รายงานผลการดาเนนิ งาน โครงการสขุ ภาพดี ผูส้ ูงวยั ปลอดภัยจากโรครา้ ย โควิด-19 วนั ที่ 24 กรกฎาคม 2563 กศน.ตาบลห่อหมก ศนู ยก์ ารศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัยอาเภอบางไทร จังหวัดพระนครศรีอยธุ ยา
บันทึกขอ้ ความ สว่ นราชการ ศูนยก์ ารศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัยอาเภอบางไทร ที่ ศธ 0210.4805/ วนั ท่ี เดือน กรกฎาคม 2563 เร่อื ง รายงานผลการดาเนนิ งานโครงการสุขภาพดี ผูส้ งู วยั ปลอดภัยจากโรคร้าย โควดิ -19 .......................................................................................................................................................... .......................... เรยี น ผู้อานวยการศนู ยก์ ารศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัยอาเภอบางไทร ตามทผี่ ู้อานวยการศนู ย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั อาเภอบางไทร ไดอ้ นุมตั ิ โครงการสุขภาพดี ผูส้ งู วัย ปลอดภัยจากโรครา้ ย โควิด-19 กศน.ตาบลห่อหมก ไดด้ าเนินการจดั โครงการสุขภาพดี ผู้สูงวยั ปลอดภยั จากโรคร้าย โควิด-19 ในวนั ที่ 24 กรกฎาคม 2563 ณ ศาลาเอนกประสงค์ หมู่ที่ 2 ตาบลหอ่ หมก อาเภอบางไทร จังหวัด พระนครศรอี ยธุ ยา มผี เู้ ข้ารว่ มโครงการ จานวน 21 คน เอกสารดังแนบมาพร้อมน้ี จึงเรียนมาเพื่อโปรดทราบ (นางอญั ชลี มหรรณพ) ครู อาสาสมัครฯ ทราบ อ่นื ๆ (นางสาววรศิ รา คานงึ ธรรม) ผูอ้ านวยการ กศน.อาเภอบางซา้ ย รักษาการในตาแหนง่ ผู้อานวยการ กศน.อาเภอบางไทร
คานา เอกสาร รายงานผลการดาเนินงานการจดั กจิ กรรมทักษะชีวิต โครงการสุขภาพดี ผู้สงู วยั ปลอดภัยจากโรครา้ ย โควิด-19 จัดทาขึน้ เพื่อรายงานผลการดาเนนิ งานดา้ นการจดั การศึกษาต่อเนื่อง ของ กศน. ตาบล ภายใตก้ ารดูแลของศนู ยก์ ารศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัยอาเภอบางไทร โดยมีวัตถปุ ระสงค์ เพอ่ื ตรวจสอบข้ันตอนการดาเนินกิจกรรม ประเมินผลและพฒั นาการดาเนนิ กจิ กรรมของ กศน.ตาบลหอ่ หมก ผู้จัดทาหวังเป็นอย่างยิ่งว่า เอกสารรายงานผลการดาเนินงานการจัดกิจกรรมการจัดกิจกรรมใน ครัง้ นี้ จะเป็นแนวทางในการพัฒนางานและการจัดกจิ กรรมในครง้ั ต่อไป คณะผจู้ ดั ทา นางอัญชลี มหรรณพ
สารบญั คานา หนา้ สารบญั บทที่ 1 บทนา 1 1 เหตผุ ลและความจาเป็น 2 วัตถปุ ระสงค์ 2 ประโยชน์ที่คาดวา่ จะไดร้ ับ 3 บทท่ี 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง 3 ความสาคญั ของการจัดโครงการสขุ ภาพดี ผสู้ งู วัย ปลอดภยั จากโรคร้าย โควิด-19 4 ในชมุ ชน 5 ที่มาและความสาคัญของกิจกรรม 10 บทท่ี 3 วิธีการดาเนนิ งาน 15 บทท่ี 4 ผลการดาเนินงาน 15 บทท่ี 5 สรปุ อภิปรายผล และขอ้ เสนอแนะ 15 วตั ถปุ ระสงค์การดาเนนิ งาน 15 วธิ ดี าเนินการ 16 อภปิ รายผล ขอ้ เสนอแนะ และแนวทางในการพัฒนากจิ กรรม ภาคผนวก ภาพโครงการสง่ เสรมิ ดูแลสุขภาวะและสุขอนามยั ของประชาชนในชมุ ชน แบบประเมินความพึงพอใจ รายชอ่ื ผเู้ ขา้ ร่วมกิจกรรม
บทท่ี 1 บทนา เหตุผลและความจาเป็น ปจั จบุ นั สงั คมของคนไทยเร่ิมเปลี่ยนไปจากอดีต ดังจะเห็นได้จากบริบทการทางาน เศรษฐกิจ และวิถีชีวิต ทเ่ี ปลยี่ นไป มีการแขง่ ขนั ทั้งทางดา้ นข่าวสารสารสนเทศและเทคโนโลยี ทาให้วิถชี ีวิตของคนในสังคมต้องเร่งรีบและ แขง่ ขันตามกลไกเศรษฐกจิ แต่ในความเจริญน้ันก่อให้เกิดปัญหาต่างๆเกิดข้ึนด้วย ไม่ว่าจะเป็นปัญหาอาชญากรรม สุขภาพทั้งร่างกายจิตใจ ปัญหาหมอเถื่อน แต่ระบบเศรษฐกิจน้ันยังคงดาเนินไปเร่ือยๆ โดยท่ีทรัพยากรท่ีสาคัญ ท่ีสุดคือทรัพยากรมนุษย์น้ันไม่ย่ังยืนและพัฒนาข้ึน เพราะร่างกายมนุษย์เส่ือมลงตามกาลเวลา ประกอบกับ มลภาวะทางสงิ่ แวดล้อมทีเ่ พิ่มขนึ้ แต่เวลาในการดแู ลสุขภาพของตนเองกลับน้อยลง เกิดปัญหาด้านสุขภาพเพิ่มขึ้น ทาให้ประชาชนหันไปพ่ึงพาสินค้าท่ีจะทาให้สุขภาพดีจากสื่อต่างๆ เช่นยาลดความอ้วน น้าสมุนไพรต่างๆ ซึ่งไม่ จาเป็นและมีราคาแพง ดังน้ันการสร้างเสริมสุขภาพด้วยวิธีง่ายๆและได้ผลจึงเป็นส่ิงที่เหมาะสมกับช่วงเวลาท่ี เศรษฐกจิ ไมด่ ีนกั รัฐบาลจึงเล็งเห็นความสาคัญเรื่องของสุขภาวะและสุขอนามัยของประชาชนที่ลดน้อยลงทั้งทางร่างกาย และจิตใจจงึ ได้มีนโยบายเรง่ ดว่ นใหม้ ีการสง่ เสริมเร่อื งการดูแลสขุ ภาวะและสุขอนามัยของประชาชนในชุมชน โดย เนน้ ในเรอื่ งของการดแู ลสุขภาวะและสขุ อนามยั ของแม่และเด็ก การดูแลผู้สูงอายุให้ปลอดภัยจาก โควิด-19 และ การดแู ลปอ้ งกันโรคไมต่ ดิ ต่อ ดังนน้ั ในฐานะ ครู กศน.อาเภอบางไทร ผูร้ ับผดิ ชอบจึงได้ตระหนักและเห็นถึงความสาคัญของสุขภาวะ และสขุ อนามยั ของประชาชน ตามยทุ ธศาสตรท์ ่ี 3 การพฒั นาศักยภาพคนทุกช่วงวัย และการสร้างสังคมแห่งการ เรยี นรู้ ประเด็นท่ี 1 สง่ เสริม สนบั สนนุ ให้คนทุกช่วงวัยมีทักษะ ความรู้ ความสามารถ และการพัฒนาคุณภาพ ชวี ติ อยา่ งเหมาะสม เตม็ ตามศกั ยภาพในแต่ละช่วงวัย จึงได้จดั ทาโครงการน้ีข้ึน เพื่อให้ประชาชนในพ้ืนที่มีความรู้ ความเข้าใจเรื่องของสุขภาวะอนามัย และนาไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจาวันได้อย่างมีประสิทธิภาพและเกิด ประสทิ ธิผลสูงสุดทั้งต่อตนเอง และผ้อู น่ื วัตถุประสงค์ 1. เพื่อส่งเสรมิ ให้ผู้เข้ารับการอบรมมีความรู้ ความเขา้ ใจเกี่ยวกับเรือ่ งของสขุ ภาวะอนามัย 2. เพอ่ื ให้ผ้เู ข้ารบั การอบรมมสี ุขภาวะอนามัยและคุณภาพชีวิตท่ดี ีข้ึน 3. เพ่ือใหผ้ ้เู ข้ารบั การอบรมนาความรู้มาประยกุ ต์ใชใ้ นชวี ิตประจาวนั ได้ ประโยชนท์ ี่คาดว่าจะได้รับ ผเู้ ข้าร่วมโครงการ รอ้ ยละ 80 นาความรู้ในด้านการสง่ เสรมิ ดูแลสขุ ภาวะและสุขอนามัยของประชาชนใน ชมุ ชนไปปฏบิ ัติใช้ในการดาเนินชีวิต
บทท่ี 2 เอกสารทเ่ี ก่ยี วข้อง การดาเนนิ งานการจดั กิจกรรมทักษะชวี ิต โครงการสุขภาพดี ผสู้ งู วัย ปลอดภัยจากโรคร้าย โควิด-19 ได้ เสนอแนวคิดหลกั การและเอกสารทเี่ กี่ยวข้อง ตามลาดบั ดังตอ่ ไปนี้ 1. ความสาคญั ของการจัดจดั กจิ กรรมทกั ษะชวี ิต 2. ที่มาและความสาคัญของกจิ กรรม 1.ความสาคัญของการจดั กิจกรรมทกั ษะชวี ติ โครงการสุขภาพดี ผู้สูงวัย ปลอดภยั จากโรครา้ ย โควดิ -19 ความหมายของคาว่า\"สขุ อนามัย\"และ\"สุขภาพ สุขภาพคือ ภาวะแห่งความสมบูรณ์ทางร่างกาย จิตใจ และการดารงชีวิตอยู่ในสังคมด้วยดี ไม่ใช่เพียงแต่ ความปราศจากโรค หรือทุพพลภาพเท่าน้ัน จาก คาจากัดความนี้ แสดงให้เห็นว่า ภาวะของความไม่มีโรคหรือไม่ บกพร่องยังไม่ถือว่ามีสุขภาพ แต่สุขภาพมีความหมายเชิงบวกที่เน้นความเป็นอยู่ที่สมบูรณ์ทั้งทางร่างกาย จิตใจ และสังคมนน่ั คอื ต้องมสี ขุ ภาพกาย สุขภาพจติ และสขุ ภาพทางสังคมครบทุกด้าน สุขภาพกาย หมายถึง สภาพของรา่ งกายท่ีมคี วามเจรญิ เติบโตแต่พฒั นาการสมกบั วัย สะอาด แขง็ แรง สมบูรณ์ ปราศจากโรคภัยไขเ้ จบ็ และทุพพลภาพพรอ้ มทงั้ มภี มู คิ ุม้ กันโรคหรอื ความต้านทานโรคเปน็ อย่างดี สุขภาพจติ หมายถึง ความสามารถในการปรบั ตวั ของคนเราใหเ้ ข้ากบั สถานการณป์ ัจจบุ ันรวมทง้ั สถานการณ์ในอดตี และอนาคตดว้ ย ดังนน้ั สขุ ภาพ หมายถงึ ภาวะของการดารงชวี ติ ท่ีมีความสมบรู ณ์ ท้ังร่างกาย จิตใจรวมทงั้ การอยู่รว่ มกนั ใน สงั คมได้ด้วยดี อยบู่ นพืน้ ฐานของคณุ ธรรม และการใชส้ ติปัญญา ลกั ษณะของผู้ทม่ี ีสขุ ภาพจิตดี 1. สามารถปรับตวั เขา้ กับสังคม และสิง่ แวดล้อม 2. มคี วามกระตือรือร้น ไม่เหนอ่ื ยหน่าย หรือท้อแท้ใจ หรอื หมดหวงั ในชวี ติ 3. มอี ารมณ์ม่นั คง และสามารถควบคุมอารมณไ์ ดด้ ี 4. ไมม่ ีอารมณ์เครยี ดจนเกนิ ไป มอี ารมณ์ขัน 5. มีความรสู้ ึก และมองโลกในแง่ดีเสมอ 6. มีความตง้ั ใจในการทางาน 7. รูจ้ กั ตนเอง และเข้าใจบุคคลอืน่ ได้ดี 8. มคี วามเชอื่ ตนเองอย่างมเี หตผุ ล 9. สามารถแสดงออกอยา่ งมเี หตุผล 10. มีความสามารถตัดสินใจไดร้ วดเร็ว และถกู ต้อง ไม่ผิดพลาด 11. มีความปรารถนา และยินดี เมือ่ บุคคลอ่ืนมีความสุข ความสาเรจ็ และมีความปรารถนาดี ในการ ปอ้ งกันผู้อนื่ ให้มีความปลอดภยั จากอนั ตราย หรอื โรคภยั ไข้เจบ็ แนวทางการบริโภคอาหารเพอื่ สขุ ภาพทดี่ ีของคนไทย การดูแลสุขภาพเพื่อให้ร่างกายสมบูรณ์แข็งแรงน้ัน การรู้จักเลือกรับประทานอาหาร ถือเป็นส่ิงสาคัญ โภชนบัญญัติ 9 ประการ เป็นข้อบัญญัติท่ีกระทรวงสาธารณสุขจัดทาข้ึนเพื่อแนะนาประชาชนให้มีความรู้ และ ความเขา้ ใจในการรบั ประทานอาหารเพ่อื สุขภาพทดี่ ี ซ่ึงประกอบดว้ ย
1. กินอาหารให้ครบ 5 หมู่ แต่ละหมู่ให้หลากหลาย และหม่ันดูแลน้าหนักตัว เพื่อให้ได้สารอาหารท่ี ร่างกายตอ้ งการอย่างครบถ้วน และมนี ้าหนักอยู่ในเกณฑม์ าตรฐาน ไมอ่ ้วน หรือผอมไป 2. กินข้าวเป็นหลักสลับกับอาหารประเภทแป้งเป็นบางม้ือ เลือกกินข้าวกล้องแทนข้าวขาว จะได้คุณค่า และใยอาหารมากกวา่ 3. กนิ พืชผกั ใหม้ ากและกนิ ผลไมเ้ ป็นประจา กนิ ผกั ผลไมท้ กุ มือ้ จะช่วยสร้างภูมคิ ้มุ กนั โรค และต้านมะเร็งได้ 4. กินปลา เน้ือสัตว์ไม่ติดมัน ไข่และถ่ัวเมล็ดแห้งเป็นประจา ปลาเป็นโปรตีนคุณภาพดีและย่อยง่าย ไข่ เปน็ อาหารที่หางา่ ย ถั่วเมล็ดแห้งเป็นโปรตีนจากพืชที่ใชก้ ินแทนเน้อื สตั ว์ได้ 5. ด่ืมนมให้เหมาะสมตามวยั นมชว่ ยใหก้ ระดูกและฟันแขง็ แรง เด็กควรดื่มนมวันละ 2 – 3 แก้ว ผู้ใหญ่ ควรดื่มนมพร่องมนั เนย วันละ 1 – 2 แกว้ 6. กนิ อาหารที่มไี ขมันแต่พอควร กนิ อาหารประเภททอด ผัด และแกงกะทิ แต่พอควร เลือกกนิ อาหาร ประเภทต้ม นึง่ ย่าง (ทไี่ ม่ไหม้เกรียม) แกงไมใ่ ส่กะทิ เป็นประจา 7. หลกี เลย่ี งการกินอาหารรสหวานจัด และเคม็ จัด กินหวานมากเส่ียงต่อการเกิดโรคอว้ น โรคเบาหวาน โรคหวั ใจ และหลอดเลือด กินเค็มมากเสีย่ งต่อการเกิดโรคความดนั โลหิตสูง 8. กินอาหารท่สี ะอาด ปราศจากการปนเป้ือน อาหารทไี่ ม่สุกและปนเปื้อนเชอ้ื โรค และสารเคมี เช่น สาร บอแรกซ์ สารกนั รา สารฟอกขาว ฟอร์มาลนี และยาฆ่าแมลง ทาใหเ้ กดิ โรคได้
9. งดหรอื ลดเคร่อื งดื่มท่ีมแี อลกอฮอล์ เพราะทาให้มีความเสย่ี งต่อการเกดิ โรคความดันโลหติ สงู โรคตบั แขง็ โรคมะเรง็ หลอดอาหาร และโรครา้ ยอีกมากมาย 2. ทีม่ าและความสาคัญของการจัดกิจกรรมทักษะชีวิต โครงการสขุ ภาพดี ผูส้ ูงวัยปลอดภัยจากโรคร้ายโควิด-19 ปัจจุบันสังคมของคนไทยเร่ิมเปลี่ยนไปจากอดีต ดังจะเห็นได้จากบริบทการทางาน เศรษฐกิจ และวิถีชีวิตท่ี เปลยี่ นไป มีการแข่งขันทั้งทางด้านข่าวสารสารสนเทศและเทคโนโลยี ทาให้วิถีชีวิตของคนในสังคมต้องเร่งรีบและ แขง่ ขันตามกลไกเศรษฐกจิ แต่ในความเจริญนั้นก่อให้เกิดปัญหาต่างๆเกิดขึ้นด้วย ไม่ว่าจะเป็นปัญหาอาชญากรรม สุขภาพท้ังร่างกายจิตใจ ปัญหาหมอเถ่ือน แต่ระบบเศรษฐกิจนั้นยังคงดาเนินไปเร่ือยๆ โดยท่ีทรัพยากรท่ีสาคัญ ท่ีสุดคือทรัพยากรมนุษย์นั้นไม่ย่ังยืนและพัฒนาข้ึน เพราะร่างกายมนุษย์เสื่อมลงตามกาลเวลา ประกอบกับ มลภาวะทางสงิ่ แวดล้อมที่เพมิ่ ข้ึน แต่เวลาในการดแู ลสุขภาพของตนเองกลับน้อยลง เกิดปัญหาด้านสุขภาพเพิ่มข้ึน ทาให้ประชาชนหันไปพึ่งพาสินค้าท่ีจะทาให้สุขภาพดีจากสื่อต่างๆ เช่นยาลดความอ้วน น้าสมุนไพรต่างๆ ซ่ึงไม่ จาเป็นและมีราคาแพง ดังน้ันการสร้างเสริมสุขภาพด้วยวิธีง่ายๆและได้ผลจึงเป็นสิ่งที่เหมาะสมกับช่วงเวลาท่ี เศรษฐกิจไมด่ นี กั รัฐบาลจึงเล็งเห็นความสาคัญเรื่องของสุขภาวะและสุขอนามัยของประชาชนท่ีลดน้อยลงท้ังทางร่างกาย และจิตใจจึงได้มีนโยบายเร่งด่วนให้มีการส่งเสริมเรื่องการดูแลสุขภาวะและสุขอนามัยให้ปลอดภัยจาก โควิด-19 ของประชาชนในชุมชน โดยเน้นในเร่ืองของการดูแลสุขภาวะและสุขอนามัยของแม่และเด็ก การดูแลผู้สูงอายุ และการดูแลปอ้ งกันโรคไม่ตดิ ตอ่ ดังนนั้ ในฐานะ ครู กศน.อาเภอบางไทร ผูร้ ับผดิ ชอบจึงได้ตระหนักและเห็นถึงความสาคัญของสุขภาวะ และสขุ อนามัยของประชาชน ตามยุทธศาสตร์ที่ 3 การพฒั นาศักยภาพคนทุกช่วงวัย และการสร้างสังคมแห่งการ เรียนรู้ ประเดน็ ท่ี 1 ส่งเสริม สนับสนุนให้คนทุกช่วงวัยมีทักษะ ความรู้ ความสามารถ และการพัฒนาคุณภาพ ชีวติ อยา่ งเหมาะสม เตม็ ตามศกั ยภาพในแตล่ ะช่วงวยั จงึ ไดจ้ ดั ทาโครงการน้ีขึ้น เพ่ือให้ประชาชนในพื้นที่มีความรู้ ความเข้าใจเร่ืองของสุขภาวะอนามัย และนาไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจาวันได้อย่างมีประสิทธิ ภาพและเกิด ประสทิ ธผิ ลสงู สดุ ท้งั ต่อตนเอง และผู้อ่ืน
บทท่ี 3 วิธกี ารดาเนินงาน ด้วย กศน.ตาบล ไดม้ ีการจัดกจิ กรรมทักษะชวี ิต โครงการสขุ ภาพดี ผู้สูงวยั ปลอดภัยจากโรคร้าย โควิด-19 โดยยึดประชาชนในตาบลเป็นสาคัญ ทาให้เกิดเน้ือหาสาระ ระยะเวลาการจัดกิจกรรม สถานท่ี และลักษณะ กิจกรรมการเรียนรู้ ท้ังน้ีข้ึนอยู่กับ ศักยภาพและความพร้อมของประชาชนกลุ่มเป้าหมายซึ่งเป็นการตอบสนอง นโยบายของสานักงานส่งเสรมิ การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั ซงึ่ ไดด้ าเนินการ ดงั นี้ โครงการสง่ เสริมดูแลสขุ ภาวะและสุขอนามยั ของประชาชนในชุมชน (วันท่ี 12 มถิ นุ ายน 2563) สาระสาคัญ ปจั จุบันสังคมของคนไทยเริ่มเปล่ียนไปจากอดีต ดังจะเห็นได้จากบริบทการทางาน เศรษฐกิจ และวิถีชีวิต ทเ่ี ปล่ยี นไป มีการแขง่ ขนั ท้ังทางด้านขา่ วสารสารสนเทศและเทคโนโลยี ทาใหว้ ถิ ชี วี ิตของคนในสังคมต้องเร่งรีบและ แข่งขันตามกลไกเศรษฐกจิ แต่ในความเจริญนั้นก่อให้เกิดปัญหาต่างๆเกิดขึ้นด้วย ไม่ว่าจะเป็นปัญหาอาชญากรรม สุขภาพทั้งร่างกายจิตใจ ปัญหาหมอเถื่อน แต่ระบบเศรษฐกิจนั้นยังคงดาเนินไปเร่ือยๆ โดยที่ทรัพยากรท่ีสาคัญ ท่ีสุดคือทรัพยากรมนุษย์น้ันไม่ย่ังยืนและพัฒนาขึ้น เพราะร่างกายมนุษย์เสื่อมลงตามกาลเวลา ประกอบกับ มลภาวะทางสง่ิ แวดลอ้ มที่เพิ่มขนึ้ แตเ่ วลาในการดูแลสุขภาพของตนเองกลับน้อยลง เกิดปัญหาด้านสุขภาพเพ่ิมข้ึน ทาให้ประชาชนหันไปพึ่งพาสินค้าที่จะทาให้สุขภาพดีจากส่ือต่างๆ เช่นยาลดความอ้วน น้าสมุนไพรต่างๆ ซึ่งไม่ จาเป็นและมีราคาแพง ดังนั้นการสร้างเสริมสุขภาพด้วยวิธีง่ายๆและได้ผลจึงเป็นสิ่งที่เหมาะสมกับช่วงเวลาท่ี เศรษฐกิจไม่ดนี กั รัฐบาลจึงเล็งเห็นความสาคัญเรื่องของสุขภาวะและสุขอนามัยของประชาชนที่ลดน้อยลงทั้งทางร่างกาย และจิตใจจึงได้มีนโยบายเรง่ ด่วนให้มกี ารสง่ เสริมเรอื่ งการดูแลสุขภาวะและสุขอนามัยของประชาชนในชุมชน โดย เน้นในเร่ืองของการดูแลสุขภาวะและสุขอนามัยของแม่และเด็ก การดูแลผู้สูงอายุ และการดูแลป้องกันโรคไม่ ตดิ ตอ่ ดงั นน้ั ในฐานะ ครู กศน.อาเภอบางไทร ผูร้ ับผดิ ชอบจึงได้ตระหนักและเห็นถึงความสาคัญของสุขภาวะ และสขุ อนามยั ของประชาชน ตามยุทธศาสตรท์ ี่ 3 การพัฒนาศกั ยภาพคนทุกช่วงวัย และการสร้างสังคมแห่งการ เรยี นรู้ ประเด็นท่ี 1 สง่ เสริม สนบั สนุนให้คนทุกช่วงวัยมีทักษะ ความรู้ ความสามารถ และการพัฒนาคุณภาพ ชวี ิตอยา่ งเหมาะสม เต็มตามศักยภาพในแตล่ ะช่วงวัย จึงได้จัดทาโครงการนี้ขึ้น เพื่อให้ประชาชนในพ้ืนที่มีความรู้ ความเข้าใจเรื่องของสุขภาวะอนามัย และนาไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจาวันได้อย่างมีประสิทธิภาพและเกิด ประสทิ ธิผลสงู สุดทั้งต่อตนเอง และผู้อื่น วตั ถุประสงค์ 1. เพือ่ ส่งเสริมใหผ้ ูเ้ ข้ารับการอบรมมีความรู้ ความเข้าใจเก่ียวกบั เร่ืองของสุขภาวะอนามยั 2. เพอ่ื ใหผ้ ู้เขา้ รบั การอบรมมสี ขุ ภาวะอนามยั และคุณภาพชวี ติ ท่ดี ีข้นึ 3. เพ่อื ให้ผูเ้ ข้ารบั การอบรมนาความรูม้ าประยกุ ต์ใชใ้ นชีวิตประจาวันได้ กจิ กรรมทดี่ าเนนิ การ จดั กิจกรรมให้กบั ประชาชน ได้แก่ วิทยากรบรรยายความรูเ้ กย่ี วกับ อบรมให้ความรู้ “โครงการสง่ เสรมิ ดูแลสขุ ภาวะและสุขอนามัยของประชาชนในชมุ ชน” - เรือ่ งการสง่ เสรมิ ดูแลสขุ ภาวะและสขุ อนามัยของประชาชนในชมุ ชน 1) การดูแลสขุ ภาวะอนามยั ของแม่และเด็ก
2) การดแู ลสขุ ภาวะอนามยั สาหรบั ผูส้ งู อายุ 3) การดูแลและป้องกันโรคไม่ติดต่อ วิธีการจดั กระบวนการเรียนรู้/การบรรยาย - เรือ่ งการส่งเสริมดแู ลสุขภาวะและ สุขอนามัยของประชาชนในชุมชนมาปรับใช้ให้เกิดประโยชน์ ในชีวิตประจาวนั ผลที่ได้รบั จากการดาเนินกจิ กรรม ผู้เข้าร่วมโครงการ รอ้ ยละ 80 นาความรูใ้ นด้านการส่งเสรมิ ดูแลสขุ ภาวะและสุขอนามัยของประชาชนใน ชมุ ชนไปปฏบิ ัตใิ ช้ในการดาเนินชวี ิต
บทที่ 4 ผลการดาเนนิ งาน จากการสารวจความพึงพอใจ การจัดกิจกรรมทักษะชีวิตโครงการสุขภาพดี ผู้สูงวัย ปลอดภัยจากโรค ร้าย โควิด-19 โดยใช้แบบประเมินความพึงพอใจ จานวน 21 ฉบับ และได้รับกลับคืนมา จานวน 21 ฉบับ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใชโ้ ปรแกรม Excel ตามขัน้ ตอนตา่ ง ๆ ดงั ต่อไปนี้ 1. วเิ คราะหข์ ้อมูลจากแบบสอบถามตอนท่ี 1 โดยแจกแจงความถ่ีและค่ารอ้ ยละ 2. วิเคราะห์ขอ้ มูลจากแบบสอบถามตอนที่ 2 โดยหาค่าเฉลี่ย (X ) แปลความหมายข้อมูลเชิงปริมาณ ให้ระดับคะแนนในแบบสอบถามท่ีเป็นแบบมาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับ ตามเกณฑ์ประเมินความคิดเห็นของ เบสท์ (Best. 1981 :182) ดังนี้ 4.51–5.00 หมายถึงความพึงพอใจอย่ใู นระดบั ดีมาก 3.51–4.50 หมายถึงความพึงพอใจอยู่ในระดับดี 2.51–3.50 หมายถงึ ความพงึ พอใจอยใู่ นระดับปานกลาง 1.51–2.50 หมายถงึ ความพงึ พอใจอยูใ่ นระดับพอใช้ 1.00–1.50 หมายถงึ ความพงึ พอใจอยู่ในระดับปรับปรงุ 3. วิเคราะห์ข้อมูลจากแบบสอบถามตอนที่ 3 ข้อมูลที่เป็นมาตราส่วนประมาณค่า (RatingScale) โดย หาค่าเฉล่ีย ( X ) แปลความหมายข้อมูล แปลความหมายข้อมูลเชิงปริมาณ โดยใช้เกณฑ์ข้อ 2 ข้อมูลที่เป็น ความคิดเห็น และข้อเสนอแนะ ใช้วิธีการวิเคราะห์เนื้อหา(Content Analysis)จัดกลุ่มคาตอบและหาคา่ ความถี่ สรุปผลการประเมินความพึงพอใจ กิจกรรมการจัดกิจกรรมทักษะโครงการส่งเสริมดูแลสุขภาวะและ สขุ อนามัยของประชาชนในชุมชน ที่เขา้ รว่ มโครงการดังนี้
ตอนท่ี 1 ข้อมูลส่วนตัวของผตู้ อบแบบสอบถาม ตอนที่ 1 ข้อมูลส่วนตวั ของผู้ตอบแบบสอบถาม ตารางที่ 1 ขอ้ มูลทวั่ ไปของผูต้ อบแบบสอบถาม จาแนกตาม เพศ อายุ ระดบั การศึกษา และอาชพี ขอ้ มูลท่ัวไป จานวน รอ้ ยละ เพศ ชาย 4 19.04 หญงิ 17 80.95 อายุ ต่ากว่า 15 ปี 0 0.00 การศึกษา 15-29 ปี 0 0.00 อาชีพ 30-39 0 0.00 40-49 ปี 0 0.00 50-59 5 23.08 60 ปีขนึ้ ไป 16 76.19 ต่ากว่า ป.4 0 0.00 ป.4 13 61.90 ประถมศกึ ษา 6 28.57 มธั ยมศกึ ษาตอนต้น 0 0.00 มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย 2 9.52 อนุปริญญา 0 0.00 ปริญญาตรี 0 0.00 อ่ืน ๆ 0 0.00 รับจ้าง 3 14.26 ค้าขาย 0 0.00 เกษตรกรรม 14 66.66 รับราชการ 0 0.00 อ่นื ๆแมบ่ ้าน/ นักเรียน 4 19.04 จากตารางที่ 1 แสดงจานวนผู้ตอบแบบสอบถามทั้งหมด 21 คน เป็นเพศหญิง จานวน 17 คน (คิดเป็น ร้อยละ 80.95) และเปน็ เพศชาย จานวน 4 คน (คิดเปน็ ร้อยละ 19.04) ดา้ นอายุ พบว่า ผตู้ อบแบบสอบถาม สว่ นมากอยู่ในช่วงอายุ 60 ปขี ึน้ ไป จานวน 16 คน (คิดเป็นร้อยละ 76.19) รองลงมาชว่ งอายุ 50-59 ปขี ้ึนไป จานวน 5 คน (คิดเป็นรอ้ ยละ 23.08) ตามลาดบั ด้านการศึกษาพบว่า ผู้ตอบแบบสารวจส่วนมาก มีการศึกษาอยู่ในระดับ ป.4 จานวน 13 คน (คิดเป็น รอ้ ยละ 61.90) รองลงมาระดบั ประถมศกึ ษา จานวน 6 คน (คิดเปน็ ร้อยละ 28.57) ระดบั ม.ปลาย จานวน 2 คน (คิดเปน็ รอ้ ยละ 9.51) ตามลาดับ ดา้ นอาชพี พบว่า ผู้ตอบแบบสารวจส่วนมากประกอบอาชีพเกษตรกรรม จานวน 14 คน (คิดเป็นร้อยละ 66.66)อ่ืนๆ จานวน 4 คน (คิดเป็นร้อยละ 19.04) รองลงมาอาชีพรับจ้าง จานวน 3 คน (คิดเป็นร้อยละ 14.26) ตามลาดบั สรปุ ผลการประเมินความพงึ พอใจโครงการสขุ ภาพดี ผ้สู งู วัย ปลอดภัยจากโรครา้ ย โควิด-19 ที่เข้าร่วม โครงการ ได้ดงั น้ี
แบบประเมนิ ความพึงพอใจ มี 4 ดา้ น ผลการประเมนิ ความพงึ พอใจที่มตี ่อโครงการโดยรวมและแยกเป็นรายด้าน ความหมาย รายการประเมนิ X 1. ความพึงพอใจด้านเนอื้ หา 2. ความพงึ พอใจด้านกระบวนการจดั กจิ กรรมการอบรม 4.44 ดี 3. ความพึงพอใจต่อวิทยากร 4.45 ดี 4. ความพงึ พอใจด้านการอานวยความสะดวก 4.47 ดี 4.48 ดี รวม 4.46 ดี จากตารางที่ 2 พบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามมีความพึงพอใจท่ีมีต่อโครงการ โดยรวมและรายด้าน อยู่ใน ระดับ ดี ทุกรายการ เม่อื พิจารณาเป็นรายข้อ พบวา่ อนั ดับหนง่ึ คอื ความพึงพอใจด้านการอานวยความสะดวก รองลงมาความพึงพอใจต่อวิทยากรรองลงมาความพึงพอใจด้านกระบวนการจัดกิจกรรมการอบรมและด้านความ พึงพอใจดา้ นเน้อื หาตามลาดบั ตอนที่ 1 ความพงึ พอใจด้านเนอ้ื หา รายการประเมิน ผลการประเมิน 1. เนื้อหาตรงตามความตอ้ งการ X ความหมาย 4.44 ดี 2. เนอ้ื หาเพยี งพอต่อความต้องการ 4.44 ดี 3. เน้ือหาปจั จบุ ันทันสมยั 4.44 ดี 4. เนือ้ หามีประโยชน์ต่อการนาไปใชใ้ นการพัฒนาคณุ ภาพชีวติ 4.45 ดี รวม 4.44 ดี จากตอนที่ 1 พบว่าผู้ตอบแบบสอบถามมีความพึงพอใจท่ีมีต่อโครงการความพึงพอใจด้านเนื้อหาโดยรวม และรายด้านอยใู่ นระดับ ดี เมื่อพจิ ารณาเปน็ รายขอ้ พบวา่ อันดับหนงึ่ คือ เนือ้ หามีประโยชน์ต่อการนาไปใช้ในการ พัฒนาคุณภาพชีวิตรองมาอันดับสองสามและส่ี เท่ากัน คือ เนื้อหาตรงตามความต้องการ/เนื้อหาเพียงพอต่อความ ตอ้ งการ/และเน้ือหาปจั จบุ นั ทนั สมยั ตามลาดบั ตอนที่ 2 ความพึงพอใจด้านกระบวนการจัดกิจกรรมการอบรม รายการประเมิน ผลการประเมิน 1. การเตรยี มความพรอ้ มก่อนอบรม X ความหมาย 4.45 ดี 2. การออกแบบกิจกรรมเหมาะสมกบั วตั ถปุ ระสงค์ 4.44 ดี 3. การจัดกิจกรรมเหมาะสมกบั เวลา 4.46 ดี 4. การจัดกจิ กรรมเหมาะสมกบั กลุ่มเปา้ หมาย 4.45 ดี 5. วธิ ีการวดั ผล/ประเมนิ ผลเหมาะสมกับวตั ถปุ ระสงค์ 4.45 ดี รวม 4.45 ดี
จากตอนท่ี 2 พบวา่ ผู้ตอบแบบสอบถามมีความพอใจด้านกระบวนการจัดกิจกรรมการอบรมโดยรวมและ รายด้านอยูใ่ นระดับ ดี เมื่อพจิ ารณาเป็นรายข้อ พบว่า อันดับหนึ่งคือการจัดกิจกรรมเหมาะสมกับเวลาอันดับสอง สามและส่ี คอื การจดั กจิ กรรมเหมาะสมกบั กลุม่ เป้าหมาย/วิธีการวดั ผล/ประเมนิ ผลเหมาะสมกับวัตถุประสงค์/การเตรียม ความพร้อมกอ่ นอบรมอนั ดับห้า คือ การออกแบบกจิ กรรมเหมาะสมกับวัตถปุ ระสงค์ตามลาดบั ตอนท่ี 3 ความพึงพอใจตอ่ วิทยากร ผลการประเมนิ X ความหมาย รายการประเมนิ 4.47 ดี 4.47 ดี 1. วทิ ยากรมคี วามรคู้ วามสามารถในเรื่องที่ถา่ ยทอด 4.47 ดี 2. วิทยากรมีเทคนิคการถา่ ยทอดใชส้ อื่ เหมาะสม 4.47 ดี 3. วทิ ยากรเปดิ โอกาสใหม้ ีส่วนรว่ มและซกั ถาม รวม จากตอนท่ี 3 พบว่าผู้ตอบแบบสอบถามมีความพึงพอใจต่อวิทยากรโดยรวมและรายด้านอยู่ในระดับดี เม่ือพิจารณาเป็นรายข้อ พบว่า อันดับหนึ่งสองและสาม คือวิทยากรมีความรู้ความสามารถในเร่ืองที่ถ่ายทอด/ วทิ ยากรมีเทคนคิ การถ่ายทอดใชส้ ือ่ เหมาะสม/วิทยากรเปดิ โอกาสให้มีส่วนร่วมและซักถามตามลาดับ ตอนท่ี 4 ความพึงพอใจด้านการอานวยความสะดวก รายการประเมิน ผลการประเมนิ X ความหมาย 1. สถานท่ี วัสดุ อุปกรณ์และส่ิงอานวยความสะดวก 4.48 ดี 2. การสอื่ สาร การสร้างบรรยากาศเพื่อใหเ้ กดิ การเรยี นรู้ 4.47 ดี 3. การบรกิ าร การชว่ ยเหลอื และการแกป้ ัญหา 4.49 ดี รวม 4.48 ดี จากตอนท่ี 4 พบว่าผู้ตอบแบบสอบถามมีความพึงพอใจด้านการอานวยความสะดวกโดยรวมและราย ด้านอยู่ในระดับดี เม่ือพิจารณาเป็นรายข้อ พบว่า อันดับหน่ึงสอง คือการบริการ การช่วยเหลือและการ แก้ปัญหา อันดับสอง คือ สถานท่ี วัสดุ อุปกรณ์และสิ่งอานวยความสะดวก และอันดับสาม คือ การส่ือสาร การสรา้ งบรรยากาศเพอ่ื ให้เกิดการเรียนรู้ตามลาดับ
บทท่ี 5 สรปุ อภิปรายผล และข้อเสนอแนะ ผลการดาเนินโครงการสุขภาพดี ผู้สูงวัย ปลอดภัยจากโรคร้าย โควิด-19 ท่ีเข้าร่วมโครงการครั้งน้ีมี วัตถุประสงค์เพื่อประเมินผลความพึงพอใจของผู้เรียน/ผู้รับบริการที่มีต่อโครงการโดยรวมและแยกเป็นรายด้าน โดยใช้แบบสอบถามจานวน 30 ฉบับ เคร่ืองมือที่ใช้เป็นแบบสอบถามที่เป็นแบบมาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับ ตามเกณฑ์ประเมินความคดิ เหน็ ของเบสท์ (Best. 1981 : 182) วเิ คราะห์ข้อมูลโดยหาค่าเฉลี่ย ( ) แปล ความหมายข้อมูล แปลความหมายข้อมูลเชิงปริมาณ โดยใช้เกณฑ์ข้อ 2 ข้อมูลที่เป็นความคิดเXห็น และ ข้อเสนอแนะ ใช้วิธีการวิเคราะห์เนื้อหา (Content Analysis) จัดกลุ่มคาตอบ และหาคา่ ความถี่ สรปุ ผลการประเมนิ ความพึงพอใจของผ้เู รยี น/ผู้รับบริการ จากแบบประเมนิ ความพงึ พอใจสรุปผลได้ ดงั นี้ 1. ความพึงพอใจด้านเนื้อหา พบว่าผู้ตอบแบบสอบถามมีความพึงพอใจที่มีต่อโครงการความพึงพอใจ ด้านเนอ้ื หาโดยรวมและรายด้านอยู่ในระดับ ดี เมอ่ื พจิ ารณาเป็นรายข้อ พบว่า อันดับหน่ึงคือ เนื้อหามีประโยชน์ ต่อการนาไปใช้ในการพัฒนาคุณภาพชีวิตรองมาอันดับสองสามและสี่ เท่ากัน คือ เน้ือหาตรงตามความต้องการ/ เนอื้ หาเพยี งพอตอ่ ความต้องการ/และเนื้อหาปจั จุบันทันสมัย ตามลาดับ 2. ความพึงพอใจด้านกระบวนการจัดกิจกรรมการอบรม พบว่าผู้ตอบแบบสอบถามมีความพอใจด้าน กระบวนการจัดกิจกรรมการอบรมโดยรวมและรายด้านอยู่ในระดับ ดี เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อ พบว่า อันดับ หนึ่งคือการจัดกิจกรรมเหมาะสมกับเวลาอันดับสองสามและสี่ คือการจัดกิจกรรมเหมาะสมกับกลุ่มเป้าหมาย/ วิธีการวัดผล/ประเมินผลเหมาะสมกับวัตถุประสงค์/การเตรียมความพร้อมก่อนอบรมอันดับห้า คือ การออกแบบ กิจกรรมเหมาะสมกบั วัตถุประสงค์ตามลาดบั 3. ความพึงพอใจต่อวทิ ยากร พบว่าผตู้ อบแบบสอบถามมีความพึงพอใจต่อวิทยากรโดยรวมและรายด้าน อยู่ในระดับดี เม่ือพิจารณาเป็นรายข้อ พบว่า อันดับหนึ่งสองและสาม คือวิทยากรมีความรู้ความสามารถใน เร่ืองท่ีถ่ายทอด/วิทยากรมีเทคนิคการถ่ายทอดใช้ส่ือเหมาะสม/วิทยากรเปิดโอกาสให้มีส่วนร่วมและซักถาม ตามลาดบั 4. ความพึงพอใจดา้ นการอานวยความสะดวก พบว่าผตู้ อบแบบสอบถามมีความพึงพอใจด้านการอานวย ความสะดวกโดยรวมและรายด้านอยู่ในระดับดี เม่ือพิจารณาเป็นรายข้อ พบว่า อันดับหนึ่งสอง คือการบริการ การช่วยเหลือและการแก้ปัญหา อันดับสอง คือ สถานที่ วัสดุ อุปกรณ์และสิ่งอานวยความสะดวก และอันดับ สาม คือ การส่ือสาร การสร้างบรรยากาศเพอื่ ใหเ้ กิดการเรยี นรู้ตามลาดับ ผลการดาเนินงาน ผเู้ ขา้ รว่ มโครงการมีความรู้ ความเข้าใจเกย่ี วกับการส่งเสริมดแู ลสุขภาวะและสขุ อนามัยของประชาชนใน ชมุ ชน ให้ปลอดภยั จากโควิด-19 ตลอดจนนาความรู้ทไี่ ด้มาประยกุ ตใ์ ชใ้ นชีวิตประจาวนั ปัญหาและอปุ สรรคในการปฏบิ ตั งิ าน - ข้อเสนอแนะ -
ภาคผนวก
ภาพกิจกรรมพัฒนาทกั ษะชีวติ ชือ่ โครงการ สุขภาพดี ผู้สงู วยั ปลอดภัยจากโรครา้ ย โควิด - 19 วันที่ ๒๔ กรกฎาคม พ.ศ.๒๕๖๓ ณ ศาลาเอนกประสงคห์ มู่ ๑ ตาบลห่อหมก อาเภอบางไทร จังหวัด พระนครศรอี ยุธยา
Search
Read the Text Version
- 1 - 18
Pages: