ฐานการเรยี นรผู้ ่านนิทรรศการ เรื่อง เทคโนโลยีอวกาศในชีวิตประจำวนั
แผนการจดั กจิ กรรมการเรียนรู้ เร่ือง เทคโนโลยีอวกาศในชีวติ ประจำวนั แนวคิด เทคโนโลยีอวกาศในชวี ิตประจำวนั เป็นการเรยี นร้ผู า่ นนิทรรศการเก่ียวกบั เทคโนโลยี 3S ใน ชีวิตประจำวนั การประยุกต์ใช้ดาวเทยี มกับทรัพยากรธรรมชาติ เครือ่ งตรวจวัดสภาพภมู ิอากาศ และบทเรียน ออนไลน์ ในการจดุ ประกายความคิดทางด้านวิทยาศาสตรใ์ หก้ ับผูร้ ับบรกิ าร โดยผรู้ บั บรกิ ารสามารถแลกเปล่ยี น เรยี นรรู้ ่วมกันดว้ ยวธิ ีการทดลองกบั สื่อการเรียนรู้จริง ทำให้ผูร้ ับบรกิ ารเห็นความสำคัญของการเรียนรดู้ ้าน วิทยาศาสตร์ที่สอดคล้องกบั ชีวติ ประจำวนั วัตถปุ ระสงค์ แลกเปลย่ี นเรียนรแู้ ละทดลองเกย่ี วกับเทคโนโลยี 3S ในชวี ติ ประจำวัน การประยุกตใ์ ชด้ าวเทียมกับ ทรัพยากรธรรมชาติ เครอ่ื งตรวจวดั สภาพภมู อิ ากาศ และบทเรยี นออนไลน์ เนื้อหา 1. เทคโนโลยี 3S ในชีวิตประจำวนั 1.1 เทคโนโลยี 3S ด้านการเกษตร Agricultural 1.2 เทคโนโลยี 3S ดา้ นภยั พิบัติ Disaster 2. การประยุกต์ใชด้ าวเทยี มกับทรพั ยากรธรรมชาติ 2.1 ด้านบกุ รุกปา่ 2.2 ด้านมลพิษสิง่ แวดล้อม 2.3 ดา้ นการจัดการทรัพยากรทางทะเลและชายฝงั่ 2.4 ดา้ นการจดั การทรัพยากรนำ้ 3. เคร่ืองตรวจวัดสภาพภูมอิ ากาศ 3.1 การทำงานของเครื่องตรวจวัดสภาพภมู อิ ากาศ 3.2 ทิศทางลม 3.3 ความเรว็ ลม 3.4 อณุ หภมู ิ 3.5 ปริมาณฝนที่ตกภายใน 24 ชั่วโมง 3.6 ปรมิ าณฝนสะสม 3.7 ความกดอากาศ 3.8 การแผ่รงั สีดวงอาทิตย์ 3.9 ระดบั ความเขม้ ของรังสี 3.10 การคายระเหย 3.11 ความชื้นสมั พัทธ์ 4. บทเรียนออนไลน์ 4.1 พื้นฐานเกีย่ วกับดาวเทยี ม 4.2 เซน็ เซอร์ 4.3 การประมวลข้อมูลภาพถ่ายดาวเทียม 4.4 การใช้ประโยชน์
ขั้นตอนการจดั กิจกรรมการเรียนรู้ ขน้ั ตอนที่ 1 กิจกรรมการเรยี นรู้ประสบการณ์ทางวทิ ยาศาสตร์ (S : Science Experience Activity) 1. ผจู้ ัดกจิ กรรมทักทายและแนะนำตัวเองกับผู้รับบริการ และช้แี จงวัตถุประสงค์ของฐานการเรยี นรู้ผา่ น นิทรรศการ เร่ือง เทคโนโลยีอวกาศในชีวิตประจำวัน ซง่ึ ฐานการเรยี นรูผ้ ่านนทิ รรศการน้ีมีวัตถปุ ระสงคเ์ พื่อให้ ผ้รู บั บริการแลกเปลย่ี นเรียนรู้และทดลองเก่ยี วกับเทคโนโลยี 3S ในชีวิตประจำวัน การประยกุ ตใ์ ชด้ าวเทยี มกับ ทรพั ยากรธรรมชาติ เคร่อื งตรวจวัดสภาพภมู ิอากาศ และบทเรียนออนไลน์ 2. ผู้จดั กิจกรรมแจกเอกสารประกอบการชมนิทรรศการ 3. ผจู้ ดั กิจกรรมแนะนำรายละเอยี ดภาพรวมของเน้ือหาในฐานการเรยี นรผู้ ่านนิทรรศการ เรอื่ ง เทคโนโลยี อวกาศในชวี ิตประจำวนั ตามใบความรู้สำหรับผู้จดั กิจกรรม เรื่อง “แนะนำรายละเอียดภาพรวมของเนื้อหาในฐาน การเรยี นรผู้ า่ นนทิ รรศการ เร่ือง เทคโนโลยอี วกาศในชวี ิตประจำวนั ” ขน้ั ตอนที่ 2 กจิ กรรมการเรยี นรู้วิทยาศาสตรท์ ี่ท้าทาย (C : Challenge Learning Activity) 1. ผู้จัดกจิ กรรมบรรยายให้ความรู้ และอธบิ ายวิธกี ารใช้เครื่องมือผ่านนทิ รรศการ เรือ่ ง เทคโนโลยอี วกาศ ในชวี ติ ประจำวนั ตามใบความรู้สำหรบั ผู้จดั กิจกรรม เรื่อง เทคโนโลยอี วกาศในชวี ติ ประจำวนั 2. เปิดโอกาสให้ผ้รู บั บริการพูดคยุ ซกั ถาม ทดลอง และแลกเปล่ียนเรยี นรรู้ ่วมกัน 3. ผ้จู ดั กิจกรรมและผู้รบั บริการสรปุ สิง่ ที่ไดเ้ รยี นรรู้ ่วมกนั ขั้นตอนที่ 3 กจิ กรรมการสรปุ ผลการนำวทิ ยาศาสตรไ์ ปใช้ในชีวิตประจำวนั (I : Implementation Conclusion Activity) 1. ผจู้ ดั กจิ กรรมส่มุ ผรู้ ับบรกิ าร จำนวน 1 - 2 คน ที่สมคั รใจ ให้ตอบคำถามในประเด็น “ท่านไดร้ บั ความรู้ อะไรบา้ งผา่ นนิทรรศการในฐานการเรยี นรู้ เรื่อง เทคโนโลยีอวกาศในชีวติ ประจำวัน น้ี” และ“ท่านคิดวา่ จะนำ ความรู้ทางวทิ ยาศาสตรท์ ่ีไดร้ ับไปใชใ้ นชีวิตประจำวนั ของท่านได้อย่างไร” 2. ผู้จดั กิจกรรมและผู้รับบริการสรปุ ส่งิ ท่ีไดเ้ รียนรู้ร่วมกัน 3. ผู้จัดกจิ กรรมให้ผู้รบั บริการประเมินความพงึ พอใจที่มีตอ่ การจดั กจิ กรรมการเรยี นรูผ้ า่ นนิทรรศการ เร่ือง เทคโนโลยีอวกาศในชวี ิตประจำวัน สอ่ื วัสดุอุปกรณ์ และแหล่งเรยี นรู้ 1. เอกสารประกอบการชมนิทรรศการ 2. ฐานการเรียนรู้ เร่อื ง เทคโนโลยีอวกาศในชวี ติ ประจำวัน การวดั และประเมนิ ผล 1. สังเกตพฤติกรรมการมสี ว่ นร่วม ความตั้งใจ ความสนใจของผ้รู บั บริการ 2. ผลการประเมินความพึงพอใจท่มี ตี ่อการจัดกจิ กรรมการเรยี นรู้ผา่ นนิทรรศการ เรื่อง เทคโนโลยีอวกาศ ในชวี ิตประจำวัน
เอกสารฐานการเรยี นรู้ เร่อื ง เทคโนโลยอี วกาศในชีวติ ประจำวนั 1. เทคโนโลยี 3S ในชวี ติ ประจำวัน เทคโนโลยี 3S ประกอบด้วยองค์ความรู้ ได้แก่ RS การรับรู้ระยะไกล (Remote Sensing) GNSS ระบบ นำทางดว้ ยดาวเทยี ม (Global Navigation Satellite System) GIS (Geographical Information System) เทคโนโลยี 3S ด้านการเกษตร Agricultural ข้อมูลจากเทคโนโลยี 3S มีความสำคัญมากเกี่ยวกับด้าน การเกษตร เนื่องจากข้อมูลจากดาวเทียมสามารถใช้เพื่อมาวิเคราะห์ วางแผนและประเมินผลผลิตที่จะเกิดขึ้นได้ ไม่ว่าจะเป็นข้อมูลต่างๆ คือ ข้อมูลการคาดการณ์สภาพอากาศ ข้อมูลการประเมินผลผลิตของเกษตรกร ข้อมูล ปริมาณน้ำ พื้นที่เพาะปลูกรายแปลง ข้อมูลการเกิดศัตรูพืช และข้อมูลราคาการซื้อขายสินค้าทางการเกษตรท่ี เกยี่ วข้อง เทคโนโลยี 3S ด้านภยั พิบัติ Disaster ขอ้ มูลภาพถ่ายดาวเทียมใช้ในการจัดทำแผนทแ่ี สดงขอบเขตการใช้ ทีด่ ินแต่ละประเภทการศึกษา และการเปลยี่ นแปลงการใช้ประโยชน์ที่ดนิ ในรูปแบบต่างๆ คอื ดินถล่ม แผ่นดินไหว ภัยแล้ง นำ้ ทว่ ม ไฟปา่ สึนามิ
2. การประยุกต์ใชด้ าวเทยี มกบั ทรพั ยากรธรรมชาติ 2.1 ด้านบกุ รุกป่า ป่าไม้ (Forest) หมายถึง บริเวณที่มีต้นไม้หลายชนิด ขนาดต่างๆขึ้นอยู่อย่างหนาแน่นและกว้างใหญ่ พอที่จะมีอิทธิพลต่อส่ิงแวดลอ้ มในบรเิ วณนัน้ เช่น ความเปลี่ยนแปลงของลมฟ้าอากาศ ความอุดมสมบูรณ์ของดิน และนำ้ มีสตั ว์ป่าและส่งิ มชี วี ติ อนื่ ซ่งึ มีความสัมพันธ์ซ่งึ กันและกัน 2.2 ด้านมลพษิ สิง่ แวดล้อม ติดตามมลพิษอากาศ สามารถใช้ดาวเทยี มในการหาความลกึ เชิงแสงของฝุ่นละอองจากการวัดภาคพ้ืนดิน เนอ่ื งจากฝนุ่ ละอองมกี ารกระเจิงรังสดี วงอาทิตย์ออกไปสนู่ อกอวกาศ ดาวเทยี มสามารถวดั การกระเจิงดงั กล่าวได้ 2.3 ดา้ นการจัดการทรัพยากรทางทะเลและชายฝ่งั ในอดีตการเปลี่ยนแปลงชายฝั่งทะเลจะเกิดขึ้นอย่างค่อยเป็นค่อยไปตามกระบวนการเปลี่ยนแปลงตาม ธรรมชาติ และจะปรับสภาพชายฝั่งให้เข้าอยู่ในสมดุลตลอดเวลา เรียกว่า สมดุลพลวิติ (Dynamic equilibrium) การเปลี่ยนแปลงชายฝั่งทะเลเป็นปรากฎการณ์ทางธรรมชาติที่เกิดขึ้นในรูปแบบของการกัดเซาะ ( Erosional Coast) โดยมีสาเหตุมาจากปัจจัยแวดล้อมหลายประการทั้งสาเหตุจากธรรมชาติและสาเหตุจาการกระทำของ มนษุ ย์ ซึง่ มคี วามแตกต่างในแตล่ ะพน้ื ท่ี ส่งผลกระทบใหพ้ น้ื ที่บริเวณชายฝัง่ มกี ารเปลยี่ นแปลงอย่างรวดเร็ว
2.4 ด้านการจัดการทรัพยากรน้ำ การจัดการทรัพยากรน้ำ หมายถึง การดำเนินการอย่างใดอย่างหนึ่ง หรือหลายอย่างรวมกันเกี่ยวกับ ทรัพยากรในลุ่มน้ำ เพื่อจัดหาการจัดสรรน้ำและใช้ทรัพยากรน้ำ การอนุรักษ์และฟื้นฟูแหล่งน้ำรวมทั้งการแก้ไข ปัญหาเกย่ี วกบั ทรพั ยากรน้ำ ทรัพยากรน้ำ หมายถึง แหล่งต้นตอของน้ำที่เป็นประโยชน์หรือมีศักยภาพที่จะก่อให้เกิดประโยชน์แก่ มนษุ ย์ ทรพั ยากรนำ้ มีความสำคัญเน่ืองจากนำ้ เป็นสิ่งจำเป็นต่อการดำรงชวี ิตของสิง่ มชี วี ิต มกี ารนำน้ำมาใช้ในด้าน เกษตรกรรม อุตสาหกรรม บ้านเรอื น นนั ทนาการและกจิ กรรมต่างๆรวมท้ังด้านส่งิ แวดลอ้ ม
3. เครือ่ งตรวจวัดสภาพภูมอิ ากาศ 3.1 การทำงานของเครือ่ งตรวจวดั สภาพภูมิอากาศ (Weather Station System-WSS) เครื่องตรวจวดั สภาพภมู อิ ากาศ รับสง่ ขอ้ มลู ผ่านสัญญาณวิทยุ อุปกรณ์แสดงผล สง่ ขอ้ มูลไปยงั ระบบปนะมวลผล ซอฟตแ์ วร์แสดงผล และวิเคราะหข์ ้อมลู 3.2 แสดงทิศทางลม (Wind Direction) เมื่อลมเคลือ่ นที่ผา่ นเคร่ืองตรวจวัดสภาพภมู ิอากาศ สามารถแสดงทิศทางลมเปน็ องศาโดยเทยี บจากทิศเหนือ 3.3 แสดงคา่ ความเร็วลม (Wind Speed) มหี น่วยเปน็ กิโลเมตรต่อชัว่ โมง (km/h) - ลมสงบ คา่ ความเร็วลม 1 km/h - ลมปานกลาง คา่ ความเร็วลม 20-28 km/h - ลมจดั ค่าความเร็วลม 39-49 km/h - พายุ คา่ ความเรว็ ลม 89-102 km/h 3.4 แสดงค่าอณุ หภมู ิ (Temperature) มหี นว่ ยเปน็ องศาเซลเซยี ส (°C) - DEW (Dew Point temperature) แสดงค่าอุณหภมู ิจดุ นำ้ คา้ ง - Out (Outside Temperature) แสดงคา่ อุณหภมู ิของอากาศภายนอก - Chill (Wide Chill) แสดงคา่ ความเยน็ ที่รา่ งกายรู้สกึ เนื่องมาจากผลของลม - Heat (Heat Index) แสดงค่าความรอ้ นทรี่ า่ งกายรูส้ กึ เน่อื งมาจากผลของความช้ืน
3.5 แสดงค่าปริมาณฝนทีต่ กภายใน 24 ชว่ั โมง (Current Rain) มหี นว่ ยเป็นมิลลิเมตร (mm) - ฝนเลก็ นอ้ ย ปริมาณฝน 0.1-10.0 mm - ฝนปานกลาง ปรมิ าณฝน 10.1-35.0 mm - ฝนหนกั ปรมิ าณฝน 35.1-90.0 mm - ฝนตกหนัก ปรมิ าณฝน >90.1 mm 3.6 แสดงค่าปริมาณฝนสะสม (Total Rain) มหี นว่ ยเปน็ มลิ ลิเมตร (mm) - Month แสดงคา่ ปรมิ าณฝนสะสมรายเดอื น - Year แสดงค่าปริมาณฝนสะสมรายปี 3.7 แสดงคา่ ความกดอากาศ (Barometer) มีหนว่ ยเป็นมิลลิเมตรปรอท (mmHg) ความกดอากาศ คือ แรงทีก่ ระทำต่อพน้ื ผิวโลกอนั เน่อื งนำ้ หนกั ของอากาศ ณ จดุ ใดจุดหน่ึง ต้ังแต่ พ้นื ผวิ โลกข้ึนไปจนถงึ เขตสงู สดุ ของบรรยากาศ 3.8 แสดงค่าการแผ่รงั สดี วงอาทิตย์ (Solar Radiation) มีหน่วยเปน็ เปน็ วตั ต์ต่อตารางเมตร (W/m2) เปน็ พลงั งานท่ีปล่อยออกมาจากดวงอาทิตยท์ ตี่ กกระทบช้ันบรรยากาศมาถงึ พนื้ ผวิ โลก 3.9 แสดงคา่ ระดับความเขม้ ของรงั สี (UV Radiation Index) UV แสดงคา่ ระดับความเข้มของรังสี อลั ตราไวโอเลตท่ีแผ่กระจายจากดวงอาทิตย์มายังโลก - UV Index 1-2 ระดับความเขม้ ต่ำ - UV Index 3-5 ระดับความเข้มปานกลาง - UV Index 6-7 ระดบั ความเข้มสูง - UV Index 8 ขึ้นไป ระดบั ความเขม้ สงู มาก
3.10 แสดงค่าการคายระเหย (Evapotranspiration) ET มหี นว่ ยเป็นมลิ ลิเมตร (mm) - Day แสดงค่าการคายระเหยสะสมรายวัน - Month แสดงค่าการคายระเหยสะสมรายเดือน - Year แสดงค่าการคายระเหยสะสมรายปี 3.11 แสดงค่าความชื้นสมั พัทธ์ (Humidity) มีหนว่ ยเปน็ เปอร์เซ็นต์ (%) - In (Inside Humidity ) แสดงค่าความชื้นสัมพัทธ์ของอากาศบริเวณพน้ื ที่ติดต้ังเคร่ืองรับขอ้ มลู - Out (Out Humidity) แสดงคา่ ความชน้ื สมั พทั ธข์ องอากาศบริเวณพน้ื ทตี่ ดิ ตั้งเคร่ืองตรวจวดั อากาศ
4. บทเรยี นออนไลน์ โดยแบ่งตามกลุม่ สาระการเรียนรู้ ดงั น้ี 4.1 พนื้ ฐานเก่ยี วกับดาวเทยี ม เมฆ การรับรู้ระยะไกล การจัดทำแผนที่ ดาวเทียมอุตุนิยมวิทยา ดาวเทียมกับชีวิตประจำวัน ดาวเทียม สำรวจโลก การพยากรณ์อากาศจากภาพถา่ ยดาวเทียม 4.2 เซน็ เซอร์ ภาพถ่าย ภาพถ่ายมัลติสเปกตรัม การรับรู้แสงผ่านอินฟาเรด ภาพถ่ายไฮเฟอร์สเปกตรัม การรับรู้ ระยะไกลด้วยคลื่นไมโครเวฟ VIIRS 4.3 การประมวลข้อมูลภาพถา่ ยดาวเทยี ม การใช้งานข้อมูลภาพถ่ายดาวเทียม FY-2E การใช้ภาพถ่ายดาวเทียม HJ-1A การแยกแยะวัตถุจาก ภาพถ่ายดาวเทียม ประมวลผล FY-2E การประมวลผลภาพของดาวเทยี ม HJ-1A 4.4 การใชป้ ระโยชน์ การประยุกต์ใช้ข้อมูลดาวเทียมร่วมกับระบบภูมิสารสนเทศ การประยุกต์ใช้งานข้อมูลดาวเทียมด้านภัย พิบตั ิ การประยุกต์ใชง้ านด้านทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดล้อม การประยกุ ต์ใชข้ ้อมูลดาวเทียมดา้ นการเกษตร
ระบบการเรยี นรู้เทคโนโลยอี วกาศแบบออนไลน์ ผา่ นกจิ กรรม ดงั ต่อไปนี้ 1. เรียนรู้ (Learn) มาเรมิ่ เรียนรู้กนั ดีกว่า วา่ เราใชป้ ระโยชน์จากดาวเทยี มกันอย่างไร (การแยกแยะวัตถุ จากภาพถา่ ยดาวเทยี ม การวเิ คราะหเ์ มฆ) 2. เล่น (Interact) ลองมาวัดความสามารถกนั ดูสิ (เกมการแยกแยะวัตถุจากภาพถ่ายดาวเทียม เกมการ วิเคราะหเ์ มฆ) 3. ฝึกฝน (Practice) มาลองฝึกฝนเพอ่ื แยกแยะวตั ถจุ ากภาพถ่ายดาวเทียมรปู แบบตา่ งๆ
4. ใช้งาน (Apply) ตัวอย่างการนำโดรนไปใช้ประโยชน์ในด้านต่างๆ (สำรวจช้างป่า จ.ประจวบคีรีขันธ์ พื้นท่ี การเกษตรภาคตะวันออก สำรวจพ้นื ที่ชายฝง่ั จ.เพชรบรุ ี ติดตามสถานการณ์ไฟปา่ หว้ ยขาแข้ง)
Search
Read the Text Version
- 1 - 12
Pages: