่องทางเป็นถนนดิน กว้างประมาณ ๗ ม. มีร้ัวเหล็กสูงประมาณ ๑.๕ ม. ใช้เป็นประตูเปิด - ปิด ลักษณะภูมิ ประเทศท่ัวไปเปน็ ท่ีราบ สภาพสองข้างทางเป็นป่าโปร่งสลับพ้นื ที่ทางการเกษตร ยานพาหนะทุกชนิดสามารถ ผ่านได้สะดวกทุกฤดูกาล จากช่องบ้านโนนหมากมุ่น ไปทางทิศตะวันออกเฉียงใต้ ประมาณ ๐.๒ กม. ถึงบ้านโอ ปะเจือน ต.โอปะเจอื น อ.อูร์ชเรา จว.บันเตียเมียนเจย กัมพูชา ปจั จบุ ันใช้เป็นเส้นทางไปมาหาสู่ ซอ้ื เคร่ืองอุปโภค - บริโภค ยารกั ษาโรครับจ้างและค้าขาย เวลาเปดิ ๐๖๐๐-๐๙๐๐ เวลาปิด ๑๕๐๐-๑๘๐๐ ของทกุ วนั ๑๐.๘ จุดผ่านแดนถาวรบ้านคลองลึก อยู่ในพ้ืนท่ีบ้านคลองลึก ต.ท่าข้าม อ.อรัญประเทศ ลักษณะ ช่องทางเป็นถนนลาดยาง กว้างประมาณ ๑๐ ม. ลักษณะภูมิประเทศทั่วไปเป็นท่ีราบ สภาพสองข้างทางเป็นท่ี อยอู่ าศยั และย่านธุรกิจการค้า ยานพาหนะทุกชนดิ สามารถผ่านได้สะดวกทกุ ฤดูกาล จากจุดผา่ นแดนถาวรบ้าน คลองลึก ไปทางทศิ ตะวันออกเฉยี งใต้ ประมาณ ๐.๕ กม. ถึงชมุ ชนปอยเปต ต.ปอยเปต อ.ปอยเปต จว.บันเตีย เมียนเจย กัมพูชา ปัจจุบันเปิดเป็นจุดผ่านแดนถาวร ใช้ไปมาหาสู่ ซ้ือเครื่องอุปโภค - บริโภค ยารักษาโรค รบั จา้ ง คา้ ขายและท่องเท่ยี ว เวลาเปิด - ปดิ ๐๖๐๐-๒๒๐๐ ของทกุ วนั ๑๐.๙ จุดผ่านแดนช่ัวคราวเพื่อการก่อสร้างสะพานบ้านหนองเอ่ียน-สตึงบท อยู่ในพื้นท่ีบ้านหนอง เอี่ยน ต.ท่าขา้ ม อ.อรญั ประเทศ ลักษณะช่องทางเปน็ สะพานคอนกรตี ขา้ มคลองพรมโหด ความยาวสะพาน ๖๐ ม. ไม่มีตอม่อสะพานกลางแม่น้า มีความสูงสาหรับเป็นช่องลอด ๕ ม. ความกว้าง ๑๗ ม. แบ่งเป็น ๒ ช่อง การจราจร ไหล่ทางด้านซา้ ย ๒.๕ ม. และทางเดนิ เทา้ ฝัง่ ละ ๑.๒ ม. ลกั ษณะภูมปิ ระเทศท่วั ไปเป็นที่ราบ สภาพ สองข้างทางป่าโปรง่ สลับพนื้ ท่ีทางการเกษตร ยานพาหนะทุกชนดิ สามารถผ่านไดส้ ะดวกทุกฤดกู าล จากจดุ ผ่าน แดนช่ัวคราวเพ่ือการก่อสร้างสะพานบ้านหนองเอี่ยน-สตึงบท ระยะทางประมาณ ๐.๕ กม. ถึงบ้านสตึงบท ต. ปอยเปต อ.โอจรว จว.บันเตียเมียนเจย กัมพูชา ปัจจุบันอยู่ระหว่างการดาเนินการก่อสร้าง เพ่ือใช้เป็นจุดผ่าน แดนถาวรต่อไปในอนาคต เน่ืองจากจุดผ่านแดนบ้านคลองลึกตลาดโรงเกลือ มีการเจริญเติบโตอย่างรวดเร็ว ภายใต้แนวคิด “แยกคนแยกสินค้า” ออกจากกัน ซึ่งจะช่วยลดระยะเวลาในการเดินทาง และบรรเทาความ หนาแนน่ ของการจราจร บริเวณด่านผา่ นแดนคลองลกึ หรอื ตลาดโรงเกลอื

๓–๘ ๑๐.๑๐ จุดผ่อนปรนบ้านหนองปรือ อยู่ในพืน้ ท่ีบ้านหนองปรือ ต.ผ่านศึก อ.อรัญประเทศ ลักษณะ ช่องทางเป็นสะพานคอนกรีต ความยาวประมาณ ๒๕ ม. กว้างประมาณ ๘ ม. สูงประมาณ ๓ ม. ลาดตลิ่ง ประมาณ ๑๐-๑๕ องศา ขา้ มคลองนา้ ใสกว้างประมาณ ๑๕ ม. ลกั ษณะภูมิประเทศทัว่ ไปเปน็ ทรี่ าบ สภาพสอง ข้างทางเปน็ ท่อี ยอู่ าศัยและย่านธุรกิจการค้า ยานพาหนะทุกชนดิ สามารถผ่านได้สะดวกทุกฤดูกาล จากจดุ ผ่อน ปรนบ้านหนองปรือ ไปทางทิศตะวันตกเฉียงใต้ ประมาณ ๐.๕ กม. ถึงบ้านโดง อ.มาลัย จว.บันเตียเมียนเจย กัมพูชา ปัจจุบันเปิดเป็นจุดผ่อนปรน ใช้ไปมาหาสู่ ซื้อเครื่องอุปโภค - บริโภค ยารักษาโรครับจ้างและค้าขาย เวลาเปดิ - ปิด ๐๖๐๐ - ๑๘๐๐ ของทกุ วนั ๑๐.๑๑ จุดผ่อนปรนบ้านเขาดิน อยู่ในพื้นท่ีบ้านเขาดิน ต.คลองหาด อ.คลองหาด ลักษณะช่องทาง เป็นสะพานคอนกรตี ความยาวประมาณ ๒๐ ม. กว้างประมาณ ๕ ม. สูงประมาณ ๕ ม. ลาดตลิ่งประมาณ ๒๐- ๒๕ องศา ข้ามคลองน้าใสกวา้ งประมาณ ๑๕ ม. ลักษณะภูมิประเทศท่ัวไปเปน็ ที่ราบ สภาพสองข้างทางเปน็ ท่ี อยู่อาศัยและย่านธุรกิจการค้า ยานพาหนะทุกชนดิ สามารถผ่านได้สะดวกทุกฤดูกาล จากจุดผ่อนปรนบ้านเขา ดิน ไปทางทิศตะวันตกเฉียงใต้ ประมาณ ๐.๑ กม. ถึงบ้านกิโดก๊อบบอน ต.สันติเพียบ อ.สาเภอกูน จว.พระ ตะบอง กัมพูชา ปัจจุบันเปิดเป็นจุดผ่อนปรน ใช้ไปมาหาสู่ ซื้อเครื่องอุปโภค - บริโภค ยารักษาโรครบั จ้างและ ค้าขาย เวลาเปิด - ปดิ ๐๖๐๐ - ๑๘๐๐ ของทุกวัน ๑๐.๑๒ ทา่ ลุยขา้ มบ้านเขาตาง๊อก อยูใ่ นพื้นทบ่ี า้ นเขาตาง๊อก ต.คลองไก่เถือ่ น อ.คลองหาด ลักษณะ ช่องทางเป็นทางเดินเท้า กว้างประมาณ ๑ ม. ข้ามคลองน้าใส กว้างประมาณ ๓ ม. สูงประมาณ ๑ ม. ตลิ่ง ประมาณ ๑๐-๑๕ องศา ลักษณะภูมิประเทศท่ัวไปเป็นท่ีราบ สภาพสองข้างทางเปน็ ท่ีอยู่อาศัยและย่านธรุ กิจ การค้า ยานพาหนะขับเคลื่อน ๔ ล้อ สามารถลุยข้ามได้ในฤดูแล้ง จากท่าลุยข้ามบ้านเขาตาง๊อก ไปทางทิศ ตะวันออกเฉยี งใต้ ประมาณ ๑ กม. ถงึ บ้านพนมปรกึ ต.พนมปรกึ อ.พนมปรึก จว.พระตะบอง กมั พชู า ๑๑ ช่องทางผา่ นพรมแดนในพน้ื ที่ จว.จนั ทบรุ ี มชี อ่ งทางทสี่ าคญั ๕ ชอ่ งทาง คอื ๑๑.๑ จุดผ่อนปรนบ้านซับตารี อยู่ในพ้ืนท่ีบ้านซับตารี ต.คู่ขนาน อ.สอยดาว ลักษณะช่องทางเป็น สะพานคอนกรตี ความยาวประมาณ ๑๕ ม. กว้างประมาณ ๖ ม. สูงประมาณ ๕ ม. ลาดตลิง่ ประมาณ ๑๕-๒๐ องศา ข้ามคลองด่าน กว้างประมาณ ๑๕ ม. ลักษณะภูมิประเทศทั่วไปเป็นที่ราบ สภาพสองข้างทางเป็นท่ีอยู่ อาศัยและยา่ นธุรกิจการค้า ยานพาหนะทกุ ชนิดสามารถผ่านได้สะดวกทกุ ฤดูกาล จากจดุ ผอ่ นปรนบ้านซับตารี ไปทางทิศตะวันออก ประมาณ ๐.๑ กม. ถึงบ้านโอร์รมดวล อ.พนมปรึก จว.พระตะบอง กัมพูชา ปัจจุบันเปิด เป็นจุดผ่อนปรน ใช้ไปมาหาสู่ ซื้อเครื่องอุปโภค - บริโภค ยารักษาโรครับจ้างและค้าขาย เวลาเปิด - ปิด ๐๗๐๐-๑๘๐๐ ของทุกวนั ๑๑.๒ จุดผ่อนปรนบ้านสวนส้ม อยู่ในพื้นที่บ้านสวนส้มล่าง ต.สะตอน อ.สอยดาว ลักษณะช่องทาง เปน็ สะพานคอนกรตี ความยาวประมาณ ๑๕ ม. กวา้ งประมาณ ๔ ม. สูงประมาณ ๕ ม. ลาดตลง่ิ ประมาณ ๑๐- ๑๕ องศา ข้ามคลองด่าน กว้างประมาณ ๑๐ ม. ลักษณะภูมิประเทศท่ัวไปเป็นท่ีราบ สภาพสองข้างทางเปน็ ท่ี อย่อู าศัยและยา่ นธุรกิจการคา้ ยานพาหนะทกุ ชนิดสามารถผ่านได้สะดวกทุกฤดกู าล จากจดุ ผ่อนปรนบ้านสวน ส้ม ไปทางทิศตะวันออกเฉียงใต้ ประมาณ ๐.๑ กม. ถึงบ้านโอลันล๊ัวะ อ.พนมปรึก จว.พระตะบอง กัมพูชา ปจั จบุ นั เปดิ เป็นจดุ ผ่อนปรน ใชไ้ ปมาหาสู่ ซอื้ เคร่ืองอปุ โภค - บรโิ ภค ยารกั ษาโรครับจ้างและคา้ ขาย เวลาเปดิ - ปดิ ๐๗๐๐-๑๘๐๐ ของทกุ วัน ๑๒. ช่องทางผ่านพรมแดนในพืน้ ที่ จว.ตราด มชี อ่ งทางทสี่ าคัญ ๕ ชอ่ งทาง คอื ๑๒.๑ ช่องบา้ นชาราก อยูใ่ นพ้ืนทีบ่ ้านชาราก ต.ชาราก อ.เมอื งตราด ลักษณะชอ่ งทางเป็นถนนลกู รัง กว้างประมาณ ๔ ม. ลักษณะภูมิประเทศทั่วไปเป็นที่ราบ สภาพสองข้างทางเป็นป่าโปร่ง ยานพาหนะทุกชนิด สามารถผ่านได้สะดวกทุกฤดูกาล จากช่องบ้านชาราก ไปทางทิศตะวันออก ประมาณ ๐.๕ กม. ถึงบ้านเอก

๓–๙ เพียบ ต.ทมอดา อ.เวียลแวง จว.โพธิสัต กัมพูชา ปัจจุบันเปิดใช้เป็นไปมาหาสู่ ซ้ือเครื่องอุปโภค - บริโภค ยา รกั ษาโรครบั จ้างและค้าขาย เปิดวันเสาร์และอาทติ ย์ ระหว่างเวลา ๐๗๐๐-๑๘๐๐ ๑๒.๒ จุดผ่อนปรนบ้านท่าเส้น อยู่ในพ้ืนท่ีบ้านท่าเส้น ต.แหลมกลัด อ.เมืองตราด ลักษณะช่องทาง เป็นถนนลูกรัง กว้างประมาณ ๔ ม. ลักษณะภูมิประเทศทั่วไปเป็นที่ราบ สภาพสองข้างทางเป็นป่าโปร่ง ยานพาหนะทุกชนิดสามารถผ่านได้สะดวกทุกฤดูกาล จากจุดผ่อนปรนบ้านท่าเส้น ไปทางทิศตะวันออก ประมาณ ๒.๕ กม. ถงึ บ้านทมอดา ต.ทมอดา อ.เวียลเวง จว.โพธิสัต กมั พูชา ปัจจุบันเปดิ เปน็ จดุ ผอ่ นปรน ใช้ไป มาหาสู่ ซือ้ เครือ่ งอปุ โภค - บรโิ ภค ยารักษาโรครับจ้างและคา้ ขาย เวลาเปดิ - ปิด ๐๗๐๐-๑๘๐๐ ๑๒.๓ ช่องบ้านหม่ืนดาด (ศาลเจ้า) อยู่ในพ้ืนที่บ้านหม่ืนดาด ต.บ่อพลอย อ.บ่อไร่ ลักษณะช่องทาง เป็นถนนดิน กว้างประมาณ ๕ ม. ลักษณะภูมิประเทศทั่วไปเป็นภูเขาสูง สภาพสองข้างทางเป็นป่าโปร่ง ยานพาหนะขับเคล่ือน ๔ ล้อ สามารถผ่านได้ทุกฤดูกาล จากช่องบ้านหมื่นดาด (ศาลเจ้า) ไปทางทิศ ตะวันออกเฉียงเหนือ ประมาณ ๑.๕ กม. ถงึ บา้ นซะแรตาดม ต.สารดู อ.สารดู จว.พระตะบอง กัมพูชา ปจั จบุ ัน ไม่มีการผา่ นเขา้ -ออกของราษฎรท้งั ชาวไทยและกัมพชู า ๑๒.๔ จุดผ่อนปรนบ้านมะมว่ ง อยู่ในพืน้ ทบ่ี า้ นมะมว่ ง ต.นนทรีย์ อ.บ่อไร่ ลกั ษณะชอ่ งทางเปน็ ถนนดิน กว้างประมาณ ๔ ม. ลักษณะภมู ปิ ระเทศทัว่ ไปเปน็ ทภ่ี ูเขา สภาพสองข้างทางเป็นป่าโปร่ง ยานพาหนะทุกชนิด สามารถผา่ นได้สะดวกทุกฤดูกาล จากจดุ ผ่อนปรนบ้านทา่ เสน้ ไปทางทิศตะวันออกเฉียงเหนอื ประมาณ ๘ กม. ถึงบ้านฉกโรกา ต.สารูด อ.สารูด จว.พระตะบอง กัมพูชา ปัจจุบันเปิดเป็นจุดผ่อนปรน ใช้ไปมาหาสู่ ซื้อเครื่อง อุปโภค - บริโภค ยารักษาโรครับจ้างและค้าขาย เปิดสัปดาห์ละ ๕ วัน คือ พุธ, พฤหัสบดี, ศุกร์, เสาร์ และ อาทติ ย์ เวลา ๐๗๐๐-๑๘๐๐ ๑๒.๕ จุดผ่านแดนถาวรบ้านหาดเล็ก อยู่ในพื้นท่ีบ้านหาดเล็ก ต.หาดเล็ก อ.คลองใหญ่ ลักษณะ ชอ่ งทางเปน็ ถนนลาดยาง กว้างประมาณ ๘ ม. ลกั ษณะภมู ิประเทศท่ัวไปเป็นทรี่ าบ สภาพสองขา้ งทางเปน็ ท่ีอยู่ อาศัยและย่านธรกิจการค้า ยานพาหนะทุกชนิดสามารถผ่านได้สะดวกทุกฤดูกาล จากจุดผ่านแดนถาวรบ้าน หาดเล็ก ไปทางทิศตะวันออกเฉียงใต้ ประมาณ ๐.๑ กม. ถึงบ้านจามเยียยม ต.ปากคลอง อ.มณฑลสีมา จว. เกาะกง กัมพชู า ปจั จุบนั เปิดเปน็ จุดผ่านแดนถาวร ใช้ไปมาหาสู่ ซอ้ื เครอื่ งอุปโภค - บรโิ ภค ยารกั ษาโรครบั จ้าง ค้าขายและทอ่ งเที่ยว เวลาเปดิ - ปดิ ๐๖๐๐-๒๒๐๐ ของทุกวนั ๑๓. ปญั หาแนวชายแดนทสี่ าคญั ๑๓.๑ บริเวณด่านเจดีย์สามองค์ อ.สังขละบุรี จว.กาญจนบุรี ไทย-เมียนมา ยึดถือแนวเขตแดน ต่างกัน เน่ืองจากความไมช่ ัดเจนของอนสุ ัญญา และแผนท่ีแนบท้ายอนุสัญญา ทาให้แต่ละฝ่ายตีความแนวเขต แดนต่างกนั ๑๓.๒ บ้านหนองจาน อ.โคกสูง จว.สระแก้ว การตั้งถ่ินฐานล้าเข้ามาในเขตไทย ของประชาชนชาว กัมพูชา ๑๓.๓ หลักเขตแดนท่ี ๔๘ และ ๔๙ อ.อรัญประเทศ จว.สระแก้ว ไทย-กัมพูชา ยึดถือแนวเขตแดน ตามหลกั ฐานทางกฎหมายตา่ งกัน ๑๓.๔ เขาตาง๊อก อ.คลองหาด จว.สระแก้ว ไทย-กัมพูชา ตีความหลักฐานทางกฎหมาย ในการ กาหนดแนวเขตแดน แตกตา่ งกัน กองทัพภาคท่ี ๒ กล่าวท่ัวไป ภาคตะวันออกเฉียงเหนอื ของประเทศไทย ซึ่งมีพื้นท่ี ๑๗๐,๒๒๖ ตร.กม. หรือประมาณ ๑ ใน ๓ ของ ประเทศ อยู่ในความรับผดิ ชอบของ ทภ.๒ ประกอบด้วย ๒๐ จงั หวัด คอื จว.ชัยภูมิ, เลย, อุดรธานี, หนองคาย,

๓ – ๑๐ บึงกาฬ, สกลนคร, นครพนม, ขอนแกน่ , มหาสารคาม, ร้อยเอ็ด, ยโสธร, อุบลราชธานี, ศรสี ะเกษ, นครราชสมี า , กาฬสินธ์ุ, บุรรี ัมย์, สรุ ินทร์, มกุ ดาหาร, หนองบัวลาภู และอานาจเจริญ มีอาณาเขตตดิ ตอ่ ดงั นี้ ทิศเหนือ ติดตอ่ กบั สาธารณรัฐประชาธปิ ไตยประชาชนลาว ทศิ ตะวนั ออก ตดิ ต่อกับ สาธารณรัฐประชาธปิ ไตยประชาชนลาว ทิศใต้ ติดตอ่ กับ จว.นครนายก, ปราจนี บุรี, สระแก้ว และราชอาณาจกั รกมั พชู า ทิศตะวนั ตก ตดิ ต่อกับ จว.พษิ ณโุ ลก, เพชรบรู ณ์, ลพบุรี และสระบุรี ภมู ิประเทศท่ัวไป ลักษณะภูมิประเทศโดยท่ัวไปเป็นที่ราบสูง สูงเฉลี่ยจากระดับทะเลปานกลางประมาณ ๒๐๐ ม. ตอนกลางของภาคเปน็ ที่ราบ พ้นื ทีท่ างด้านตะวันตกของ จว.เลย, ชยั ภมู ิ เปน็ พ้ืนทสี่ งู มีภูเขาสลบั ซบั ซอ้ นเป็นทิว เร่ือยลงมาทางใต้ถึงดงพญาเย็น ด้านใต้ของ จว.นครราชสีมา แล้วต่อเป็นทิวไปทางตะวนั ออกจนบรรจบกับทิว เขาพนมดงรัก เชื่อมเขต จว.พระวิหารของกัมพูชา และแขวงจาปาสัก ของลาว ภูมิประเทศลูกคล่ืนมีอยู่บ้าง โดยทั่วไป แต่นบั ว่าเปน็ ส่วนน้อย ลักษณะภมู ิภาคนี้ทัง้ ภาคลาดเอียงลงสู่แม่นา้ โขง ลาน้าลาห้วยทุกสายไหลลงสู่ แมน่ า้ โขงท้งั สิ้น ความรู้ทว่ั ไป ๑๔. ทวิ เขาทีส่ าคัญในเขตของ ทภ.๒ ได้แก่ ทิวเขาสนั กาแพง, ทิวเขาพนมดงรกั , ทวิ เขาภพู าน ๑๕. ทวิ เขาทป่ี ระกอบเป็นรูปตวั แอลเลก็ ประกอบด้วยทิวเขาภูพานเพียงทวิ เดียวเปน็ ทิวกว้าง จาก อ.ธาตุ พนม จว.นครพนม โคง้ ไปเปน็ เส้นแบ่งเขตจงั หวัดระหวา่ ง จว.กาฬสินธ์ุ กบั จว.สกลนคร แลว้ วกขน้ึ เหนอื สู่ จว. อุดรธานี ไปจนถึง อ.สงั คม จว.หนองคาย เปน็ รูปตัวแอล ๑๖. ทิวเขาที่ประกอบเป็นรูปตัวแอลใหญ่ ประกอบดว้ ย ทิวเขาพนมดงรักตอ่ กบั ทิวเขาสันกาแพงทางตอน ใตข้ องพน้ื ท่ี ทภ.๒ ในแนว ตะวันออก-ตะวันตก ไปบรรจบกับทวิ เขาดงพญาเย็นและทิวเขาเพชรบรู ณ์ ตามแนว เหนอื -ใต้ เปน็ รูปตัวแอล ๑๗. จังหวดั ท่ีมีอาณาเขตตดิ ตอ่ กบั สปป.ลาว ในเขต ทภ.๒ ได้แก่ จว.เลย, หนองคาย, บึงกาฬ, นครพนม, มกุ ดาหาร, อานาจเจริญ, อุบลราชธานี ๑๘. ภมู ปิ ระเทศทีแ่ บ่งแนวพรมแดนไทย-ลาว ในเขต ทภ.๒ มี ๒ ลกั ษณะ ดงั น้ี ๑๘.๑ ส่วนที่เป็นลาน้า ได้แก่ ลาน้าเหืองงา จากเขตติดต่อ จว.พิษณุโลก ท่ี อ.ด่านซ้าย ผ่าน อ.ท่าลี่ ถึง อ.เชียงคาน จว.เลย ในห้วงน้ีลาน้าเหืองมีความยาวประมาณ ๑๑๐ กม. และแม่น้าโขงจากปากลาน้าเหืองถงึ ปากลานา้ มูล ในเขต อ.โขงเจยี ม จว.อบุ ลราชธานี ในช่วงน้ีแม่น้าโขงมคี วามยาว ๘๒๕ กม. ๑๘.๒ ส่วนที่ใช้แนวสันเขาของทิวเขาพนมดงรัก เป็นเส้นแบ่งเขตเร่ิมจากบริเวณแม่นา้ โขงท่ี บ.เวินบึก ต.โขงเจียม อ.โขงเจียม จว.อุบลราชธานี ถึงช่องบก ต.โดมประดิษฐ์ อ.น้ายืน จว.อุบลราชธานี รวมความยาว ๑๕๕ กม. ๑๙. สนธิสัญญาเกยี่ วกบั เสน้ เขตแดนตามลานา้ โขงท่ีไทยทาไว้กับฝร่งั เศส เมอื่ ๑๓ ก.พ. ๒๔๔๖ (รศ.๑๑๒) มีสาระสาคัญสรุปได้วา่ เส้นเขตแดนระหว่างไทย-ลาวตอนแม่นา้ โขง ถ้าตอนใดไม่มีเกาะแก่งหรือดอนในแม่น้า โขงให้ถือเอาร่องน้าลึกเป็นเส้นก้ันเขตแดน ถ้าตอนใดมีเกาะแก่ง หรือดอนในแม่น้าโขงที่ทาให้มีร่องน้าลึก มากกวา่ ๑ แห่งแล้ว ให้ถือเอาร่องน้าลึกท่ีอยู่ชิดฝัง่ ไทยมากท่ีสุดเป็นเส้นแบ่งเขต จากสนธิสญั ญาดังกลา่ วจึงทา ใหไ้ ทยเสียเปรียบ เนอื่ งจากเกาะแก่งเกอื บท้ังหมดจะตกเปน็ ของลาว (มีแค่ ๘ ดอนเทา่ นนั้ ที่ระบุในสญั ญาท่ีเป็น ของไทย) และในฤดูแล้งน้าจะแห้งเกาะแก่งต่าง ๆ ก็จะโผล่ข้ึนอย่างมากมายและร่องน้าลึกทางฝ่ังไทยไม่ สามารถเดนิ เรอื ได้ จึงทาใหเ้ กดิ เปน็ กรณีพิพาทอยเู่ สมอ

๓ – ๑๑ ๒๐. การปักปนั เขตแดนทใี่ ช้ทวิ เขาพนมดงรกั ตามสนั ธสิ ัญญาทีไ่ ทยทาไว้กบั ฝรง่ั เศสให้ถือ ตรงท่นี า้ ไหลตก เป็น ๒ ฝ่าย (สันปันน้า) คือ ซีกที่น้าไหลตกลงสู่แม่น้ามูล ให้ถือเป็นของไทย และซีกท่ีน้าตกไหลลงสู่เขตพระ ตะบองและแม่นา้ โขง ใหถ้ ือซีกนัน้ เป็นของอนิ โดจนี ๒๑. จังหวัดในเขตพน้ื ที่ ทภ.๒ ส่วนท่ีใช้ร่องน้าลึกของแม่นา้ โขงเป็นเส้นแบง่ เขตแดนผ่านพน้ื ท่ี ได้แก่ จว. เลยบางส่วน (ลาน้าเหืองงา), หนองคาย, บึงกาฬ, นครพนม, มุกดาหาร, อานาจเจริญ, อุบลราชธานีบางส่วน (อีกหน่งึ ส่วนเปน็ สันปันนา้ ของทวิ เขาพนมดงรัก) ๒๒. ทา่ ขา้ มและช่องทางผา่ นพรมแดนทีส่ าคัญ ในพนื้ ที่ จว.เลย มีชอ่ งทางท่ีสาคัญ ๑๑ ชอ่ งทาง คอื ๒๒.๑ จุดผ่อนปรนบ้านเหมืองแพร่ ในพื้นที่บ้านเหมืองแพร่ ต.นาแห้ว อ.นาแห้ว จว.เลย ลักษณะ ชอ่ งทางเปน็ ทีล่ ยุ ข้ามตล่งิ ธรรมชาติ ทางขน้ึ -ลง เปน็ บันไดคอนกรตี กว้างประมาณ ๕ ม. สงู ประมาณ ๕ ม. ขา้ ม ลาน้าเหือง กว้างประมาณ ๒๐ ม. ความลาดชันของตลิ่ง ๑๕-๒๐ องศา ลักษณะภูมิประเทศท่ัวไปเป็นท่ีราบ สภาพสองข้างทางเป็นที่อยู่อาศัยสลับพื้นที่ทางการเกษตร จากจุดผ่อนปรนบ้านเหมืองแพร่ ไปทางทิศเหนือ ประมาณ ๐.๑ กม. ถงึ บา้ นเหมืองแพรล่ าว เมืองบอ่ แตน แขวงไชยะบุลี สปป.ลาว ปจั จบุ นั เปดิ เปน็ จุดผ่อนปรน ใชไ้ ปมาหาสู่ ซอื้ เครอื่ งอุปโภค - บรโิ ภค ยารักษาโรครบั จา้ งและค้าขาย เวลาเปดิ - ปิด ๐๘๐๐-๑๘๐๐ ของทกุ วนั ๒๒.๒ จดุ ผอ่ นปรนบ้านนาขา่ อยู่ในพื้นที่บ้านนาขา่ ต.ปากหมัน อ.ด่านซ้าย จว.เลย ลักษณะช่องทาง เป็นทลี่ ยุ ข้ามตลิ่งหินท้งิ ทางขึ้น - ลง เป็นบนั ไดคอนกรีต กวา้ งประมาณ ๔ ม. สูงประมาณ ๑๐ ม. ขา้ มลานา้ เหือง กว้างประมาณ ๕๐ ม. ความลาดชนั ของตลง่ิ ๒๐-๒๕ องศา ลกั ษณะภมู ิประเทศทัว่ ไปเป็นท่ีราบ สภาพสองขา้ ง ทางเป็นที่อยู่อาศยั สลับพน้ื ทที่ างการเกษตร จากจุดผ่อนปรนบ้านนาข่า ไปทางทศิ ตะวันตกเหนอื ประมาณ ๐.๑ กม. ถึงบ้านนาข่าลาว เมืองบ่อแตน แขวงไชยะบุลี สปป.ลาว ปัจจุบันเปิดเป็นจุดผ่อนปรน ใช้ไปมาหาสู่ ซื้อ เครือ่ งอปุ โภค - บรโิ ภค ยารักษาโรครบั จ้างและคา้ ขาย เปิดวันอังคารและวันพฤหสั บดี เวลา ๐๘๐๐-๑๘๐๐ ๒๒.๓ ที่ลุยข้ามบ้านอาฮี อยู่ในพื้นที่บ้านอาฮี ต.อาฮี อ.ท่าลี่ จว.เลย ลักษณะช่องทางเป็นที่ลุยข้าม ตลิ่งธรรมชาติ สูงประมาณ ๕ ม. ข้ามลาน้าเหือง กว้างประมาณ ๕๐ ม. ความลาดชันของตลิ่ง ๑๐-๑๕ องศา ลักษณะภูมิประเทศท่ัวไปเป็นที่ราบ สภาพสองข้างทางเป็นพ้ืนท่ีทางการเกษตร ในฤดูแล้งลุยข้ามได้ในฤดูน้า หลากใช้เรือ จากท่ีลุยข้ามบ้านอาฮี ไปทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือ ประมาณ ๐.๒ กม. ถึงบ้านนาแก่งม้า เมือง แก่นทา้ ว แขวงไชยะบุลี สปป.ลาว ใช้เป็นเส้นทางไปมาหาสู่ ซ้ือเคร่อื งอปุ โภค - บริโภค ยารักษาโรค ๒๒.๔ จุดผอ่ นปรนบา้ นนากระเซง็ อย่ใู นพืน้ ที่บา้ นนากระเซ็ง ต.อาฮี อ.ทา่ ลี่ จว.เลย ลักษณะชอ่ งทาง เป็นท่ีลุยข้ามตลิ่งธรรมชาติ ทางขึ้น-ลง เป็นบันไดคอนกรีต กว้างประมาณ ๔ ม. สูงประมาณ ๕ ม.ข้ามลาน้า เหือง กว้างประมาณ ๕๐ ม. ความลาดชันของตล่ิง ๑๐-๑๕ องศา ลักษณะภูมิประเทศท่ัวไปเป็นท่ีราบ สภาพ สองขา้ งทางเป็นทอ่ี ย่อู าศยั ในฤดแู ล้งลยุ ข้ามได้ในฤดนู า้ หลากใชเ้ รือ จากจดุ ผ่อนปรนบ้านนากระเซ็ง ไปทางทิศ ตะวนั ตก ประมาณ ๐.๒ กม. ถึงบา้ นเมอื งหมอ เมอื งแกน่ ท้าว แขวงไชยะบลุ ี สปป.ลาว ปัจจุบันเปิดเป็นจดุ ผ่อน ปรน ใชไ้ ปมาหาสู่ ซื้อเครื่องอุปโภค - บริโภค ยารักษาโรครับจา้ งและค้าขาย เวลาเปดิ - ปิด ๐๖๐๐ - ๑๘๐๐ ๒๒.๕ จุดผ่านแดนถาวรสะพานมิตรภาพน้าเหืองไทย-ลาว อยู่ในพ้ืนท่ีบ้านนากระเซ็ง ต.อาฮี อ.ท่าลี่ จว.เลย ลักษณะชอ่ งทางเป็นสะพานคอนกรตี ด้านขา้ งเปน็ ตลิง่ หนิ ทิง้ สูงประมาณ ๑๕ ม. ขา้ มลานา้ เหือง กวา้ ง ประมาณ ๕๐ ม. ความลาดชันของตลิ่ง ๒๐-๒๕ องศา ลักษณะภมู ิประเทศทว่ั ไปเปน็ ที่ราบ สภาพสองข้างทาง เป็นท่ีอยู่อาศัย จากจุดผ่านแดนถาวรสะพานมิตรภาพน้าเหืองไทย-ลาว ไปทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือ ประมาณ ๓ กม. ถึงบา้ นเมืองหมอใต้ เมอื งแก่นทา้ ว แขวงไชยะบลุ ี สปป.ลาว ปจั จบุ ันเปดิ เปน็ จุดผา่ นแดนถาวร ใช้ไปมาหาสู่ ซื้อเครื่องอุปโภค - บริโภค ยารักษาโรครับจ้าง ค้าขายและท่องเที่ยว เวลาเปิด - ปิด ๐๘๐๐- ๑๘๐๐ ของทกุ วัน

๓ – ๑๒ ๒๒.๖ ที่ลุยข้ามบ้านปากห้วย อยู่ในพ้ืนท่ีบ้านปากห้วย ต.หนองผือ อ.ท่าล่ี จว.เลย ลักษณะช่องทาง เป็นที่ลุยข้ามตลิ่งธรรมชาติ สูงประมาณ ๕ ม. ข้ามลาน้าเหือง กว้างประมาณ ๖๐ ม. ความลาดชันของตล่ิง ๑๕-๒๐ องศา ลักษณะภูมิประเทศทั่วไปเป็นที่ราบ สภาพสองข้างทางเป็นที่อย่อู าศัยสลับพื้นท่ีทางการเกษตร ในฤดูแล้งลุยข้ามได้ในฤดูน้าหลากใช้เรือ จากที่ลุยข้ามบ้านปากห้วย ไปทางทิศตะวันตกเฉียงใต้ ประมาณ ๔ กม. ถึง เมืองแก่นท้าว แขวงไชยะบุลี สปป.ลาว ใช้เป็นเส้นทางไปมาหาสู่ ซ้ือเครื่องอุปโภค - บริโภค ยารักษา โรค ๒๒.๗ จุดผ่อนปรนบ้านหนองผือ อยู่ในพื้นท่ีบ้านหนองผือ ต.หนองผือ อ.ท่าลี่ จว.เลย ลักษณะ ช่องทางเป็นที่ลุยข้ามตลิ่งธรรมชาติ สูงประมาณ ๑๐ ม. ข้ามลาน้าเหือง กว้างประมาณ ๖๐ ม. ความลาดชัน ของตลง่ิ ๒๐-๒๕ องศา ลกั ษณะภูมปิ ระเทศทั่วไปเป็นทร่ี าบ สภาพสองขา้ งทางเป็นท่อี ยอู่ าศัย ในฤดแู ลง้ ลุยข้าม ได้ในฤดูน้าหลากใช้เรอื จากจุดผ่อนปรนหนองผือ ไปทางทิศตะวันตกเฉียงใต้ ประมาณ ๐.๒ กม. ถึงเมืองแกน่ ท้าว แขวงไชยะบุลี สปป.ลาว ปัจจุบันเปิดเป็นจุดผ่อนปรน ใช้ไปมาหาสู่ ซื้อเครื่องอุปโภค - บริโภค ยารักษา โรครับจ้างคา้ ขายแลท่องเที่ยว เวลาเปิด - ปิด ๐๘๐๐-๑๘๐๐ ของทุกวนั ๒๒.๘ ท่าข้ามบ้านนาจาน อยู่ในพื้นท่ีบ้านนาจาน ต.ปากตม อ.เชียงคาน จว.เลย ลักษณะช่องทาง เปน็ ทา่ ข้ามตลิ่งหินทิง้ ทางข้นึ -ลง เป็นบันไดคอนกรีต กว้างประมาณ ๖ ม. สูงประมาณ ๒๐ ม. ข้ามลานา้ เหือง กว้างประมาณ ๑๐๐ ม. ความลาดชันของตล่ิง ๒๕-๓๐ องศา ลักษณะภูมิประเทศทั่วไปเป็นที่ราบ สภาพสอง ข้างทางเป็นที่อยู่อาศัยสลับพื้นท่ีทางการเกษตร ใช้เรือเป็นพาหนะในการเดินทาง จากท่าข้ามบ้านนาจาน ไป ทางทิศเหนือ ประมาณ ๐.๓ กม. ถึงบ้านบุ้งคล้า เมืองแก่นท้าว แขวงไชยะบุลี สปป.ลาว ใช้เป็นเส้นทางไปมา หาสู่ ซอ้ื เครอื่ งอุปโภค - บรโิ ภค ยารักษาโรค อนุญาตใหใ้ ชเ้ รือ เวลา ๐๖๐๐ - ๑๘๐๐ ของทกุ วนั ๒๒.๙ จุดผ่านแดนถาวรเชียงคาน อยู่ในพื้นท่ีเทศบาลตาบลเชียงคาน ต.เชียงคาน อ.เชียงคาน จว. เลย ลักษณะช่องทางเป็นท่าจอดเรือของราษฎร ด้านข้างเป็นตลิ่งหินทิ้ง สูงประมาณ ๑๕ ม. ทางขึ้น-ลงเป็น บันไดคอนกรีต กว้างประมาณ ๖ ม. ข้ามแม่น้าโขง กว้างประมาณ ๘๐๐ ม. ความลาดชันของตล่ิง ๒๐-๒๕ องศา ลักษณะภูมิประเทศทั่วไปเป็นที่ราบ สภาพสองข้างทางเป็นท่ีอยู่อาศัยและย่านธุรกิจการค้า จากจุดผ่าน แดนถาวรเชียงคาน ไปทางทิศเหนือ ประมาณ ๑ กม. ถึงบ้านสานะคามใต้ เมืองสานะคาม แขวงเวียงจันทน์ สปป.ลาว ปัจจุบันเปิดเป็นจุดผ่านแดนถาวร ใช้ไปมาหาสู่ ซื้อเคร่ืองอุปโภค - บริโภค ยารักษาโรครับจ้าง ค้าขายและทอ่ งเทีย่ ว อนญุ าตใหใ้ ช้เรือเวลา ๐๖๐๐ - ๑๘๐๐ ของทุกวัน ๒๒.๑๐ จุดผ่านแดนถาวรบ้านคกไผ่ อยู่ในพื้นท่ีบ้านคกไผ่ ต.ปากชม อ.ปากชม จว.เลย ลักษณะ ช่องทางเป็นท่าจอดเรือของราษฎร ด้านข้างเป็นตลิ่งหินทิ้ง สูงประมาณ ๑๐ ม. ทางขึ้น-ลงเป็นบันไดคอนกรีต กว้างประมาณ ๔ ม. ข้ามแม่น้าโขง กว้างประมาณ ๕๐๐ ม. ความลาดชันของตล่ิง ๑๕-๒๕ องศา ลักษณะภูมิ ประเทศท่ัวไปเปน็ ทรี่ าบ สภาพสองข้างทางเปน็ ที่อยอู่ าศัย จากจดุ ผา่ นแดนถาวรบ้านคกไผ่ ไปทางทิศตะวันตก เฉียงเหนือ ประมาณ ๑.๑ กม. ถึงบ้านวัง เมืองหมื่น แขวงเวียงจันทน์ สปป.ลาว ปัจจุบันเปิดเป็นจุดผ่านแดน ถาวร ใช้ไปมาหาสู่ ซ้อื เครือ่ งอุปโภค - บริโภค ยารกั ษาโรครับจ้าง คา้ ขายและท่องเท่ียว อนญุ าตใหใ้ ชเ้ รอื เวลา ๐๖๐๐ - ๑๘๐๐ ของทุกวนั ๒๒.๑๑ ท่าข้ามบ้านคกเว้า อยู่ในพ้ืนท่ีบ้านคกเวา้ ต.หาดคัมภีร์ อ.ปากชม จว.เลย ลักษณะช่องทาง เปน็ ท่าจอดเรือของราษฎร เป็นตล่ิงธรรมชาติ สูงประมาณ ๕ ม. ขา้ มแมน่ า้ โขง กว้างประมาณ ๕๐๐ ม. ความ ลาดชันของตลิ่ง ๑๕-๒๐ องศา ลกั ษณะภมู ปิ ระเทศทว่ั ไปเปน็ ทร่ี าบ สภาพสองข้างทางเปน็ ทอี่ ยู่อาศยั สลับพ้ืนท่ี ทางการเกษตร ใช้เรือเป็นพาหนะในการเดินทาง จากท่าข้ามบ้านคกเว้า ไปทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือ ประมาณ ๓ กม. ถึงบา้ นห้วนหาง เมืองสังขท์ อง แขวงเวยี งจนั ทน์ สปป.ลาว ใช้เป็นเส้นทางไปมาหาสู่ ซอื้ เครื่อง อุปโภค - บรโิ ภค ยารักษาโรค อนุญาตใหใ้ ชเ้ รือ เวลา ๐๖๐๐ - ๑๘๐๐ ของทกุ วัน

๓ – ๑๓ ๒๓. เส้นเขตแดนตามแนวรอ่ งนา้ ลึกของแมน่ ้าโขงในเขต จว.หนองคาย เร่ิมต้นจากบริเวณปากห้วยเชยี ง คา ในเขต อ.สังคม ไปส้นิ สดุ ท่ีบรเิ วณปากหว้ ยคาด ซง่ึ ติดตอ่ กับ อ.ปากคาด จว.บงึ กาฬ แนวพรมแดนจะผ่านเขต อ.สังคม, ศรเี ชยี งใหม่, ทา่ บอ่ , อ.เมอื ง, โพนพิสัย, อ.รตั นวาปี ๒๔. ทา่ ขา้ มและช่องทางผา่ นพรมแดนทส่ี าคญั ในพ้ืนที่ จว.หนองคาย มีชอ่ งทางที่สาคัญ ๕ ชอ่ งทาง คือ ๒๔.๑ ทา่ ขา้ มบ้านมว่ ง อยใู่ นพ้ืนท่ีบา้ นมว่ ง ต.บา้ นม่วง อ.สังคม จว.หนองคาย ลกั ษณะชอ่ งทางเป็น ทา่ จอดเรอื ของราษฎร เปน็ ตลง่ิ ธรรมชาติ สงู ประมาณ ๕ ม. ขา้ มแมน่ า้ โขง กว้างประมาณ ๘๐๐ ม. ความลาด ชนั ของตล่งิ ๒๐-๒๕ องศา ลกั ษณะภมู ปิ ระเทศท่ัวไปเปน็ ทร่ี าบ สภาพสองข้างทางเปน็ ทอี่ ยู่อาศยั สลับพ้นื ที่ทาง การเกษตร ใชเ้ รือเปน็ พาหนะในการเดินทาง จากทา่ ขา้ มบ้านม่วง ไปทางทิศตะวนั ออกเฉยี งเหนอื ประมาณ ๒ กม. ถึงบ้านโคกแฮ เมืองสังข์ทอง แขวงเวียงจันทน์ สปป.ลาว ใช้เป็นเส้นทางไปมาหาสู่ ซื้อเครื่องอุปโภค - บรโิ ภค ยารักษาโรคและทอ่ งเทีย่ ว อนญุ าตให้ใช้เรือ เวลา ๐๖๐๐ - ๑๘๐๐ ทุกวันพุธ และวนั เสาร์ ๒๔.๒ จุดผ่อนปรนบ้านหม้อ อยู่ในพื้นท่ีบ้านหม้อเหนือ ต.บ้านหม้อ อ.ศรีเชียงใหม่ จว.หนองคาย ลักษณะชอ่ งทางเปน็ ทา่ จอดเรือของราษฎร เป็นตลิ่งหนิ ท้งิ สูงประมาณ ๒๐ ม. ทางขึน้ -ลง เปน็ บันไดคอนกรีต กว้างประมาณ ๖ ม. ข้ามแม่น้าโขง กว้างประมาณ ๕๐๐ ม. ความลาดชันของตล่ิง ๒๐-๒๕ องศา ลักษณะภมู ิ ประเทศทั่วไปเป็นท่ีราบ สภาพสองข้างทางเป็นท่ีอยู่อาศัยสลับพื้นท่ีทางการเกษตร ใช้เรือเป็นพาหนะในการ เดินทาง จากจุดผ่อนปรนบ้านหม้อ ไปทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือ ประมาณ ๑ กม. ถึงบ้านหนองเทวดา เมือง ศรโี คตรบอง นครหลวงเวียงจันทน์ สปป.ลาว ใช้เปน็ เสน้ ทางไปมาหาสู่ ซ้ือเคร่อื งอปุ โภค - บริโภค ยารกั ษาโรค และท่องเทีย่ ว อนญุ าตให้ใชเ้ รอื เวลา ๐๘๐๐ - ๑๕๐๐ ของทุกวัน ๒๔.๓ จุดผา่ นแดนถาวรสะพานมิตรภาพไทย-ลาว อยู่ในพื้นท่ีบา้ นมชี ยั ต.มชี ยั อ.เมอื งหนองคาย จว. หนองคาย ลักษณะช่องทางเป็นสะพานคอนกรีตพื้นผิวจราจรลาดยาง บริเวณกลางสะพานมีทางรถไฟ ความ ยาว ๑,๑๗๔ ม. ความกว้าง ๑๒.๗ ม. มคี วามสูงจากระดับท้องสะพานถึงพนื้ ท้องน้าต่าสุด ๒๖ ม. ขา้ มแม่น้าโขง กว้างประมาณ ๖๔๐ ม. ลักษณะภูมิประเทศทั่วไปเป็นท่ีราบ สภาพสองข้างทางเป็นท่ีอยู่อาศัยและยานธุรกิจ การค้า ยานพาหนะทุกชนิดสามารถผ่านได้ทุกฤดูกาล จากจุดผ่านแดนถาวรสะพานมิตรภาพไทย-ลาว ไปทาง ทิศตะวันตกเฉียงเหนือ ประมาณ ๒ กม. ถึงบ้านดงโพธิสี เมืองหาดทรายฟอง นครหลวงเวียงจันทน์ สปป.ลาว ใช้เป็นเส้นทางไปมาหาสู่ ซ้ือเคร่ืองอุปโภค - บริโภค ขนส่งสินค้าบริการและท่องเท่ียว อนุญาตให้ใช้เรือ เวลา ๐๖๐๐ - ๒๒๐๐ ของทุกวนั ๒๔.๔ จุดผ่อนปรนโพนพิสัย อยู่ในพื้นที่บ้านจุมพล ต.จุมพล อ.โพนพิสัย จว.หนองคาย ลักษณะ ช่องทางเป็นท่าจอดเรือของราษฎร เป็นตลิ่งหินทิ้ง สูงประมาณ ๓๐ ม. ทางข้ึน-ลง เป็นบันไดคอนกรีต กว้าง ประมาณ ๕ ม. ข้ามแม่น้าโขง กว้างประมาณ ๗๐๐ ม. ความลาดชันของตลิ่ง ๒๕-๓๐ องศา ลักษณะภูมิ ประเทศทั่วไปเป็นที่ราบ สภาพสองข้างทางเป็นที่อยู่อาศัยและย่านธุรกิจการค้า ใช้เรือเป็นพาหนะในการ เดนิ ทาง จากจดุ ผ่อนปรนโพนพิสัย ไปทางทิศตะวนั ตกเฉียงเหนอื ประมาณ ๑ กม. ถงึ บา้ นโดนใต้ เมืองปากงึม นครหลวงเวียงจันทน์ สปป.ลาว ใช้เปน็ เส้นทางไปมาหาสู่ ซอื้ เครื่องอุปโภค - บริโภค ยารกั ษาโรคและทอ่ งเท่ยี ว ๒๔.๕ จุดผ่อนปรนเปงจาน อยู่ในพ้ืนที่บ้านเปงจาน ต.โพนแพง อ.รัตนวาปี จว.หนองคาย ลักษณะ ช่องทางเปน็ ท่าจอดเรือของราษฎร เปน็ ตล่งิ หนิ ทิ้ง สงู ประมาณ ๒๐ ม. ทางขึ้น - ลง เปน็ บันไดคอนกรีต กว้าง ประมาณ ๔ ม. ข้ามแม่น้าโขง กว้างประมาณ ๖๐๐ ม. ความลาดชันของตล่ิง ๒๕-๓๐ องศา ลักษณะภูมิ ประเทศท่ัวไปเป็นท่ีราบ สภาพสองข้างทางเป็นที่อยู่อาศัยสลับพื้นที่ทางการเกษตร ใช้เรือเป็นพาหนะในการ เดนิ ทาง จากจดุ ผ่อนปรนเปงจาน ไปทางทิศตะวันออกเฉยี งเหนอื ประมาณ ๑.๕ กม. ถงึ บา้ นทวย เมืองทา่ พระ บาท แขวงบอลิคาไซ สปป.ลาว ใช้เป็นเสน้ ทางไปมาหาสู่ ซ้อื เครอื่ งอุปโภค - บรโิ ภค ยารักษาโรคและทอ่ งเท่ยี ว

๓ – ๑๔ ๒๕. เส้นเขตแดนตามแนวร่องนา้ ลึกของแมน่ ้าโขงในเขต จว.บึงกาฬ เร่ิมต้นจากบริเวณห้วยคาด ไหลมา บรรจบแมน่ ้าโขง ผ่าน อ.ปากคาด อ.เมอื ง อ.บงุ่ คล้า ไปส้ินสุดท่ีห้วยน้าขิง ในเขต อ.บงึ โขงหลง ซง่ึ ติดตอ่ กับ อ. บา้ นแพง จว.นครพนม ๒๖. ท่าขา้ มและชอ่ งทางผา่ นพรมแดนที่สาคัญ ในพื้นที่ จว.บึงกาฬ มชี ่องทางทสี่ าคญั ๕ ช่องทาง คอื ๒๖.๑ จุดผ่อนปรนห้วยคาด อยู่ในพ้ืนที่บ้านห้วยคาด ต.ปากคาด อ.ปากคาด จว.บึงกาฬ ลักษณะ ชอ่ งทางเปน็ ท่าจอดเรือของราษฎร เปน็ ตลงิ่ หนิ ทง้ิ สูงประมาณ ๒๐ ม. ทางขน้ึ - ลง เปน็ บันไดคอนกรตี กวา้ ง ประมาณ ๕ ม. ข้ามแม่น้าโขง กว้างประมาณ ๑,๐๐๐ ม. ความลาดชันของตลิ่ง ๒๕ - ๓๐ องศา ลักษณะภูมิ ประเทศทั่วไปเป็นท่ีราบ สภาพสองข้างทางเป็นท่ีอยู่อาศัยและย่านธุรกิจการค้า ใช้เรือเป็นพาหนะในการ เดินทาง จากจุดผ่อนปรนห้วยคาด ไปทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือ ประมาณ ๓ กม. ถึงบ้านหงส์ทอง เมืองท่า พระบาท แขวงบอลิคาไซ สปป.ลาว ใช้เป็นเส้นทางไปมาหาสู่ ซื้อเคร่ืองอุปโภค - บริโภค ยารักษาโรคและ ท่องเที่ยว ๒๖.๒ จุดผ่านแดนถาวรบึงกาฬ อยู่ในพ้ืนที่บ้านวิศิษฐ์ ต.วิศิษฐ์ อ.เมืองบึงกาฬ จว.บึงกาฬ ลักษณะ ช่องทางเป็นท่าจอดเรือของราษฎร เป็นตล่ิงหินท้ิง สูงประมาณ ๓๐ ม. ทางขึ้น - ลง เป็นบันไดคอนกรีต กว้าง ประมาณ ๕ ม. ข้ามแม่น้าโขง กว้างประมาณ ๘๐๐ ม. ความลาดชันของตล่ิง ๒๕ - ๓๐ องศา ลักษณะภูมิ ประเทศท่ัวไปเป็นท่ีราบ สภาพสองข้างทางเป็นที่อยู่อาศัยสลับพื้นที่ทางการเกษตร ใช้เรือเป็นพาหนะในการ เดินทาง จากจดุ ผา่ นแดนถาวรบึงกาฬ ไปทางทศิ ตะวนั ออกเฉียงเหนอื ประมาณ ๒.๕ กม. ถึงบ้านหว้ ยเสยี ด เมอื ง ปากซัน แขวงบอลิคาไซ สปป.ลาว ใช้เป็นเส้นทางไปมาหาสู่ ซื้อเครื่องอุปโภค - บริโภค ยารักษาโรคและ ท่องเทยี่ ว ๒๖.๓ ด่านพรมแดนศุลกากรบึงกาฬ อยู่ในพ้ืนที่บ้านพันลา ต.วิศิษฐ์ อ.เมืองบึงกาฬ จว.บึงกาฬ ลักษณะช่องทางเป็นท่าจอดเรือของราษฎร เป็นตล่ิงธรรมชาติ สูงประมาณ ๓๐ ม. ทางข้ึน - ลง เป็นบันได คอนกรีต กว้างประมาณ ๕ ม. ข้ามแม่น้าโขง กว้างประมาณ ๘๐๐ ม. ความลาดชันของตล่ิง ๒๕ - ๓๐ องศา ลักษณะภูมิประเทศทั่วไปเป็นท่ีราบ สภาพสองข้างทางเป็นที่อยู่อาศัยสลับพื้นท่ีทางการเกษตร ใช้เรือเป็น พาหนะในการเดินทาง จากดา่ นพรมแดนศลุ กากรบึงกาฬ ไปทางทศิ ตะวันตกเฉียงเหนือ ประมาณ ๑.๕ กม. ถงึ บา้ นหว้ ยเสียด เมอื งปากซนั แขวงบอลิคาไซ สปป.ลาว ใชเ้ ป็นเสน้ ทางไปมาหาสู่ ซอื้ เคร่อื งอปุ โภค - บรโิ ภค ยา รกั ษาโรคและท่องเทีย่ ว ๒๖.๔ จุดผ่อนปรนบ้านบุ่งคล้า อยู่ในพื้นท่ีบ้านบุ่งคล้า ต.บุ่งคล้า อ.บุ่งคล้า จว.บึงกาฬ ลักษณะ ช่องทางเป็นท่าจอดเรือของราษฎร เป็นตล่ิงหินท้ิง สูงประมาณ ๒๐ ม. ทางขึ้น-ลง เป็นบันไดคอนกรีต กว้าง ประมาณ ๕ ม. ข้ามแม่น้าโขง กว้างประมาณ ๘๐๐ ม. ความลาดชันของตล่ิง ๒๕-๓๐ องศา ลักษณะภูมิ ประเทศท่ัวไปเป็นที่ราบ สภาพสองข้างทางเป็นพ้ืนท่ีทางการเกษตร ใช้เรือเป็นพาหนะในการเดินทาง จากจุด ผ่อนปรนบุ่งคล้า ไปทางทิศเหนือ ประมาณ ๓ กม. ถึงบ้านปากกระดิ่งใต้ เมืองปากกระด่ิง แขวงบอลิคาไซ สปป.ลาว ใช้เป็นเส้นทางไปมาหาสู่ ซอื้ เคร่ืองอปุ โภค - บรโิ ภค ยารักษาโรคและท่องเที่ยว ๒๖.๕ ทา่ ข้ามบา้ นทา่ ไร่ อยู่ในพนื้ ที่บา้ นทา่ ไร่ ต.ทา่ ดอกคา อ.บึงโขงหลง จว.บงึ กาฬ ลกั ษณะชอ่ งทาง เปน็ ทา่ จอดเรือของราษฎร เปน็ ตลง่ิ หนิ ทงิ้ สงู ประมาณ ๓๐ ม. ทางขึ้น-ลง เปน็ บันไดคอนกรีต กวา้ งประมาณ ๕ ม. ข้ามแม่น้าโขง กว้างประมาณ ๑,๓๐๐ ม. ความลาดชันของตลิ่ง ๒๕-๓๐ องศา ลักษณะภูมิประเทศท่ัวไป เป็นท่ีราบ สภาพสองข้างทางเป็นพืน้ ท่ีทางการเกษตร ใช้เรือเป็นพาหนะในการเดินทาง จากท่าข้ามบ้านท่าไร่ ไปทางทศิ ตะวันออกเฉียงเหนือ ประมาณ ๒ กม. ถงึ บ้านขอนขว้าง เมืองปากกระด่ิง แขวงบอลิคาไซ สปป.ลาว ใช้เปน็ เสน้ ทางไปมาหาสู่ ซื้อเคร่ืองอุปโภค - บรโิ ภค ยารักษาโรค

๓ – ๑๕ ๒๗. เส้นเขตแดนตามแนวรอ่ งนา้ ลึกของแมน่ า้ โขงในเขต จว.นครพนม เริม่ ตน้ จากห้วยนา้ ขงิ ซง่ึ เป็นรอยต่อ ระหวา่ ง อ.บึงโขงหลง กบั อ.บา้ นแพง จว.นครพนม ไหลผ่าน อ.บ้านแพง อ.ทา่ อเุ ทน อ.เมืองนครพนม อ.ธาตุพนม ไปส้ินสุดท่ีปากห้วยกระเบา ๒๘. ทา่ ข้ามและชอ่ งทางผา่ นพรมแดนท่สี าคัญ ในพ้นื ที่ จว.นครพนม มชี ่องทางทสี่ าคญั ๕ ช่องทาง คือ ๒๘.๑ จุดผ่อนปรนบ้านดอนแพง อยู่ในพ้ืนท่ีบ้านดอนแพง ต.บ้านแพง อ.บ้านแพง จว.นครพนม ลักษณะช่องทางเป็นท่าจอดเรือของราษฎร เป็นตล่ิงธรรมชาติ สูงประมาณ ๑๐ ม. ข้ามแม่น้าโขง กว้าง ประมาณ ๘๐๐ ม. ความลาดชันของตลงิ่ ๓๐-๓๕ องศา ใช้เรือเป็นพาหนะในการเดินทาง จากจุดผอ่ นปรนบา้ น ดอนแพง ไปทางทศิ ตะวันออก ประมาณ ๒ กม. ถงึ บา้ นบุ่งกอง เมอื งปากกระด่ิง แขวงบอลคิ าไซ สปป.ลาว ใช้ เปน็ เส้นทางไปมาหาสู่ ซื้อเครอื่ งอปุ โภค - บริโภค ยารักษาโรค ๒๘.๒ จุดผ่อนปรนไทย-ลาว บ้านท่าอุเทน อยู่ในพื้นท่ีบ้านท่าอุเทน ต.ท่าอุเทน อ.ท่าอุเทน จว. นครพนม ลักษณะช่องทางเป็นท่าจอดเรือของราษฎร เป็นตลิ่งหินทิ้ง สูงประมาณ ๑๐ ม. ทางขึ้น - ลง เป็น บันไดคอนกรีต กว้างประมาณ ๑๐ ม. ข้ามแม่น้าโขง กว้างประมาณ ๘๐๐ ม. ความลาดชันของตล่ิง ๓๐-๓๕ องศา ใชเ้ รอื เป็นพาหนะในการเดินทาง จากจดุ ผอ่ นปรนไทย-ลาว บ้านทา่ อเุ ทน ไปทางทิศตะวันออกเฉยี งเหนือ ประมาณ ๐.๑ กม. ถึงบ้านหินบูน เมืองหินบูน แขวงคาม่วน สปป.ลาว ใช้เป็นเส้นทางไปมาหาสู่ ซ้ือเครื่อง อปุ โภค - บรโิ ภค ยารักษาโรค ๒๘.๓ ด่านพรมแดนนครพนม อยู่ในพ้ืนที่บ้านห้อม ต.อาจสามารถ อ.เมืองนครพนม จว.นครพนม ลักษณะช่องทางเป็นสะพานคอนกรตี อัดแรงรูปกล่อง ความยาว ๕.๒ กม. ยานพาหนะทุกชนิดสามารถผ่านไป ได้ทุกฤดูกาง จากด่านพรมแดนนครพนม ไปเช่ือมต่อกับทางหลวงหมายเลข ๑๓ เมืองท่าแขก แขวงคาม่วน สปป.ลาว ใชเ้ ป็นเสน้ ทางไปมาหาสู่ ซอ้ื เคร่ืองอุปโภค - บริโภค ยารักษาโรค ขนสง่ สนิ ค้า บรกิ าร และท่องเท่ียว เปิด - ปิด เวลา ๐๖๐๐-๒๒๐๐ ของทุกวัน ๒๘.๔ ดา่ นศลุ กากร ด่านตรวจคนเข้าเมืองนครพนม อยใู่ นพ้นื ท่ีเทศบาลเมืองนครพนม ต.ในเมอื ง อ. เมืองนครพนม จว.นครพนม ลักษณะช่องทางเป็นท่าจอดเรือของราษฎร เป็นตล่ิงหินทิ้ง สูงประมาณ ๒๐ ม. ทางข้ึน - ลง เป็นบันไดคอนกรีต ๒ ช่องทาง กว้างช่องทางละประมาณ ๒๐ ม. ข้ามแม่น้าโขง กว้างประมาณ ๘๐๐ ม. ความลาดชันของตลิ่งมากกว่า ๔๕ องศา ใช้เรือเป็นพาหนะในการเดินทาง จากด่านศุลกากร ด่าน ตรวจคนเขา้ เมอื งนครพนม ไปทางทศิ ตะวันออกเฉียงเหนือ เมืองทา่ แขก แขวงคามว่ น สปป.ลาว ใชเ้ ปน็ เส้นทาง ไปมาหาสู่ ซอื้ เคร่ืองอปุ โภค - บรโิ ภค ยารักษาโรคและท่องเทีย่ ว เปิด - ปิด เวลา ๐๖๐๐-๒๒๐๐ ของทุกวนั ๒๘.๕ จุดผ่อนปรนด่านศุลกากรธาตุพนม อยู่ในพ้ืนที่บ้านธาตุพนม ต.ธาตุพนม อ.ธาตุพนม จว. นครพนม ลักษณะช่องทางเป็นท่าจอดเรือของราษฎร เป็นตลิ่งหินทิ้ง สูงประมาณ ๑๐ ม. ทางขึ้น - ลง เป็น บันไดคอนกรีต กว้างประมาณ ๕ ม. ข้ามแม่น้าโขง กว้างประมาณ ๘๐๐ ม. ความลาดชันของตล่ิง ๓๕-๔๕ องศา ใชเ้ รอื เปน็ พาหนะในการเดนิ ทาง จากจดุ ผอ่ นปรนด่านศุลกากรธาตุพนม ไปทางทิศตะวนั ออก ประมาณ ๐.๑ กม. ถึงบ้านด่าน เมืองหนองบก แขวงคาม่วน ต่อเขตบ้านปากเซ เมืองไชยบุรี แขวงสะหวันนะเขต สปป. ลาว ใช้เป็นเส้นทางไปมาหาสู่ ซื้อเครื่องอุปโภค - บริโภค ยารักษาโรคและท่องเท่ียว เปิด - ปิด เวลา ๐๘๐๐- ๑๖๐๐ ของทกุ วัน ๒๙. สภาพแนวพรมแดนในเขตพ้ืนท่ี จว.มุกดาหาร จะใช้รอ่ งนา้ ลกึ ของแม่น้าโขงเปน็ เส้นแบง่ เขตแดนตาม สนธิสญั ญาว่าดว้ ยเขตแดนระหวา่ งไทย-ฝรั่งเศส โดยเรม่ิ ตั้งแต่ปากหว้ ยกระเบา จนถงึ บริเวณด้านใต้ดอนถ้าเงิน รวมความยาวประมาณ ๗๐ กม. ผ่าน อ.หว้านใหญ่ อ.เมืองมุกดาหาร และ อ.ดอนตาล ตามลาดับ ในฝ่ังลาว ไดแ้ ก่ สะหวันนะเขต ๓๐. สืบเนื่องจากสนธิสัญญาว่าด้วยเขตแดนระหว่างไทย - ฝร่ังเศสในการใช้ร่องน้าลึกของแม่น้าโขงเปน็ เส้นแบ่งเขต ได้ส่งผลกระทบ เมื่อข้อความในสนธิสัญญาได้ระบุไว้ว่า “ช่วงใดของแม่น้าโขงที่มีดอนหรือเกาะ

๓ – ๑๖ แยกให้ลาน้าโขงแตกออกเป็นหลายสายแล้วให้ถือเอาช่วงน้าลึกท่ีอยู่ใกล้ฝ่ังไทยมากที่สุดเป็นเส้นแบ่งเขต ” ดังนั้นเกาะหรือดอนใหญ่ๆ ที่อยู่ใกล้ฝั่งไทยมาก เช่น ดอนหนองหล่ม, ดอนหมากอี่ และดอนตาล ซึ่งเป็นดอน ขนาดใหญพ่ อสมควร ตกเป็นของคสู่ นธสิ ญั ญาจงึ มีผลกระทบตอ่ ความมนั่ คงของไทยในเขตพืน้ ท่ี จว.มกุ ดาหาร ๓๑. ทา่ ขา้ มและช่องทางผ่านพรมแดนทส่ี าคัญ ในพื้นท่ี จว.มุกดาหาร มีช่องทางทส่ี าคญั ๔ ชอ่ งทาง คอื ๓๑.๑ จุดผ่อนปรนบ้านสองคอน อยู่ในพื้นที่บ้านสองคอน ต.ป่งขาม อ.หว้านใหญ่ จว.มุกดาหาร ลักษณะชอ่ งทางเป็นท่าจอดเรือของราษฎร เป็นตลิง่ หนิ ทงิ้ สูงประมาณ ๑๕ ม.ทางขนึ้ - ลง เป็นบันไดคอนกรตี กว้างประมาณ ๕ ม. ข้ามแม่น้าโขง กว้างประมาณ ๑,๐๐๐ ม. ความลาดชันของตลิ่ง ๔๕ องศา ใช้เรือเป็น พาหนะในการเดินทาง จากจดุ ผอ่ นปรนบ้านสองคอน ข้ามแมน่ ้าโขง ถงึ บ้านสวา่ ง เมืองไกรสรพรมวหิ าร แขวง สะหวันนะเขต ใช้เป็นเส้นทางไปมาหาสู่ ซอื้ เคร่อื งอุปโภค - บรโิ ภค ยารักษาโรคและทอ่ งเทย่ี ว ๓๑.๒ ด่านพรมแดนมกุ ดาหาร อยูใ่ นพื้นท่ีบา้ นบางทรายใหญ่ ต.บางทรายใหญ่ อ.เมอื งมกุ ดาหาร จว. มกุ ดาหาร ลกั ษณะชอ่ งทางเป็นสะพานคอนกรีตเสรมิ เหลก็ อัดแรง ยาวประมาณ ๑,๒๐๐ ม. กว้างประมาณ ๑๒ ม. และไหล่ทางข้างละ ๑ ม. ยานพาหนะทุกชนิดสามารถผ่านได้ทุกฤดูกาล ไปยังแขวงสะหวันนะเขต ใช้เป็น เสน้ ทางไปมาหาสู่ ซ้อื เครื่องอุปโภค - บรโิ ภค ยารกั ษาโรค ขนส่งสนิ คา้ บรกิ ารและทอ่ งเทยี่ ว ๓๑.๓ ท่าเทียบเรือท่าข้ามเทศบาลมุกดาหาร อยู่ในพื้นที่บ้านศรีมงคล ต.ในเมือง อ.เมืองมุกดาหาร จว.มุกดาหาร ลักษณะช่องทางเป็นท่าเทียบเรือ ทางข้ึน - ลง เป้นบันไดคอนกรีต ๒ ช่องทาง กว้างช่องทางละ ประมาณ ๒๐ ม. สูงประมาณ ๒๐ ม. ข้ามแม่น้าโขง กว้างประมาณ ๑,๑๐๐ ม. ใช้เรือเป็นพาหนะในการ เดนิ ทาง ขา้ มแมน่ า้ โขงไปยงั แขวงสะหวันนะเขต ใชเ้ ป็นเส้นทางไปมาหาสู่ ซื้อเครือ่ งอปุ โภค - บริโภค ยารกั ษา โรค ขนสง่ สินคา้ บริการและท่องเท่ียว ๓๑.๔ จุดผ่อนปรนบ้านดอนตาล อยู่ในพ้ืนท่ีบ้านดอนตาล ต.ดอนตาล อ.ดอนตาล จว.มุกดาหาร ลกั ษณะชอ่ งทางเป็นท่าจอดเรือของราษฎร สูงประมาณ ๕ ม. ทางขน้ึ - ลง เปน็ บนั ไดคอนกรีต กวา้ งประมาณ ๕ ม. ขา้ มแม่น้าโขง กวา้ งประมาณ ๑,๐๐๐ ม. ใชเ้ รือเปน็ พาหนะในการเดนิ ทาง จากจดุ ผอ่ นปรนบา้ นดอนตาล ขา้ มแมน่ ้าโขง ถงึ บา้ นท่าดา่ น เมืองไชยภูทอง แขวงสะหวนั นะเขต ใชเ้ ป็นเสน้ ทางไปมาหาสู่ ซื้อเคร่ืองอปุ โภค - บริโภค ยารักษาโรคและทอ่ งเที่ยว ๓๒. สภาพเส้นเขตแดนในพื้นท่ี จว.อานาจเจริญ และ จว.อุบลราชธานี มี ๒ ลกั ษณะ คอื ๓๒.๑ ตอนแม่น้าโขง เร่ิมจากทางด้านตะวันออกท่ีบริเวณพิกัด บริเวณด้านใต้ดอนถา้ เงิน ตาบลชานุ มาน อ.ชานุมาน จว.อานาจเจริญ ผา่ นทอ้ งท่ี อ.เขมราฐ อ.นาตาล อ.โพธไิ์ ทร อ.ศรีเมอื งใหม่ สน้ิ สดุ ท่บี รเิ วณบ้าน เวินบกึ ต.โขงเจยี ม อ.โขงเจยี ม จว.อุบลราชานี รวมความยาวประมาณ ๓๑๐ กม. ๓๒.๒ ตอนทิวเขาพนมดงรัก ใช้แนวสันปนั น้า เปน็ เสน้ แบ่งเขต โดยเริ่มจาก ในเขตบา้ นเวินบกึ ต.โขง เจยี ม อ.โขงเจียม จว.อบุ ลราชานี ถงึ บริเวณช่องบก ในเขตบา้ นโนนสูง ต.โดมประดิษฐ์ อ.นา้ ยืน จว.อุบลราชธานี รวมความยาว ๑๕๕ กม. ๓๓. ท่าข้ามและช่องทางท่ีสาคัญ ในพื้นท่ี จว.อานาจเจริญ และ จว.อุบลราชธานี มีช่องทางท่ีสาคัญ ๑๒ ชอ่ งทาง คอื ๓๓.๑ จุดผ่อนปรนบ้านยักษ์คุ อยู่ในพ้ืนท่ีบ้านยักษ์คุ ต.ชานุมาน อ.ชานุมาน จว.อานาจเจริญ ลักษณะชอ่ งทางเป็นท่าจอดเรอื ของราษฎร เป็นตล่งิ หนิ ทิ้ง สงู ประมาณ ๒๐ ม. ทางขน้ึ - ลง เปน็ บันไดคอนกรีต กว้างประมาณ ๕ ม. ข้ามแม่น้าโขง กว้างประมาณ ๒ กม. มีความลาดชันประมาณ ๒๕-๓๐ องศา ใช้เรือเป็น พาหนะในการเดินทาง จากจุดผ่อนปรนบ้านยักษ์คุ ไปทางทิศตะวันออกเฉียงใต้ ระยะทางประมาณ ๒.๕ กม. ถึงบ้านเฮือนหิน เมืองไชยภูทอง แขวงสะหวันนะเขต สปป.ลาว ใช้เป็นเส้นทางไปมาหาสู่ ซ้ือเคร่ืองอุปโภค - บรโิ ภค ยารกั ษาโรคและท่องเที่ยว

๓ – ๑๗ ๓๓.๒ จุดผ่อนปรนทางการค้าเขมราฐ อยู่ในพ้ืนที่เทศบาลตาบลเขมราฐ ต.เขมราฐ อ.เขมราฐ จว. อบุ ลราชธานี ลกั ษณะชอ่ งทางเป็นท่าจอดเรือของราษฎร เปน็ ตล่งิ หินท้งิ สงู ประมาณ ๒๐ ม. ทางข้ึน - ลง เป็น บันไดคอนกรีต กว้างประมาณ ๕ ม. ข้ามแม่น้าโขง กว้างประมาณ ๑ กม. มีความลาดชันประมาณ ๒๕ - ๓๐ องศา ใช้เรือเป็นพาหนะในการเดินทาง จากจุดผ่อนปรนทางการค้าเขมราฐ ไปทางทิศตะวันตกเฉียงใต้ ระยะทางประมาณ ๒.๕ กม. ถงึ บ้านนาปากชมุ เมืองสองคอน แขวงสะหวันนะเขต สปป.ลาว ใช้เปน็ เสน้ ทางไป มาหาสู่ ซือ้ เครอื่ งอปุ โภค - บรโิ ภค ยารกั ษาโรคและท่องเทยี่ ว ๓๓.๓ จดุ ผ่านแดนถาวรบา้ นปากแซง อยใู่ นพ้นื ทบี่ ้านปากแซง ต.พะลาน อ.นาตาล จว.อุบลราชธานี ลกั ษณะชอ่ งทางเปน็ ทา่ จอดเรอื ของราษฎร เปน็ ตล่ิงหนิ ทิง้ สงู ประมาณ ๑๕ ม. ทางข้ึน - ลง เปน็ บนั ไดคอนกรตี กว้างประมาณ ๕ ม. ขา้ มแม่น้าโขง กวา้ งประมาณ ๘๐๐ ม. มีความลาดชันประมาณ ๒๐-๒๕ องศา ใช้เรอื เป็น พาหนะในการเดินทาง จากจุดผ่านแดนถาวรบ้านปากแซง ไปทางทิศตะวันออกเฉยี งเหนือ ระยะทางประมาณ ๑ กม. ถึงบ้านพะพาน เมืองละครเพ็ง แขวงสาละวัน สปป.ลาว ใช้เป็นเส้นทางไปมาหาสู่ ซื้อเคร่ืองอุปโภค - บรโิ ภค ยารักษาโรคและทอ่ งเท่ยี ว เปิด - ปิดเวลา ๐๘๐๐ - ๑๘๐๐ ของทกุ วัน ๓๓.๔ จุดผ่อนปรนทางการค้าบ้านสองคอน อยู่ในพื้นท่ีบ้านสองคอน ต.สองคอน อ.โพธิ์ไทร จว. อุบลราชธานี ลกั ษณะช่องทางเปน็ ท่าจอดเรือของราษฎร เปน็ ตล่งิ ธรรมชาติ สงู ประมาณ ๑๐ ม. ขา้ มแม่น้าโขง กว้างประมาณ ๕๐๐ ม. มคี วามลาดชันประมาณ ๑๕-๒๐ องศา ใชเ้ รือเป็นพาหนะในการเดินทาง จากจดุ ผ่อน ปรนทางการค้าบ้านสองคอน ไปทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือ ระยะทางประมาณ ๑ กม. ถึงบ้านห้วยดอน มะเกลือ เมอื งละครเพ็ง แขวงสาละวนั สปป.ลาว ใชเ้ ปน็ เสน้ ทางไปมาหาสู่ ซือ้ เครอ่ื งอุปโภค - บริโภค ยารักษา โรคและท่องเที่ยว ๓๓.๕ จุดผ่อนปรนทางการค้าบ้านด่านเก่า อยู่ในพื้นท่ีเทศบาลตาบลบ้านด่าน ต.บ้านด่าน อ.โขง เจยี ม จว.อบุ ลราชธานี ลกั ษณะชอ่ งทางเป็นทา่ จอดเรอื ของราษฎร เป็นตลิ่งหินท้งิ สงู ประมาณ ๑๕ ม. ทางขึ้น - ลงเป็นบันไดคอนกรีต กว้างประมาณ ๔ ม. ข้ามแม่น้าโขง กว้างประมาณ ๕๐๐ ม. มีความลาดชันประมาณ ๑๕-๒๐ องศา ใช้เรือเป็นพาหนะในการเดินทาง จากจุดผ่อนปรนทางการค้าบ้านด่านเก่า ไปทางทิศ ตะวันออกเฉียงเหนือ ระยะทางประมาณ ๑.๗ กม. ถึงบ้านใหม่สิงห์สัมพันธ์ เมืองชนะสมบูรณ์ แขวงจาปาสัก สปป.ลาว ใช้เป็นเส้นทางไปมาหาสู่ ซ้ือเคร่ืองอุปโภค - บริโภค ยารักษาโรคและท่องเที่ยว เปิด - ปิดเวลา ๐๘๓๐-๑๖๓๐ ทกุ วันอังคาร พฤหัสบดีและวนั เสาร์ ๓๓.๖ ท่าข้ามบ้านเวินบึก อยู่ในพื้นที่บ้านเวินบึก ต.โขงเจียม อ.โขงเจียม จว.อุบลราชธานี ลักษณะ ชอ่ งทางเป็นท่าจอดเรอื ของราษฎร เปน็ ธรรมชาติ สงู ประมาณ ๑๐ ม. ข้ามแม่น้าโขง กว้างประมาณ ๕๐๐ ม. มี ความลาดชันประมาณ ๑๕-๒๐ องศา ใช้เรือเป็นพาหนะในการเดินทาง จากท่าข้ามบ้านเวินบึก ไปทางทิศ ตะวันตกเฉยี งเหนอื ระยะทางประมาณ ๕ กม. ถึงบ้านใหม่สงิ ห์สัมพนั ธ์ เมอื งชนะสมบรู ณ์ แขวงจาปาสัก สปป. ลาว ใช้เป็นเส้นทางไปมาหาสู่ ซ้ือเครอื่ งอุปโภค - บรโิ ภค ยารักษาโรคและทอ่ งเที่ยว ๓๓.๗ ช่องภูด่าง อยู่ในพ้ืนท่ีบ้านเวินบึก ต.โขงเจียม อ.โขงเจียม จว.อุบลราชธานี ลักษณะช่องทาง เป็นทางเดินเท้า กวา้ งประมาณ ๑ ม. ลกั ษณะภูมปิ ระเทศท่ัวไปเป็นภเู ขา ลักษณะพชื พนั ธเุ์ ป็นป่าโปรง่ จากช่อง ภูดา่ ง ไปทางทิศตะวันออกเฉียงใต้ ระยะทางประมาณ ๓.๕ กม. ถงึ บา้ นกดุ นา้ ขนุ่ เมอื งโพนทอง แขวงจาปาสัก สปป.ลาว ๓๓.๘ จุดผ่านแดนถาวรช่องเม็ก อยู่ในพ้ืนท่ีบ้านช่องเม็ก ต.ช่องเม็ก อ.สิรินธร จว.อุบลราชธานี ลกั ษณะชอ่ งทางเปน็ ถนนลาดยาง กวา้ งประมาณ ๔ ม. ลกั ษณะภมู ิประเทศทัว่ ไปเป็นท่รี าบเชิงเขา ลกั ษณะพืช พันธุ์เป็นป่าโปร่ง ยานพาหนะทุกชนิดสามารถผ่านได้ทุกฤดูกาล จากจุดผ่านแดนถาวรช่องเม็ก ไปทางทิศ ตะวันออกเฉยี งใต้ ระยะทางประมาณ ๐.๓ กม. ถงึ บา้ นวงั เตา่ เมืองโพนทอง แขวงจาปาสกั สปป.ลาว ปัจจบุ ัน

๓ – ๑๘ เปิดเป็นจุดผ่านแดนถาวรใช้ไปมาหาสู่ ซ้ือเครื่องอุปโภค - บริโภค ยารักษาโรคและท่องเที่ยว เปิด - ปิดเวลา ๐๖๐๐-๒๐๐๐ ของทุกวนั ๓๓.๙ ช่องพลาญกระต่าย อยู่ในพ้ืนท่ีบ้านป่าแขม ต.คอแลน อ.บุณฑริก จว.อุบลราชธานี ลักษณะ ช่องทางเป็นทางเดินเท้า กว้างประมาณ ๑ ม. ลักษณะภูมิประเทศทั่วไปเป็นที่ภูเขา ลักษณะพืชพันธ์ุเป็นป่า โปร่ง จากช่องพลาญกระต่าย ไปทางทิศตะวันออกเฉียงใต้ ระยะทางประมาณ ๓๕ กม. ถึงเมืองสุขุมา แขวง จาปาสกั สปป.ลาว ๓๓.๑๐ ช่องนาง อยู่ในพื้นที่บ้านป่าเต้ีย ต.โพนงาม อ.บุณฑริก จว.อุบลราชธานี ลักษณะช่องทาง เป็นทางเดินเท้า กว้างประมาณ ๑ ม. ลักษณะภูมิประเทศท่ัวไปเป็นที่ภูเขา ลักษณะพืชพันธุ์เป็นป่าโปร่ง จาก ชอ่ งนาง ไปทางทศิ ตะวันออกเฉยี งใต้ ระยะทางประมาณ ๓๐ กม. ถงึ เมอื งสขุ มุ า แขวงจาปาสัก สปป.ลาว ๓๓.๑๑ จุดผ่อนปรนทางการค้าช่องตาอู อยู่ในพื้นท่ีบ้านเจริญพัฒนา ต.โพนงาม อ.บุณฑริก จว. อุบลราชธานี ลักษณะช่องทางเป็นถนนดิน กว้างประมาณ ๒ ม. มีรั้วและประตูเหล็กสาหรับเปิดปิด กว้าง ประมาณ ๒ ม. สูงประมาณ ๒ ม. ลักษณะภูมิประเทศทั่วไปเป็นราบระหว่างหุบเขา ลักษณะพืชพันธุ์เป็นป่า โปร่ง ยานพาหนะขับเคล่ือน ๔ ล้อ สามารถผ่านได้ในฤดูแล้ง จากจุดผ่อนปรนทางการค้าช่องตาอู ไปทางทิศ ตะวันออก ระยะทางประมาณ ๒๕ กม. ถึงเมืองสุขุมา แขวงจาปาสัก สปป.ลาว ปัจจุบันเปิดเป็นจุดผ่อนปรน ทางการค้า ใช้ไปมาหาสู่ ซอื้ เครื่องอปุ โภค - บรโิ ภค ยารักษาโรค ๓๓.๑๒ ช่องบก อยู่ในพื้นท่ีบ้านโนนสูง ต.โดมประดิษฐ์ อ.น้ายืน จว.อุบลราชธานี ลักษณะช่องทาง เปน็ ถนนดนิ กวา้ งประมาณ ๒ ม. ลักษณะภมู ปิ ระเทศทัว่ ไปเป็นภเู ขา ลกั ษณะพชื พนั ธ์เุ ป็นป่าโปร่ง ยานพาหนะ ขับเคลือ่ น ๔ ล้อ สามารถผ่านได้ในฤดูแลง้ ชอ่ งบกเป็นช่องทางทอี่ ยู่ระหว่างรอยต่อ ๓ ประเทศ คือ ไทย-ลาว- และ กัมพูชา หรือที่คนทั่วไปรู้จักกันในช่ือสามเหลี่ยมมรกต จากช่องบก ไปทางทิศตะวันตกเฉยี งใต้ ระยะทาง ประมาณ ๔๐ กม. ถึง อ.จอมกระสาน จว.พระวิหาร ประเทศกัมพชู า ๓๔. จงั หวัดท่ีมอี าณาเขตติดต่อกับประเทศกัมพูชาในเขต ทภ.๒ ไดแ้ ก่ จว.อบุ ลราชธานี (อ.น้ายนื ), ศรสี ะ เกษ, สุรนิ ทร์, บรุ รี ัมย์ ๓๕. แนวชายแดนระหว่างไทย-กัมพูชา ในเขตของกองทัพภาคที่ ๒ ใช้แนวสันเขาของทิวเขาพนมดงรัก เป็นเส้นแบ่งเขตแดน สภาพของแนวพรมแดนใน จว.อุบลราชธานี เริ่มต้นจากช่องบกหรือบริเวณสามเหลี่ยม มรกต อยู่ในเขต อ.น้ายืน และ อ.น้าขุ่น มีช่องทางท่ีสาคัญ ได้แก่ จุดผ่อนปรนทางการค้าช่องอานม้า อยู่ใน พน้ื ท่ีบา้ นนา้ ยืน ต.โซง อ.นา้ ยืน ลกั ษณะชอ่ งทางเปน็ ถนนลกู รงั กว้างประมาณ ๖ ม. ลกั ษณะภูมปิ ระเทศท่ัวไป เป็นภูเขา ลกั ษณะพืชพนั ธุเ์ ปน็ ป่าโปร่ง ยานพาหนะทกุ ชนดิ สามารถผา่ นได้ในทุกฤดู จากจดุ ผอ่ นปรนทางการค้า ช่องอานมา้ ไปทางทิศตะวนั ตกเฉยี งใต้ ระยะทางประมาณ ๒๐ กม. ถงึ อ.จอมกระสาน จว.พระวหิ าร ประเทศ กัมพูชา ปัจจุบันเปิดเป็นจุดผ่อนปรนทางการค้า ใช้ไปมาหาสู่ ซ้ือเคร่ืองอุปโภค - บริโภค ยารักษาโรคและ ทอ่ งเท่ียว ๓๖. สภาพของแนวพรมแดนใน จว.ศรีสะเกษ เร่มิ ตั้งแต่บริเวณ อ.บัวเชด จว.สรุ นิ ทร์ ผ่าน อ.ภูสงิ ห์ อ.ขุนหาญ อ.กันทรลักษ์ ไปส้ินสุดที่บริเวณช่องโพย รวมความยาวประมาณ ๙๐ กม. ใช้สันปันน้าเป็นเส้นแบ่งเขต คือ บริเวณทน่ี ้าไหล ลงสู่ลานา้ มลู ให้ถือซีกน้นั เป็นของไทยซีกไหลลงสู่เขตพระตะบองและแม่น้าโขงให้ถอื ซีกนั้นเป็น ของอินโดจนี ๓๗. ชอ่ งทางตามแนวชายแดนไทย-กมั พชู า ในพนื้ ท่ี จว.ศรีสะเกษ เปน็ ชอ่ งทางลกู รงั และลาดยาง เกิดจาก ราษฎรใชต้ ิดตอ่ ไปมาหาสูก่ นั และกนั และเกิดจากการล่าสัตว์ ช่องทางทค่ี วรเพง่ เลง็ ได้แก่ ๓๗.๑ จดุ ผา่ นแดนถาวรชอ่ งสะงา อยูใ่ นพนื้ ทีบ่ ้านแซรไ์ ปร์ใต้ ต.ไพรพัฒนา อ.ภูสงิ ห์ ลกั ษณะช่องทาง เปน็ ถนนลาดยาง กวา้ งประมาณ ๗ ม. ลักษณะภูมิประเทศท่ัวไปเปน็ ท่ีราบระหว่างหบุ เขา ลักษณะพืชพนั ธเุ์ ป็น ป่าโปรง่ ยานพาหนะทุกชนดิ สามารถผ่านไดใ้ นทกุ ฤดู จากจุดผ่อนผ่านแดนถาวรช่องสะงา ไปทางทิศตะวันออก


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook