Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore The History of The Peloponnesian War

The History of The Peloponnesian War

Published by Kachornpon, 2021-11-17 05:28:55

Description: The History of The Peloponnesian War

Search

Read the Text Version

THE PELOPONNESIAN WAR

THE PELOPONNESIAN WARS WERE A SERIES OF CONFLICTS BETWEEN ATHENS AND SPARTA.



คํานํา สงครามเพโลพอนนเี ซยี น ( PELOPONNESIAN WAR ) เปนเหตกุ ารณท ส่ี ําคัญหน่งึ ใน ยคุ กรีกโบราณ เปน สงครามระหวางรัฐทหาร และระบอบประชาธปิ ไตย ท่ีไมเ ห็นพอ งตรงกนั จนทําใหเ กิดมหาสงครามข้นึ และแบงรัฐตางๆออกเปน 2 ฝาย และผูเ รียบเรียงตองการศกึ ษา ลาํ ดบั เหตุการณข องสงคราม และปจจยั ทีก่ อ ใหเกิดมหาสงครามในสมัยกรกี โบราณ หนงั สอื เลม นจ้ี ึงเปนหนังสอื ทรี่ วบรวมลาํ ดับเหตกุ ารณส าํ คัญ และขอ มูลที่เกย่ี วของกบั สงครามเพโลพอนนีเซยี น (PELOPONNESIAN WAR) หากขอ มูลผดิ พลาดประการใด ขออภยั มา ณ ทน่ี ดี้ วย PONNE

สารบญั 01 สปารต า 1 02 เอเธนส 5 03 PELOPONNESIAN WAR 13 04 สาเหตุ 17 05 ชนวน 23 06 นาํ ไปสสู งคราม 27

07 ลกุ ลาม 31 08 โรคระบาด ในสงคราม 37 09 สนั นิบาตเดเลียน 45 10 สนธสิ ญั ญาสันติภาพคัลลิอัส 49 11 บทสรุป 53 บ บรรณานุกรม 59



บทนํา ชวงสงครามเพโลพอนนีเซียน ท่ีมีประวัตคิ วามเปนมา มาชา นาน เร่ิมตนป (431 - 404 ปก อ นครสิ ตศักราช) ซงึ่ เปนการสูร บระหวา ง ฝายสนั นบิ าตเพโลพอนนสี ภายใตการนํา ของ สปารต าทีไ่ มวาจะเกิดอะไรข้ึนสงครามมักจะมผี ทู ่ีสูญเสียอยูเ สมอ ลม เจบ็ ตายเปนเร่ือง ปกติ ซึ่งสงครามนําไปสูการเปล่ียนแปลง ไมวาจะเรอ่ื งของศาสนา หลักคําสอน ประเพณี วัฒนธรรม สงครามทําใหเ กดิ ความขัดแยง ในเร่ืองความเห็นไมล งรอยบา ง การขยาย อาณาเขตรฐั เปน การโตต อบโดยใชค วามรนุ แรงเขาหาํ่ หั่นกัน สดุ ทายแลวท่อี ยากจะฝากไวก ็ คอื การทําสงครามมนั้นไมวาจะไดลาภยศ ชอ่ื เสียง เงนิ ทอง ของนอกกาย กไ็ มสําคญั เทา กบั เรามีชีวติ ความเปน อยทู ด่ี โี ดยปราศจากสงคราม ไมตองกลัว ไมตองหวาดระแวง การมีชีวติ คือสิ่งท่ีดสี ุดแลว

01 สปารต์ ้า

\" กองทัพที แขง็ แกรง่ ทสี ดุ \"



สปารต์ า (กรีกดอริก: ΣΠΆΡΤΑ,SPÁRTĀ; กรีกแอตติก: ΣΠΆΡΤΗ, SPÁRTĒ) เปน ชอ่ื เรียกของรฐั อิสระ ของชาวดอเรยี น ซึง่ เปนหนึง่ ในชนเผาที่สําคัญของกรกี ในยคุ โบราณ สปารต า มศี ูนยกลางอยทู ลี่ าโอเนยี และมจี ดุ เดน ท่เี นน การ ฝก ทหาร จนอาจจะกลา วไดวา สปารต าเปนรฐั ทางทหาร ที่เปน ที่เขมแขง็ ทสี่ ุดในประวัติศาสตร ของกรกี โบราณ นครรฐั สปารต ามกี ารปกครองท่ีเปน ราชา ธิปไตยสวนหนง่ึ , เปน คณาธปิ ไตยสวนหน่งึ และ ประชาธิปไตยอกี สวนหน่ึง -4-

นครรัฐสปารต ามกี าร ปกครองที่เปนราชาธิปไตยอีก สวนหนง่ึ เปนคณาธปิ ไตยสวน หน่ึง และประชาธปิ ไตยอีกสว น หนึง่ เปา หมายของชาวสปารตา คอื การมีกองทัพทแ่ี ข็งแกรงท่ีสดุ โดยเดก็ ชายชาวสปารต าที่มีอายุ ครบเจด็ ขวบ จะไดเขารับการ ศึกษาท่ีรัฐบาลเปน ผูจัด รวมทั้งจะ ไดรับการฝกทหารและขดั เกลา โดยโปรแกรมการฝกที่เรยี กวา “อะโกเก (AGOGE)” -5-

สาวสปารตนั มีชื่อเสียงในสมัย กรีกโบราณเพราะมีเสรีภาพ มากกวาผูหญงิ ท่อี ่ืนในโลกกรีก จะ ไดรบั การเลี้ยงดูทบี่ า นพรอมกับ แมข องพวกเขาในขณะที่กําลงั ศึกษาอยู พวกเขาจะไดเรียนรู เกี่ยวกบั หนา ทแี่ ละความรับผิด ชอบในการดแู ลบา น แรงงานทาสถอื เปน หน่งึ ใน สาเหตหุ ลักทีก่ จิ กรรมทางเศรษฐ กิจของสปารตา สามารถขับ เคล่อื นไดอ ยา งตอเนอื่ งเชน เดยี ว กบั เอเธนสและนครรัฐอ่ืน ๆ -6-

02 เอเธนส์

\" ประชาธิปไตย ของจักรวรรดิ เอเธนส์ \"



เอเธนส์ (กรีกโบราณ: ἈΘΗ͂ ΝΑΙ, ATHÊNAI, [A.TʰƐ̂ ː.NAI̯ ]: อะแธไน) ในสมยั คลาสสกิ ของกรซี โบราณ (508-322 กอนค.ศ.) เปนศนู ยก ลางของชมุ ชน เมืองในนครรัฐเอเธนส ต้ังอยูในแอตติกา ประเทศกรีซ เอเธนสเ ปนชาติผนู าํ แหงสันนิบาตดเี ลยี น - 10 -

\" ประชาชนทกุ คนในเอเธนสต องมสี ว นรว มในการบรหิ ารโดยสมบรู ณ และถือวา พลเมอื งชายทกุ คนมีหนาทต่ี อ งเขารว มในสภา เพือ่ เขา ไปเปนผูแ ทน ประชาชนผา นการเลอื กต้งั หรอื วามสี ิทธ์ใิ นการนาํ ขอ เรยี กรอ งตา งๆเสนอตอ สภาเพื่อนาํ ไปสูการรางกฏหมายตา งๆในการปกครองแผน ดิน\" ได้ชอื วา่ เปนตัวแทนแห่ง \"มหาชนรฐั \" หรอื ระบอบประชาธปิ ไตย - 11 -

ผูทมี่ ีสิทธติ์ าม ระบอบ ประชาธิปไตยของ เอเธนสน นั้ มีแค ผชู ายเทา นั้น ผูหญิงจะอยูภายใตการ ปกครองของบิดาตนหรอื ญาตคิ นอื่น ซ่งึ เปน เพศชายจนกวา จะมีการ แตง งาน และเม่ือมีการแตงงานไป สามีจะกลายมาเปนพระเจาของตน ผหู ญงิ ไมไดรบั การพิจารณารวมอยู ในการปกครองแบบประชาธิปไตย แหง นครเอเธนสใ นสมัยโบราณ - 12 -

03 PELOPONNESIAN WAR

ไมใ่ ชส่ งคราม ระหว่าง 2 มหาอํานาจเท่านัน



นไ่ี มใชส งครามเลก็ ๆ เพราะไมใ ชสงครามระหวา งสองมหาอาํ นาจเทานัน้ แตเ ปน มหาอํานาจที่มีพรรคพวก ( สนั นบิ าต ) คอยสนับสนุนสงครามครั้งนเี้ กิดข้นึ ระหวา งสนั นิบาต 2 กลุม กลมุ หนงึ่ มเี อเธนสเ ปนผูน ําในฐานะ \"เจาสมุทร\" และอีกกลุมหน่ึงมีสปารต าในฐานะ \"เจา แผน ดิน\" กอนท่ีจะเกิดสงคราม นครรัฐกรีกตา งแยกยายกนั อยู โดยไมไดข้ึนตอ กัน ขน้ึ กต็ อ เม่อื มสี งครามเขา มา พวกเขาจะมารวมตัวกันขึ้นตอ สู ในปท่ี 480 กอ นครสิ ตกาล นครรัฐกรีกเผชิญหนา กบั การรุกรานของจักรรพรรดเิ์ ซิรกซีส มหาราชจากจกั รวรรดเ์ิ ปอรเซีย เหลานครรฐั กรกี จึงรวมตัวกนั ภายใตชอ่ื สันนบิ าตเดอเลียน ( DELIAN LEAGUE ) โดยมนี ครรัฐเอเธนสเปนผูนาํ และแมจกั รวรรดิ์เปอรเซียจะถอยทพั กลับไปแลว แตส ันนิบาตน้ียงั คงอยู โดยสมาชกิ ของเครือสันนิบาตจะตองจายคาบาํ รุงกองทพั ใหกบั เอเธนสอ ยา งสมา่ํ เสมอ เปน สงครามที่กนิ เวลายาวนานถึง 30 ป และจบลงดวยความ พา ยแพของนครเอเธนส ซ่ึงนาํ ไปสูการลม สลายของสันนบิ าตดีเลยี น และเปนจุดสน้ิ สุดยุค รงุ เรอื งของเอเธนส - 16 -

04 สาเหตุ

สงครามกรกี - เปอรเ์ ซยี เกยี วขอ้ ง อยา่ งไร



สาเหตุทีก่ อ ใหเ กดิ สงครามเพโลพอนนเี ซียนน่นั กค็ อื สงครามกรกี - เปอรเ ซยี ในชว ง 500 ปก อ นคริสตกาล เอเธนสแ ละอาณาจกั รเปอรเ ซยี ไดม ีเร่อื งทท่ี าํ ใหบ าดหมางกัน กลาวคือ ชาว เอเธนสนนั้ มคี วามคดิ วา ผคู นทีอ่ ยนู อกกรกี เปน พวกคนเถอ่ื น ไรอารยธรรม และนัน่ ก็เปน สง่ิ ที่ ผลกั ดนั ใหเ อเธนสมีเรื่องมีราวกบั อาณาจกั รเปอรเ ซยี ท่ี ณ ตอนนั้นเปน อาณาจักรท่ยี ่ิงใหญ ไรเทียมทาน แนนอนวา ชนวนนั้นนําไปสูสงครามกรีก-เปอรเ ซยี ในภายหลัง ความขัดแยง ระหวา งเอเธนสแ ละอาณาจักรเปอรเ ซียในครัง้ แรก มาจากการทเ่ี อเธนสไป ยุยงใหชาวไอโอเนยี ท่ีอยภู ายใตก ารปกครองของอาณาจกั รเปอรเ ซยี กอกบฏตอ อาณาจักร เปอรเซยี ไอโอเนยี นน้ั เดมิ ทเี คยเปนอาณานิคมของกรกี แตต อมาถูกอาณาจักรเปอรเ ซียเขาปก ครองโดยพระเจา ไซรสั มหาราช จากนนั้ ชาวเอเธนสไมพอใจที่พน่ี อ งของพวกตนโดนรงั แก เพราะมพี ี่นองชาวกรีกทอี่ าศัยในดินแดนไอโอเนยี อยดู ว ย จงึ ยยุ งใหช าวกรีกในไอโอเนยี กอ กบฏตออาณาจักรเปอรเซียทีต่ อนนัน้ ปกครองโดยพระเจา ดาไรอัสมหาราช ท้งั ยงั สง กองทพั ไป สนับสนนุ ฝายกบฏแตถึงกระน้นั การกบฏในคร้ังนนั้ กล็ มเหลวโดยสน้ิ เชงิ และกลายเปนเช้อื เพลิงใหพระเจา ดาไรอสั มหาราชคิดวา ชาวกรีกนั้นเปนเสีย้ นหนามตออาณาจักรเปอรเ ซีย จงึ สั่งใหบ ุกรุกกรีกเพือ่ จัดการชาวเอเธนสท่ีหาเรอ่ื งใสตัว เกดิ เปน สงครามกรีก - เปอรเซยี คร้งั แรกอยา งเปน ทางการ - 20 -

หลายปตอ มาในสงครามครงั้ ทส่ี อง เอเธนสท ี่เปนเปา หมายหลกั ของการบุกรุกรสู ึกไมส ูดี นัก จงึ สงฑตู ไปขอความชว ยเหลือจากฝงสปารตาและไดร ับชยั ชนะ สองปถัดมากองทัพกรกี ใช โอกาสทก่ี องทัพเปอรเซยี ระสาํ่ ระสา ยน้ีเขา โจมตีทาํ ใหนครรฐั กรีกไมพอใจ เอเธนสไ ดก อ ตง้ั สัน นบิ าตเดเลียนเพ่อื รวมกนั ตอตา นเหลา กองทพั เปอรเ ซยี โดยสันนบิ าตเดเลียน[45]ยงั คงทํา สงครามเปอรเซียตอไปอีกเปนเวลา 30 ป หลังจากนั้นสนั นบิ าตเดเลียนไดป ลดเเอกไอโอเนีย ใหหลุดพน จากอาณาจักรเปอรเ ซยี ในยทุ ธการยูรีมีดอน การรบครงั้ ตอๆ มา ก็แพบ าง ชนะบาง จนเมือ่ ทง้ั สองฝายไดทาํ สนธสิ ัญญาสันติภาพคลั ลิอัส[49]จงึ ส้ินจุดสงครามกรกี -เปอรเซยี อยางเปน ทางการ สงครามกรกี - เปอรเซยี - 21 -

หลังจากจบสงครามกรกี - เปอรเ ซยี สันนิบาตเดเลียนยงั ไมไดหายไปไหน แถมยงั ขยาย อาํ นาจบาตรใหญไ ปท่วั ยงิ่ ไปกวา นน้ั คอื การเผยแพรแ นวคดิ การปกครองระบบประชาธปิ ไตย ย่ิงทําใหสปารตาที่มรี ะบบการปกครองแบบเผด็จการทหารยิ่ง รูสึกไมพอใจข้ึนหนักกวา เดิม สปารต าจึงไดกอ ต้ัง สนั นบิ าตเพโลพอนนิเซียน เพือ่ คา นอํานาจของทางสนั นบิ าตเดเลยี น เหตกุ ารณเหมือนจะไมม อี ะไรท้งั สองฝายตางดูเชิงกันไปเรื่อยๆ แตสดุ ทายเร่อื งก็เกิดจากการท่ี โครนิ ท พนั ธมิตรและสมาชกิ สันนิบาตเพโลพอนนเิ ซยี นเกิดมีเรอื่ งบาดหมางกบั คอรไซรา ทเ่ี ปน สมาชิกในสนั นบิ าตเดเลยี น ทางโครนิ ทก ็ไปขอความชวยเหลอื จากสปารต า และคอรไ ซรา ก็ไป ขอความชวยเหลือจากเอเธนส จงึ ลุกลามกลายเปนสงครามเพโลพอนนิเซยี นในที่สดุ สงครามเพโลพอนนิเซียน - 22 -

หลังจากจบสงครามกรกี -เปอรเ ซยี สันนิบาตเดเลยี นยังไมไ ดหายไปไหน แถมยงั ขยาย อํานาจบาตรใหญไ ปทั่ว ย่งิ ไปกวา นั้นคอื การเผยแพรแ นวคดิ การปกครองระบบประชาธิปไตย ย่ิงทําใหสปารต าทมี่ รี ะบบการปกครองแบบเผด็จการทหารยงิ่ รสู ึกไมพ อใจขึ้นหนักกวา เดิม สปารตาจงึ ไดก อ ต้งั สนั นิบาตเพโลพอนนิเซียน เพื่อคา นอํานาจของทางสนั นิบาตเดเลยี น เหตกุ ารณเ หมอื นจะไมมีอะไรท้ังสองฝา ยตา งดูเชิงกนั ไปเรอื่ ยๆ แตสดุ ทา ยเรอื่ งกเ็ กดิ จากการท่ี โครนิ ท พันธมติ รและสมาชิกสันนิบาตเพโลพอนนิเซียนเกิดมีเรือ่ งบาดหมางกับคอรไ ซราท่ีเปน 05สมาชกิ ในสันนบิ าตเดเลียน ทางโครนิ ทก ไ็ ปขอความชว ยเหลอื จากสปารต า และคอรไ ซรากไ็ ป ขอความชวยเหลอื จากเอเธนส จึงลุกลามกลายเปน สงครามเพโลพอนนิเซยี นในท่ีสุด ชนวน -1-

จุดแตกหกั เรมิ มาจาก



จดุ แตกหกั เร่มิ มาจากนครรัฐคอรนิ ธ ซึง่ เปน สมาชิกสนั นิบาตเพโลพอนนสี ( ฝง สปารตา ) เร่มิ สรางฐานการคาทางทะเลเมดิเตอรเรเนยี น แขง กบั เอเธนส เวลาตอ มา นครรัฐคอรนิ ธ ไมล งรอยกับ นครรัฐคอรซ ิรา แหงสนั นิบาตเดลอส ( ฝง เอเธนส ) เอเธนส ท่เี ปนผนู าํ กลมุ จงึ เขา มา ชวยเหลอื นครรฐั คอรซ ริ า สว นสปารต า กเ็ ขามา ชวยเหลอื คอรนิ ธ ภายหลังจึงเกดิ สงครามปะทุ กลายเปนมหาสงครามเพโลพอนนีเซียน - 26 -

06 นาํ ไปสสู่ งคราม

ความขดั แยง้ ทาง ทหาร



ชนวนสาเหตุของมหาสงครามเพโล พอนนีเซียน อนั เปนความขดั แยงทางทหาร ระหวางนครรัฐสปารตาซ่ึง เปน ผูนาํ กลุม นครรัฐแหงสนั นิบาตเพโลพอนนีเซียนกบั นครรฐั เอเธนสซั ึ่งเปน ผนู ําของกลุมนครรฐั แหงสันนบิ าตเดเลียน ทั้งนี้ นครทัง้ สองมีการ แขงขันกนั มาเปนเวลานานแลว โดยเอเธนส เปนนครทป่ี กครองโดยระบอบ มหาอาํ นาจทางทะเล มหาอาํ นาจทางบก ประชาธปิ ไตย ซ่งึ ใหเสรภี าพกับประชาชน มากกวา สวนสปารตาปกครองแบบ เผด็จการทหาร ในชวงเวลาดัง กลา ว นครรัฐ เอเธนสมีกองทพั เรอื ท่เี ขมแข็งทสี่ ุดและถอื วา เปนมหาอาํ นาจทางทะเล ในขณะที่นครรัฐส ปารตานน้ั มกี องทัพบกท่ีเกรียงไกรยงิ่ กวา นครรัฐใดๆ จึงเปนมหาอํานาจทางบก ซงึ่ หลังจากสงครามเปอรเ ซยี สิ้นสุดลง เอเธนส ไดเผยแพรแนวคิดประชาธิปไตยไปยังนครรฐั อื่นๆ สรางความไมพอใจใหก บั สปารตาและ นครรฐั ท่ปี กครองแบบเผด็จการอีกหลาย นครรัฐเปน อันมาก และการแขง ขนั ระหวา ง สองฝา ยก็ทวคี วามรุนแรงมากยง่ิ ข้นึ เรื่อยๆ - 30 -

07 ลกุ ลาม

3 ชว่ ง

สงครามเพโลพอนนเี ซียนนเี้ กิดขึ้นชว งระหวา ง ป พ.ศ.1 22 ถึง พ.ศ.1 39 และเกดิ สงครามเปน ชวงๆ ทงั้ หมด 3 ชวง คือ 1 ชาวเอเธนสเกบ็ ตัวอยูใ นกาํ แพงหินทตี่ นเองไดสรางขึน้ ไวก อนสงคราม เฝา มองกองทพั สปารต าเผาบานเผาเมืองดานนอกกําแพง ดว ยกลยทุ ธท่ีวาใหฝ า ยสปารตาปดลอ มจนลอ นแรง ไปเอง สว นกองทพั เรอื เอเธนสกป็ ด ลอมคาบสมทุ รเพโลพอนนีเซียน ท่เี ปนศนู ยก ลางอาํ นาจ ของสันนิบาต เพโลพอนนิเซียน ทีก่ ็ยงั คงกม หนากม ตาผลติ พฒั นาอาวธุ เพือ่ ทาํ สงครามกนั อยา งขะมกั เขมน แตก ารปด ลอมตัวเองกไ็ มส ง ผลดนี ักเน่อื งจากสภาพแวดลอมเอื้อตอการเพาะ เชื้อโรคมาก ทาํ ใหเกดิ โรคระบาดในเอเธนส[37] เปน ผลใหเ กิดการสูญเสียของประชากรเปน จํานวนไมน อย หน่ึงใน นั้นเปนบคุ คลสาํ ดัญ เปนผูนําท่ยี ึดเหนี่ยวจิตใจชาวเอเธนสในกาํ แพง น้ันคือเพรคิ ลสิ เปน ผลทาํ ใหช าวเอเธนส แบง ออกเปน สองฝาย นน้ั คือฝา ยพรรคประชาธิปไตย กับฝายพรรค อนุรักษน ิยม พรรคประชาธปิ ไตยไดช ยั ในยุทธการทส่ี แปคทีเรีย จบั เชลยชาวส ปารตาไดส ามรอยคน ทวาตอ มากลับพายแพที่แอมฟโ ปลิส จงทาํ ใหพ วกอนรุ ักษนยิ มเขายึด อาํ นาจภายใน จากนั้น นิชิยัสจงึ ไดเ จรจาสงบศกึ กับสปารต า อยา งไรก็ตาม แมวา จะสงบศึกกนั แลว สองฝายก็ยงั คงรบ กันเปน ระยะ และในปที่ 419 กอ นคริสตกาล เอเธนสกร็ วมกับนครรัฐ อน่ื ๆ ทาํ สงครามกับสปาร ตาท่แี มนดิเนยี และในปต อมา และฝาย สปารต าก็ไดร บั ชัยชนะ - 33 -

2 ในชว งเวลานี้ เอเธนสม ผี นู ําคือ อัลชเิ มีย ดีส ซึ่งเปนคนฉลาดแตเ หน็ แกตวั และไมรกั ษา สจั จะ เขาเช่ือวา ตราบเทาที่ สงครามยงั คงอยู ตวั เขาก็จะยังไดประโยชน ดังน้ันเขาจึง พยายามทกุ อยางทจ่ี ะสรางความขดั แยงข้นึ เชน การขยายอํานาจ เขาสซู ซิ ลิ เี พือ่ เตรยี มการ ปราบปรามนครซรี ากซู า ซงึ่ หากทาํ สําเรจ็ เขา ก็จะมีอํานาจเพมิ่ มากขนึ้ ดวย การกระทาํ ดังนี้ ทําใหส ปารต าไมพอใจเปน อยา งมากและกอ ให เกิดสงครามครัง้ ใหม กองทพั เรอื เอเธนสถ ูก โจมตีอยางหนกั ทีช่ ริ ากูซา เหลา ทหารถูกไล ตอนข้นึ บกและถกู บังดับใหเผาเรอื ของตน พวก แมท ัพถูกจับและถูกสังหารเกือบหมด - 34 -

3 ในปที่ 414 กอนครสิ ตกาลหลงั การพา ย แพท ช่ี ริ ากซู า เอเธนสไ ดส ง กองทัพไปโจมตี ลาโคเนียทวาถกู แมท พั ไล แซนเดอรของ สปารต าเอาชนะได ความพายแพค รัง้ นี้ทาํ ให อัลซเิ มียดสี หมดอาํ นาจทางการเมือง ตอ มาทพั สปารต าก็มี ชัยชนะในการรบอีกครง้ั ที่ เอกอสพอทาไม โดยสามารถทําลายท้ังทัพบก และทัพเรอื ของเอเธนส ท้ังจับเซลยไดถ ึง 3,000 คน ทาํ ใหน ครเอเธนสตองยอมแพอยาง ส้นิ เชิง ในปท ่ี 404 กอนครสิ ตกาล ความพายแพข องเอเธนส สง ผลใหส ปารตาข้ึน มามีอาํ นาจเหนือเอเธนสอ ยา งเต็มตวั แตอ ยางไรกด็ ี สงครามครัง้ นี้ ในทางปฏิบัติ ดู เหมอื นวา จะไมมผี ูชนะอยา งแทจ ริง ผลจาก การทาํ สงครามอนั ยาวนาน ความเสยี หายทาง ทรัพยากร และบุคลากร สงผลใหท ั้งสอง นครรัฐเขา สภู าวะยากจนและกลายเปน จงั หวะ ทองของอาณาจักรทางเหนือ นามวา มาซโิ ดเนียของพระเจา ฟลลิป บิดาของอเล็ก ซานเดอรม หาราช กอ ตงั้ สนั นิบาตโครนิ ธห ลัง จากเอาชนะธีบสและเอเธนสโดยรวมเอารัฐ เพโลพอนนีเซียนท้งั หมดยกเวน สปารตา - 35 -



08 โรคระบาด ในสงคราม

สงคราม ท่ามกลางโรค -1-



เมือ่ สงครามเพโลพอนนีเซียนเริม่ ตน ขน้ึ ไมน าน ในปท่ี 2 ของสงครามกเ็ ร่มิ มีโรคระบาด เขามาสง ผลกระทบตอสงครามท่กี ินเวลายาวนาน 30 ป จากการศึกษาของนกั ประวัตศิ าสตร โรคระบาดเขามาเลนงานฝงเอเธนส ซึ่งขณะน้นั กําลังถูกปด ลอ มโดยสปารต า ภายในเวลา 3 ป ตอมา ประชาการสว นใหญต ดิ โรคระบาด คาดวาประชากรราวรอ ยละ 25 หรือประมาณ 75,000 ถงึ 100,000 คน เสยี ชวี ิตลงเพราะโรคระบาด แตน เ่ี ปนอีกหน่งึ ขอ มูลตัวเลขจากยคุ โบราณซง่ึ นกั ประวัติศาสตรยงั ตั้งคาํ ถามถึงนํ้าหนักความนา เชื่อถืออยู บนั ทกึ ของทวิ ซดิ ดิ ีสกไ็ ม ไดเ อยถงึ ตัวเลขผเู สยี ชีวติ - 40 -

ขอมลู เบื้องตน ของโรคระบาดนน้ั เพริคลสี เนวลิ ล เลา ไวว า มจี ุดเชื่อมโยงกบั ชวงเร่ิม รัฐบุรษุ นักปราศัย และนายพล ตน สงคราม เพรคิ ลีส (PERICLES) ผนู ําคน ทีม่ ชี ่อื เสยี งและทรงอทิ ธพิ ลอยางสงู สําคัญของเอเธนส(ทั้งในทางการเมืองและ อน่ื ๆ) และเปน ผูนําเอเธนส เขาสูสภาวะ แหง นครรฐั เอเธนส สงคราม เขามองวา ฝง สปารตา แข็งแกรง อยางมากในการรบบนบก ขณะทีเ่ อเธนส มี ตราบใดท่พี วกเขามีทพั เรอื อนั เปน ที่ พื้นทใี่ กลช ดิ ทะเล เอเธนส ไมเ พยี งมีกําแพง เลอ่ื งลือเปน กําลงั สําคัญในการรบ พวกเขา ลอมรอบเมอื งเทา นนั้ กาํ แพงยงั ลอ มรอบไป ยอมไมไ ดร บั อันตรายใดๆ จากการบกุ ของ ถงึ ทาของเมืองดวย กลยทุ ธข องเพริคลสี สปารตัน เมอื่ สปารตนั บุกไมส ําเรจ็ กจ็ ะ คือใชก าํ แพงเปนเกราะกาํ บงั พวกเขามี เหนอ่ื ยหนายไปเอง ขณะเดยี วกนั พวกเขาจะ เสบียงเพยี งพอ สงกองเรือออมไปโจมตฝี งตรงขา มทุกทิศทาง ไมว าจะเปนพนั ธมิตรรายเล็กรายนอ ยของ สปารต า - 41 -


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook