Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore OP ART

OP ART

Published by Kachornpon, 2017-03-27 02:16:43

Description: OP ART_13580549_ภูริชา สงวนพงศ์_นิเทศศาสตร์(วิทยุโทรทัศน์)

Search

Read the Text Version

คาํ นาํ Pocket เลมน้จี ัดทาํ ข้ึนมาเพอ่ื เปน สวนหนึ่งของการศึกษาในรายวิชา มนษุ ยและศิลปะ เนอ้ื หาในหนงั สือเลมนี้เปน เนือ้ หาเก่ยี วกับลทั ธอิ อปอารต โดยมีประวตั ิความเปน มาของลัทธอิ อ ป-อารต ลกั ษณะของศลิ ปะอออปอารต รวมท้ังรวบรวมผลงานของศิลปนทผี่ ูจดั ทาํ คิดวาสาํ คัญรวมไวในหนงั สอื เลม นดี้ วย การทําหนังสอื เลมน้ีเปน การทําหนงั สอื ครงั้ แรกของผจู ัดทาํ หากมีขอผดิ พลาดประการใด ผจู ดั ทําตองขออภยั มา ณ ทีน่ ี้ ภรู 1ิช3า5ส8ง0ว5น4พ9งศ



สารบัญABOUT OP ART 1ARTIST -Victor Vasarely 8 -Bridget Riley 14 -Josef Albers 2227 -Richard anuszkiewicz 29OP ART IN NOWDAY

ABOUT OP ART

2OP ART จิตรกรรมแบบ อ็อพ อารต (Op Art) เปนศลิ ลปะลวงตาเปน วิธกี ารเขียนที่คาํ นึงถึงความสัมพนั ธร ะหวา งความลวงตาและพ้นื ผวิ ของภาพ ระหวา งความเขา ใจและการมองเห็น เดน มากในการสรางภาพนามธรรมท่เี นนรปู ทรงเรขาคณติ ท่ีมขี อบและเสน รอบนอกทคี่ มชดั ทิศทางของรูปทรงและเสน รอบนอกมกั จะหักเห ยักเยื้องทาํ ใหต าของเราเหน็ วา มันเคล่ือนไหววบู วาบ โดยเฉพาะเมอื่ เราจอ งมองมันนงิ่ ๆสักพกัแลว เหลือบสายตาใหเ คลื่อนไปจากเดิมเล็กนอย รปู ทรงและเสนทศี่ ลิ ปนวางไวอยา งเหมาะเจาะจะทาํ ปฏกิ ริยากบั การมอง ทาํ ใหเหน็ วา มันเคล่ือนไหววบู วาบนดิ ๆ หรือในบางกรณรี ปู ทรงทจี่ ติ รกรสรา งขน้ึ จะดูนูนสูงขึ้น เวาตา่ํ ลงหรอื ปูดออกอยางสมจริงท้ังๆ ท่ีมนั เปน ภาพแบนๆ

3 ศิลปะออปอารตไดรบั อทิ ธิพลมาจาก ศิลปะปอ ปอารไ ดรบั อทิ ธิผลมาจาก กลมุ ฟว เจอรสิ ม โดยศิลปะกลมุ น้ีเนน ยาํ้ เกยี่ วกับเรือ่ งความเคล่อื นไหวความเรว็ และวิทยาศาสตรแ ขนงฟส ิกสโดยวิธีซ้ํากนั ขององคประกอบทางศลิ ปะ OP ART มาจาก ชือ่ อ็อพ อารต เปน ชอ่ื ทย่ี อมาจากคําวา ออ็ พตเิ คลิ อารต (optical art)หรือเรยี กวา เรทนิ ลั อารต (retinal art) หรือ เพอรเ ซ็ปชวล แอ็บสแตรคชนั (perceptual abstraction) หรือศลิ ปะทเ่ี กี่ยวกับสายตาและการมองนนั่ เองเรม่ิ ตน ตั้งแต ค.ศ. 1960 ท่นี วิ ยอรก ประเทศสหรสั อเมรกิ าา จาก จอรจ รคิ คยี  (George Rickey)ประติมากรชาวอเมรกิ นั ทอี่ อกไอเดียใหชอ่ื น้ขี ้นึ มาขณะที่พูดคยุ กบั ปเตอร เซลซ (Peter Selz)และ วิลเลียม ซที ซ(William Seitz) ควิ เรเตอร (ภัณฑารกั ษ) ของ เดอะ มิวเซียม ออฟ โมเดิรนอารต และศลิ ปะออ ปอารต กไ็ ดรบั ความนยิ มในยโุ รปอยางแพรหลายในเวลาตอมา

4 ศิลปะออปอารต ศลิ ปนเชือ่ วา\"ตา\"มีความสาํ คญั กวา\"สมอง\" ศลิ ปน มุงเนนตามทฤษฎกี ารมองเห็น (Visual theory)เกี่ยวของกับประสาทตา เรยี กวา ทฤษฎีของการรบั รู ซ่งึ มหี ลกั สําคัญ 3 ประการ 1.ทฤษฎแี สงและเงา (Light and Shode) 2.ทฤษฎรี ูปและพื้น (Figure and Ground) 3.ทฤษฎสี มดลุ และตดั กัน (Balance and Coutrast)**เพิ่มเติม 1.ทฤษฎีแสงและเงา แสงและเงา (Light & Shade) เปนองคป ระกอบของศิลปท ี่อยคู ูกัน เม่อื สองกระทบ กับวตั ถุ จะทาํ ใหเกดิ เงา แสงและเงาเปน ตวั กาํ หนดระดบั ของคาน้าํ หนัก 2.ทฤษฎรี ปู และพืน้ การออกแบบรปู และพื้นสามารถใหค วามรสู กึ เคล่อื นไหวแกผ ูเ หน็ และกอ ใหเกดิความคดิ มองเหน็ เปน รปู ตา งๆไดม าก ในกรณีท่ตี อ งการใหรสู กึ เคลือ่ นไหว มักจะออกแบบรปู ทซ่ี า้ํ ๆกนัตอ เนอ่ื งในทศิ ทางเดียวกนั ซ่งึ บางทานก็กําหนดเปนทฤษฎีของการมองเห็นยอ ลงไปอีก 3.ทฤษฎสี มดุล และตดั กัน ศลิ ปน นาํ เอาความขดั แยงขององคประกอบมาจดั ใหเกิดความกลมกลืนสมดุล ซง่ึ การใหม คี วามขดั แยง อยบู างจะทาํ ใหผลงานนาสนใจมากขน้ึ ถาไมม คี วามขัดแยงเลยจะทาํ ใหจ ดื ชดื เรยี บ ไมดึงดดู ความสนใจทฤษฎกี ารมองเห็นทัง้ 3 วิธนี ม้ี กี ารคดิ คนเพ่อื เขียนภาพกนั มากจนทําใหศ ลิ ปะออปอารตไดร ับความนิยมกวา งขวางไปท่ัวโลกอยางรวดเรว็

5 สีเปนสงิ่ ที่สาํ คํญท่สี ดุ ในงานออปอารจะตอ งใชทสี่ท่ีมคี วามเขมมากๆหรอื เปนสีท่มี ีความสดใส และสีทีน่ าํ มาใชค วรจะเปน สีที่ตัดกนั กัน เพือ่ ใหความรสู ึกเคล่อื นไหวและสะดดุ ตา บางคร้ังทาํ ใหดตู ้นื ลึก ดว ยเสน หรอื รสู ึกวบู วาบเคล่อื นไหวคลา ยคลื่น ลอสายตาอยู สีทศ่ี ลิ ปนนิยมใชม ากท่ีสดุ คือ สีขาว และ สีดํา

6 ลักษณะเดน ของ ออป อารต 1.เปนจิตรกรรมทแ่ี สดงภาพดว ยสี (The Color Image) 2. เปน จิตรกรรมปราศจากรูป(Visble Image) 3.เปน จิตรกรรมทางตาโดยตรง(Optical) 4.เปน จติ รกรรมทน่ี ิยมใชสีดาํ และสขี าวมากทส่ี ดุ 5.เปน จิตรกรรมที่มีรปู แบบเลอ่ื มวบู วาบ(Moire Pattern) 6.เปนจิตรกรรมทม่ี ลี กั ษณะสูงตาํ่ และแสดงโครงสรา ง(Relief and Construction) ศลิ ปะ ออป อารต เปน ไดท้งั ศลิ ปะทีเ่ ปนนามธรรมและรูปธรรมทปี่ ระกอบดวยรปู ทรงเลขาคณิต ทมี่ ขี อบและเสน รอบรูปทชี่ ดั เจน เสนรอบนอกมกั จะหกั เหและหยกั เย้อื งทาํ ใหเ ม่ือมองรูปภาพศิลปะแบบ ออป อารต จะทําใหรูสกึ ถึงความ เคลอื่ นไหว สะเทอื นแวบวบั บนพื้นผิวของรปู ภาพได การใชรปู ทรง เสน และสีในการวาดภาพจะถูกเลือกอยา งเหมาะสม เพ่ือใหท ําปฎกิ รยิ าในการมองใหเ ห็นรปู ภาพเคลือ่ นไหว

ARTIST

Victor Vasarely21

9 Victor Vasarely เปนจิตรกรและสถาปนิกชาวฮังการี เกดิ วนั ที่ 9 พฤษภาคม ค.ศ 1906และเตบิ โตข้ึนทเี่ มอื งปเอสตานี ประเทศโลวาเกีย ป 1925 วกิ เตอรไ ดเ ขาศึกษตอดา นการแพทยเขาเรียนอยทู ่นี ้ยั ไดส องป ในป 1927 ป 1927 เขาก็ไดม าเรยี นเกยี่ วกบั การวาดภาพที่ The privatePodolinivolkman ตมาเขาก็ยา ยไปท่ี ปดู า เปส ประเทศฝร่ังเศส ในชว งแรก เขาไดษ กึ ษาทดลองเกี่ยวกับเรอื่ งพ้นื ผวิ สัมผัส แสงเงาและ มมุ มองภาพ เขาพัฒนาระบบสี เสน และรูปทรงขึ้นใหมและไดศ กึ ษาเกี่ยวกบั ส่งิ กอสรางตา งๆอยา งตอ เนอ่ื ง ซึ่งสง่ิ ที่เขาพัฒนาท้งั หมดน้ลี วนสงผลกบังานของเขาเอง วกิ เตอร วาซารีลี ไดร บั การยกยองใหเ ปน บิดาแหงศลิ ปะปอ ปอารต

Art of Victor Vasarely

11 Vega-Pal (1969)เปน ลวดลายทอ่ี ยบู นพรม มแี นวความคดิ มาจาก Vasarely’s Black-White Period(1951-63) เปน รูปภาพวงกลมสามมติ ทิ ม่ี ลี กั ษณะเหมือนโผลออกมาจากพ้นื ผิวเรียบ

12 Duo- 2 (1967) ภาพนแี้ สดงใหเ หน็ ถงึ ความแตกตางของโทนสี ฟา เขยี ว สม และมวงแสดงใหเ ห็นถงึ การศึกษาทน่ี า สนใจของการวางตาํ แหนง วกิ เตอร รูปนี้มุงเนน ปท่คี วามซบั ซอนของรปู หกเหลี่ยม

13 Kroa A, 1970 เปนประติมากรรมที่ซับซอ นเปน ประตมิ ากรรมท่มี ีการเปล่ยี นแปลงรปู แบบในทุกดา นอยางแทจริงท้งั ในดา นความคดิ สรา งสรรค และนวตั กรรม

14 Zebra 1937เปนภาพวาดรูปมา ลาย วาดขึน้ โดยใชส นี ํ้ามนั บนผืนผา ใบ

Bridget Riley

16 เกดิ เม่ือป 1931ที่เมอื งNorwood, South London พอของเธอมธี ุรกจิ ส่งิ พิมพและในป 1938 พอของเธอไดย า ยธุรกิจไปอยทู เี่ มือง เธอจงึ ตอ งยายตามพอ ของเธอครอบครวั ของเธอใชเ วลาอยทู ีเ่ มืองลิงคอลน ไดไ มน านกเ็ กดิ สงคราม พอ ของเธอจึงไดถ ูกเรยี กตัวไปเปนทหาร เธอและแมของเธอจึงตอ งยายไปอยทู ีค่ อรนวอลลในวยั เด็กของเธอท่เี มอื งเธอไดถกู เลีย้ งมาอยา อสิ ระและไดเ ร่มิ วาดภาพจนการวาดภาพกลายเปน สวนหนึ่งทสี่ าํ คัญในชีวติ ของเธอ และเธอไดเขา เรียนทม่ี หาลัยRoyal College of Art

Art of Bridget Riley

18 Blaze (1964) เปน เสนซกแซกสีขาวดาํ ท่ีทาํ ใหเกิดการรับรขู องรปู วงกลมไดอ ยา งดีสมองของเราจะแปลภาพใหเ ราเห็นแพทเทิลท่ีขาวดาํ ทีเ่ รยี งสลบั กันเหมอื นกําลังเคล่อื นไหวอยู

19 Cataract 3 1967 ในสว นของตรงกลางของงานศลิ ปะนี้จะเหน็ เปนสีชมพู และมีสีท่มี คี วามสวางทีแ่ ตกตางกันมกี ารลงสีฟา ทส่ี ดในโดยการเติมสเี ทาเพ่ิมขึ้นเรอ่ื ยๆในสวนบนและลางของภาพทาํ ใหนําสายตา

20 Hesitate 1964 เปนรปู หนง่ึ ในรูป ขาวดําท่ี Riley เปนคนวาดข้นึสามมารถส่ือถงึ อารมณค วามรสู กึ ไดเ ชน การสูญหาย ความเครียด

21 Ra 2 เปน รปู ทสี่ รา งโดยการsilkscreenลงบนกระดาษขาวโดยใชส ี 6 สที ี่แตกตางกนั มาวาดเปน เสน ไดเปนรปู ส่เี หล่ยี มใหญ

Josef Albers

23โจเซฟ อลั เบิรต เกิดเม่ือป 1888 ท่เี มือง bottrop ประเทศเยอรมันนีเขาไดสอนเด็กๆเก่ยี วกับทุกๆอยางอยูเปน ระยะเวลาสน้ั ๆ หลงั จากนั้นเขากไ็ ดเ ปนครศู ลิ ปะ หลังจากที่เขาไดเปน ครศู ลิ ปะ ไดไ มก ่ีเดอื นเขากไ็ ดมาเปน ชา งพิมพแ ละศลิ ปน และไดเขาเรยี นในโรงเรียนศลิ ปะเพือ่ ใหต รงกบั สายงานของเขา และเขาไดเ ขาไปสอนท่ี มหาลัย Yaleในบางคร้งั และหลังจากนน้ั เขาใหเวลาการออกแบบและทาํ ศิลปะออ ปอารต เขาใสสลี งในผลงานของเขา เขายังใชค วามรูที่เขามีสรางชุดงานศลิ ปะของเขาชอื่ วา \"Homage to the Square\"

Art of Josef Albers

25 Homage to the squareป 1950s' Josef ไดส ราง The homage ขน้ึ มาซ่ึงเปน ศลิ ปะออ ปอารตโดยใชเ ท๕นคิ การวาด การระบาย การทกั ทอ และยังเปนตน กาํ เนดิ ของ ศิลปะเราขาคณติ แบบAbtract

26 Repeat and Reverse (1963)เปน งานท่สี รา งบนผนัง ใชเ สน สี วาดซาํ้ ๆ โดยมีการวางรูปแบบงายๆ เพอื่ สรางภาพลวงตาสามติ ิ

27 Manhattan (1963)เปนสิง่ กอ สรา งอยลู อบบ้ีของโรงแรม Pan Am (ปจ จับัน MetLife)แตเ มอ่ื ป 2000 ไดถูกถอดออกไปเนอื่ งจากมีการปรับปรุงโรงแรม

28 Two Portals (1961)เปน งานทีอ่ อกแบบผนังทจ่ี ะใชในงานรับปรญิ ญาทม่ี หาวทิ ยาลยั ฮารวารด โดย Albers ไดม าทาํ งานนโี้ ดยคาํ เชอ้ื เชิญจากเพ่อื นๆ

Richard anuszkiewicz

30 เกดิ เม่ือท่ี เพนซิวาเนยี ประเทศสหรฐั อเมรกิ า ในป 1930 เขาสนใจการวาดรูปมาตงั้ แตเด็กๆและเขาก็ไดร บั การสนับสนนุ จากพอ ของเขามาโดยตลอด เมอ่ื อายุ 14เขาไดเ ขาไปเรยี นทีE่ ire Technical High School เขาสามมารถใชเ วลาอยูกบั งานศลิ ปะไดหลายช่ัวโมง และในป 1953 เขาก็ไดจบจาก Cleveland Institute of Art

Art of Richard anuszkiewicz

32 Texas Red, 1969ถกู วาดขึ้นจากสีอครีลิก บนผืนผาใบสี่เหล่ียม ขนาด 36 × 36

33 Untitled, 1978ถูกวาดดว ยสอี ครลี ิก บนแผนไมmasonite ขนาด 13 × 13 cm

34 List, 1998ถูกวาดโดยสอี ครลี ิก บนแผนไมm asonite ขนาด 48 × 48

OP ART IN NOWDAY

36 นอกจากอออปอารเปน จติ กรรมแลว ยงั สามมารถนาํ ลวดลายของศิลปะเหลา นมี้ าดัดแปลงเปน สงิ่ ตา งๆไดเชน ลายผา ที่นาํ มาตัดเสอ้ื ผา ผาปูโตะ ลวดลายของแกว น้าํหรือแจกันตางๆเปนตน

BibliographyOp Art. (ม.ป.ป.). เขา ถึงไดจ าก:http://www.visual-arts-cork.com/history-of-art/op-art.htm(วนั ทค่ี น ขอมลู : 13 เมษายน 2559)Op Art. (ม.ป.ป.). เขาถึงไดจ าก:http://www.theartstory.org/movement-op-art.htm#beginnings_header(วนั ทค่ี นขอมูล: 13 เมษายน 2559).Op Art. (ม.ป.ป.). เขาถึงไดจาก: http://www.slideshare.net/horania/opart-th(วนั ที่คน ขอ มูล: 13 เมษายน 2559).Victor Vasarely . (ม.ป.ป.). เขา ถงึ ไดจ าก: http://www.op-art.co.uk/Victor Vasarely/(วันทค่ี น ขอ มลู : 14 เมษายน 2559)Bridget Riley. (ม.ป.ป.). เขา ถงึ ไดจาก: http://www.op-art.co.uk/Bridget Riley/(วนั ท่คี น ขอ มูล: 14 เมษายน 2559)Josef Albers. (ม.ป.ป.). เขา ถงึ ไดจ าก:http://www.theartstory.org/artist-albers-josef-artworks.htm#pnt_3(วนั ที่คนขอมูล: 14 เมษายน 2559)Richard Anuskiewicz. (ม.ป.ป.). เขา ถึงไดจาก:http://www.op-art.co.uk/richard-anuszkiewicz/(วนั ที่คนขอมลู : 20 เมษายน 2559)


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook